SPT Editor's Picks August 2014

Page 1

AUGUST 2014

SPTEP 11


EDITOR’s TALK บรรยากาศของวงการ Street Photography เมืองไทย ตอนนี้ถือว่าอยู่ในช่วงขาขึ้น มีช่างภาพหน้าใหม่หน้าเก่าหันมา ถ่าย Street กันจำ�นวนมาก แต่ละคนฝีมือฉกาจฉกรรจ์กินกันไม่ ลงจริงๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิกในกลุ่ม Facebook ของ SPT นับได้ว่าเป็นที่รวมช่างภาพแนว Street ของไทยเอาไว้มากที่สุด จึงเป็นเรื่องน่ายินดีที่เห็นการตื่นตัวของคนในวงการถ่ายภาพของ ไทยที่เปิดรับภาพถ่ายแนวนี้มากขึ้น ตอนนี้ Street Photography ของไทยก็กำ�ลังก้าวเข้าสู่ ระดับนานาชาติ โดยทาง SPT เองก็เป็นส่วนหนึ่งที่ผลักดันใน เรื่องนี้ ทั้งในเรื่องการส่งภาพไปประกวดในต่างประเทศ และการ จัดนิทรรศการ “A Road to Paris” เป็นนิทรรศการครั้งที่ 2 ของ ทางกลุ่มที่จะจัดปลายปีนี้ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส (ปีที่แล้ว จัดที่หอศิลป์ฯ BACC) จึงนับเป็นก้าวสำ�คัญก้าวหนึ่งของการถ่าย ภาพ street photography ของเมืองไทยที่ได้ไปปักธงยังประเทศ ที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นสายของ Street Photography ในคาบเวลาเดียวกันกับนิทรรศการ “A Road to Paris” ทาง กลุ่มก็จะจัด Meeting & Talk ในชื่องาน “สตรีทไทยไปอินเตอร์” โดยจะมานั่งคุยกันถึงเรื่องการพัฒนาของวงการ street photography ของไทยที่กำ�ลังขยายตัวไปสู่ระดับนานาชาติ รายละเอียด เพิ่มเติมจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งครับ

ขอบคุณครับ Akkara Ning


Tavepong Pratoomwong


CONTRIBUTORS Eakakeeak Akeeakake Fung Chow Hun Shiun Ming Ch Naung Charnyuth Noppadol Maitreechit Rop พลิ้ว Sawin Bomb Songkran Weerapong Street Naja Supornchai Ratanamethanon Surat Chokechalerm Swarat Ghosh Tavepong Pratoomwong Therockermania Kerngburi Vineet Vohra Worwon Tungcharoen Xavier Comas เก้่าสามห้า ชัตเตอร์ลั่น ชิงแก่ ก่อนห่าม ลิงติ๊ก ใช้กอด


Worwon Tungcharoen


SHOOTER INTERVIEW

SAKULCHAI SIKITIKUL




SAKULCHAI SIKITIKUL แนะนำ�ตัวเล็กน้อย เป็นใครมาจากไหน ตอนนี้ทำ�อะไรอยู่ครับ สวัสดีครับ ผมชื่อสกุลชัย สี่กิติกุล ชื่อเล่น บอล ประกอบธุรกิจส่วน ตัวอยู่หาดใหญ่ จังหวัดสงขลาครับ เริ่มถ่ายภาพตั้งแต่ตอนไหน และรู้จัก street photography ได้ อย่างไร ใครคือแรงบันดาลใจครับ ก่อนหน้าจะมาถ่ายสตรีท ผมก็ถ่ายแฟน ถ่าย dof อะไรไปเรื่อย จน อยู่มาวันนึงเปิดไปเจองานของลุง Steve mccurry ซึ่งถือว่าเป็นอาจารย์ คนแรกเลยครับ เกิดคำ�ถามกับภาพของลุงแกมากเลย ว่าทำ�ไมมันถึงสวย งดงามกว่าการถ่ายคนเดิน คนเลี้ยงช้าง คนขี่จักรยานทั่วไป เอาไปถาม เพื่อนรุ่นพี่ แกแนะนำ�ให้รู้จักคำ�ว่า “Decisive Moment” ซึ่งตอนแรกยังไม่ ค่อยเข้าใจ แค่เริ่มสงสัยในภาพว่า ที่ภาพมันสวย(น่าจะ)เพราะจังหวะเดิน มาตรงช่องประตูพอดี ,จักรยานผ่านมาพอดี , เรือผ่านมาพอดี ซึ่งไม่ใช่ นาทีก่อนหน้า หรือ นาทีหลังจากนั้นแล้วก็มาเปิดเจอกับลุง Steve อีกที ใน magnumphoto เอาไปคุยกับเพื่อนรุ่นพี่คนเดิม แกก็แนะนำ�มาอีก”ให้ดู งานของปู่ อองลี” จากนั้นก็ยาวเลยครับ จนเพื่อนรุ่นพี่คนเดิมแนะนำ�ให้ไป สมัครเข้ากับกลุ่ม smiley in public1 ถึงได้มาเจอกันจนถึงทุกวันนี้อ่ะครับ ซึ่งกลุ่ม smiley in public กลุ่มตั้งต้น ถือว่าเป็นแรงบันดาลใจชั้นดีที่ทำ�ให้ ผมมองการถ่ายภาพสตรีทชัดเจนมากขึ้น

11. ชื่อกลุ่ม Facebook เดิมก่อตั้งโดยน้าต๋องและน้าโต้ง ก่อนมาตั้งใหม่เป็น Street Photo Thailand


ไม่ขอถามเรื่องความหมายของ street photography แต่อยากให้บอกถึงความรู้สึกที่มีต่อคำ�ๆนี้ การถ่ายสตรีทถือเป็นความสนุก ท้าทาย กับการถ่ายรูป แบบเดิมๆของผม การคว้าโมเม้นท์ในช่วงเวลาตรงนั้นมาได้มัน จะฟินสุดๆ (อันนี้ถามมาหลายคนแล้ว) ซึ่งพักหลังๆมันกลาย เป็นการเสพติดไปแล้ว55 แล้วพอมานั่งนึกทบทวนดีๆ จริงๆแล้ว ผมว่า decisive moment แทบจะเป็นหัวใจของภาพสวยๆใน เกือบทุกประเภทด้วยซ้ำ� ภาพหนึ่งของคุณ ball ได้เป็น finalist ของ UPSP 2014 ทำ�ไมถึงเลือกส่งภาพนี้ ช่วยเล่าเบื้องหลังภาพนั้นให้ฟังที ภาพแมวมองคนขุดลอกท่อ อันนี้ถ่ายส่งตามโจทย์ที่เขา ตั้งครับ ซึ่งโจทย์ที่เขาตั้งจะค่อนข้างเซอร์เรียลต้องตีความพอ สมควร เกี่ยวกับนรก สวรรค์อะไรสักอย่าง ตอนถ่ายก็ถ่ายหน้า บ้านตัวเองเลยครับ เผอิญวันนั้นช่วงเช้าเขามาขุดลอกท่อระบาย หน้าบ้าน แมวก็เป็นพี่สาวข้างบ้าน ซึ่งช่วงเช้า มันก็จะซนๆออก มาเดินสำ�รวจหน้าบ้านของมันไป ตอนแว้บแรกที่เห็นคนขุดลอก รีบคว้ากล้องออกไปถ่ายกะว่าจะได้จังหวะแปลกๆของคนขุด แต่ พอกวาดตาไปเห็นแมวมันหลบแดดมองอยู่ เลยถอยออกมามาก

ขึ้นเพื่อเก็บแมว และรอจนมันหันไปมองคนขุดครับ รู้สึกจะกด ไปไม่เกินสามรูปครับ แล้วคนขุดก็เงยหน้าทำ�อากัปกิริยาอื่น แมวก็ไปวิ่งเล่นของมันต่อ พอมาอ่านที่หัวข้อแล้วรู้สึกว่ามันน่า จะlink กับหัวข้อ โดยผมตีความเอาเหมือนกับว่า คนขุดขุดลงไป นรก โดยมีแมว(เทวดาจากสวรรค์)เฝ้ามองอยู่ ประมาณนี้ครับ ภาพส่วนใหญ่ของคุณ ball ถ่ายด้วยฟิล์ม คิดว่าฟิล์ม เหมาะกับ street photography มากกว่า digital หรือเปล่า ภาพส่วนใหญ่ผมจะถ่ายด้วยฟิล์ม อันนี้เป็นความชอบ ส่วนตัวเลยครับ ชอบในดีเทล คาแร็คเตอร์ของมัน ซึ่งผมว่าทั้ง ดิจิตอลและฟิล์มต่างมีข้อดีข้อด้อยที่ต่างกัน ดิจิตอลสามารถ พาเราไปในโมเม้นท์ที่ฟิล์มไปถึงได้ยาก เช่นการถ่ายแมวกำ�ลัง กระโดดกลางอากาศ อยู่ในโมเม้นท์ร่วมกับองค์ประกอบอื่นๆ ในภาพ ถ้าเป็นฟิล์มแค่ปรับหน้ากล้องก็แทบไม่ทันแล้ว ไหนจะ ต้องมาพะวงกับค่าฟิล์มที่กดออกไปอีก (ฮา) แต่ดิจิตอลพาเรา ไปคว้าโมเม้นท์ได้ไม่ยาก และไม่ต้องเปลืองเงินค่าฟิล์มที่ถ่าย เสีย แต่กล้องฟิล์มถ้าสามารถคว้าโมเม้นท์ในช่วงเวลานั้นได้ทัน ความฟินมันจะคูณสองครับ555 อีกอันนึงคือ การที่ดูงานอาจารย์ งานปู่อองลี น้าเออร์วิท




น้าเวป น้านิคอส สิ่งหนึ่งที่ผมรู้สึกนอกจากการคว้า desicive moment คือ ความสุนทรีย์ (อันนี้ผมอาจจะรู้สึกไปคนเดียวนะ555) ถ่าย Street ที่เมืองนอกยากกว่าที่เมืองไทยหรือเปล่าครับ คนที่ นั่นมองการถ่ายภาพแบบนี้อย่างไร เคยคิดเหมือนกันครับว่าเพราะเขาอยู่ต่างประเทศ บ้านเรือนเขา สวยงาม ไม่มีสายไฟฟ้ารกรุงรัง แสงแดดของเขาอมเหลืองส้มตัดกับสีฟ้า สดๆของท้องฟ้า ตึกรามบ้านช่องเป็นเส้นๆสวยงาม เขาเลยถ่​่ายออกมา สวย แต่พอมาวิเคราะห์จริงๆแล้ว ทุกที่มันมีความงามและโมเม้นท์เด็ดๆของ มันอยู่ที่ว่าเราจะคว้ามาได้รึเปล่า แม้แต่เวลาดูงานเพื่อนในกรุงเทพมีอะไร แปลกๆมันส์ๆบ่อยๆยังอิจฉา ในขณะที่บ้านผม ระเบิดก็มีเรื่อยๆ ผู้คนไม่ ค่อยเป็นมิตรกับที่มีคนยืนลับๆล่อๆรอถ่ายคนตามท้องถนน ซึ่งพาลให้คิดได้ ว่าเป็นการหาข่าวของโจรใต้รึป่าว55 อีกอันนึง ดูงานของอาจารย์หลายท่าน แทบจะทั้งหมดต้องเคยออก ไปถ่ายอะไรที่กันดารๆ ประเทศที่ไม่เจริญมากนัก วุ่นวายๆ แต่ก็สามารถ ถ่ายภาพสตรีทสวยๆออกมาได้ เห็นด้วยกับคำ�ว่า Buy Books, Not Gear หรือไม่ มีความคิดเห็น อย่างไร ถ้าเลือกได้ผมชอบดูงานบนกระดาษมากกว่าหน้าจอคอมพ์ครับ, ส่วนอุปกรณ์ ตากล้องบางท่านอาจจะมองมันมากกว่าการใช้งาน ไปถึงเรื่อง การสะสม อันนี้เข้าใจได้นะครับ คิดอย่างไรกับการส่งภาพถ่ายเข้าประกวด ส่งผลดีหรือผลเสีย กับตัวช่างภาพเองอย่างไร การประกวดนี่ตอบยากครับ มีทั้งข้อดีข้อเสีย ขึ้นอยู่กับตัวเราล้วนๆ เลยครับ ข้อดีคือมันท้าทายให้เราลองกับโจทย์ที่มีการตั้งขึ้น มากกว่าการ เดินถ่ายเฉยๆ แต่ข้อเสียมันก็มาก ถ้าเราได้รางวัลกลับมา งานต่อๆไปก็



กดดัน อีโก้ที่เกิดขึ้นอีก แล้วภาพมันก็ไม่ได้เกิดจากแข่งถ่าย จากที่ๆเดียวกัน การตัดสินแน่นอนมันก็เกิดการค้านสายตามัน ก็บั่นทอนเราอีก สรุปคือ ส่งบ้างแล้ววางมันเอาไว้อย่าไปคาด หวังอะไร ออกไปถ่ายรูปใหม่ๆดีกว่า (อันนี้น้าต๋องเคยเตือนสติ ครับ) ปกติออกไปถ่ายภาพมากน้อยแค่ไหนครับ ชอบไป ที่ๆคนพลุกพล่านหรือคนน้อยๆ ออกไปถ่ า ยเท่ า ที่ โ อกาสจะอำ � นวยเลยครั บ เพราะมี กิจการที่บ้านที่ต้องดูแล สถานทีนี่ไม่จำ�กัดเลยครับ คนเยอะๆ เราก็จะนึกถึงงานอาจารย์ที่ถ่ายคนเยอะมานึกๆเอาเป็นไกด์ ไลน์ ถ่ายคนน้อยๆสเปชเยอะๆก็เช่นเดียวกันครับ แต่ที่ชอบจะ

ชอบสตรีทแบบ classic ไม่หวือหวามาก มากกว่า modern ที่เน้น Impact ครับ Street Photography ในวงการถ่ายภาพไทยกำ�ลังเป็นที่ สนใจทั้งในและต่างประเทศ มีความเห็นในเรื่องนี้อย่างไร สตรีทบ้านเรามีความมันส์และหลากหลายมากขึ้นเรื่อยๆ คล้ายงานโฆษณาบ้านเรายุคนึงที่มีคนถามถึงโฆษณาสไตล์ไทยๆ ปล.ถ้าไม่แผว่กันไปเสียก่อน ช่วยฝากข้อความสั้นๆ (quote) ให้กับคนที่เริ่มถ่าย street photography ทีครับ ดูงานเยอะๆ ทลายความกลัว ความขี้เกียจ แล้วบ่ายนี้ออก จากบ้านไปถ่ายรูปกันนะครับ







EDITOR’s PICKS



Supornchai Ratanamethanon


Eakakeeak Akeeakake


Noppadol Maitreechit


Fung Chow


Therockermania Kerngburi


Surat Chokechalerm



Supornchai Ratanamethanon


Phasit Kittiomatasub


ลิงติ๊ก ใช้กอด


Surat Chokechalerm


Tavepong Pratoomwong



Tavepong Pratoomwong


Tavepong Pratoomwong


Ming Ch


Tavepong Pratoomwong


Street Naja


ลิงติ๊ก ใช้กอด


Therockermania Kerngburi


Sawin Bomb


Ming Ch



Xavier Comas


Tavepong Pratoomwong


Ming Ch


Therockermania Kerngburi



Therockermania Kerngburi


Street Naja


Naung Charnyuth


Vineet Vohra


Hun Shiun


Songkran Weerapong


เก้่าสามห้า ชัตเตอร์ลั่น



เก้่าสามห้า ชัตเตอร์ลั่น


เก้่าสามห้า ชัตเตอร์ลั่น


Swarat Ghosh


ชิงแก่ ก่อนห่าม


เก้่าสามห้า ชัตเตอร์ลั่น


Noppadol Maitreechit



Rop พลิ้ว


Surat Chokechalerm


Street Naja


Therockermania Kerngburi


Swarat Ghosh


SUBMISSION

Post your photo on www.facebook.com/groups/streetphotothailand If your photo is cool, we’ll publish your photo in this e-magazine.


WWW.STREETPHOTOTHAILAND.COM


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.