ข้อมูลทั่วไปของสมุนไพร 4 ชนิด ได้แก่ ขมิ้นชัน ไพล บัวบก และกระชายดำ

Page 1

โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

1.1 ข้อมูลทั่วไปของสมุนไพร จากการศึกษาข้อมูลทั่วไปสมุนไพรเป้าหมาย 4 ชนิด ได้แก่ ขมิ้นชัน ไพล บัวบก และกระชายดา ประกอบไปด้วย แหล่งที่มาของสมุนไพร แหล่งเพาะปลูกในประเทศไทย ชื่อสายพันธุ์ของสมุนไพรเป้าหมาย และสายพันธุ์ที่ได้รับการรับรอง แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 แสดงแหล่งที่มา แหล่งปลูก และชนิดสายพันธุ์ของสมุนไพรเป้าหมาย ชื่อสมุนไพร ขมิ้นชัน ขมิ้นชัน มีถิ่นกาเนิดในประเทศแถบเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการสืบทอด พันธุ์กันต่อมาโดยวิธีการคัดเลือกพันธุ์และ แหล่งที่มา ปลูกขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (ที่มา: สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร)

แหล่งปลูกมากในประเทศไทย (ที่มา: สานักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร 2559)

ชื่อสายพันธุ์ (ที่มา: กรมวิชาการเกษตร 2560)

- กาญจนบุรี - สุราษฎร์ธานี - ลาปาง

ไพล ไพล มีถิ่นกาเนิดอยู่ในเอเชีย แถบประเทศ อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย มี เขตการกระจายพันธุ์ทั่วไปในแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้

- กาญจนบุรี - ราชบุรี - ตาก - สระแก้ว - ขมิ้นชันทับปุก (พังงา) - ไพลพันธุ์หยวก - ขมิ้นชันตาขุน (สุราษฏร์ธานี) - ไพลพันธุ์พื้นเมือง - ขมิ้นชันแดงสยาม - ไพลปลุกเสก - ขมิ้นชันส้มปรารถนา (หมายเหตุ: ชื่อสายพันธุม์ ีการเปรียบเทียบ - ขมิ้นชันเหลืองนนทรี ลักษณะทางกายภาพ พื้นที่ปลูก และการ (หมายเหตุ: สายพันธุ์ที่มีการขึ้นทะเบียนชื่อ ใช้ในทางการค้า แต่ยังไม่มีการขึ้นทะเบียน พันธุ์โดยกรมวิชาการเกษตร ) และการรับรองสายพันธุ์ )

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

บัวบก บั ว บ ก มี ถิ่ น ก า เ นิ ด เ ดิ ม ใ น ท วี ป แอฟริกาใต้ ต่อมาจึงถูกนาเข้ามาปลูกใน อินเดีย ประเทศอเมริกาใต้ อเมริก า กลาง รวมถึ ง ประเทศในแถบเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนประเทศไทยพบ บั ว บกขึ้ น ในทุ ก ภาค ขยายพั น ธุ์ โ ดยใช้ เมล็ด หรือใช้ลาต้นที่เรียกว่า ไหล - นครปฐม - นครศรีธรรมราช - นนทบุรี

กระชายดา กระชายด า มี ถิ่ น ก าเนิ ด ในเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ พบได้หนาแน่นใน แ ถ บ ม า เ ล เ ซี ย สุ ม า ต ร า เ ก า ะ บอร์เนียว อินโดจีน และในประเทศ ไทย

บัวบก ยังไม่มีการระบุชื่อสายพันธุ์ ซึ่งใน ปัจจุบัน มีการปลูก กันแต่ ละในจังหวั ด โดยเรี ย กชื่ อ สายพั น ธุ์ ตั ว อย่ า งเช่ น นครปฐม-1, นครปฐม-2, อุบลราชธานี1, อุบลราชธานี-2 เป็นต้น (หมายเหตุ : อยู่ ใ นขั้ น ตอนของการ รวบรวมและคั ด เลื อ กสายพั น ธุ์ จ าก นักวิชาการเกษตร กรมวิชาการเกษตร)

- พันธุ์ใบแดง - พันธุ์ใบเขียว (หมายเหตุ : ชื่ อ สายพั น ธุ์ มี ก าร เปรี ย บเที ย บลั ก ษณะทางกายภาพ พื้ น ที่ ป ลู ก และการใช้ ใ นทางการค้ า แต่ ยั งไม่ มี ก ารขึ้ น ทะเบี ย นและการ รับรองสายพันธุ์ )

- เพชรบูรณ์ - พิษณุโลก

1-2


โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

ตารางที่ 7 แสดงแหล่งที่มา แหล่งปลูก และชนิดสายพันธุ์ของสมุนไพรเป้าหมาย (ต่อ) ชื่อสมุนไพร ขมิ้นชัน ไพล (1) ขมิ้นชัน ตรัง 84-2 มีสารสาคัญเคอร์คูมินอยด์ ไ พ ล ยั ง ไ ม่ มี ก า ร รั บ ร อ ง ส า ย พั น ธุ์ เฉลี่ย 11.04 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสูงกว่ามาตรฐาน เนื่องจาก อยู่ในขั้นตอนการตรวจสอบ ยาสมุนไพรไทย 120.80 เปอร์เซ็นต์ เพือ่ ขึ้นทะเบียนการรับรองสายพันธุ์ สายพันธุ์รับรอง* (2) ขมิ้นชัน ตรัง-1 มีสารสาคัญเคอร์คูมินอยด์ (ที่มา: สถาบันวิจัยพืชสวน เฉลี่ย 10.62 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่ามาตรฐาน กรมวิชาการเกษตร 2560) ยาสมุนไพรไทย 112.4 เปอร์เซ็นต์ (ที่มา: ระบบสืบค้นข้อมูลพันธุ์รับรอง พันธุ์แนะนา และสิ่งประดิษฐ์ กรมวิชาการเกษตร 2560)

บัวบก กระชายดา บั ว บกยั ง ไม่ มี ก ารรั บ รองสายพั น ธุ์ กระชายดายังไม่มีการรับรองสายพันธุ์ เนื่องจาก อยู่ในขั้นตอนศึกษาสายพันธุ์ เนื่องจาก อยู่ในขั้นตอนของการศึกษา และปัจจุบันบัวบกสดที่อยู่ในท้องตลาด สายพันธุ์ ตอนนี้ ไ ม่ มี ป ริ ม าณสารส าคั ญ หาก ต้องการบัวบกที่มีสารสาคัญต้องปลูกใน โรงเรือนที่มีการควบคุมโดยเฉพาะ (ที่ ม า: ผู้ อ านวยการกลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สมุนไพรและเครื่องเทศ สานักส่งเสริม และจัดการสินค้าเกษตร) ที่มา: สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร สอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์จากนักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ เมื่อวันที่ 9, 10, 11 พฤศจิกายน 2560 หมายเหตุ : * การรับรองสายพันธุ์ มีขั้นตอนดังนี้ 1. การคัดเลือกเบื้องต้น รวบรวมพันธุ์มาคัดเลือก (โดยการรวบรวมพันธุ์พืชจากทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่มีศกั ยภาพ) 2. เปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพ การให้ผลผลิตทางการค้า การนาไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ 3. ทาการทดสอบในแปลงเกษตรกรโดยทีมนักวิจัย กรมวิชาการเกษตร 4. ขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช (มีชื่อเฉพาะและจดทะเบียนชื่อสายพันธุ)์ สามารถดาเนินพร้อมในขั้นตอนที่ 3 5. ทดสอบ Value for Cultivation and Use โดยอนุกรรมการรับรองพันธุ์พืช 6. ขึ้นทะเบียนสายพันธุ์รบั รอง

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

1-3


โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

1.2 ข้อมูลสรรพคุณตามตารายาไทย ข้อมูลสรรพคุณตามตารายาไทยของสมุนไพรเป้าหมาย มาจากตารับตาราการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นวิทยาการแขนงหนึ่งที่ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพของผู้คนในสังคมไทยมาแต่โบราณ โดยแสดงรายละเอียด ของสรรพคุณในตารางที่ 8 ตารางที่ 8 แสดงข้อมูลสรรพคุณตามตารายาไทย (Pharm Database) ขมิ้นชัน ไพล ใช้ภายใน ช่วยเจริญอาหาร ยาบารุงธาตุ ฟอกเลือด ส่วนของเหง้า ขับโลหิตร้ายทั้งหลายให้ตกเสีย ขับระดู แก้ ท้ อ งอื ด เฟ้ อ แน่ น จุ ก เสี ย ด ลดน้ าหนั ก สตรี แก้ ฟ กช้า เคล็ ด บวม ขั บ ลมในล าไส้ ขั บ ระดู ปวดประจาเดือน ประจาเดือนมาไม่ปกติ อาการ ไล่แมลง แก้จุกเสียด รักษาโรคเหน็บชา แก้ปวดท้อ ง ดีซ่าน แก้อาการวิงเวียน แก้หวัด แก้อาการชัก บิดเป็นมูกเลือด ช่วยสมานแผล สมานลาไส้ แก้ลาไส้ ลดไข้ ขั บ ปั ส สาวะ รั ก ษาอาการท้ อ งมาน แก้ ไ ข้ อักเสบ แก้มุตกิดระดูขาว ขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้ อ ผอมแห้ง แก้เสมหะและโลหิตเป็นพิษ โลหิตออก แก้ปวดท้อง แก้ท้องผูก แก้อาเจียน แก้ปวดฟัน เป็นยา ทางทวารหนั ก และเบา แก้ ต กเลื อ ด แก้ อ าการ รักษาหืด แก้เคล็ดขัดยอก ข้อเท้าแพลง แก้โรคผิวหนัง ตาบวม แก้ปวดฟันเหงือกบวม มีฤทธิ์ระงับเชื้อ แก้ฝี ทาเคลือบแผลป้องกันการติดเชื้อ ดูดหนอง สมาน ต้ า นวั ณ โรค ป้ อ งกั น โรคหนองใน แก้ ท้ อ งเสี ย แผล แก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เป็นยาชาเฉพาะที่ ใช้ แก้บิด รักษามะเร็งลาม ใช้ภายนอก ช่วยลดอาการ ป้องกันเล็บถอด และใช้ต้มน้าอาบหลังคลอด รักษา ฟกช้าบวม ปวดไหล่และแขน บวมช้าและปวดบวม อาการปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอก ฟกช้า ลดอาการ แก้ป วดข้อ สมานแผลสดและแผลถลอก ผสมยา อักเสบ บวม เส้นตึง เมื่อยขบ เหน็บชา และลดอาการ นวดคลายเส้ น แก้ เ คล็ ด ขั ด ยอก แก้ น้ ากั ด เท้ า ปวด มีฤทธิ์เป็นยาชาเฉพาะที่ สมานแผล หรือต้มน้า แก้ชันนะตุ แก้กลากเกลื้อน แก้โรคผิวหนังผื่นคัน สมุนไพรอาบ เป็นส่วนประกอบในยาประคบ ถูนวดตัว สมานแผล รักษาฝี แผลพุพอง ลดอาการแพ้ บารุงผิวพรรณ ราก แก้โรคอันบังเกิดแต่โลหิตอันออก อักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย ตาใส่แผลห้ามเลือด ทางปากและจมูก ขับโลหิต แก้อาเจียนเป็นโลหิต แก้ รักษาผิว บารุงผิว ปวดท้ อ ง ช่ ว ยท าให้ ป ระจ าเดื อ นมาปกติ แก้ ท้ อ งอื ด ท้องเฟ้อ แก้ท้องผูก แก้โรคผิวหนัง แก้เคล็ดขัดยอก ที่มา: ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพรไทย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งสามารถสืบค้นงานวิจัยเพิม่ เติมได้ที่ www.thaicrudedrug.com/main.php

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

บัวบก น้าต้มใบสดใช้ดื่มรักษาโรคปากเปื่อยปากเหม็น เจ็บคอ ร้อนใน กระหายน้า ลดไข้ ขับปัสสาวะ แก้ท้องเสีย ใช้เป็นยาภายนอกรักษาแผลเปื่อย แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก ซึ่งช่วยสมานแผลและ เร่งการสร้างเนื้อเยื่อระงับการเจริญเติบโตของ เชื้ อ แบคที เ รี ย ที่ ท าให้ เ กิ ด หนองและลดการ อักเสบ มีรายงานการค้นพบฤทธิ์ ฆ่าเชื้อรา อันเป็นสาเหตุของโรคกลาก ปัจจุบันมีการ พั ฒ นายาเตรี ย ม ชนิ ด ครี ม ใช้ ท ารั ก ษาแผล อักเสบจากการผ่าตัด

กระชายดา ช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ เป็นยาอายุวัฒนะ ใช้ บ ารุ ง ก าลั ง แก้ ป วดเมื่ อ ย และแก้ อ าการ เหนื่อยล้า กระตุ้นระบบประสาท แก้ปวดเมื่อย ขับปัสสาวะ ขับลม แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง รักษา สมดุลความดันโลหิต ขยายหลอดเลือดหัวใจ โรค เก๊าต์ โรคกระเพาะอาหาร รักษาระบบการย่อย อาหารให้ เ กิ ด สมดุ ล ย์ โรคบิ ด โรคเบาหวาน ลดน้าตาลในเลือด โรคหัวใจ สาหรับสุภาพสตรีทาน แล้วจะช่วยปรับสมดุลฮอร์โมนทางเพศ ทาให้โลหิต ไ ห ล เ วี ย น ดี ขึ้ น ผิ ว พ ร ร ณ ผุ ด ผ่ อ ง ส ด ใ ส แก้อาการตกขาว แก้โรคมดลูกพิการ มดลูกหย่อน ประจาเดือนมาไม่ปกติ

1-4


โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

1.3 ข้อมูลทางคลินิก สรุปผลรายงานการวิจยั ด้านคลินิกและเภสัชวิทยาในประเทศไทยของพืชสมุนไพรเป้าหมาย โดยข้อมูลด้านคลินิก แสดงในตารางที่ 9 และข้อมูลด้านเภสัชวิทยา แสดงในตารางที่ 10 ดังนี้ ตารางที่ 9 แสดงข้อมูลทางคลินิก (Clinical Database) ขมิ้นชัน ไพล บัวบก (1) ฤทธิ์ ต้ า นการเกิ ด แผลและสมานแผลใน (1) ฤทธิ์ลดการอักเสบ โดยสามารถลดการบวมได้ (1) ฤทธิ์สมานแผลบนผิวหนัง กระเพาะอาหาร ทั้งยังลดความแดงได้ด้วย (2) ฤทธิ์ช่วยบารุงสมอง (2) ฤทธิ์แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ (2) ฤทธิ์ แ ก้ ป วด โดยไพลมี ฤ ทธิ์ แ ก้ ป วดและ (3) ฤทธิ์ บ รรเทาอาการข้ อ เข่ า เสื่ อ ม บรรเทา บรรเทาอาการปวดได้ เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ยาทา อาการอักเสบของข้อเข่า ภายนอก (4) เพิ่ม Antioxidant ในร่างกาย ที่มา: ข้อมูลสรรพคุณ ที่มีงานวิจัยในมนุษย์ จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่สานักงานข้อมูลสมุนไพรไทย1 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งสามารถสืบค้นงานวิจัยเพิม่ เติมได้ที่ www.medplant.mahidol.ac.th หรือ สานักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่อยู่ 447 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

กระชายดา (1) ฤทธิ์ ต่ อ สมรรถภาพทางเพศ เพิ่ ม การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางเพศ เพิ่มขนาดและ ความยาวขององคชาติ ละระยะเวลาในการ หลั่งน้ากาม

1-5


โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

ตารางที่ 10 แสดงข้อมูลทางด้านเภสัชวิทยา ขมิ้นชัน ไพล บัวบก (1) ฤทธิ์ ต้ า นการเกิ ด แผลและสมานแผลใน (1) ฤทธิ์ลดการอักเสบ โดยสามารถลดการบวม (1) ฤทธิ์สมานแผล พบว่ามีผลสมานแผลในเยื่อ กระเพาะอาหาร ฤทธิ์ลดการบีบตัว ของลาไส้ ได้ทั้งยังลดความแดงและบรรเทาอาการปวด บุ ผิ ว เพิ่ ม การสร้ า งคอลลาเจน เพิ่ ม ความ 92-94 ฤทธิ์ขับน้าดี ฤทธิ์ลดอาการแน่นจุกเสียด และ ได้ แข็งแรงของเนื้อเยื่อ110-122 ฤทธิ์รักษาอาการท้องเสีย2-25 (2) ฤทธิ์เป็นยาชาเฉพาะที่ และช่วยลดอาการ (2) ฤทธิ์ลดการอักเสบ ลดการอักเสบของผิวหนัง (2) ฤทธิ์ลดการอักเสบ ลดความเจ็บปวดที่รุนแรง26 ปวด95 ได้ในยาทา และยารับประทานซึ่งมีบัวบกเป็น 26-30 95-97 (3) ฤทธิ์ต้านการแพ้ (3) ฤทธิ์ต้านการแพ้ ส่ว นประกอบ รั กษาการอัก เสบของไตและ (4) ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพ ยับยั้งการเจริญเติบโตและ (4) ฤทธิ์แก้ปวด ไพลเจลมีฤทธิ์แก้ปวดเมื่อใช้เป็น กรวยไต กระเพาะปั ส สาวะ และทางเดิ น 98-101 ฆ่าเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคผิวหนังได้หลาย ยาทาภายนอก ปัสสาวะ123-128 ชนิด31-74 (5) ฤทธิ์ ต้ า นแบคที เ รี ย สามารถยั บ ยั้ งเชื้ อ (3) ฤทธิ์ต้านแพ้ ลดการแพ้ได้ และช่วยบรรเทา (5) ฤทธิ์ป้องกันตับอักเสบ ป้องกันการทาลายตับ แบคทีเรียบางชนิดได้102-104 อาการเจ็บปวด หรือ อักเสบเนื่องจากแมลง 75-76 จากยาพาราเซตตามอล (6) ฤทธิ์ ต้านเชื้ อรา สารสกั ดไพลที่ สกัด ด้ว ย กัดต่อย129 (6) ฤทธิ์ต้านการกลายพันธุ์และต้านการเป็นพิษต่อ เอทานอลสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อรา (4) ฤทธิ์แก้ปวด130-131 ยีนส์ โดยขมิ้นมีฤทธิ์ป้องกันความเสียหายของ ที่เป็นสาเหตุของโรคพืชหลายชนิด105-109 (5) ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย132 -141 สารพันธุกรรม71-84 (6) ฤทธิ์ต้านเชื้อรา ผลต้านเชื้อราที่ทาให้เกิด (7) ฤทธิ์สมานแผล ช่วยเร่งให้แผลที่ไม่ติดเชื้อหาย โรคกลาก142-143 ได้85-87 (7) รักษาแผลในกระเพาะอาหาร144-146 (8) ฤทธิ์เป็นยาชาเฉพาะที่88-89 (8) ฤทธิ์เป็นยาระงับระบบประสาท สารสกัดออก 91 (9) ฤทธิร์ ักษาและป้องกันเนื้องอก ฤทธิ์เป็นยาระงับประสาทได้ 91 (10) ฤทธิร์ ักษาและป้องกันข้ออักเสบ ที่มา: ฐานข้อมูลสมุนไพรสาธารณสุขมูลฐาน สานักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งสามารถสืบค้นงานวิจัยเพิม่ เติมได้ที่ www.medplant.mahidol.ac.th/pubhealth/index.asp?kw=%BC%D1%A1%E1%C7%E8%B9

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

(1) (2) (3) (4) (5)

กระชายดา ฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ มี ผ ลเพิ่ ม % Fertility แต่ ไ ม่ มี ผ ลต่ อ 149 พฤติกรรมทางเพศ ฤทธิ์ต่อระบบไหลเวียนเลือด149 ฤทธิ์ต่อกล้ามเนื้อเรียบอวัยวะเพศผู้ ผลยับยั้ง การหดตัวของกล้ามเนื้อที่ถูกกระตุ้นให้หดตัว ด้วย Phenylephrine149 ฤทธิ์ ยั บ ยั้ ง เอนไซม์ Phosphodiesterase ยับยั้งเอนไซม์ PDE, PDE5 และ PDE6149 ฤทธิ์ ต่ อ สมรรถภาพทางเพศ เพิ่ ม การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางเพศของอาสาสมัคร ได้ เพิ่ ม ขนาดและความยาวขององคชาติ ละระยะเวลาในการหลั งน้ากาม เพิ่ม ความ พึงพอใจต่อการแข็งตัว และผลยังคงอยู่จนถึง 2 เดือนที่ได้รับสารสกัดต่อเนื่อง149

1-6


โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

1.4 ข้อมูลอันตรกิริยาระหว่างสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน สรุปผลรายงานการวิจยั ทีเ่ กี่ยวกับการเกิดอันตรกิริยาระหว่างการใช้พืชสมุนไพรเป้าหมาย ได้แก่ ขมิ้นชัน ไพล บัวบก และกระชายดา ร่วมกับยาแผนปัจจุบัน แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 11 ตารางที่ 11 แสดงข้อมูลอันตรกิรยิ าระหว่างสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน (Herb-Drug Interaction) ขมิ้นชัน ไพล บัวบก (1) ขมิ้นชันมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP3A4, CYP1A4 ไพลมีฤทธิ์ยับยั้ง P-glycoprotein ซึ่งทาหน้าที่ใน (1) บั ว บกมี ฤ ทธิ์ ยั บ ยั้ ง เอนไซน์ CYP3A4, ท าให้ ย า Isosorbide, Mononitrate, การขับยาออกนอกเซลล์ ดังนั้นหากใช้ร่วมไพลกับ CYP1A4 ทาให้ยา Enalapril ที่เมตาบอไลซ์ Diclofenac,Simvastatin,Enalapril ยาแผนปัจจุบัน อาจทาให้ยาคงอยู่ในเซลล์นานขึ้น ผ่านเอนไซม์เหล่านี้ถูกแปรสภาพลดลง ทา ,Amlodipine, Atorvastatin ที่ เมตาบอไลซ์ ทาให้ยาออกฤทธิ์นานขึ้น แต่ในทางกลับกันอาจทา ให้ระดับยาในเลือดสูงขึ้นได้147 ผ่านเอนไซม์เหล่านี้ถูกแปรสภาพลดลง ทาให้ ให้อาการข้างเคียงของยาเพิ่มขึ้น148 (2) บั ว บ กมี ฤทธิ์ ยั บยั้ งเ อนไซ น์ CYP3A4, 147 ระดับยาในเลือดสูงขึ้น CYP1A4 ทาให้ยา Amlodipine ที่เมตา (2) ขมิ้นชันมีฤทธิ์เหนี่ยวนาเอนไซม์ CYP2A6 ทาให้ บอไลซ์ ผ่านเอนไซม์เหล่านี้ถูกแปรสภาพ ยา Acetaminophen ที่เมตาบอไลซ์ผ่า น ลดลง ทาให้ระดับยาในเลือดสูงขึ้นได้147 เอนไซม์เหล่านี้ถูกแปรสภาพเพิ่มขึ้น ทาให้ระดับ ยาในเลือดลดลงได้147 (3) ขมิ้นชันมีฤทธิ์ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด ดั ง นั้ น ควรระวั ง ในการใช้ ร่ ว มกั บ ยาต้ า นการ แข็งตัวของเลือด (Anticoagulants. และยาต้าน การจั บ ตั ว ของเกล็ ด เลื อ ด ( Antiplatelets) เพราะอาจทาให้เลือดออกง่าย และแข็งตัวช้า147 หมายเหตุ: ข้อมูลอันตรกิรยิ าระหว่างสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน เป็นการวิจัยในปัจจุบัน ที่มา: จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าทีส่ านักงานข้อมูลสมุนไพรไทย152 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งสามารถสืบค้นงานวิจัยเพิม่ เติมได้ที่ www.medplant.mahidol.ac.th/herbdrug หรือ สานักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่อยู่ 447 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

กระชายดา (1) กร ะ ชาย ด า มี ผล ท า ให้ ร ะ ดั บของย า Sildenafil ในเลื อ ดลดและส่ ง ผลให้ ประสิทธิภาพของยา Sildenafil ลดลง149 (2) กระชายดามีผลต่อเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการสลายยา โดยยั บยั้ งเอนไซม์ CYP3A4, CYP2D6 เหนี่ยวนาเอนไซม์ CYP1A1, CYP1A2, CYP2B, และ CYP2E149-151

1-7


โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

1.5 ข้อมูลความปลอดภัยของสมุนไพรที่มีการขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ ที่มีการขึ้นทะเบียนที่ อย. ฐานข้อมูลสรรพคุณของพืชสมุนไพรเป้าหมาย ที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) อนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ ซึ่งทาง อย. และผู้ประกอบการใช้เป็นข้อมูลประกอบการขึ้นทะเบียนยา แผนโบราณ แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 12 ตารางที่ 12 แสดงข้อมูลความปลอดภัยของสมุนไพรที่มีการขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ ที่มีการขึ้นทะเบียนที่ อย. ขมิ้นชัน ไพล (1) สารสกัดขมิ้นชัน ไม่ก่อให้เกิดพิษเฉียบพลั น (1) สารสกัดจากไพล ไม่ก่อให้เกิดพิษ186-187 และพิษเรื้อรัง153-163 (2) สารสกัดจากไพล ไม่มีฤทธิ์ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ 188 (2) สารสกัดขมิ้นชันไม่มีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ (3) สารสกัดขมิ้นชันไม่มี ฤทธิ์เป็นพิษต่อตัวอ่อ น (3) สาร Cassumunarins หรือ สาร D จากไพลทาให้ และยีนส์164-181 Chromosome ผิดปกติ189 (4) ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องท่อน้าดีอดุ ตัน (4) ไพลอาจทาให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง และเกิด หรือผู้ที่เป็นนิ่วในถุงน้าดี ต้องอยู่ในความดูแล อาการแพ้ที่ผิวหนังได้190 ของแพทย์182 (5) การรั บ ประทานในขนาดสู ง หรื อ ใช้ เ ป็ น ระยะ (5) ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์182 เวลานาน ท าให้ เกิ ด พิษ ต่ อตั บ และยั งไม่ มี ความ (6) สารสกั ด ขมิ้ น ชั น ไม่ มี ผ ลท าให้ เ คมี เ ลื อ ด ปลอดภัยที่จะนามาใช้เป็นยารักษาโรคหืด และไม่ 183-184 เปลี่ยนแปลง ควรน าเหง้ า ไพลมาใช้ รั บ ประทานเป็ น ยาเดี่ ย ว (7) ผงขมิ้นทาให้มีผู้แพ้ และสารสกัดขมิ้นใน ติดต่อกันนาน นอกจากจะมีการขจัดสารที่เป็นพิษ 185 ขนาด 1% อาจทาให้แพ้ ต่อตับออกจากไพลเสียก่อน191 (6) การใช้ครีมไพลห้ามใช้ท าบริเวณขอบตา เนื้อเยื่อ อ่อน และบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด

(1)

(2) (3) (4)

บัวบก บัวบกไม่มีผลทาให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ Human Lymphocyte ของคนแต่สาร ไทรเทอร์ปีนส์จากทั้งต้น มีความเป็นพิษต่อ เซลล์ fibroblast ของคน192-197 สารสกัดน้าจากส่วนเหนือดิน ลาต้น ใบ ไม่มี ฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ต่อเชื้อ (S.typhimurium TA98, TA100)198-199 สารจากบัวบกไม่มีพิษต่อระบบสืบพันธุ์ สารสกัดจากบัวบก อาจก่อให้เกิ ดฤทธิ์การ แพ้ ก ารอั กเสบ และการระคายเคือ งต่ อ ผิวหนังเกิดได้202-209

(1) (2) (3) (4) (5) (6)

กระชายดา กระชายดาไม่มีผลทาให้เกิดพิษเฉียบพลัน และพิษเรื้อรัง210 กระชายดาไม่มีผลทาให้เกิดความผิดปกติ กับระบบเลือด211-212 กระชายด าในรู ป แบบการรั บ ประทาน อาจทาให้ตับเกิดความผิดปกติได้211-212 ไม่ ค วรใช้ ใ นขนาดสู ง หรื อ ติ ด ต่ อ กั น เป็ น เวลานาน211-212 ไม่ควรใช้ในเด็กหรือสตรีมีครรภ์ เนื่องจาก ยังขาดข้อมูลด้านความปลอดภัย211-212 ผู้ ที่ แ พ้ พื ช ที่ อ ยู่ ใ นวงศ์ ZINGBERACEAE ควรหลีกเลี่ยง211-212

191

(7) ไม่แนะนาให้ใช้สมุนไพรชนิดนี้กับสตรีมีครรภ์ หรือ อยู่ระหว่างการให้นมบุตรและเด็กเล็ก191 ที่มา: สานักงานข้อมูลสมุนไพรไทย สานักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถสืบค้นงานวิจัยเพิ่มเติมได้ที่ www.medplant.mahidol.ac.th/poisonpr/index.asp

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

1-8


โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมุนไพรไทย

1.6 ข้อมูลสรรพคุณที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ ข้อมูลสรรพคุณของพืชสมุนไพรเป้าหมาย ที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ ซึ่งทาง อย. และผู้ประกอบการใช้เป็นข้อมูลประกอบการขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 13 และสรรพคุณของสมุนไพรเป้าหมาย ที่มีขายตามท้องตลาดปัจจุบัน แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 14 ตารางที่ 13 แสดงข้อมูลสรรพคุณที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ ขมิ้นชัน ไพล บัวบก - ช่วยให้เจริญอาหาร - แก้ฟกช้าปวดเมื่อย - แก้ท้องเสีย - แก้ท้องอืด จุกเสียด - เคล็ดขัดยอก - แก้ร้อนใน - ขับลม - แก้แมลงกัดต่อย - กระหายน้า - เพิ่มน้าดี - แก้ปวดท้อง - แก้ฟกช้า - แก้โรคผิวหนังผื่นคัน - ขับลม - รักษาแผลไฟลวก - รักษาแผลพุพอง - แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ - รักษาแผลในกระเพาะอาหาร - รักษาแผลเรื้อรัง - ไล่แมลง - ขับปัสสาวะ - บรรเทาอาการแพ้ - แก้ฟกช้า ที่มา: ฐานข้อมูลสรรพคุณที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งสามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.medplant.mahidol.ac.th/ethnoreg/index.asp

CA International Information Co., Ltd., www.caii-thailand.com

-

กระชายดา ส่วนหัว ใช้ขับลม

1-9


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.