Oie share ปีที่ 5 ฉบับที่ 49 เดือนเมษายน 2559

Page 1

1


Co n t e n t s ประจํ า เดื อ นเมษายน 2559

Econ Focus

พิธีสารฉบับที่สาม ความตกลงการคาเสรีอาเซียน-เกาหลี เปดมิติความสัมพันธทางเศรษฐกิจ อาเซียน-เอเชียตะวันออก

Econ Review

สรุปสถานการณการผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือนกุมภาพันธ 2559

Sharing

SPRING กับกลุมอุตสาหกรรม : ทําคนเดียวไมได ตองไปกันเปนกลุม

เก็บมาเลา

ออมเงิน…เพื่อความพรอมของชีวิต

3 8 10 13 15

Movement

Editor’s Note

วัสดีคุณผูอาน OIE SHARE ทุกทาน มาถึงฉบับเดือนเมษายนที่ใคร ๆ ก็ตองพูดเปนเสียงเดียวกันวาเปนเดือนที่รอนที่สุด ยังไงก็รักษาสุขภาพ กั น ด ว ยนะคะ สํ า หรั บ กองบรรณาธิ ก ารพร อ มเสิ ร  ฟ บทความดี ๆ ใหคุณผูอานเชนเคย โดยเริ่มจาก Econ Focus พบกับหัวขอพิธีสารฉบับที่สาม ความตกลงการคาเสรีอาเซียน-เกาหลีเปดมิติความสัมพันธทางเศรษฐกิจ อาเซียน-เอเชียตะวันออก สวนสถานการณการผลิตอุตสาหกรรมประจําเดือน กุมภาพันธ 2559 จะเปนอยางไรพลิกเขาไปดูไดเลยคะ และในคอลัมน Sharing พอนองภูยังคงอัพเดตขาวสารมาถึงในตอนที่ 4 กับหัวขอ SPRING กับกลุม อุตสาหกรรม : ทําคนเดียวไมได ตองไปกันเปนกลุม สุดทายพลาดไมไดกบั คอลัมน เก็บมาเลา ออมเงิน..เพื่อความพรอมของชีวิต ฉบับนี้เรายังเปดรับความคิดเห็น ของทุกทานทุกชองทาง ขอบคุณคุณผูอานที่ติดตาม OIE SHARE มาโดยตลอด พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ

ที่ปรึกษา ศิริรุจ จุลกะรัตน ผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สุรพล ชามาตย รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม วีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม บรรณาธิการบริหาร สันธนา หิริศักดิ์สกุล ผูอํานวยการสํานักบริหารกลาง กองบรรณาธิการ ศุภิดา เสมมีสุข, นาฏนดา จันทรสุข, ชาลี ขันศิร,ิ สมพิศ นาคสุข, ปญชาน ศรีสงั ข, เจษฎา อุดมกิจมงคล, ประวีรา โพธิสวุ รรณ, กฤษฎา นุรักษ, จักรพันธ เดนดวงบริพันธ, บุญอนันต เศวตสิทธิ์, รัชวิน บุตตะวงษ, สุดาพร รักษาชาติ, อภิฤดี บางรัด

OIE SHARE ยิ น ดี รั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น คํ า ชี้ แ นะ และข า วประชาสั ม พั น ธ ต  า ง ๆ ติ ด ต อ ได ที่ กองบรรณาธิ ก าร OIE SHARE

กลุ  ม ประชาสั ม พั น ธ แ ละบริ ก ารห อ งสมุ ด สํ า นั ก บริ ห ารกลาง สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ  ง พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 อีเมล : oieshare@oie.go.th ขอความที่ปรากฏใน OIE SHARE เปนทัศนะของผูเขียน

2


F

ECON

CUS

พิธีสารฉบับที่สาม ความตกลงการคาเสรีอาเซียน-เกาหลี เปดมิติความสัมพันธทางเศรษฐกิจ อาเซียน-เอเชียตะวันออก สํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ

ในการประชุมผูนําอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 8 (The 8th ASEAN-ROK Summit) เมื่ อ วั น ที่ 30 พฤศจิ ก ายน 2547 ณ กรุงเวียงจันทน สปป.ลาว ผูนําอาเซียนและเกาหลีเห็นชอบใหเริ่ม การเจรจาจัดทําความตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน-เกาหลี ในชวงตนป 2548 และกําหนดใหสรุปผลเจรจาภายใน 2 ป (ภายในป 2549) โดยการ เจรจาครอบคลุมการเปดเสรีดานการคาสินคา การคาบริการ การลงทุน และความรวมมือทางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคอาเซียน-เกาหลี

3


สําหรับความตกลงวาดวยการคาสินคา (Agreement on Trade in Goods: TIG) อาเซียน 9 ประเทศ ยกเวนไทย ไดลงนาม ในพิธีสารฉบับที่หนึ่ง เมื่อเดือนสิงหาคม 2549 โดยความ ตกลง TIG มีผลบังคับใชตงั้ แตเดือนมิถนุ ายน 2550 สําหรับไทย ไดลงนามในพิธีสารฉบับที่สอง เขาเปนภาคีในความตกลง วาดวยการคาสินคาและความตกลงวาดวยการคาบริการ ในชวง การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 ณ เมืองหัวหิน โดยรัฐสภาเกาหลีใหความเห็นชอบพิธสี าร วาดวยการเขาเปนภาคีของไทยในความตกลงวาดวยการคา สินคา ความตกลงวาดวยการคาบริการ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 และมีผลบังคับใชตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา ความตกลงการค า เสรี อ าเซี ย น-สาธารณรั ฐ เกาหลี (ASEAN-Korea Free Trade Agreement : AKFTA) มีผล บังคับใชมาแลวตั้งแตป 2552 (ไทยเริ่มตน 1 มกราคม 2553) สงผลใหมลู คาการคาระหวางอาเซียนและเกาหลีมกี ารขยายตัว เพิม่ ขึน้ โดยในป 2557 การคามีมลู คาทัง้ สิน้ 137 พันลานเหรียญ สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 147 จากป 2547 ที่มีมูลคาเพียง 46.4 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ปจจุบนั อาเซียนเปนคูค า อันดับที่ 3 ของ เกาหลีรองจากจีนและสหรัฐฯ ในขณะที่เกาหลีเปนคูคาอันดับ ที่ 5 ของอาเซียน สําหรับการลงทุนทางตรงจากเกาหลีมายัง อาเซียน มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก 3.7 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2556 เปน 4.5 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2557 คิด เปนรอยละ 3.3 ของการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศทัง้ หมด สงผลใหเกาหลีกลายเปนนักลงทุนทางตรงรายใหญอันดับ 6 ของอาเซียน

4

ในส ว นของปริ ม าณการค า ระหว า งไทยและเกาหลี ในป 2558 มีมูลคารวม 11,143.95 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดย การสงออกมูลคา 4,104.70 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาสงออก ทีส่ าํ คัญ ไดแก แผงวงจรไฟฟา ยางพารา เคมีภณ ั ฑ เม็ดพลาสติก นํา้ ตาลทราย โดยเกาหลีเปนตลาดสงออกสําคัญของไทยอันดับ ที่ 17 ในขณะทีม่ กี ารนําเขามูลคา 7,039.25 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคานําเขาหลัก ไดแก เหล็ก เคมีภัณฑ เครื่องจักรกลและ สวนประกอบ แผงวงจรไฟฟา สินแรโลหะ อื่น ๆ เศษโลหะและ ผลิตภัณฑ โดยเกาหลีเปนแหลงนําเขาของไทยอันดับที่ 8 มีการใช สิทธิประโยชนดา นภาษีศลุ กากรของภาคการสงออกและนําเขา ของสินคาอุตสาหกรรม ระหวางไทยและเกาหลี ภายใตความ ตกลง AKFTA ตามผลการศึกษาของสํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม (สศอ.) พบวา ในป 2557 อัตราการใชสทิ ธิประโยชน อยูใ นระดับปานกลางทีร่ อ ยละ 58.5 และ 62.7 ตามลําดับ คิดเปน มูลคาการคารวมประมาณ 314,744 ลานบาท สูงขึ้นจากเดิม เล็กนอย โดยกลุมสินคาที่ควรสงเสริมใหมีการใชสิทธิประโยชน เพิ่มเติมในการใชประโยชนจากความตกลง AKFTA ใหเต็มที่ เพื่อเพิ่มมูลคาการคาของทั้งสองฝาย ไดแก อิเล็กทรอนิกส ชิ้นสวนยานยนต เครื่องจักรกล กระดาษ ไมและเฟอรนิเจอร เพื่อเปนการปรับปรุงความตกลงใหมีความทันสมัยและ เปนประโยชนมากขึ้น ลาสุด ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2558 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย รัฐมนตรีอาเซียน และเกาหลีไดลงนามในพิธีสารฉบับที่สาม เพื่อแกไขความ ตกลงดานการคาสินคาภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียนสาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN-Korea Free Trade Agreement : AKFTA) โดยมี วัตถุประสงคหลัก เพือ่ สรางความโปรงใส และอํานวยความสะดวกทางการคาให กับภาคเอกชน และกําหนดแนวทางการ เปดตลาดเพิ่มเติม โดยไดมีการปรับปรุง (1) หนั ง สื อ รั บ รองถิ่ น กํ า เนิ ด สิ น ค า ที่ มี ก ารลงนามและประทั บ ตราด ว ยวิ ธี ทางอิเล็กทรอนิกส (2) ความโปรงใส (3) การวินิจฉัยลวงหนา (4) ทางเลือก สําหรับการคํานวณการสะสมถิ่นกําเนิด สิ น ค า ในภู มิ ภ าค และ (5) การจั ด ทํ า ตารางการลดภาษี เ ป น รายสิ น ค า ซึ่ ง จะระบุ อั ต ราอากรตั้ ง ต น และอั ต รา อากรใหมในแตละป พรอมกลุมสินคา


(กลุมสินคาปกติ /กลุมสินคาออนไหว) ทั้งนี้ ประเทศไทยและ เกาหลีไดดําเนินกระบวนการทางกฏหมายภายในประเทศ เพื่อรับรองพิธีสารฉบับดังกลาวเรียบรอยแลว และมีผลบังคับ ใชแลวตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2559 ที่ผานมา สําหรับประเทศ สมาชิกอาเซียนอื่น ๆ กําลังเรงดําเนินกระบวนการภายใน เพื่อเรงใหพิธีสารฯ มีผลบังคับใชโดยเร็ว พิธีสารฯ ดังกลาว จะเปนประโยชนตอการคาระหวาง อาเซียนและเกาหลี โดยเฉพาะการนําวิธีทางอิเล็กทรอนิกส มาใชมากขึ้น เชน การลงนามและประทับตราหนังสือรับรอง ถิ่นกําเนิดสินคาดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส เพิ่มจากเดิมที่ให มีการลงนามดวยลายมือเทานั้น และการกําหนดใหมีการเผย แพรกฎหมาย กฏระเบียบและขั้นตอนการบริหารทางศุลกากร ในอินเตอรเนต นอกเหนือจากรูปแบบสิง่ พิมพทเี่ คยกําหนด โดย อาเซียนและเกาหลีคาดวาการปรับปรุงดังกลาวจะชวยสนับสนุน ใหภาคเอกชนมีการใชสิทธิประโยชนทางภาษีศุลกากรมากขึ้น อันจะเปนการผลักดันใหทั้งสองฝายสามารถบรรลุเปาหมาย ทางการคาตามที่ไดตั้งเปาไวที่ 2 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2563 ในสวนของประเทศไทย ที่ผานมา ไทยอาจเสียดุลการคา ตอเกาหลีมาโดยตลอด เนื่องจากไทยนําเขาสินคาอุตสาหกรรม และสินคาทุนเปนสวนใหญ ในขณะทีส่ ินคาสงออกทีส่ าํ คัญของ ไทยไปเกาหลี เปนสินคาเกษตรและวัตถุดิบ ซึ่งมีปริมาณและ ราคาไมแนนอน รวมทั้งประสบกับมาตรการกีดกันทางการคา ของเกาหลีทงั้ ในดานภาษีและมิใชภาษี เชน อัตราภาษีหลายรูป แบบกับสินคาบางประเภท ซึ่งมีการจัดเก็บภาษี หลายลักษณะ เชน ภาษีการศึกษา ภาษีสินคาฟุมเฟอย แมวาการจัดเก็บภาษี ดังกลาวจะจัดเก็บกับสินคาชนิดเดียวกัน ทั้งที่ผลิตในประเทศ และนําเขาจากตางประเทศ แตสินคาที่ถูกจัดเก็บภาษีหลาย รูปแบบ จะมีภาระทางภาษีรวมสูงมาก ทําใหไมมีโอกาสขยาย ตลาด สําหรับมาตรการทีม่ ใิ ชภาษี ไดแก การกําหนดปริมาณนํา เขาในผลิตภัณฑ ขาว แปงมันสําปะหลังและผลิตภัณฑ ถั่วแดง มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) มาตรการดาน อุปสรรคทางเทคนิคตอการคา (TBT) เชน การปดฉลากเปน ภาษาเกาหลี การทดสอบความปลอดภั ย และประทั บ ตรา ผานการทดสอบสินคา เปนตน แนวทางในการสงเสริมและความพยายามแกไขปญหา ที่ผานมา คณะกรรมการดําเนินงานความตกลงการคาเสรี อาเซียน-เกาหลี ไดเห็นชอบหลักการเจรจาเพื่อเปดเสรีเพิ่ม เติมระหวางอาเซียนและเกาหลี เพื่อขยายโอกาสในการสงออก สิ น ค า เป า หมายของแต ล ะประเทศ รวมทั้ ง ให มี ก ารจั ด ตั้ ง

คณะทํ า งานด า นสุ ข อนามั ย และอนามั ย พื ช (SPS) และ ดานอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา (TBT) เพื่อรวมกันหารือถึง ขอบเขตการทํางาน และจัดทําขอบทเรือ่ ง SPS TBT และ Trade Facilitation เพิ่มเติมในความตกลง AKFTA เพื่อลดอุปสรรค ที่เกิดจากมาตรการที่มิใชภาษี (NTMs) ซึ่งจะชวยลดความแตก ตางและสรางใหเปนมาตรฐานเดียวกัน เนือ่ งจากมาตรการ SPS และ TBT ของเกาหลี ยังมีความเขมงวดมากกับผลิตภัณฑตา ง ๆ ที่นําเขา และไทยมีขีดความสามารถในการสงออก เชน สินคา อุปโภค อาหารสําเร็จรูป อาหารแชแข็ง ผลไมประเภท กลวย มะมวง ทุเรียน สัปปะรด สินคาปศุศัตวและประมง เครื่องใช ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ยาและเภสัชภัณฑ เปนตน พิ ธี ส ารฉบั บ ที่ ส าม เพื่ อ แก ไขความตกลงด า นการค า สินคาภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN-Korea Free Trade Agreement : AKFTA) จึงนับ เปนการเปดมิตคิ วามสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางอาเซียนและ เอเชียตะวันออก โดยเฉพาะเกาหลี เพื่ออํานวยความสะดวก ทางการคาใหกับผูประกอบการของทั้งสองฝายใหมีทางเลือก ในการใชประโยชนจากความตกลงการคาเสรีไดอยางแทจริง จัดทําโดย : ชาลี ขันศิริ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ ขอมูลอางอิง : กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ภาพประกอบ : http://i.ytimg.com/vi/KRlQvhx2otM/maxresdefault.jpg www.usasean.org/

5


ECON

REVIEW

สรุปสถานการณ

การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนกุมภาพันธ 2559

ถานการณการผลิตของอุตสาหกรรมในเดือนกุมภาพันธ 2559 หดตัวรอยละ 1.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปกอ น เปนผลจากความตองการภายในประเทศยังคงชะลอตัวลง เนื่องจากรายไดเกษตรกรที่ลดลงเปนไปตามราคาสินคาเกษตร ในตลาดโลกที่ยังคงตกตํ่าตอเนื่อง ประกอบกับสถานการณ ภัยแลงในประเทศ สําหรับอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ รอยละ 65.7 โดยอุตสาหกรรมการผลิต Hard Disk Drive ดัชนีผลผลิต หดตัวลงรอยละ 4.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหความตองการ สินคาทีใ่ ชในกลุม คอมพิวเตอรสว นบุคคลลดลง แตอยางไรก็ตาม การผลิตสินคาในกลุม ทีใ่ ชงานกับระบบเครือ่ งเครือขาย (Server) เพิ่มขึ้นตามความตองการในตลาดโลก สถานการณ ก ารผลิ ต เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ภายในบ า นดั ช นี ผลผลิ ต หดตั ว ร อ ยละ 2.4 เนื่ อ งจากความต อ งการสิ น ค า ภายในประเทศในหลายผลิตภัณฑลดลง แตจากสภาพอากาศ ที่ เริ่ ม ร อ นขึ้ น ส ง ผลให ค วามต อ งการสิ น ค า ในกลุ  ม พั ด ลม ปรับตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในตลาดอาเซียน การผลิ ต อุ ต สาหกรรมรถยนต ดั ช นี ผ ลผลิ ต หดตั ว รอยละ 7.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจาก ความต อ งการรถยนต นั่ ง ขนาดเล็ ก ปรั บ ตั ว ลดลง จากการ ปรับภาษีสรรพสามิตใหม ทําใหผูบริโภคเรงการซื้อไปในชวง ปลายป 2558 แลว แตอยางไรก็ตาม การผลิตรถยนตในกลุม PPV (Pickup Passenger Vehicle) ปรับตัวเพิ่มขึ้นตาม ความตองการทั้งในประเทศและตางประเทศ อุตสาหกรรมการผลิตเหล็กดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 15.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน จากความตองการ ในตลาดโลกที่ลดลง และยังคงมีการนําเขาเหล็กสําเร็จรูป ราคาถูกจากประเทศจีนอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนผลจากกําลังการ ผลิตของประเทศจีนที่ทําใหสินคาลนตลาด

6

สํานักวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

การผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปดัชนีผลผลิตหดตัวรอยละ 27.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน จากคําสั่งซื้อทั้งจาก ภายในประเทศและตางประเทศลดลง เปนผลจากตนทุนการ ผลิตที่สูงกวาประเทศอื่น ๆ เชน ประเทศเวียดนาม กัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประกอบกับการยกเวน สิทธิประโยชนทางภาษีจากสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ในประเทศดังกลาว สําหรับการผลิตสิ่งทอตนนํ้าดัชนีผลผลิต หดตัวรอยละ 6.0 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น เนือ่ งจาก ความตองการสิง่ ทอเพือ่ ผลิตเครือ่ งนุง หมลดลง แตอยางไรก็ตาม ยังคงมีความตองการสินคาในกลุมสิ่งทอเทคนิคเพิ่มขึ้น สําหรับการผลิตในอุตสาหกรรมสําคัญไดแก อุตสาหกรรม การผลิตเครื่องประดับเพชรพลอย เครื่องปรับอากาศ และ ผลิตภัณฑพลาสติก ดัชนีผลผลิตในเดือนกุมภาพันธ 2559 ขยายตัว จากการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามความตองการในตลาด อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เครื่ อ งประดั บ เพชรพลอยดั ช นี ผลผลิตขยายตัวรอยละ 33.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปกอ น เนือ่ งจากผูป ระกอบการรายใหญมผี ลิตภัณฑรปู แบบใหม ออกสูต ลาด ประกอบกับความตองการสินคาเพือ่ การลงทุนและ เปนของสะสมทดแทนการลงทุนในรูปแบบอื่น อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑพลาสติกดัชนีผลผลิต ขยายตัวรอยละ 11.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากมีการเพิ่มกําลังการผลิตของผูประกอบการบางราย ประกอบกับความตองการสินคาในกลุมผลิตภัณฑถุงพลาสติก เพิ่มมากขึ้น สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เครื่ อ งปรั บ อากาศดั ช นี ผลผลิตขยายตัวรอยละ 7.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปกอน เนื่องจากสภาพอากาศที่รอนในหลายภูมิภาค


7


SPRING กับกลุมอุตสาหกรรม : ทําคนเดียวไม ได ตองไปกันเปนกลุม สํานักขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพของประเทศ

สวัสดีเทศกาลวันสงกรานตกบั มิตรรักแฟน OIE Share ทุกทานครับ เดือนนีเ้ ปนเดือนทีค่ นทํางานกินเงินเดือนชืน่ ชอบอีกเดือน หนึ่ง เพราะมีวันหยุดยาว ๆ ที่สามารถลาไปพักผอนหรือเยี่ยมญาติในตางจังหวัดได พอนองภูก็ถูกบังคับใหลาไปบานแมยาย เพื่อพานองภูกับนองพราวไปเยี่ยมคุณยายและคุณทวดเหมือนกันครับ เอาละกอนจะนอกเรื่องไปไกล ขอวกกลับเขาสูเรื่อง SPRING กอนนะครับ สําหรับทานผูอานที่ติดตาม OIE Share มาตลอด จะพอทราบวาตอนนี้ก็เปนตอนที่ 4 เกี่ยวกับเรื่อง ของ SPRING Singapore แลว แตสําหรับทานผูอานที่เพิ่งเคยอานเปนครั้งแรก พอนองภูขอยอนความเดิมใหฟงกอนครับ สืบเนื่องจากที่ทานรองนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ) ไดเขามาตรวจเยี่ยมพรอมมอบนโยบายใหกระทรวง อุตสาหกรรม โดยเนนวากระทรวงอุตสาหกรรมตองใหความสําคัญกับเรื่อง มาตรฐาน ผลิตภาพการผลิต และนวัตกรรม โดยใหดู ตัวอยางจากสปริงบอรด ประเทศสิงคโปร จึงเปนแรงบันดาลใจใหพอนองภูสืบคนขอมูลและเขียนเกี่ยวกับเรื่อง SPRING ขึ้นครับ โดยตอนที่ 1 จะเกี่ยวกับขอบเขตภารกิจโดยทั่วไป ตอนที่ 2 จะนําเสนอถึงมาตรการในการพัฒนาธุรกิจเริ่มตนใหม (Start-Up) สวนในตอนที่ 3 จะเกี่ยวกับการสนับสนุนธุรกิจ SMEs ในประเทศสิงคโปร สวนตอนนี้จะนําเสนอถึงอีกบทบาทหนึ่งของ SPRING คือการพัฒนากลุมอุตสาหกรรมในประเทศสิงคโปรครับ สําหรับการพัฒนากลุมอุตสาหกรรม SPRING ผลักดันการสรางความเปนหุนสวน (Partnership) อยางใกลชิดระหวาง SPRING กับสมาคมอุตสาหกรรมตาง ๆ รวมถึงการสรางความรวมมือขามกลุมอุตสาหกรรม (Cross Industry Collaboration) เพือ่ พัฒนากลุม คลัสเตอรอตุ สาหกรรมและโครงสรางพืน้ ฐานทีจ่ าํ เปนสําหรับการสนับสนุนอุตสาหกรรมนัน้ ๆ โดย SPRING มีแผน งาน/โครงการที่ใชสนับสนุนกลุมอุตสาหกรรม ดังนี้ วิธีการ/มาตรการ Local Enterprise and Association Development (LEAD) Programme

8

สาระสําคัญ SPRING ใหการสนับสนุนผานสมาคม สภาหรือหอการคา โดยใหเงินอุดหนุน คาใชจา ยรอยละ 70 สําหรับการยกระดับความสามารถในการแขงขันของแตละ กลุมอุตสาหกรรม ทั้งนี้สมาคมฯ ที่ขอรับการอุดหนุนตองระบุ Roadmap โอกาสทางการตลาด, แผนงานที่สําคัญ, ประโยชนที่จะไดรับจากโครงการ (เชน การสรางรายได มูลคาเพิม่ การจางงาน), งบประมาณทีส่ มาคมฯ จะออก เอง, SMEs ที่เขารวมได (ทั้งในและนอกสมาคมฯ) โดยแตละโครงการมีระยะ เวลาดําเนินการไมเกิน 3 ป ทั้งนี้ใน 10 ปที่ผานมา SPRING ไดสนับสนุนแลวกวา 30 สมาคมฯ วงเงินกวา 100 ลานเหรียญดอลลารสิงคโปร (1 เหรียญฯ ประมาณ 25 บาท) ครอบคลุม กวา 160 กลุมอุตสาหกรรม1


Collaborative Industry Projects (CIP)

SPRING สนับสนุนใหธุรกิจในสิงคโปรมีการรวมกลุมกัน เพื่อเพิ่มนวัตกรรม ผลิตภาพ หรือมีการใชทรัพยากรรวมกัน โดย SPRING จะสนับสนุนคาใชจา ยให รอยละ 70 ของโครงการของแตละกลุมที่ไดรับการอนุมัติ (แตละกลุมตองมี SMEs2 อยางนอย 3 รายขึ้นไป) ตัวอยางโครงการ เชน พัฒนานวัตกรรมรวม การใชบริการรวม (เชน ใชเครือ่ งลางจานอัตโนมัตกิ ลาง แทนการจางพนักงาน ลางจานทั้งกลุม) หรือพัฒนาเทคโนโลยีมาใชรวม (เชน กลุมบริษัทขนสงและ โลจิสติกส พัฒนาเทคโนโลยีการควบคุมการขับรถมาใช ทําใหลดการเกิด อุบัติเหตุลงไดรอยละ 40) เปนตน3

Customer-Centric Initiative (CCI)

นอกจากใหความสนใจกับผลิตภาพและนวัตกรรมแลว SPRING ยังใหความ สําคัญกับการใหบริการอยางเปนเลิศ โดยใหการสนับสนุนคาใชจายสําหรับ กิจกรรมในการยกระดับการบริการ (สนับสนุนรอยละ 70 สําหรับ SMEs และ รอยละ 50 สําหรับธุรกิจขนาดใหญในอุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก การบริการ ในธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม, อุตสาหกรรมดูแลสุขภาพ, โรงพยาบาล, คาปลีก, การขนสง และการทองเที่ยว)

Partnerships for Capability Transformation (PACT)

SPRING สนับสนุนใหเกิดความรวมมือระหวางธุรกิจขนาดใหญ (ยอดขาย มากกวา 100 ลานเหรียญฯ) และ SMEs เพื่อใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยี การยกระดับความสามารถ รวมถึงระบบการทดสอบ/รับรอง และการประยุกต ใชนวัตกรรม โดย SPRING สนับสนุนคาใชจายใหรอยละ 70 ซึ่งที่ผานมาก็มี บริษัทขนาดใหญใหการสนับสนุน เชน Intel และ Procter & Gamble โดย SPRING ไดใหการสนับสนุนในลักษณะนี้แลวประมาณ 94 ความรวมมือ เกิดประโยชนกับ SMEs ประมาณ 632 ราย4

สําหรับในประเทศไทยนัน้ เทาทีพ่ อ นองภูทราบ มักไมคอ ยมีการสนับสนุนคาใชจา ยในการดําเนินงานใหกลุม บริษทั หรือกลุม สมาคมใด ๆ นัก อาจเพราะระบบงบประมาณของประเทศไทยไมสามารถอุดหนุนใหแกเอกชนไดโดยตรง โดยในหลักการจําแนก ประเภทรายจายตามงบประมาณนั้น งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจายที่กําหนดใหจายเปนคาบํารุงหรือเพื่อชวยเหลือ สนับสนุน การดําเนินงานของหนวยงานตาง ๆ ซึ่งที่พอจะเกี่ยวของคือให “นิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเปนสาธารณประโยชน” แตก็มี การนิยามลงไปอีกวา นิติบุคคลฯ นั้น เชน นักเรียน นิสิต นักศึกษา คณะกรรมการโอลิมปก สภาลูกเสือแหงชาติ สันนิบาตสหกรณ แหงประเทศไทย สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย สภากาชาดไทย สภาทนายความ เนติบัณฑิตยสภา และมูลนิธิตาง ๆ ซึ่ง จะเห็นวาถายึดนิยามอยางเครงครัด จะไมมีการเปดชองใหอุดหนุนใหบริษัท หรือหางรานเอกชนไดโดยตรง ทําใหในทางปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วกับการพัฒนาการรวมกลุม อุตสาหกรรม สวนราชการมักจะตองเสนอเปนโครงการทีค่ ดิ วาเกีย่ วของ หรืออาจจะนําแนวคิดทีก่ ลุม อุตสาหกรรมตาง ๆ เสนอมา มาปรับปรุงและเสนองบประมาณในนามของสวนราชการ โดยสวนมากจะ เปนในรูปแบบของการเขาไปสนับสนุนกลุม ในเรือ่ งของการตลาด การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาเทคโนโลยีและกระบวนการผลิต การพัฒนา R&D และนวัตกรรม ซึ่งจะไดผลในเรื่องของการประหยัดตนทุนรวมกัน แตเนื่องจากไมไดเปนโครงการที่สภา สมาคม หรือกลุมอุตสาหกรรมรวมตัวกันดําเนินการเอง จึงอาจไมไดรับการมีสวนรวม หรือทําโครงการที่แกปญหาไดไมตรงจุดเทาใดนัก นอกเหนือจากการนําเสนอมาตรการในการสรางความเปนหุน สวนในแตละธุรกิจ สมาคมหรือกลุม อุตสาหกรรมแลว ในหัวขอพัฒนา กลุม อุตสาหกรรม ในเว็บไซตของ SPRING Singapore ยังไดมกี ารนําเสนอจํานวน มูลคาเพิม่ และสัดสวนใน GDP ของแตละสาขา อุตสาหกรรมเปาหมายที่สําคัญไวดวยv ซึ่งพอนองภูเห็นวานาสนใจ จึงขอนํามาลงไวดังนี้ครับ

9


อุตสาหกรรม

10

จํานวนสถาน ประกอบการ

มูลคาเพิ่ม (ลานเรียญฯ)

% สัดสวนตอ GDP

แนวการพัฒนาที่สําคัญ

1. Biomedical Industry

149

11,214

3.0 %

มุงเปนศูนยกลาง (Hub) ทางดานการวิจัยทาง วิทยาศาสตรและชีวการแพทยระดับโลก วางตําแหนงที่มุงเนนในเรื่องการวิจัยทางการแพทย และมาตรฐานในการดูแลขั้นสูง

2. Healthcare Service

4,717

3,500

1.0 %

3. Chemical Service

331

4,371

1.2 %

4. Clean Technology

549

1,400

0.4 %

5. Education

6,182

2,700

0.8 %

6. Electronics

160

5,187

1.4 %

สงเสริม SMEs ในธุรกิจเฉพาะ เชน Satellite Communications, Physical Security, and Wireless Technology รวมทั้งภาครัฐพัฒนาปจจัย แวดลอมเรื่อง Internet of Things และอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีอวกาศ

7 .Engineering Service

4,199

6,000

1.7 %

8. Food & Beverage Service

6,751

3,000

0.8 %

ใน Process Industry เนนการเพิ่มผลิตภาพ และการขยับไปสูการใหบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น สวนอุตสาหกรรมการทดสอบ การตรวจสอบ และการรับรอง เนนการผลิตวิศวกรและชางฝมือ ที่มีทักษะสูงรองรับบรรษัทขามชาติระดับโลก สงเสริมการทํา Joint Ventures แฟรนไชส และ Outlet ของบริษัท เพื่อขยายสูตลาดตางประเทศ

9.Food Manufacturing

844

2,828

0.7 %

10. Logistics

7,606

18,400

5.2 %

11. Marine & Offshore Engineering

1,205

6,333

1.7 %

12. Packaging

249

569

0.2 %

มุงสูเคมีที่มีคุณสมบัติเฉพาะ และเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม รัฐใหการอุดหนุนผานกองทุน R&D พัฒนาบุคลากร และพัฒนาหองทดสอบวิจัย รวมถึงดึงการลงทุน จากบริษัทระดับโลก สนับสนุนผูประกอบการเอกชน รองรับตลาดการ ศึกษาขั้นสูง การศึกษากอนวัยเรียน และการฝกอบรม เชิงวิชาชีพที่มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น

เพิ่มการลงทุนใน R&D ยกระดับกระบวน การผลิต และรูปแบบบรรจุภัณฑสินคา การขยายเวลา Shelf-life เนนคุณภาพและความปลอดภัยของสินคา เพื่อรองรับการแขงขันในตลาดโลก ใหบริการโลจิสติกสที่พิเศษขึ้น เชน การขนสงทางเรือ ในอุตสาหกรรมยา เคมีภัณฑ และสิ่งของที่เนาเปอย ไดงาย เขาสูเครือขายและหวงโซมูลคาระดับโลกใหมาก ขึ้น โดยการเพิ่มผลิตภาพ ความรู และการใชระบบ อัตโนมัติ พัฒนานวัตกรรมของวัสดุที่ใชทําบรรจุภัณฑ เพื่อลดตนทุนและการสูญเสีย การใชบรรจุภัณฑ ชีวภาพ หรือวัสดุที่มีความเบาและทนทานมากขึ้น รวมถึงพัฒนาการออกแบบ


อุตสาหกรรม

จํานวนสถาน ประกอบการ

มูลคาเพิ่ม (ลานเรียญฯ)

% สัดสวนตอ GDP

แนวการพัฒนาที่สําคัญ

13. Precision Engineering

2,870

8,329

2.2 %

ปจจุบันสิงคโปรมีศักยภาพสูงอยูแลว แตเพื่อรองรับ เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive Technology) จะตองเปลี่ยนแนวคิดการทําธุรกิจใหม โดยเตรียม แนวทางและความสามารถใหมดานการออกแบบและ วิศวกรรมเพื่อรองรับ

14. Printing

927

1,196

0.3 %

ขยายการใหบริการเทคโนโลยีที่ทันสมัย เชน UV Printing, RFID Printing และการบริหารจัดการ โลจิสติกส เพื่อรองรับการ Outsource จากบริษัท ขามชาติ รวมถึงการพัฒนาดิจิทัลเทคโนโลยีเพื่อรองรับ การบูรณาการระบบการสื่อสารระดับโลก

15. Retail

20,082

5,100

1.4 %

อุตสาหกรรมคาปลีกของสิงคโปร มีหลากหลายทั้ง สินคาแบรนดเนมของบริษัทนานาชาติ และแบรนด ทองถิ่น รองรับความตองการไดอยางหลากหลาย

ทั้งนี้สําหรับประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 ก็มีการกําหนดอุตสาหกรรม เปาหมายเพือ่ เปนกลไกขับเคลือ่ นเศรษฐกิจเพือ่ อนาคตเชนกัน ประกอบดวย 10 คลัสเตอร ไดแกอตุ สาหกรรมยานยนต สมัยใหม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอจั ฉริยะ อุตสาหกรรมการทองเทีย่ วกลุม รายไดดแี ละการทองเทีย่ วเชิงสุขภาพ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมอาหารแหงอนาคต อุตสาหกรรมหุนยนต อุตสาหกรรมการบินและ โลจิสติกส อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจิทัล อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร6 ซึง่ ครอบคลุมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการเชนเดียวกัน แตพอ นองภูเขาใจวาระบบการจัดเก็บขอมูลตาง ๆ เกีย่ วกับ 10 สาขานี้ อาจจะยังไมชัดเจนเหมือนอยางของสิงคโปร ซึ่งคงตองพัฒนาระบบการสํารวจและจัดเก็บเพื่อเปน ขอมูลพื้นฐานสําหรับการพัฒนาตอไป และเชนเคยครับ เนื้อที่กระดาษสําหรับตอนนี้หมดลงอีกแลว พบกันใหม ในตอนหนาครับ ... สวัสดีครับ จัดทําโดย พอนองภู (นายจักรพันธ เดนดวงบริพันธ) รายละเอียดดูจาก LEAD Programme Benefited 38,000 SMEs With $100 Million Grant Support Through 160 TAC-Led Projects Over Past 10 Years, 2 June 2015, http://www.spring.gov.sg/NewsEvents/PR/Pages/LEAD-Programme-Benefited-38000-SMEsWith-100-Million-Grant-Support-Through-160-TAC-Led-Projects-Over-Past-10-Years-20150602.aspx 2SMEs ในนิยามของ SPRING Singapore หมายถึง ธุรกิจที่มีการลงทะเบียนและประกอบกิจกรรมในประเทศสิงคโปร โดยมีสัดสวนผูถือหุนใน ประเทศไมนอยกวารอยละ 30 และมีรายไดตอปไมเกิน 100 ลานเหรียญดอลลารสิงคโปร หรือมีจํานวนแรงงานไมเกิน 200 คน 3 รายละเอียดดูจากแผนพับโครงการ Collaborative Industry Projects http://www.spring.gov.sg/Resources/Documents/Brochure_ Collaborative_Industry_Projects.pdf 4 จากบทความ DEVELOPING WIN-WIN SITUATIONS, โดยนิตยสาร Business Times, วันที่ 5 พฤศจิกายน 2015, http://www.businesstimes.com.sg/sites/default/files/attachment/2015/11/05/BT20151104_SMENOVDEC_10.pdf 5 อางอิงขอมูลจาก Department of Statistics & SPRING Singapore (2013) 6 ชู 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย! หวังเปนกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต, โดย ไทยรัฐออนไลน วันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 แหลงขอมูล http://www.thairath.co.th/content/540128 1

11


เก็บมาเลา

ÍÍÁà§Ô¹…

à¾×Íè ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ¢Í§ªÕǵ Ô กลุมตรวจสอบภายใน

เมื่อตนเดือนมีนาคม 2559 ที่ผานมา ผูเขียนมีโอกาสได เขารับการอบรมโปรแกรมเตรียมตัวกอนเกษียณ ไดรบั ความรู เพิ่มเติมกลับมามากมาย รวมถึงเรื่องการเตรียมความพรอม ดานการเงินดวย ผู  เขี ย นเองตอนรั บ ราชการใหม ๆ เงิ น เดื อ นไม ถึ ง สามพันบาท แบงใหแมหนึง่ พัน ทีเ่ หลือกินบางใชบา งไมทนั ไร ก็หมด ไมมเี งินเก็บ คิดวาทําอยางไรดีนอ ง ๆ ก็บอกวาไมเปนไร พอแกแลวจะเลี้ยงพี่เองเราก็นึกในใจ อนาคตไมแนนอน อยามัวเพอฝน เพราะมันอาจจะไมเปนอยางที่เราคิดก็ได ...แล ว จะทํ า อย า งไร เพื่ อ ที่ จ ะเตรี ย มตั ว ให พ ร อ มรั บ อนาคตทางการเงินที่กําลังจะมาถึง

12


2. เตรียมกาย ออกกําลังกายเบา ๆ อยางสมํา่ เสมอเพือ่ ไมให

กลามเนือ้ กระดูก เสนเอ็น รวงโรยเร็วเกินไป เพราะถึงจะมีหมอ หรือพยาบาลคอยดูแลก็ใชวา เขาจะไมมภี าระดูแลคนอืน่ ๆ ดวย เราตองมีความพรอมทางดานรางกายทีแ่ ข็งแรง จิตใจตองเขมแข็ง ใหมากที่สุด เคยใจรอนก็ตองปรับใจใหเย็นลงทําอะไรชา ๆ แบบ Slow life หามวิ่ง หามกมศีรษะเพื่อหยิบของตกเปน เด็ดขาด ฯลฯ

3. เตรี ย มครอบครั ว ทั้ ง ของตนเอง และครอบครั ว

ลูก-หลาน คือตองมีเงินสําหรับ การสรางความผูกพันใหยาวนาน สืบไป แมอยากอยูค นเดียวเงียบ ๆ แต ก ารมี ค วามสั ม พั น ธ ที่ ดี ต  อ ครอบครัวก็เปนนํา้ หลอเลีย้ งจิตใจ ในการอบรม วิทยากรไดบรรยายถึงเทคนิคการวางแผน อยางดีเชนกัน (ไมมีอะไรฟรี.... การเงินหลังเกษียณวา เราควรมีเงิน 70% ของคาใชจาย ทํานองนั้น) ทีค่ าดวาจําเปน คูณกับจํานวนปทเี่ หลือของการใชชวี ติ และอยา ไดหวังพึ่งนํ้าบอหนาหรือลูกหลาน เพราะขนาดตัววิทยากรเอง 4. เตรียมเพื่อน ไมวาจะเปน (อายุ 84 ป) ยังตองหาที่พักอาศัยใหมตอนเริ่มเกษียณ ตองหา เพื่อนใหม เพื่อนเกา เพื่อนบาน รายไดทมี่ นั่ คงเพิม่ (ลงทุนสรางอพาทเมนทใหเชา) ทัง้ ๆ ทีม่ ลี กู ทีด่ ี หรือเพื่อนรวมงานก็จําเปนเพราะ เป น นายแพทย ห ลายคน ดั ง นั้ น การเตรี ย มตั ว ทางการเงิ น อาจจะไดพึ่งพายามเจ็บไขไดปวยหรือยามขัดสนจําเปนจริง ๆ ให พ ร อ มก อ นเกษี ย ณจึ ง มี ค วามสํ า คั ญ ยิ่ ง และไม ใช แ ค ด  า น ขึ้นมา การเงินเทานั้น ยังตองเตรียมพรอมดานอื่นดวย ดังนี้

1. เตรียมใจรับสภาพใหมหลังเกษียณ ตื่นมาไมตอง

เตรียมตัวไปทํางาน แตตองมีงานทํา เพราะตองบริหารสมอง ไมใหฝอกอนเวลาอันควร ถาใครมีเงินมากจะรําพัดเพื่อบริหาร สมองตอไปก็ยอมได ยิง่ หากเตรียมตัวเตรียมใจตัง้ แตอายุยงั นอยเลยยิง่ ดี ฝกคิด ไววาการพึ่งคนอื่นคือเปอรเซ็นตที่ 0 สําหรับเรา อยาไปหวัง พึ่งพิงใครมาก เราตองหวังพึ่งตนเองกอน อะไรที่เกิดขึ้นตอง ฝกทําใหเปนสิ่งที่เราคาดคิดไวแลวลวงหนา...ตู...วา...แลว... เมือ่ คิดไดแบบนี้ การใชชวี ติ ของเราก็จะสบายขึน้ พระทานเทศน วาเมื่อวินาทีนี้ผานไปเดี๋ยววินาทีหนาก็เขามาแทนที่ มองทุกข ใหเปน ไมไดใหเปนทุกขเสียเอง หรือถามันยังทุกข ก็ปรับมาเปนครู สอนใจเราจะไดไมขาดทุนซํ้าซอน

13


และสุดทาย 5. เตรียมแผนการใชเงิน ปจจุบัน ผูเขียนไดสังเกตจากสื่อตาง ๆ พบวา เด็กยุคใหม มีความสามารถตัง้ แตอายุยงั นอย มีกจิ การสวนตัวผาน Internet มีรายรับเขามามากมายแทบไมตองงอพอแม...ประมาณนั้น แตเด็กสมัยนี้ก็ยังมีความประมาทในการใชเงินอยู ซึ่งความ ประมาทถือเปนหนทางที่อันตราย โดยเฉพาะความประมาท เรื่องเงินๆทองๆ

มีผูรูไดใหขอคิดไวดังนี้

- เริ่มวันนี้ก็สายเสียแลวจริง ๆ นั้น การเริ่มเก็บออม และเตรียมการสําหรับวัยเกษียณควรเริ่มตั้งแตวันแรกที่เรา เข า รั บ ราชการ/ทํ า งาน ดั ง นั้ น เราควรออมตั้ ง แต วั น แรก ที่ไดรับเงินเดือนสําคัญที่สุด คือ การออมกอนเริ่มใชจายเพราะ วั น นี้ ก็ ถื อ ว า สายไปแล ว และ ถารูวาสายแลวยังไมออมนาจะ พยากรณ ไ ด โ ดยไม ต  อ งพึ่ ง พา หมอดูแมน ๆ ที่ไหนก็พอจะรู ชะตากรรมได อ ย า งแม น ยํ า ... วาอนาคตจะเปนเชนใด - เรื่ อ งร า ยเกิ ด ขึ้ น ได ทุ ก วั น แค วั น นี้ เ รายั ง ไม เ จอ แต พ รุ  ง นี้ ไ ม แ น ถ า เป น เช น นี้ เราจะคิดเผื่อเหตุการณทั้งหมด ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตไมวา

จะเปนเงินเฟอทีส่ งู กวาปจจุบนั มาก โชครายทีอ่ าจเกิดกับชีวติ เรา หรือคนในความดูแล นํา้ ทวม ไฟไหม อุบตั เิ หตุซงึ่ ทัง้ หมดทีก่ ลาว มาไมไดใหตองครุนคิดทุกวันแตใหคิดเผื่อและวางแผนเตรียม รับมือเอาไวหลังจากนั้นใหอยูอยางสบายใจเพราะถือวาเราไดมี การเตรียมความพรอมแลว - ไมมีแผนใดครบถวนหรือสมบูรณเสมอไปดังนั้นแมวา เราจะเตรียมแผนการไวดีเทาใดก็ยังตองทบทวนและตรวจสอบ สิ่งที่ไดคิดและทําลงไปอยูเสมอ การปรับพอรตการลงทุนตาม สถานการณในแตละชวงอยางถูกตอง หรือถามีเหตุการณ/ สภาพแวดล อ มและครอบครั ว ที่ เ ปลี่ ย นไปทํ า ให เ ป า หมาย ทางการเงินทั้งในปจจุบันและอนาคตตองเปลี่ยนแปลงเพราะ ฉะนั้นการทบทวนเปนครั้งคราวทําใหเกิดความรอบคอบและ อยูบนพื้นฐานของความเปนจริง นอง ๆ ที่เพิ่งรับเงินเดือนหรือไดรับนานแลวนาจะตื่นตัว และเริม่ เก็บเงินสําหรับวัยเกษียณ เชน สมัครเปนสมาชิกสหกรณ ที่ไดรับดอกเบี้ยสูงกวาธนาคารหรือจะถือหุนฯ ณ เวลานี้คงยัง ไมสายเกินไปนักสําหรับสมาชิกเงินออมคนใหมคะ การเตรียม ตัวพึ่งพาตนเองไดในทุกจังหวะชีวิตก็จะทําใหเรามีกาวยางที่ งดงาม สงา ภาคภูมใิ จในตนเองอยางมัน่ ใจและมัน่ คงตลอดไป... เปนกําลังใจใหนอง ๆ ทุก ๆ คนคะ.

จัดทําโดย : นางสาวจริยา เดนดวง นักวิชาการตรวจสอบภายในชํานาญการพิเศษ แหลงขอมูลอางอิง : หนังสือพิมพM2F ฉบับวันที่ 17 พ.ย. 58 เอกสารประกอบการอบรมโปรแกรมเตรียมตัวกอนเกษียณจัดโดย กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยและโรงพยาบาลมิชชั่น Facebook คุณวรวรรณ ธาราภูมิ CEO บลจ.บัวหลวง www.facebook.com/WealthMeup

14


Movement พลเอก ประวิตร วงษสวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานประชุมคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพืน้ ทีใ่ นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (คบพ.) โดยมี นางอรรชกา สีบญุ เรือง รมว.อุตสาหกรรม, นายอาทิตย วุฒคิ ะโร ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และนายศิรริ จุ จุลกะรัตน ผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เขารวมการประชุม เมือ่ วันจันทรที่ 7 มีนาคม 2559 ณ ตึกบัญชาการ ทําเนียบรัฐบาล

นายศิรริ จุ จุลกะรัตน ผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พรอมผูบ ริหาร สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรวมแถลงขาว ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนกุมภาพันธ 2559 เมื่อวันอังคารที่ 29 มีนาคม 2559 ณ สศอ.

นายวีรศักดิ์ ศุภประเสริฐ รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนประธานการประชุมระดมความคิดเห็น “โครงการศึกษากลยุทธการสรางความ เชื่อมโยงอุตสาหกรรมการผลิต และอุตสาหกรรมบริการของไทย ภายใตสภาวะ เศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ” เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม 2559 ณ สศอ. นายอาทิ ต ย วุ ฒิ ค ะโร ปลั ด กระทรวง อุ ต สาหกรรม พร อ มด ว ยนายสุ ร พล ชามาตย รองผู  อํ า นวยการสํ า นั ก งาน เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม และคณะ เข า เยี่ ย มชมกระบวนการผลิ ต ของกลุ  ม บริ ษั ท สุ ข สมบู ร ณ นํ้ า มั น ปาล ม จํ า กั ด เมื่ อ วั น อั ง คารที่ 15 มี น าคม 2559 ณ จังหวัดชลบุรี

คณะเจ า หน า ที่ สศอ. ศึ ก ษาดู ง านด า นการจั ด การความรู  (Knowledge Management) และกระบวนการผลิต ของ บริษัท วาย.เอส.เอส. (ประเทศไทย) จํากัด จังหวัดสมุทรปราการ ผูผ ลิตโชคอับจักรยานยนต โดยมี นายภิญโญ พานิชเกษม ประธานกรรมการบริหาร ใหการตอนรับ เมื่อวันพุธที่ 16 มีนาคม 2559

15


ʧ¡ÃÒ¹µ ÊÈÍ. òõõù

16

75/6 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2202 4274, 0 2202 4284 โทรสาร 0 2644 7136 www.oie.go.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.