ทฤษฎีการออกแบและพัฒนาเว็บไซต์

Page 1

0



หลักการ ทฤษฎี เกีย่ วกับการพัฒนาเว็บไซต์

ผู้เขียน ศิริวไิ ล มาตรเลิง

ทีป่ รึกษางาน อาจารย์ปวริ ศ สารมะโน

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม


คํานํา ในปั จจุบนั นี้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการดํารงชีวติ ของมนุษย์น้ นั มีอยูอ่ ย่าง หลากหลายปั จจัย โดยเฉพาะอย่างยิง่ คือ Internet เพราะการมี Internet สามารถทําให้ มนุษย์รู้สึกเหมือนมีอิสระทางความคิดไม่ถูกปิ ดกั้น และมีการสื่ อสารที่ไร้พรมแดน เป็ นต้น และสิ่ งสําคัญที่เป็ นองค์ประกอบหลักในการใช้ Internet ก็คือ Web Page นั้นเอง ดังนั้นการศึกษาหาความรู ้ในเรื่ องของการพัฒนา Web Page จึงเป็ นสิ่ งที่ น่าสนใจอยูไ่ ม่นอ้ ย การศึกษาหลักการและทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์น้ นั โดย มาแล้วในปั จจุบนั ก็สามารถศึกษาตามแหล่งการเรี ยนรู ้ประเภทต่างๆได้ หนึ่งในแหล่ง การเรี ยนรู ้ที่น่าสนในอย่างหนึ่งก็คือ ผลงานวิจยั และวิทยานิพนธ์ต่างๆ นั้นเอง ซึ่งทาง คณะผูจ้ ดั ทําหนังสื อเล่มเล็กเล่มนี้ก็ได้ทาํ การศึกษาค้นคว้าถึงหลักการและทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์มาเป็ นอย่างดีจนกระทั้งสามารถตกผลึกองค์ความรู ้ที่ สําคัญๆออกมาเป็ นหนังสื อเล่มเล็ก เรื่ อง “หลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการพัฒนา เว็บไซต์” เล่มนี้ โดยในที่สุดแล้วทาคณะผูเ้ ขียนหนังสื อเล่มนี้ก็ได้คาดหวังเอาไว้เป็ น อย่างสูงว่า ผูท้ ี่มีโอกาสได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ในเรื่ องที่เกี่ยวกับหลักการและ ทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเว็บไซต์ในหนังสื อเล่มนี้จะต้องได้รับความรู ้ไม่ มากก็นอ้ ย

คณะผูจ้ ดั ทํา


เรื่อง ความหมายของเว็บไซต์ หลักการออกแบบและพัฒนา ระบบเนวิเกชัน่ หรื อระบบนําทาง ทฤษฎีการใช้สีบนเว็บไซต์ การโปรโมทเว็บไซต์ ทฤษฎีการสื่ อสาร ระบบติดต่อผูใ้ ช้ หรื อระบบการปฏิสมั พันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบั ผูใ้ ช้ การประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ โครงสร้างของเว็บไซต์ เอกสารอ้างอิง

สารบัญ

หน้ า 1 2 6 8 12 16 18 19 21


1

หลักการ ทฤษฎี เกีย่ วกับการพัฒนาเว็บไซต์ ในปั จจุบนั นี้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการดํารงชีวติ ของมนุษย์น้ นั มีอยูอ่ ย่าง หลากหลายปั จจัย โดยเฉพาะอย่างยิง่ คือ Internet เพราะการมี Internet สามารถทําให้ มนุษย์รู้สึกเหมือนมีอิสระทางความคิดไม่ถูกปิ ดกั้น และมีการสื่ อสารที่ไร้พรมแดน เป็ นต้น และสิ่ งสําคัญที่เป็ นองค์ประกอบหลักในการใช้ Internet ก็คือ Web Page นั้นเอง ดังนั้นการศึกษาหาความรู ้ในเรื่ องของการพัฒนา Web Page จึงเป็ นสิ่ งที่ น่าสนใจอยูไ่ ม่นอ้ ย 1. ความหมายของเว็บไซต์ คําว่าเว็บไซต์หรื อเวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web หรื อ WWW หรื อ W3 หรื อ Web) คือ บริ การค้น หรื อเรี ยกดูขอ้ มูลแบบหนึ่งในอินเตอร์เน็ต ข้อมูล ในเวิลด์ ไวด์เว็บ จะอยูใ่ นแบบสื่ อผสม หรื อมัลติมีเดีย (mulyimedia) ที่มีตวั อักษร รู ปภาพ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดีโอ ขอมูลจะถูกแบ่งเป็ นหน้าๆแต่ ล่ะหน้าสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้เป็ นเครื อข่ายคล้ายใย แมงมุม จากแหล่งต่างๆ ที่กระจายอยูท่ วั่ โลก เวิลด์ ไวด์ เว็บ เป็ นการใช้งานอินเทอร์เน็ตในลักษณะของการติดต่อสื่ อสาร สื บค้นข้อมูลต่างๆที่มีอยูใ่ นเครื อข่าย ซึ่งมีการพัฒนาให้ใช้ง่ายต่อการใช้งานใน ลักษณะของกราฟิ ก (Graphical User Interface : GUI) ในระบบไฮเปอร์เท็กซ์และ ไฮเปอร์มีเดีย ซึ่งมีขีดความสามารถในการเชื่อมโยงข้อมูล ไม่วา่ จะเป็ นตัวอักษร, รู ปภาพ, เสี ยง และอื่นๆ อีกมากมาย


โดยสรุ ปแล้ว เว็บไซต์ (อังกฤษ: Website, Web site หรื อ Site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จดั ทําขึ้นเพื่อ นําเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของ เว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรี ยกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทัว่ ไปจะให้บริ การต่อผูใ้ ช้ ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาํ เป็ นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสี ยค่าบริ การ เพื่อที่จะดูขอ้ มูล ในเว็บไซต์น้ นั ซึ่งได้แก่ขอ้ มูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรื อข้อมูลสื่ อต่างๆ ผูท้ าํ เว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาํ หรับธุรกิจหรื อองค์กรต่างๆ การเรี ยกดูเว็บไซต์โดยทัว่ ไปนิยม เรี ยกดูผา่ นซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ 21

2. หลักการออกแบบและพัฒนา 2.1 หลักการออกแบบเว็บเพจ การออกแบบและพัฒนา เว็บเพจ สามารถทําได้หลายระบบ ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของข้อมูล ความชอบของ ผูพ้ ฒั นา ตลอดจนกลุ่มเป้ าหมาย ที่ตอ้ งการ นําเสนอ เช่น หากกลุ่มเป้ าหมายเป็ นเด็ก วัยรุ่ น และนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ ความ บันเทิง อาจจะออกแบบให้มี ทิศทางการไหลของหน้าเว็บที่หลากหลายใช้ลูกเล่นได้ มากกว่าเว็บที่นาํ เสนอ ให้กบั ผูใ้ หญ่ หรื อ เว็บด้านวิชาการ หลักการออกแบบเว็บเพจ สามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ 1.1 แบบลําดับขั้น (Hierarchy) เป็ นการจัดแสดงหน้าเว็บ เรี ยง ตามลําดับกิ่งก้านแตกแขนงต่อเนื่องไปเหมือนต้นไม้กลับหัว 1.2 แบบเชิงเส้น (Linear) เป็ นการจัดแสดงหน้าเว็บเรี ยงต่อเนื่องไปใน ทิศทางเดียว 21


1.3 แบบผสม (Combination) เป็ นการจัดหน้าเว็บชนิดผสมระหว่าง แบบลําดับขั้น และแบบเชิงเส้น 2.2 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บเพจ การพัฒนาเว็บเพจมีข้ นั ตอนต่อไปนี้ 1. วางแผนการพัฒนาเว็บเพจ 2. กําหนดไดเร็ กทรอรี่ หรื อโฟลเดอร์ (Directory/Folder) 3. สร้างภาพ หรื อ จัดหาภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา แล้วจัดเก็บไว้ 4. สร้างเอกสารเว็บ โดยกําหนดชื่อไฟล์เอกสารเว็บตามข้อกําหนดของ ผูด้ ูแลระบบเครื อข่าย (Web Syatem Administrator) และจัดเก็บไว้ในไดเร็ กทรอรี่ 5. ตรวจสอบผลเอกสารเว็บผ่านบราวเซอร์ 6. ส่งข้อมูลขึ้นเครื่ องแม่ข่าย (Server) และทําการตรวจสอบผลการ เรี ยกดูจากแม่ข่าย การออกแบบเว็บไซต์วา่ ไม่ได้หมายถึงลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอย่าง เดียว แต่เกี่ยวข้องตั้งแต่การเริ่ มต้นกําหนดเป้ าหมายของเว็บไซต์ ระบุกลุ่มผูใ้ ช้ การ จัดระบบข้อมูล การสร้างระบบเนวิเกชัน การออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้ กราฟิ ก การเลือกใช้สี และการจัดรู ปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังต้องคํานึงถึงความ แตกต่างของสื่ อกลางในการแสดงผลเว็บไซต์ดว้ ย สิ่ งเหล่านี้ได้แก่ ชนิดและรุ่ นของ บราวเซอร์ ขนาดของหน้าจอมอนิเตอร์ ความละเอียดของสี ในระบบ รวมไปถึง Plugin ชนิดต่าง ๆ ที่ผใู ้ ช้มีอยู่ เพื่อให้ผใู ้ ช้เกิดความสะดวกและความพอใจที่จะท่องไปใน เว็บไซต์น้ นั ดังนั้นทุกสิ่ งทุกอย่างในเว็บไซต์ท้ งั ที่คุณมองเห็นและมองไม่เห็นล้วน เป็ นผลมาจากกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ท้ งั สิ้นเว็บไซต์ที่ดูสวยงามหรื อมีลูกเล่น มากมายนั้น อาจจะไม่นบั เป็ นการออกแบบที่ดีก็ได้ ถ้าความสวยงามและลูกเล่น เหล่านั้นไม่เหมาะสมกับลักษณ์ของเว็บไซต์ ด้วยเหตุน้ ีจึงเป็ นเรื่ องยากที่จะระบุวา่ การ


ออกแบบเว็บไซต์ที่ดีน้ นั เป็ นอย่างไร เนื่องจากไม่มีหลักเกณฑ์แน่นอนที่จะใช้ได้กบั ทุกเว็บไซต์ 1. องค์ ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ อย่ างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบ ต่อไปนี้ถือเป็ นพื้นฐานที่สาํ คัญของเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบมาอย่างมี ประสิ ทธิภาพ

1) ความเรียบง่ าย (Simplicity)หลักที่สาํ คัญของความเรี ยบง่าย คือ การสื่ อสารเนื้อหาถึงผูใ้ ช้โดยจํา กัดองค์ประกอบเสริ ม ที่เกี่ยวข้องกับการนําเสนอ ให้เหลือเฉพาะสิ่ งที่จาํ เป็ นเท่านั้น เช่น การใช้รูปภาพที่เกี่ยวกับองค์กรเพียงอย่างเดียว ในการนําเสนอ 2) ความสมํา่ เสมอ (Consistency)คือ การใช้รูปแบบเดียวกันตลอด ทั้งเว็บไซต์ เนื่องจากผูใ้ ช้จะรู ้สึกกับเว็บไซต์วา่ เป็ นเสมือนสถานที่จริ ง ถ้าลักษณะของ แต่ละหน้าในเว็บไซต์เดียวกันนั้นแตกต่างกันมาก ผูใ้ ช้ก็จะเกิดความสับสนและไม่ แน่ใจว่ากําลังอยูใ่ นเว็บเดิมหรื อไม่ ดังนั้นรู ปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิ ก ระบบเน วิเกชัน และโทนสี ที่ใช้ควรจะมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ การมีรูปแบบใน แต่ละหน้าที่ไม่เหมือนกัน จนทําให้ไม่แน่ใจว่ายังอยูใ่ นเว็บเดิมหรื อเปล่า เมื่อ ออกแบบโครงสร้างของหน้าเว็บเพจ รู ปแบบของกราฟิ ก ลักษณะตัวอักษร โทนสี


และองค์ประกอบอื่น ๆ เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว ก็ควรนําลักษณะดังกล่าวไปใช้กบั ทุก ๆ หน้าให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เพื่อเป็ นเอกลักษณ์ให้ผใู ้ ช้สามารถ จดจําลักษณะของเว็บไซต์ได้ดียง่ิ ขึ้น 3) ความเป็ นเอกลักษณ์ (Identity)การออกแบบต้องคํานึงถึง ลักษณะขององค์กร เนื่องจากรู ปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ และ ลักษณะขององค์กรนั้นได้ โดยการใช้สี และสัญลักษณ์ขององค์กรเป็ นส่วนประกอบ 4) เนือ้ หาทีม่ ปี ระโยชน์ (Useful Content)เนื้อหาถือเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญ ที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นในเว็บไซต์ควรจัดเตรี ยมเนื้อหาและข้อมูล ที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการให้ ถูกต้องและสมบูรณ์ โดยมีการปรับปรุ งและเพิ่มเติมให้ทนั ต่อเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื้อหาที่สาํ คัญที่สุดคือ เนื้อหาที่สร้างขึ้นมาเองโดยทีมงานของคุณและไม่ซ้ าํ กับเว็บ อื่นเพราะจะเป็ นสิ่ งที่ดึงดูดผูใ้ ช้ให้เข้ามาในเว็บไซต์อยูเ่ สมอ 5) ระบบเนวิเกชันทีใ่ ช้ งานง่ าย (User-Friendly Navigation) ระบบเนวิเกชันเป็ นองค์ประกอบที่สาํ คัญมากของเว็บไซต์ จะต้องออกแบบให้ผใู ้ ช้ เข้าใจได้ง่ายและใช้งานสะดวก โดยใช้กราฟิ กที่สื่อความหมายร่ วมกับคําอธิบายที่ ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและลําดับของรายการที่สมํ่าเสมอ 6) มีลกั ษณะทีน่ ่ าสนใจ (Visual Appeal)เป็ นเรื่ องยากที่จะตัดสิ น ว่าลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์น่าสนใจหรื อไม่ เพราะเกี่ยวข้องกับความชอบของแต่ ละบุคคลอย่างไรก็ตามหน้าตาของเว็บไซต์จะมีความสัมพันธ์กบั คุณภาพของ องค์ประกอบต่าง ๆ 7) การใช้ งานอย่ างไม่ จาํ กัด (Compatibility)ควรออกแบบเว็บไซต์ ให้ผใู ้ ช้ส่วนใหญ่เข้าถึงได้มากที่สุด โดยไม่มีการบังคับให้ผใู ้ ช้ตอ้ งติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม หรื อต้องเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่งจึงจะสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ สามารถแสดงผลได้ในทุกระบบปฏิบตั ิการและที่ความละเอียดหน้าจอต่างกันอย่างไม่ มีปัญหา


8) คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability)ถ้าต้องการให้ผใู ้ ช้ รู ้สึกว่าเว็บไซต์ที่มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ก็ควรให้ความสําคัญกับการ ออกแบบเว็บไซต์เป็ นอย่างมาก เช่น การรักษาคุณภาพความเป็ นเอกลักษณ์ของ องค์กร การออกแบบส่วนเชื่อมโยง การออกแบบชุดสี การออกแบบกล่องโต้ตอบ ฯลฯ เหล่านี้ลว้ นเป็ นสิ่ งจําเป็ นทั้งสิ้น 9) ระบบการใช้ งานทีถ่ ูกต้ อง (Functional Stability)ระบบการ ทํางาน ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอน และทําหน้าที่ได้อย่างถูกต้องทําให้ผใู ้ ช้ไม่ รู ้สึกหลงทางขณะใช้งานเว็บไซต์ ซึ่งระบบการทํางานที่ถูกต้องเป็ นส่วนทีเกี่ยวเนื่อง กับการออกแบบระบบเนวิเกชัน 2. กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ เป็ น กระบวนการที่อาศัยหลักการจัดระบบโครงสร้างข้อมูล (Information Architecture) อยูใ่ นหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ข้ นั แรกจนถึงขั้นที่ได้เป็ นรู ปแบบโครงสร้างสุดท้าย (Final Architecture Plan) ซึ่งถือเป็ นกระบวนการที่สาํ คัญมากที่จะทําให้เว็บไซต์ บรรลุตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล คือ การพิจารณาว่าเว็บไซต์ ควรจะมีขอ้ มูลและการทํางานใดบ้าง ด้วยการสร้างเป็ นแผนผังโครงสร้างก่อนที่จะ เริ่ มลงมือพัฒนาเว็บเพจ โดยเริ่ มจากการกําหนดเป้ าหมายเว็บไซต์ และกลุ่มผูใ้ ช้ เป้ าหมาย ต่อมาก็พิจารณาถึงเนื้อหาและการใช้งานที่จาํ เป็ นแล้วนํามาจัดกลุ่มให้เป็ น ระบบ จากนั้นก็ถึงเวลาในการออกแบบโครงสร้างข้อมูลในหน้าเว็บ ให้พร้อมที่จะ นําไปออกแบบกราฟิ ก และหน้าตาให้สมบูรณ์ต่อไป 3. ระบบเนวิเกชั่นหรือระบบนําทาง (Navigation System) เนวิเกชัน่ คือ เป็ นการออกแบบลักษณะของปุ่ มเมนูเนวิเกชัน่ (Navigation Menu) ตําแหน่งการจัดวาง รวมถึงลักษณะการเชื่อมโยงข้อมูลภายในเว็บไซต์ รวม เรี ยกว่า ระบบเนวิเกชัน่ หลัก (MainNavigation)เนวิเกชัน่ เมนู ประกอบด้วยกลุ่มลิงค์ ต่างๆ รวมกันอยูใ่ นบริ เวณหนึ่งของหน้าเว็บทําหน้าที่นาํ เสนอวิธีการท่องเว็บไซต์ดว้ ย


เส้นทางต่างๆ กัน ระบบเนวิเกชัน่ หลักที่นิยมใช้ทว่ั ไปมี 2 แบบ คือ - ระบบเนวิเกชัน่ แบบลําดับชั้น (Hierarchical) ซึ่งเป็ นเนวิเกชัน่ แบบ พื้นฐาน เป็ นการเชื่อมโยงข้อมูลแบบรากต้นไม้ จากหน้าหลักไปยังหน้าย่อยๆ ถัดลง ไป หรื อย้อนกลับขึ้นมาตามลําดับชั้น ทําให้การเคลื่อนที่ในเว็บไซต์เป็ นแนวตั้ง ไม่ คล่องตัว ต้องอาศัยระบบเนวิเกชัน่ เสริ ม - ระบบเนวิเกชัน่ แบบโกลบอล (Global) หรื อเชื่อมโยงแบบอิสระ (Referential) เป็ นการลิงค์ขอ้ มูลแบบอิสระ ทําให้สามารถเคลื่อนที่ได้ท้ งั แนวตั้งและ แนวนอนอย่างมีประสิ ทธิภาพตลอดทัว่ ทั้งเว็บไซต์เนวิเกชัน่ เมนูมีหลายประเภท ทํา หน้าที่แสดงหัวข้อย่อยของเนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจนั้นๆ รู ปแบบที่นิยมใช้ทว่ั ไป

ไอคอนที่ดีจะต้องจําได้ง่าย สื่ อความหมายชัดเจน ทําได้โดยการใช้สญ ั ลักษณ์ที่ผใู ้ ช้ คุน้ เคย และไม่ควรใช้สีมากกว่า 2 สี จํานวนของไอคอนควรพิจารณาใช้ตามความ จําเป็ นในการใช้งาน โดยจัดกลุ่มไอคอนแยกต่างหากจากเนวิเกชัน่ เมนู สําหรับการ ใช้เนวิเกชัน่ เมนูแบบตัวอักษรนั้น ควรเลือกใช้คาํ ที่ส้ นั กระชับแต่ได้ใจความชัดเจน ตําแหน่งการจัดวางเนวิเกชัน่ เมนูข้ ึนอยูก่ บั ระบบเนวิเกชัน่ ที่ใช้ เนวิเกชัน่ แบบ เชื่อมโยงอิสระ ควรวางไว้ตาํ แหน่งบนสุด หรื อด้านซ้าย ซึ่งผูใ้ ช้จะมองเห็นได้ก่อน


เนื่องจากรู ปแบบการมอง(Viewing Pattern) ของผูอ้ ่าน จะเป็ นแนวจากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง ถ้าเป็ นเนวิเกชัน่ แบบโลคอล ควรมีลิงค์ไปยังหน้าแรกในทุกๆ เว็บ เพจ และอยูใ่ นตําแหน่งเดียวกันทุกหน้า ซึ่งอาจเป็ นด้านล่างสุดของทุกหน้าก็ได้ 1) รู ปแบบของเนวิเกชั่นระบบเนวิเกชัน่ สําหรับเว็บไซต์ขนาดใหญ่มกั ใช้ หลายรู ปแบบร่ วมกันเพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูลให้มากขึ้น ซึ่งผูอ้ อกแบบควรมี ความเข้าใจและเลือกใช้อย่างเหมาะสม โดย ไม่ให้หลากหลายหรื อจํากัดเกินไป ระบบเนวิเกชัน่ แบ่งออกเป็ น 4 รู ปแบบดังนี้ 1. ระบบเนวิเกชัน่ แบบลําดับขั้น (Hierarchical) 2. ระบบเนวิเกชัน่ แบบโกลบอล (Global) 3. ระบบเนวิเกชัน่ แบบโลคอล (Local) 4. ระบบเนวิเกชันแบบเฉพาะที่ (Ad Hoc) 2) องค์ ประกอบของระบบเนวิเกชั่นหลัก (Main Navigation Elements) ระบบเนวิเกชัน่ ที่สาํ คัญและพบได้มากที่สุดคือ เนวิเกชัน่ ที่อยูใ่ นหน้าเดียวกับเนื้อหา ไม่ใช่เนวิเกชัน่ ที่อยูใ่ นหน้าแรก เนื่องจากเมื่อผูใ้ ช้ผา่ นหน้าแรกเข้าไปสู่ภายใน เว็บไซต์แล้ว ก็ไม่อยากจะกลับมาเริ่ มต้นใหม่ที่หน้าแรกทุกครั้งก่อนจะเข้าไปดูเนื้อหา ในส่วนอื่น ๆ ต่อ ระบบเนวิเกชัน่ หลักทั้งแบบโกลบอล (Global) และแบบโลคอล (Local) จึงช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถย้ายจากหน้าใดๆ ไปสู่ส่วนอื่นในเว็บไซต์ได้อย่าง คล่องตัว องค์ประกอบของเนวิกเกชัน่ มีได้หลายรู ปแบบ ได้แก่เนวิเกชัน่ บาร์ เนวิ เกชัน่ เฟรม Pull down, menu, pop-up menu, image map และ search box 4. ทฤษฎีการใช้ สีบนเว็บไซต์ สาวิตรี เตชะคํา(2551 : 20) กล่าวว่า การออกแบบเกี่ยวกับสี ไม่ใช่เรื่ องง่าย แม้วา่ จะมีกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ช่วยในการสร้างชุดสี (color scheme) ที่มีประโยชน์ มากมาย แต่ก็มีแนวทางและความเข้าใจผิดจํานวนมากที่จะนําไปสู่การสร้างชุดสี ที่ให้ ความรู ้สึกไม่เหมาะสม ในบางสถานการณ์อาจใช้สีเป็ นเพียงเครื่ องประดับอย่างหนึ่ง


ในการออกแบบ แต่ในทางตรงกันข้าม การใช้สีที่มากเกินไป อาจทําให้ไปบดบัง องค์ประกอบอื่นๆในหน้าเว็บเพจได้ ดังนั้นการเลือกใช้สีให้เหมาะสมและเกิด ประโยชน์จึงเป็ นเรื่ องสําคัญ แม้วา่ การเลือกชุดของสี มาใช้ในเว็บเพจค่อนข้างจะ ขึ้นอยูก่ บั ความชอบของแต่ละคน อย่างน้อยเราควรมีความเข้าใจถึงหลักการใช้สี เบื้องต้น ที่จะช่วยในการเลือกใช้สีชุดใดชุดหนึ่งจากชุดสี พ้นื ฐานอื่นๆได้อย่าง เหมาะสมกับลักษณะของเว็บไซต์ อย่างไรก็ตามทฤษฎีเหล่านี้จะไม่ทาํ ให้คุณสามารถ เลือกชุดสี ได้ในทันทีทนั ใด แต่อย่างน้อยก็จะช่วยนําคุณไปในทิศทางที่ถูกต้องได้ รู ปแบบชุดสีพนื้ ฐาน (Simple Color Schemes)รู ปแบบชุดสี เป็ นการกําหนด โทนสี ความ ใกล้เคียง ความแตกต่าง ของสี ซึ่งรู ปแบบเหล่านี้เป็ น เพียงหลักการเบื้องต้น และยังคงต้องทําการปรับเปลี่ยน ค่าของสี (Hue) ความอิ่มตัวของสี (saturation) และ ความสว่างของสี (lightness) เพื่อให้เกิดลักษณะที่อ่าน ง่าย สวยงาม และเหมาะสมกับเนื้อหาของเว็บไซต์ สามารถแบ่งได้เป็ น 1) ชุดสีร้อน (Warm Color Scheme)ชุดสี ร้อนประกอบด้วยสี ม่วงแกมแดง แดงแกมม่วง แดง ส้ม เหลือง และเขียวอมเหลือง สี เหล่านี้สร้าง ความรู ้สึกอบอุ่น สบาย และความรู ้สึกต้อนรับแก่ผชู ้ ม ช่วยดึงดูดความสนใจได้ง่าย ในทางจิตวิทยาสี ร้อนมีความสัมพันธ์กบั ความสุข สะดวก สบาย สี ต่างๆในชุดสี ร้อนมี ความกลมกลืนอยูใ่ นตัวเอง ขณะที่อาจจะดูไม่น่าสนใจบ้าง เพราะขาดสี ประกอบที่ตดั กันอย่างชัดเจน 2) ชุดสีเย็น (Cool Color Scheme)ชุดสี เย็นประกอบด้วยสี ม่วง นํ้า เงิน นํ้าเงินอ่อน ฟ้ า นํ้าเงินแกมเขียว และสี เขียวตรงกันข้ามกับชุดสี ร้อน ชุดสี เย็นให้ ความรู ้สึกเย็นสบาย องค์ประกอบที่ใช้สีเย็นเหล่านี้จะดูสุภาพเรี ยบร้อย และมีความ ชํานาญ แต่ในทางจิตวิทยา สี เย็นเหล่านี้กลับมีความสัมพันธ์กบั ความซึมเศร้าหดหู่


และเสี ยใจ นอกจากนั้น ชุดสี เย็นมีความกลมกลืนกันโดยธรรมชาติ แต่อาจจะดูไม่ น่าสนใจในบางครั้ง เพราะขาดความแตกต่างของสี ที่เด่นชัด เช่นเดียวกับชุดสี ร้อน จะ เห็นว่า มีอีก 2 สี ที่ไม่อาจจําแนกออกเป็ นสี ร้อนหรื อสี เย็นได้อย่างแน่นอน ซึ่งก็คือสี เหลืองและสี เขียว เพราะสี ท้ งั สองสามารถให้ความรู ้สึกได้ท้ งั ร้อนและเย็นตามแต่ สถานการณ์และสี รอบข้าง 3) ชุดสีแบบสีเดียว (Monochromatic Color Scheme)รู ปแบบของ ชุดสี ที่ง่ายที่สุดคือชุดแบบสี เดียวที่มีค่าของสี บริ สุทธิ์เพียงสี เดียวความหลากหลายของสี ชุดนี้ เกิดจากการเพิ่มสี เดียว ความหลากหลายของสี ชุดนี้เกิดจากการเพิ่มความ เข้มหรื อความเข้ม หรื อความอ่อนในระดับต่างๆ ให้กบั สี ต้ งั ต้น ดังนั้น ชุดสี แบบเดียวของสี แดงอาจประกอบด้วยสี แดงล้วน สี แดงอิฐ (สี เข้ม ของสี แดง) สี สตรอเบอร์รี่(สี อ่อนปานกลางของสี แดง)และชมพู (สี อ่อนมากของสี ชมพู)ชุด สี แบบนี้ค่อนข้างจะมีความกลมกลืนเป็ นหนึ่งเดียวกัน และประสิ ทธิภาพในการสร้าง อารมณ์โดยรวมด้วยการใช้สีเพียงสี เดียว 4) ชุดสีแบบสามเส้ า (Triadic Color Scheme)วิธีการที่งายอีกแบบ หนึ่งในการเลือกชุดสี มาใช้ก็คือ การนึกถึง สามเหลี่ยมด้านเท่าลอยอยูเ่ หนือวงล้อสี เพียง เท่านี้ สี ที่อยูท่ ี่มุมของสามเหลี่ยมทั้งสามก็จะเป็ น สี ที่เข้าชุดกัน ชุดสี ที่ได้จาก การเลือกแบบนี้จึง เรี ยกว่า ชุดสี แบบสามเส้า ซึ่งอาจประกอบด้วยสี สามสี ที่มีระยะห่างกันเท่ากันในวงล้อสี จึงมี ความเข้ากันอย่างลงตัว ชุดสี แบบสามเส้าที่มีประสิ ทธิภาพมากที่สุดคือ ชุดที่


ประกอบด้วยสี ข้ นั ต้นทั้งสามนั้นเอง เนื่องจากการตัดกันอย่างรุ นแรงของสี ท้ งั สาม นัน่ เอง เนื่องจากการตัดกันอย่างรุ นแรงของสี ท้ งั สาม ที่สร้างความสะดุดตาอย่างมาก ส่วนชุดสี ที่ได้จากสี ช้ นั สองและสี ข้ นั ที่สามนั้น ยากต่อการนํามาใช้เพราะความ แตกต่างของสี ดงั กล่าวยังไม่รุนแรงนักชุดสี แบบสามเส้ามีขอ้ ได้เปรี ยบตรงที่มี เสถียรภาพสูง 5) ชุดสีทคี่ ล้ ายคลึงกัน (Analogous Color Scheme)ชุดสี ที่มีรูป แบบอย่างง่ายอีกแบบหนึ่ง ก็คือชุดสี ที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งจะประกอบด้วยสี 2 หรื อ 3 สี ที่ อยูต่ ิดกันในวงล้อสี เช่นสี แดงแกมม่วง สี แดง และสี สม้ เนื่องจากชุดสี ที่อยูใ่ นรู ปแบบ นี้มี จํานวนมากมายทําให้เราสามารถเลือกชุดสี แบบ นี้มาใช้งานได้อย่างง่ายสะดวก และแม้วา่ เราจะ เพิ่มจํานวนสี ในชุดให้มากขึ้นเป็ น 4 หรื อ 5 สี ได้ แต่กลับจะมีผลให้ขอบเขตของสี ที่มีความกว้าง เกินไป ทําให้สีอยูต่ รงปลายทั้งสองของชุดไม่มี ความสัมพันธ์กนั เป็ นสาเหตุให้ลกั ษณะการที่อยูต่ รงปลายทั้งสองชุดไม่มี ความสัมพันธ์ เป็ นสาเหตุให้ลกั ษณะการที่มีสีคล้ายคลึงกันลดลง 6) ชุดสีตรงข้ าม (Complementary Color Scheme)สี ตรงข้ามในที่น้ ี หมายถึง สี ที่อยูต่ รงกันข้ามกันในวงล้อสี เช่น สี แดง กับฟ้ าหรื อสี น้ าํ เงินอ่อนกับส้มน่าสนใจที่วา่ เมื่อนําสี ทั้งสองนี้มาผสมกัน จะได้ผลลัพธ์เป็ นสี ขาวสําหรับ วงล้อสี แบบบวก หรื อได้เป็ นสี ดาํ สําหรับวงล้อสี แบบลบ ที่เป็ นเช่นนี้ก็เนื่องจากว่าสี แต่ละสี ที่อยูต่ รง ข้ามกัน จะมีอตั ราส่วนของสี ข้ นั ต้นที่ผกผันกัน จากคุณสมบัติน้ ีเราอาจเรี ยกสี คู่น้ ีวา่ เป็ น “สี เติมเต็ม” ก็ได้เมื่อนําสี ท้ งั สองมาใช้คู่กนั ก็จะทําให้สีท้ งั สองมีความสว่าง และ


สดใสมากขึ้น ซึ่งถือเป็ นคู่สีที่มีความแตกต่างมากที่สุด และยังมีความเสถียรมากที่สุด (maximum contrast andmaximum stability) 7) ชุดสีตรงข้ ามข้ างเคียง (Split Complementary Color Scheme)ชุดสี ตรงข้ามข้างเคียงมีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงมาจาก ชุดสี ตรงข้าม แต่ละความแตกต่างกันที่สีใดสี หนึ่งที่อยูต่ รงข้ามกันถูกแทนที่ดว้ ยสี ที่อยู่ ด้านข้างทั้งสอง เช่น สี ฟ้าซึ่งมีสีดา้ นข้างเป็ นสี น้ าํ เงินอ่อนกับสี น้ าํ เงินแกมเขียว ฉะนั้นชุดสี ตรง ข้ามข้างเคียงที่ได้จึงประกอบด้วย สี แดง สี น้ าํ เงินอ่อน และสี น้ าํ เงินแกมเขียว 8) ชุดสีตรงข้ ามข้ างเคียงทั้ง 2 ด้ าน (Double Split Complementary Color Scheme)ชุดสี แบบนี้ถูกดัดแปลงมาจากชุดสี ตรงข้าม เช่นกัน แต่คราวนี้สีตรงกันข้ามทั้งสองถูกแบ่งแยกเป็ นสี ดา้ นข้างทั้ง 2 ด้าน จึงได้เป็ นชุดสี 4 สี ดังเช่นสี แดงแกมม่วงกับนํ้าเงินแกมเขียว และนํ้าเงินอ่อนกับส้ม ข้อได้เปรี ยบที่เห็นได้ ชัด คือ ความหลากหลายที่เพิ่มขึ้นจากชุดสี ตรงข้ามแบบแบ่งแยก ส่วนข้อเสี ยเปรี ยบก็ ยังมีลกั ษณะเช่นเดิมที่ความสดใสและความกลมกลืนของสี ลดลง 5. การโปรโมทเว็บไซต์ องค์กรธุรกิจใดก็ตามเมื่อจัดสร้างเว็บไซต์แล้ว จะต้องพยายามทําให้ เว็บไซต์เป็ นที่รู้จกั เพื่อให้มีผเู ้ ข้ามาเยีย่ มชมเป็ นจํานวนมาก ในการทําให้เว็บไซต์เป็ น ที่รู้จกั จําเป็ นต้องอาศัย การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ที่ดีผา่ นทางสื่ อต่างๆซึ่งกระทํา ได้ดงั นี้ (ชรี รัตน์ ประจักษ์ธรรม 2541 : 35) 1..การโฆษณาและประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ในสื่ อทัว่ ไป ทั้งสิ่ งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์หรื อบิลบอร์ด โดยการใส่ที่อยูเ่ ว็บไซต์ (URL) ลงในชิ้นงานโฆษณาหรื อ บริ การนั้นๆ ซึ่งจะช่วยให้ผใู ้ ช้บริ การเวิลด์ไวด์เว็บได้รับรู ้ถึงการมีเว็บไซต์ของผู ้


โฆษณาได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ยงั สามารถระบุ URL ลง ในสื่ ออื่นๆได้อีก เช่น นามบัตร โปรชัวร์ หัวจดหมาย รวมทั้งระบุที่อยู่ E – mail Address เพื่อการติดต่อส่ง ข้อมูลได้ดว้ ย 2..การลงทะเบียนในเครื่ องมือ ค้นหา (Search Engine) เสิ ร์ชเอ็นจินคือ เครื่ องมือค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตคล้ายกับสมุดโทรศัพท์หน้า เหลือง ซึ่งจะช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถค้นหาเว็บไซต์ใดเว็บไซต์หนึ่งได้ เสิ ร์ชเอ็นจินที่มีผู ้ นิยมใช้คือ Yahoo, Altavista, Lycos, Infoseek เจ้าของเว็บไซต์จึงควรไปลงทะเบียน ไว้ในไดเร็ คทอรี่ (Directory) ของเสิ ร์ชเอ็นจินเหล่านี้ซ่ ึงเป็ นการลงทะเบียนที่ไม่เสี ย ค่าใช้จ่าย 3..การใช้ไฮเปอร์ลิงค์ (Hyperlink) ระหว่างเว็บไซต์ จะช่วยให้ผใู ้ ช้ อินเทอร์เน็ตพบเห็นเว็บไซต์ของเราได้ในเว็บไซต์อื่นๆ ที่บุคคลนั้นกําลังชมอยูแ่ ละ สามารถคลิกเข้ามายังเว็บไซต์ของเรา ได้โดยการลิงค์เว็บไซต์ของเราเข้ากับเว็บไซต์ อื่นๆ ในการลิงค์กบั เว็บไซต์อื่นๆ ต้องเลือกเอาเว็บไซต์ที่มีกลุ่มเป้ าหมายเดียวกับ เว็บไซต์ของเรา วิธีการนี้ทาํ ได้โดยการแลกเปลี่ยนกัน (Barter) โดยทั้งสองฝ่ ายต่าง ทําโลโก้หรื อข้อความโฆษณาไปไว้ในเว็บไซต์ของอีกฝ่ ายหนึ่งโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย 4..การโฆษณาในเว็บไซต์อื่นๆ ที่มีผใู ้ ช้อินเทอร์เน็ตนิยมเข้าไปเยีย่ มชม จํานวนมาก เช่น เว็บไซต์ของเสิ ร์ชเอ็นจิน ผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์เน็ต บริ การข้อมูล ออนไลน์ต่างๆ (CNN,ABC News ฯลฯ) เป็ นต้น อัตราค่าโฆษณาที่คิดกันในสหรัฐ นั้น นับเป็ น Cost per thousand (CPM) เช่นกัน แต่คิดเป็ นอัตราต่อ 1,000 คลิกปั จจุบนั ค่าโฆษณาเฉลี่ยคือ 1 ดอลล่าร์ต่อ CPM 1) Banner Advertisement เป็ นวิธีที่เป็ นที่นิยมมากที่สุด ครอง อัตราส่วนถึง 80 % แบนเนอร์มีลกั ษณะเป็ นภาพโฆษณาสี่ เหลี่ยมเล็กๆ ส่วนมากจะ


เป็ นแนวนอนยาว อาจอยูต่ อนบนหรื อตอนล่างของเว็บเพจก็ได้ ด้วยเทคโนโลยี สมัยใหม่ทาํ ให้แบนเนอร์เป็ นภาพเคลื่อนไหวได้ 2).Button Advertisement มีลกั ษณะเป็ นสี่ เหลี่ยมเหมือนแบน เนอร์แต่ส้ นั กว่าและมักจะอยูต่ อนล่างของเว็บเพจ มีพ้นื ที่ใส่รายละเอียดได้นอ้ ยกว่า เมื่อคลิกที่ Button Advertisement ก็จะนําไปสู่เว็บไซต์ของผูล้ งโฆษณานั้น 3)Keyword Advertisement เป็ นรู ปแบบโฆษณาที่มกั อยู่ ใน เว็บไซต์ประเภทเสิ ร์ชเอ็นจิน เมื่อผูใ้ ช้คลิกไปที่ไดเร็ กทอรี่ หรื อพิมพ์คาํ ที่ตอ้ งการ ค้นหา เสิ ร์จเอ็นจินก็จะเปิ ดหน้าที่ตอ้ งการพร้อมโฆษณาที่เกี่ยวข้อง 4).Interstitials หรื อ In – your - face Advertisement เป็ นรู ปแบบ โฆษณาที่พฒั นาขึ้นมาล่าสุด โดยจะเป็ นภาพโฆษณาขึ้นมาเต็มจอและเป็ น ภาพเคลื่อนไหวแบบภาพยนตร์โฆษณาในโทรทัศน์ เป็ นความพยายามที่จะแข่งขันกับ สื่ อโทรทัศน์ การสร้ างความสัมพันธ์ กบั ผู้เข้ าชม ณัฐพงศ์ พันธเกียรติไพศาล (2544 : 246) กล่าวว่าผูเ้ ข้าชมคือผูท้ ี่ทาํ ให้ เว็บไซต์ประสบความสําเร็ จดังนั้นจึงควรตอบแทนด้วยบริ การที่ดีที่สุดอย่างสมํ่าเสมอ ดังนี้ ขั้นที่ 1 หาความต้องการของผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์ ด้วยการพิจารณาจากการ สํารวจหรื อสถิติวา่ ผูเ้ ข้าชมต้องการให้ได้อะไรจากเว็บไซต์ดว้ ยการใช้คาํ ถามที่เปิ ด โอกาสให้ผตู ้ อบสามารถตอบได้อย่างอิสระและเพื่อเพิ่มจํานวนผูเ้ ข้าร่ วมควรมีการ แจกของตอบแทน ขั้นที่ 2 ประเมินผลการสํารวจว่าสิ่ งใดที่ผตู ้ อบปั ญหานิยมมากที่สุด มีความ ต้องการอย่างไร คําตอบที่ได้รับความนิยมสูงสุดของผูช้ ายและผูห้ ญิงต่างกันอย่างไร ขั้นที่ 3 สนับสนุนความต้องการของผูเ้ ข้าชม จากการสํารวจจะทําให้รู้ถึง ความต้องการของผูเ้ ข้าชม ดังนั้นจึงควรสร้างส่วนที่จะตอบสนองความต้องการที่ ได้รับความนิยมสูงสุด


ขั้นที่ 4 ให้ความสําคัญกับความต้องการของผูเ้ ข้าชม ถ้าผูเ้ ข้าชมส่งคําขอที่มี เหตุผลเข้ามา ต้องติดตามและดําเนินการตามคําขออย่างเร็ วที่สุดและควรอีเมล์แจ้งการ ดําเนินการและการขอบคุณที่ผเู ้ ข้าชมได้ให้คาํ แนะนํา ขั้นที่ 5 อย่าโกหกต่อผูเ้ ข้าชมผูล้ งโฆษณาหรื อสื่ อต่างๆ ให้ขอโทษและ ยอมรับผิดต่อผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์ในกรณี ท่ีเราเป็ นผูผ้ ิดและไม่นาํ เรื่ องของผูเ้ ข้าชม เว็บไซต์ไปกล่าวในที่สาธารณะ ขั้นที่ 6 ทําวันที่ดีให้เกิดกับใครสักคน ด้วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กบั ผูเ้ ข้า ชมด้วยการสื่ อสารทางอีเมล์ เช่นการตอบคําถามทางอีเมล์ให้ใครสักคนที่ส่งมาด้วย ความรู ้สึกว่าเรากําลังช่วยเหลือเพื่อนที่ดีที่สุด ขั้นที่ 7 การสื่ อสารแบบง่าย ต้องมัน่ ใจว่าผูเ้ ข้าชมสามารถหาอีเมล์ของเราได้ ง่ายเมื่อพวกเขาต้องการติดต่อ ขั้นที่ 8 ให้รางวัลกับผูเ้ ข้าชมที่ภกั ดี ผูเ้ ข้าชมคนใดมีความกระตือรื อร้นและ ให้ความช่วยเหลือต่อเว็บไซต์ของเรา เช่นเข้าร่ วมในกระดานข่าวหรื อในการสํารวจ เราควรส่งอีเมล์ไปขอบคุณพวกเขาและขอที่อยูเ่ พื่อที่จะส่งของที่ระลึกไปให้เพื่อเป็ น การแสดงความขอบคุณ ขั้นที่ 9 ปกป้ องผูเ้ ข้าชม ถ้าเว็บไซต์ของเรามีกระบวนการลงทะเบียนที่ผเู ้ ข้า ชมต้องกรอกข้อมูลส่วนตัวเข้าไปด้วยนั้น ต้องแน่ใจว่าเรามีนโยบายการรักษา ความลับไว้บนเว็บเพื่อสร้างความเชื่อถือให้เกิดขึ้น ดังนั้นการมีความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผู ้ เข้าชมก็คือความได้เปรี ยบที่ยงิ่ ใหญ่สาํ หรับเว็บไซต์น้ นั ๆ นัน่ เอง โดยมีแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวกับผูเ้ ข้าชมดังนี้ 1. เมื่อมีการตําหนิติเตียนเข้ามาไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องใด ควรแก้ปัญหานั้นทันที 2. เมื่อมีผรู ้ ายงานถึงปั ญหาบนเว็บไซต์ให้พยายามแก้ไขภายใน 10 นาที หลังจากรับทราบปั ญหาและอย่าลืมส่งคําขอบคุณไปยังบุคคลนั้น 3. เผยแพร่ ขอ้ มูลในการติดต่อ เช่นหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร อีเมล์ เพื่อให้ผเู ้ ข้าชมสามารถติดต่อได้ง่ายและสะดวกที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้


4. รักษาความสัมพันธ์ที่ดีเมื่อพบว่าผูเ้ ข้าชมมีความสนใจในสิ่ งที่คล้ายๆ กัน เช่น ด้วยการพูดคุยออนไลน์ (Chat) กับพวกเขาอย่างเป็ นกันเองเพื่อสร้าง สัมพันธไมตรี ที่ดีกบั ผูเ้ ข้าชม 5. จัดให้มีการรวมตัวกันออนไลน์แบบเป็ นกันเองภายในในรู ปแบบของการ แชต(Chat) กระดานข่าว สัมมนาฟรี 6. ใช้การติดตามผลระยะยาว หากผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์มีขอ้ สงสัยเกี่ยวกับ ทิศทางต่างๆของเว็บไซต์ในขณะที่ตอบการซักถาม ควรบันทึกข้อสงสัยเกี่ยวกับ เป้ าหมายระยะยาวของเว็บไว้ดว้ ย เพื่อที่จะได้แจ้งให้ผเู ้ ข้าชมทราบเมื่อเป้ าหมายนั้นได้ กลายเป็ นรู ปธรรม ดังนั้นนอกจากผูเ้ ข้าชมจะได้รับคําตอบในทันทีแล้วหลังจากนั้น อีก 1 – 2 เดือนควรติดต่อกลับไปอีกเพื่อแจ้งให้ทราบข้อมูลใหม่ๆเกี่ยวกับ ข้อเสนอแนะหรื อข้อสงสัยที่ผเู ้ ข้าชมได้ส่งมา 7. จัดให้มีการพบปะกันจริ งๆ ถ้ามีสงั คมออนไลน์ที่แข็งแกร่ งพอ ซึ่งอาจจะ ต้องลงทุนจัดงานพบปะสังสรรค์สาํ หรับผูเ้ ข้าชมเว็บ 6. ทฤษฎีการสื่อสาร การสื่ อสารมวลชนในระบบ ปั จจุบนั จัดได้วา่ เป็ นการสื่ อสารแบบ แนวตั้ง (Top down)เป็ นการสื่ อสาร แบบทางเดียวที่ถือเอาผูส้ ่งสารเป็ น พระเอก มีแนวโน้มที่จะเปิ ดโอกาสให้ผู ้ มีอาํ นาจในระบบการสื่ อสาร สามารถที่ จะครอบงําจิตใจประชาชนผูร้ ับสารให้เป็ นไปตามที่ตนต้องการระบบการ สื่ อสารมวลชนในรู ปแบบดังกล่าวจึงได้กลายเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหา ผลประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม


กาญจนา แก้วเทพ (2547) อธิบายไว้วา่ ประชาชนทัว่ ไปไม่มีส่วนร่ วมใน การกําหนดการตัดสิ นใจ การเข้ามาใช้การสื่ อสาร เหมือนอย่างไม่มีส่วนร่ วมใน กระบวนการพัฒนาประเทศชาติประชาชนคงมีบทบาทเป็ นเพียงแต่ “ผูร้ ับสารเหมือน อย่างที่เป็ นเพียงวัตถุรองรับการพัฒนา” ที่ตนไม่ได้กาํ หนด และหากเราถือว่า องค์ประกอบที่จาํ เป็ นจะขาดเสี ยไม่ได้ของการพัฒนาคือ “ความยุติธรรมของสังคม” แล้วคุณสมบัติที่สาํ คัญประการหนึ่งของการสื่ อสารเพื่อการพัฒนาคือก็ตอ้ งเป็ นการจัด โอกาสให้ประชาชนทุกกลุ่มทุกชั้น ได้มีส่วนร่ วมและมีบทบาทอย่างเท่าเทียมกันทั้ง ในฐานะเป็ นผูส้ ่งสารและผูร้ ับสารของระบบสื่ อสารในสังคมและหากการสื่ อสารเพื่อ การพัฒนาจะดําเนินการให้บรรลุเป้ าหมายดังกล่าว สิ่ งแรกที่จะต้องเปลี่ยนแปลงคือ ความหมายของคําว่า “การสื่ อสาร” และแบบจําลองที่ใช้ โดยจะต้องเปลี่ยนแปลงจาก การสื่ อสารแนวตั้งทางเดียว มาสู่การสื่ อสารในแนวนอน (horizontal) นัน่ คือการ สื่ อสารแบบสองทาง (two-ways communication)นิโคลัส เบนเนตต์ (Nicholus Vennnett) นักศึกษาและนักสื่ อสารมวลชนที่มีความสนใจในปั ญหาของโลกที่สาม เป็ นพิเศษ ได้เสนอแนะการนําสื่ อมาใช้เพื่อการพัฒนาเอาไว้วา่ จะต้องคํานึง ถึง หลักการดังนี้คือ 1. สื่ อนั้นต้องมี มนุษยธรรม หมายความว่าการใช้สื่อนั้นต้องถือเอาคนเป็ น เป้ าหมาย 2. การจัดทําสื่ อต้องเริ่ มต้นจากสภาพความเป็ นจริ งที่มีอยู่ และต้องมีลกั ษณะ สอดคล้องกับสิ่ งที่ชุมชนมี เช่น ด้านการผลิตสื่ อ ควรใช้วสั ดุจากท้องถิ่นเพื่อตลาด ท้องถิ่น ลักษณะที่สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง ความต้องการของชุมชนจะเป็ นสิ่ งช่วย ป้ องกันปั ญหาการครอบงําจากภายนอก ทําให้สื่อมวลชนแต่ละชุมชนมีลกั ษณะเป็ น ตัวของตัวเอง ไม่ลืมตัว ไม่ลืมชุมชน ในแง่น้ ีบางทีวธิ ีการใช้สื่อสมัยใหม่อาจจะต้อง ย้อนรอยเดิมกลับไปหารู ปแบบและวิถีทางของการสื่ อสารที่เคยมีอยูใ่ นชุมชน 3. ในด้านคุณค่า การใช้สื่อต้องช่วยให้ประชาชนมีความเชื่อมัน่ ในระบบ คุณค่าอันดีงามที่ตนมีอยู่ หากจะมีการเปลี่ยนแปลงอันใด การเปลี่ยนแปลงนั้นจะต้อง


เป็ นไปในทางที่สอดคล้องกับคุณค่าดั้งเดิม การใช้สื่อนั้นต้องช่วยให้ผรู ้ ับสามารถ เข้าใจปั ญหาสภาพแวดล้อมของตัวเอง เช่น ในปั จจุบนั จากข่าวสารทางโทรทัศน์ทาํ ให้ เรารู ้วา่ สหรัฐอเมริ กาประสบภัยพิบตั ิน้ าํ ท่วมแต่การรู ้จกั สถานการณ์ของผูอ้ ื่นเท่านั้น ยังไม่เพียงพอ จะต้องรู ้จกั สถานการณ์ของตัวเราเองเป็ นอย่างดีดว้ ย 4. การใช้สื่อจะต้องเป็ นหนทางให้ประชาชนเข้าใจความหมายของ “ความ เป็ นชุมชน”อย่างแท้จริ งและกว้างขวางทั้งนี้ เพื่อการเอื้อเฟื้ อเกื้อกูลกันในยามที่ฝ่ายใด ฝ่ ายหนึ่งประสบความทุกข์ยาก ปั จจุบนั เมื่อเรามีสื่อมวลชนที่ทนั สมัยแล้วก็ควรจะนํา เสื่ อเหล่านี้ มาใช้เพื่อเสริ มสร้างความสามัคคี สมานฉันท์ในหมู่ประชาชนให้แน่นแฟ้ นยิง่ ขึ้นเช่นเดียวกัน 7. ระบบติดต่ อผู้ใช้ หรือ ระบบการปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างคอมพิวเตอร์ กบั ผู้ใช้ ระบบการปฏิสมั พันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบั ผูใ้ ช้ หรื อ Human-Computer Interaction(HCI) เป็ นศาสตร์แขนงที่มุ่งความสนใจในเรื่ องทําอย่างไรให้คอมพิวเตอร์ ง่ายและเหมาะสมกับผูใ้ ช้งาน (user) มีผใู ้ ช้คาํ ว่า Computer-Human Interaction (CHI) ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกันกับHCI ในภาษาไทยอาจแปลได้วา่ "ปฏิสมั พันธ์ระหว่าง คอมพิวเตอร์กบั ผูใ้ ช้" แขนงนี้มีรากฐานมาจากศาสตร์หลายด้านโดยเฉพาะจากสาขา มนุษย์ปัจจัย (Human Factors หรื อ Ergonomics) ส่วนด้านอื่นๆ ได้แก่ จิตวิทยา มานุษยวิทยา สรี รศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ คอมพิวเตอร์และบริ หาร จัดการ เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีสาขาอีกอันหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กบั HCI เป็ นอย่าง มากคือ Computer Supported Collaborative Work (CSCW) ซึ่งสนใจในปฏิสมั พันธ์ ระหว่างคอมพิวเตอร์กบั ผูใ้ ช้ในบริ บทของกลุ่มผูใ้ ช้ ระบบคอมพิวเตอร์ในกลุ่มที่ เรี ยกว่าGroupware การศึกษาความเหมาะสมของระบบคอมพิวเตอร์ต่อผูใ้ ช้เรี ยกว่า "การศึกษาความสามารถใช้งานได้" (Usability Study) ของระบบคอมพิวเตอร์


8. การประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ การสร้างเอกลักษณ์ให้กบั เว็บไซต์ โดยสร้างให้เกิดความแตกต่างจากเว็บไซต์ ทัว่ ๆ ไปนั้นจะทําให้ ผูช้ มเกิดความสนใจมาก ขึ้นจุดเด่นของเว็บไซต์คือต้องมี เอกลักษณ์ที่ ยากต่อการเลียนแบบบางเว็บไซต์พยายาม สร้างเอกลักษณ์ข้ ึน โดยการนําเสนอ เกร็ ดความรู ้และคําแนะนําเกี่ยวกับสิ นค้าของ พวกเขา บางเว็บไซต์ใช้วธิ ีตีพิมพ์ผลการทดสอบสิ นค้าแต่ละครั้งอย่างละเอียด เพื่อ สร้างความไว้วางใจในเกิดกับลูกค้าเพราะลูกค้าจะรู ้สึกว่าเว็บไซต์เหล่านี้ใส่ใจต่อ คุณภาพของสิ นค้าและทําให้พวกเขาอยากจะอุดหนุน ดาริ นทร์ เลิศรัตนาวิสุทธิ์ (2540 : 41) ได้กล่าวถึงรู ปแบบการ ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์เพื่อที่จะทําให้เว็บเป็ นที่น่าสนใจไว้ดงั นี้ 1. การนําเสนอด้วยรู ปแบบของคําถาม การกําหนดเป็ นรู ปของ คําถามเป็ นการสร้างความสนใจได้วธิ ีหนึ่ง โดยปรกติคนเรามักจะมีความอยากรู ้อยาก เห็นกับสิ่ งแปลกใหม่ สิ่ งที่เป็ นข้อสงสัย ความเป็ นนักคิดนักแก้ปัญหาของมนุษย์โดย ธรรมชาติจึงทําให้มีความสนใจมากขึ้นต่อสิ่ งที่ยงั ไม่รู้ การสร้างความฉงนในรู ปแบบ ของคําถามเป็ นกลยุทธ์อย่างหนึ่งที่จะเร้าให้ผชู ้ มเฝ้ าติดตามหรื อคิดต่อ 2. การชี้แจงรายละเอียดเป็ นการสร้างความสนใจแก่ผดู ้ ูโดยการให้ ข้อมูลเพิ่มเติมผูบ้ ริ โภคบางกลุ่มจะได้รับความรู ้จากสื่ อที่ได้พบเห็น การนําเสนอแบบ นี้มกั นิยมใช้กบั งานที่เป็ นข่าวสารใหม่ เทคโนโลยีใหม่หรื อโฆษณาประชาสัมพันธ์ สิ นค้าชิ้นใหม่ หรื อรุ่ นใหม่ 3. การขอร้อง เป็ นการสร้างความสนใจด้วยวิธีการนุ่มนวลในการ ณรงค์เพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ นิยมใช้โน้มน้าวใจให้ทาํ ตามหรื อให้มี ทัศนคติคล้อยตาม


4. การแนะนําให้คล้อยตามหรื อรับทราบเป็ นการชี้แนะแนวทาง ใหม่หรื อกําหนดทิศทางใหม่ให้ผดู ้ ูเกิดทัศนคติคล้อยตามหรื อปฏิบตั ิตามหรื อรับรู ้ใน ข้อมูลข่าวสารนั้น 5. การชักชวน ตามธรรมชาติของมนุษย์มกั จะยอมรับและคล้อย ตามการชักชวนของผูอ้ ื่น โดยเฉพาะถ้าผูช้ กั ชวนเป็ นบุคคลที่เป็ นที่ยอมรับด้วยแล้ว การชักชวนย่อมเกิดสัมฤทธิ์ผลเป็ นอย่างสูง การใช้ถอ้ ยคําภาษาการออกแบบตัวอักษร ต้องคํานึงถึงรู ปแบบที่เหมาะสมและน่าเชื่อถือด้วย 6. การสร้างปริ ศนา ความสงสัยในปริ ศนาที่ผอู ้ อกแบบได้สร้าง หรื อกําหนดขึ้นย่อมเป็ นการท้าทายให้ผบู ้ ริ โภคเกิดความอยากรู ้อยากเห็นและอยาก ทดลองในปริ ศนานั้นการสร้างปริ ศนาที่ดีตอ้ งไม่ซบั ซ้อนเกินไป 7. การเสนอลักษณะท้าทาย การท้าทายเป็ นกลยุทธ์ที่ยวั่ ยุให้ผดู ้ ู หรื อผูบ้ ริ โภคมีความรู ้สึกอยากเข้าไปมีส่วนร่ วมต่อเงื่อนไขตามสารหรื ออยากเอาชนะ ต่อสิ่ งที่ทา้ ทายตามข้อมูลที่นาํ เสนอในลักษณะของการท้าทายผูอ้ อกแบบจะต้อง ระมัดระวังการใช้ถอ้ ยคําและการคัดเลือกภาพอย่างละเอียดถี่ถว้ น Groenn and Barker (อ้างถึงใน ชรี รัตน์ ประจักษ์ธรรม 2541 : 33) กล่าวว่า สิ่ งที่สาํ คัญที่สุดในการออกแบบเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต คือการแสวงหาวิธีการดึงดูด ความสนใจให้ผใู ้ ช้บริ การอินเทอร์เน็ตเข้าชมและทําให้ผชู ้ มใช้เวลากับเว็บไซต์ของ เจ้าของสิ นค้านานๆ สิ่ งที่สาํ คัญคือการคงไว้ซ่ ึงความสนใจจากผูช้ ม (Retain) และการ ให้รางวัลต่อความตั้งใจของผูช้ มเพื่อสร้างความรู ้สึกที่ดีในการชมเว็บไซต์และเพื่อการ เปิ ดรับในครั้งต่อไป Groenn and Barker เสนอวิธีการสร้างสรรค์คุณค่าสู่ผรู ้ ับสาร อินเทอร์เน็ต เพื่อใช้เป็ นหลักพื้น ฐานในการสื่ อสารการตลาดเพื่อดึงดูดและคงไว้ซ่ ึง ความสนใจ


9. โครงสร้ างของเว็บไซต์ Lynch and Horlon (1999) ได้เสนอรู ปแบบการออกแบบโครงสร้าง เว็บไซต์ ที่ได้รับความนิยม ได้แก่การออกแบบเว็บ 4 ลักษณะได้แก่ เว็บที่มีโครงสร้างแบบ เรี ยงลําดับ ลักษณะตารางลักษณะระดับชั้น ลักษณะใยแมงมุม 1. เว็บที่มีโครงสร้างแบบเรี ยงลําดับ เป็ นโครงสร้างแบบธรรมดาที่ใช้กนั มากที่สุดเนื่องจากง่ายต่อการจัดระบบข้อมูลข้อมูลที่นิยม จัดด้วยโครงสร้างแบบนี้มกั เป็ นข้อมูลที่มีลกั ษณะเป็ นเรื่ องราวตามลําดับของเวลา หรื อในลักษณะ การเรี ยงจาก เรื่ องทัว่ ๆไป ไปสู่การเฉพาะเจาะจงเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง

เว็บที่มีโครงสร้างประเภทนี้ มีการจักเรี ยงของเนื้อหาในลักษณะที่ชดั เจนตายตัวคาม ความคิด ของผูส้ ร้าง พื้นฐานแนวคิดเหมือนกับกระบวนการของหนังสื อเล่มหนึ่งๆ นัน่ คือต้องอ่านผ่านไปที่ละหน้า ทิศทางของการสู่เนื้อหา ภายในเว็บจะเป็ นการดําเนิน เรื่ องในลักษณะเส้นตรง โดยมี ปุ่ มเดินหน้า ถอยหลัง เป็ นเครื่ องมือหลักในการ


กําหนดทิศทางเริ่ มจากหน้าเริ่ มต้น ซึ่งโดยปกติเป็ นเนื้อหาต้อนรับหรื อแนะนําให้ผใู ้ ช้ ทราบถึงรายละเอียดของเว็บรวมทั้งอธิบายให้ทราบถึงวิธีการ เข้าสู่ เนื้อหาและการใช้ งานของปุ่ มต่างๆเมื่อใช้ผา่ นจากหน้าเริ่ มต้นเข้าไปสู่ภายในจะพบกับหน้าเนื้อหา โดย ในแต่ละหน้าหากมีเนื้อหาที่ซบั ซ้อน เกินกว่าหนึ่งหน้าก็สามารถเพิ่มเติม รายละเอียด เนื้อหาโดยมจัดทําเป็ นเนื้อหาย่อย และทําการเชื่อมโยงกับหน้า เนื้อหาหลักๆ ซึ่งหน้า เนื้อหาย่อยเหล่านี้มีลกั ษณะเป็ นหน้าเดี่ยวเมื่อเข้าไปดูรายละเอียดของเนื้อหา แล้ว ต้อง กลับมายัง หน้าหลักหน้าเดิม 2.เว็บที่มีโครงสร้างแบบลําดับขั้น เป็ นวิธีที่ดีที่สุดวิธีหนึ่งในการจัดระบบ โครงสร้างที่มีความซับซ้อนของข้อมูล โดยแบ่งข้อมูล โดยแบ่งเนื้อหา ออกเป็ นส่วนๆ และมีรายละเอียดย่อยๆในแต่ละส่วนละหลัน่ กันมาในลักษณะแนวคิดเดียวกับ แผนภูมิองค์กรเนื่องจากผูใ้ ช้ส่วนใหญ่จะคุน้ เคยกับลักษณะของแผนภูมิแบบองค์กร ทัว่ ๆไปอยูแ่ ล้ว จึงเป็ นการง่ายต่อการทําความเข้าใจของโครงสร้างของเนื้อหาในเว็บ ลักษณะนี้ ลักษณะเด่นเฉพาะของเว็บประเภทนี้คือการจุดเริ่ มต้นที่จุดร่ วมจุดเดียว นัน่ คือ โฮมเพจ และเชื่อมโยงไปสู่เนื้อหา ในลักษณะเป็ นลําดับจากบนลงล่าง 3.เว็บที่มีโครงสร้างแบบตาราง(Grid Structure) โครงสร้างรู ปแบบนี้มี ความซับซ้อนมากกว่ารู ปแบบที่ผา่ นมา การออกแบบเพิ่มความยึดหยุน่ ให้แก่ การสู่ เนื้อหาของผูใ้ ช้ โดยเพิ่มการเชื่อมโยงซึ่งกันและกันระหว่างเนื้อหาแต่ละส่วน เหมาะ แก่ การแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กนั ของเนื้อหา การเข้าสู่ เนื้อหาของตนเองได้เช่น การศึกษาข้อมูลข้อมูลประวัติศาสตร์ สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรีและภาษา ในขณะที่ ผูใ้ ช้อาจศึกษาหัวข้อศาสนาเป็ นหัวข้อต่อไปก็ได้ หรื อจะข้ามไปดูหวั ข้อ การปกครอง 4.เว็บที่มีโครงสร้างแบบใยแมงมุม (Web Stucture) โครงสร้างประเภทนี้ จะมีความยึดหยุน่ มากที่สุด ทุกหน้าในเว็บสามารถจะเชื่อมโยงกันไปถึงกันได้หมด เป็ นการงสร้างรู ปแบบการเข้าสู่เนื้อหาที่เป็ นอิสระผูใ้ ช้สามารถกําหนดวิธีการเข้าสู่ เนื้อหาได้คน้ ด้วย ตนเอง การเชื่อมโยงเนื้อหาแต่ละหน้าอาศัยการโยงใยข้อความที่มี มโนทัศน์ เหมือนกันของแต่ละหน้าในลักษณะของไฮเปอร์เท็กซ์หรื อไฮเปอร์มีเดีย


สรุป

ปั จจุบนั Internet เป็ นระบบการติดต่อสื่ อสารที่ได้ความความนิยมกันทัว่ โลก และเพิ่มความนิยมขึ้นอย่างรวดเร็ ว ทําให้บริ ษทั องค์กร และธุรกิจต่างๆ ทั้ง ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ต่างมีความจําเป็ นที่ตอ้ งใช้การ ติดต่อสื่ อสารบน Internet และจําเป็ นต้องมีเว็บไซต์เป็ นของตัวเอง เพื่อเป็ นการก้าว เข้าสู่ยคุ ไซเบอร์อย่างเต็มรู ปแบบ ทําให้ตอ้ งโลดแล่นอยูบ่ นเครื อข่ายการติดต่อสื่ อสาร อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งหมายถึงการนําเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาเปิ ดใช้ในการดําเนิน ธุรกิจ เพื่อให้กา้ วหน้าสู่ความสําเร็ จต่อไป การที่เรามีความจําเป็ นที่จะต้องใช้การติดต่อสื่ อสารบน Internet นั้น ปั จจุบนั จึงถือได้วา่ เป็ นเรื่ องปกติ ที่นบั ได้วา่ เป็ นแนวทางที่สาํ คัญที่สุดในการ ติดต่อสื่ อสาร เพราะฉะนั้น Website จึงเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญที่สุด ในการดําเนินธุรกิจใน ปั จจุบนั และหลังจากการได้ทาํ การศึกษาและค้นคว้าผลงานทางด้านวิชาการต่างๆ อาทิ เช่น วิทยานิพนธ์ ผลงานวิจยั วิจยั หนังสื อ บทความ และอื่นๆอีกเป็ นต้นนั้น ทํา ให้ทางคณะผูเ้ ขียนหนังสื อเล่มนี้ได้ทราบถึงหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการออกแบบ และพัฒนาเว็บไซต์ที่มีอยูอ่ ย่างหลากหลายข้อคิดเห็น หลายรู ปแบบ หลายทฤษฎี จน กระทั้งได้มีการตกผลึกออกมาเป็ นหนังสื อเล่มเล็กเล็มนี้


“การเรียนรู้ (Lrarning) คือ ไม่ ว่าเราจะทําอะไรทุกอย่ างก็เกิดการเรียนรู้ ได้ ทั้งนั้น เพียงแต่ คุณต้ องใช้ ความคิดไปด้ วยกับการทําสิ่งนั้นๆ คือทําไปคิดไป ข้ อสําคัญ คือคุณใช้ ความคิดให้ เป็ นหรือไม่ ความคิดทีด่ สี ร้ างสรรค์ มนั ก็เกิดประโยชน์ แต่ ความคิดไม่ ดหี รือไม่ รู้ เท่ าทันก็เกิดโทษได้ สารสนเทศเกีย่ วกับเรียนรู้ จากสื่อต่ างๆ เช่ น ทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ และอินเตอร์ เน็ต อืน่ ๆ ก็เป็ นการเรียนรู้ ได้ เหมือนกัน” 21

เอกสารอ้ างอิง


ฉัตรชัย เลิศวิริยะภากร. 2548. การพัฒนาเว็บไซต์ เพือ่ การเรียนรู้ ด้วยตนเองผ่าน เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ปริ ญญานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วิลาวัณย์ พรพัชรพงศ์. 2547. การออกแบบและพัฒนาเว็บไซด์ โครงการวิจยั ข้ าว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ค้นคว้าอิสระ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วีระ ไวศยดํารง. 2551. โครงการออกแบบเว็บไซต์ เพือ่ ประชาสัมพันธ์ ผลงาน (ออกแบบนิเทศศิลป์ ) คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. ปริ ญญาตรี ศิลปะศาสตร์บณ ั ฑิตสาขาวิชา ศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ ) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. พิเศศ ตันติมาลา. 2547. การพํฒนาบทเรียนบนเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต เรื่องหลักการ ออกแบบการเว็บไซต์ . ปริ ญญาครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษาทางการอาชีวะและเทคนิคนักศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. ภัทรพร หรุ่ นรักวิทย์. 2547. การออกแบบเว็บไซต์ สําหรับสถานีโทรทัศน์ ในประเทศ ไทย. ปริ ญญาศิลปะมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สาวิตรี เตชะคํา. 2551. การออกแบบเว็บไซต์ สําหรับองค์ กรพัฒนาสังคม กรณีศึกษา มูลนิธิรักษ์ เด็ก. ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่ อศิลปะและการ ออกแบบสื่ อ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุพิชญา เข็มทอง. 2547. ศึกษาองค์ ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ สําหรับสินค้ า


ประเภทผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ. ปริ ญญาศิลปะมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบนิเทศศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เทวา พรหมนุชานนท์. 2554. การพัฒนาเว็บไซต์ ต้นแบบเพือ่ นนําเสนอสารสนเทศ ของหน่ วยงานภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ . มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่.




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.