archmsu2023thesis_Siriyakon_02

Page 1

บทที่ 4

รายละเอียดโครงการ

การศึกษาความเป็นไปได้โครงการโรงเรียนนานาชาติศิลปะการแสดง ( School of Performing Art Thailand ) ผู้จัดทำได้

ศึกษาค้นคว้าเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถจัดทำโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปได้ด้วยดี โดยทำการศึกษา ค้นคว้าเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

4.1 รายละเอียดจำนวนนักเรียนในหลักสูตร

SOPA THAILAND เป็นโรงเรียนสอนศิลปะการแสดงที่มีหลักสูตรภาควิชาทั้งหมด 4 สาขา โดยจะมีรายละเอียดในการรับจำนวนนักเรียนตาม ตารางดังนี้

ตารางที่ 9 จำนวนที่เปิดรับนักเรียน

สาขา วิชาเอก จำนวนที่รับ/คน

สาขาละครและภาพยนตร์ ภาควิชาการละครและภาพยนตร์

4.2.1 กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้สอย

การกำหนดกลุ่มเป้าหมายหลัก ผู้ใช้สอยโครงการสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่

กลุ่มผู้ใช้หลัก

คือกลุ่มเด็กนักเรียนที่เข้ามาศึกษาในโรงเรียน ที่มีตั้งแต่ระดับชั้น ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ผู้อำนวยการ คุณครู เจ้าหน้าที่ของโครงการฝ่ายต่าง

26
(การแสดง) 20 35 ภาควิชาการละครและภาพยนตร์
15
(ภาพยนตร์)
15 35 เอกดนตรี 20
การเต้นรำสมัยใหม่ กีฬาเต้นรำ บัลเล่ต์ และเต้นรำเกาหลี เคป๊อป 10 20 แนวป๊อป ร็อกกิ้ง แวกกิ้ง ฮิปฮอป 10 สาชาศิลปะ จิตรกรรมตะวันตก/จิตรกรรมเกาหลี/การออกแบบ/การออกแบบ เวที 35 35 รวม 125
รายละเอียดโครงการด้านผู้ใช้สอยโครงการ
สาขาดนตรีประยุกต์ เอกร้องเพลง
สาขาวิชาการเต้น
4.2
ๆ รวม ไปถึงพนักงานบริการอำนวยความสะดวก
กลุ่มผู้ใช้รอง คือผู้ปกครองที่มาส่งบุตรหลานเรียน ผู้ที่มาติดต่อ แขกรับเชิญพิเศษ

4.2.2 ปริมาณผู้ใช้สอยภายในโครงการ

ตารางที่ 10 แสดงปริมาณผู้ใช้สอย

ค่าเฉลี่ยจำนวนนักเรียน 25คนต่อ

1 ห้อง/ชั้นปีละ5ห้องมี3ชั้น ปี

5*3 = 15 ห้อง

15 *25 = 375 ห้อง

จำนวนนักเรียน = 375 คน

นักเรียน แสดงจำนวนบุคลากร/ฝ่าย บริหาร/กลุ่มงานสำนักงาน

ภาควิชาการละครและ

ภาพยนตร์

สาขาวิชาดนตรีประยุกต์

35

ฝ่ายสนับสนุน

= 77 เจ้าหน้าฝ่ายเทคนิค อาคาร 2 คน

1 คน นายช่างชำนาญงาน 2 คน

สาขาวิชาแดนซ์ 20 คน รองผู้อำนวยการ 2 คน แม่ครัว

กลุ่มผู้ใช้หลัก

จำนวนนักเรียน 375 คน

จำนวนบุคลากรและเจ้าหน้าที่ใน

โครงการ 88 คน

จำนวนฝ่ายสนับสนุน 15 คน

มี 4 สาขา ชั้นปี 1 มีรวม

ทั้งหมด 125*3 ชั้นปี

รวม

27
คน ครูวิชาทั่วไป/ครู สอนวิชาเอก 42+35
35 คน ผู้อำนวยการ
3 คน สาขาวิชาศิลปะ 35 คน ฝ่ายบริหาร 2 คน ฝ่ายทำความสะอาด 4 คน
375
ฝ่ายบัญชี 2 คน ฝ่ายรักษาความ ปลอดภัย 4 คน
2 คน 15 คน ฝ่ายต้อนรับ 2 คน 88 คน รวมทั้งหมด 514 คน
เรียนวิชาเอก เลิกเรียน เดินทางกลับ กลุ่มครูผู้สอน เดินทางมาโรงเรียน แสกนบัตร เข้าสอน พักเที่ยง เข้าสอน แสกนบัตร เดินทางกลับ
พักเที่ยง ทำงาน แสกนบัตรในการเข้าห้อง
เดินทางมาโรงเรียน แสกนบัตร ทำงาน พักเที่ยง ทำงาน แสกนบัตร เดินทางกลับ
เดินทางมาโรงเรียน แสกนบัตร ทำงาน พักเที่ยง ทำงาน แสกนบัตร เดินทางกลับ
3 ชั้นปี 375 คน
คน
ฝ่ายธุรการ
4.2.3 พฤติกรรมผู้ใช้สอย ภาพที่ 52 พฤติกรรมผู้ใช้สอย กลมนักเรียน เดินทางมาโรงเรียน เข้าเรียน พักเที่ยง
กลุ่มฝ่ายบริหารองค์กร เดินทางมาโรงเรียน แสกนบัตรในการเข้าห้อง ทำงาน
เดินทางกลับ กลุ่มงานสำนักงาน
กลุ่มงานบริการ

4.2.4 วิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้สอยโครงการช่วงเวลาการดำเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้โครงการช่วงเวลาการดำเนินงานของผู้มาใช้อาคาร ภาพที่ 53 แสดงวิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้โครงการช่วงเวลาการดำเนินงานของผู้มาใช้อาคาร

4.3 รายละเอียดโครงการด้านองค์ประกอบและพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4.3.1 องค์ประกอบโครงการ

28

4.3.2

การคำนวณพื้นที่ใช้สอย

1. ส่วนการศึกษา

1.1

สาขาวิชาการละครและภาพยนตร์

1) ห้องซ้อมการแสดง

จำนวนครู 1 คนใช้พื้นที่ (3x1.50) = 4.5 ตร.ม.

เด็ก 1 คนใช้พื้นที่ = 3 ตร.ม.

รับเด็ก 50 คน/Class ใช้พื้นที่ 3x50 = 150 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =45 ตร.ม.

มีทั้งหมด ห้อง = 195 ตร.ม.

ที่มา :การวิเคราะห์จำนวนผู้ใช้โครงการ Architects’ Data

ห้องซ้อมการแสดง ( ย่อย ) 2 ห้อง

คนใช้พื้นที่ = 3 ตร.ม.

จำนวนครู 1 คนใช้พื้นที่ (3x1.50) = 4.5 ตร.ม.

เด็ก 1 คนใช้พื้นที่ = 3 ตร.ม.

1 Class รับเด็ก 30 คน

ใช้พื้นที่ (3x30) = 90 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =27 ตร.ม.

รวม = 117 ตร.ม.

มีทั้งหมด 2 ห้อง = 234 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากจำนวนผู้ใช้โครงการ Architects’

Data

2) ห้องตู้ ล็อกเกอร์ สมาชิก 240 Unit.

1 ชุด 30 ล็อกเกอร์ พื้นที่ 3 ตร.ม.

90 ล็อกเกอร์ = 8 ชุด

พื้นที่ 3 * 8 = 24 ตร.ม.

ขนาด 11 x 5.40 = 60 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากเฟอร์นิเจอร์ Architects’ Data

3) ห้องตัดต่อ

ขนาด 4 x 2.5 = 10 ตร.ม.

7 ห้อง 7 x 10 = 70 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากกรณีศึกษา SO PA

4) ห้องประชุม

ขนาด 7.5 x 5 = 37.5 ตร.ม.

ห้องประชุม = 18 คน

ที่มา : การวิเคราะห์จากกรณีศึกษา SO PA

5) โถงรองรับ

ห้องรับรอง รองรับผู้ใช้งาน = 20 คน

ใช้พื้นที่ = 2 ตร.ม. / คน

พื้นที่ห้องรับรอง = 40 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% = 12 ตร.ม.

พื้นที่ห้องรับรองทั้งหมด 52 ตร.ม.

ขนาด 8 x 6.5 = 52 ตร.ม.

มี 2 ห้อง = 104 ตร.ม.

ที่มา:การวิเคราะห์จำนวนผู้ใช้โครงการ Architects’ Data

1.2 สาขาวิชาดนตรีประยุกต์

6) ห้องเรียนดนตรี

พื้นที่รองรับสำหรับ 40 คน

ขนาดห้อง 8 x 8 = 64 ตร.ม.

3 ห้อง 3 x 64 = 192 ตร.ม.

ที่มา : ข้อมูลจากการคำนวณขนาดและสัดส่วนผู้ใช้

7) ห้องซ้อมเดี่ยว

ขนาด 2 x 2.5 = 5 ตร.ม.

7 ห้อง 7 x 5 = 35 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =10.5 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากกรณีศึกษา SO PA

8) ห้องซ้อมกลอง

ขนาด 3 x 3 = 9 ตร.ม.

3 ห้อง 3 x 9 = 27 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =8.1 ตร.ม.

รวม = 35.1 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากเฟอร์นิเจอร์

9) ห้องตู้ล็อกเกอร์ สมาชิก 240 Unit.

1 ชุด 30 ล็อกเกอร์ พื้นที่ 3 ตร.ม.

90 ล็อกเกอร์ = 8 ชุด

พื้นที่ 3 * 8 = 24 ตร.ม.

ขนาด 11 x 5.40 = 60 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากเฟอร์นิเจอร์ Architects’ Data

10) ห้องซ้อมรวมวงใหญ่

ขนาด 8 x 7 = 56 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =160.8 ตร.ม.

ที่มา : ข้อมูลจากการคำนวณขนาดและสัดส่วนผู้ใช้

29

11) ห้องอัดสตูดิโอ มี 3 ส่วน

ห้อง control ขนาด 5 x 5 = 25 ตร.ม.

ห้อง studio ขนาด 7 x 6 = 42 ตร.ม.

ห้องเก็บของ ขนาด 4 x 2 = 8 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =22.5 ตร.ม

1 ห้อง = 97.5 ตร.ม.

ที่มา : ข้อมูลจากกรณีศึกษา

12) ห้องเก็บเครื่องดนตรี

ขนาด 4 x 6 = 24 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =7.20 ตร.ม

2 ห้อง 4 x 6 = 31.2 ตร.ม.

ที่มา : ข้อมูลจากกรณีศึกษา

1.3 สาขาวิชาแดนซ์

13) ห้อง Performance studio

พื้นที่สำหรับ 1 คน = 4 ตร.ม.

สำหรับ 40 คน 40x 4 = 160 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% = 48 ตร.ม.

รวมพื้นที่ 17 x 12 = 204 ตร.ม.

18) ห้องซ้อม ขนาด 25 ตร.ม. 4 ห้อง

พื้นที่สำหรับ 1 คน = 4 ตร.ม.

สำหรับ 4 คน 4 x 4 = 16 ตร.ม

โต๊ะ 1.20 x 0.70 = 0.84 ตร.ม

เก้าอี้ 0.80 x 0.60 = 0.48 ตร.ม

ทางสัญจร 30% =4.8 ตร.ม.

รวม = 20.8 ตร.ม.

รวมพื้นที่ 4 x 20.80 = 83.20 ตร.ม.

ที่มา :การวิเคราะห์จากจำนวนผู้ใช้ ตรม./คน

Architects’ Data

19) ห้อง LOCKER ตู้ล็อกเกอร์สำหรับสมาชิก 90 Unit

1 ชุด 30 ล็อกเกอร์ แบ่งเป็น 2 unit unit ละ 2 ชุด

ขนาดห้อง 2.70 x 5.50 = 14.85 ตร.ม.

ที่มา : ข้อมูลจากกรณีศึกษาศูนย์เต้นรำ Sandi Simon

14) ห้องซ้อม ขนาด 100 ตร.ม. 2 ห้อง

พื้นที่สำหรับ 1 คน = 4 ตร.ม.

สำหรับ 20 คน 20 x 4 = 80 ตร.ม

ทางสัญจร 30% =24 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากจำนวนผู้ใช้ ตรม./คน จาก

Architects’ Data

15) ขนาดห้อง 10 x 10 = 100 ตร.ม.

รวมพื้นที่ 2 ห้อง 2 x 100 = 200 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากจำนวนผู้ใช้ ตรม./คน จาก

Architects’ Data

16) ห้องซ้อม ขนาด 55 ตร.ม. 3 ห้อง

พื้นที่สำหรับ 1 คน = 4 ตร.ม.

สำหรับ 10 คน 10 x 4 = 40 ตร.ม

ทางสัญจร 30% =12 ตร.ม. รวม = 52

17) ขนาด 8 x 6.50 = 52 ตร.ม.

รวมพื้นที่ 3 ห้อง 3 x 52 = 156 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากจำนวนผู้ใช้ ตรม./คน จาก

Architects’ Data

รวมพื้นที่ห้องล็อกเกอร์ 2 unit 14.85 x 2 = 29.7 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากเฟอร์นิเจอร์ ARCHITECTS’ DATA

ห้องอาบน้ำ,ห้องน้ำ จำนวน 6 ห้อง ชาย 3 หญิง 3 ขนาด 9

x 6 = 54 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์โดยอ้างอิง Architects’ Data ทั้งหมด

1.4 สาขาวิชาศิลปะ

20) ห้อง classroom ศิลปะ

รองรับนักเรียน 40

ห้อง classroom ขนาด 8 x 8 = 64 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =19.20

รวม = 83 ตร.ม.

รวมพื้นที่ 3 ห้อง = 249.60 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากจำนวนผู้ใช้โครงการ

21) ห้องศิลปะ

คนใช้พื้นที่ = 3 ตร.ม.

จำนวนครูพี่เลี้ยง1คนใช้พื้นที่ 3x1.50 = 4.5 ตร.ม.

เด็ก 1 คนใช้พื้นที่ = 3 ตร.ม.

รับเด็ก 20 คน/Class ใช้พื้นที่ (3x20) = 60 ตร.ม.

ทางสัญจร 30% =18 ตร.ม. พื้นที่ห้องศิลปะ = 78 ตร.ม

ที่มา : การวิเคราะห์จากจำนวนผู้ใช้ ตรม./คน

ห้องเเสดงผลงาน ผลงานนักเรียน ห้องหอศิลป์

ขนาด 12 x 8 = 96 ตร.ม.

ที่มา : การวิเคราะห์จากเฟอร์นิเจอร์ Architects’ Data

30

4.3.3 ตารางสรุปพื้นที่ใช้สอย

1.ส่วนการศึกษา

ตารางที่ 11 แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนส่วนวิชาเอกห้องซ้อมการแสดง

ตารางที่ 12 แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนสาขาวิชาดนตรีประยุกต์

ลำดับ 1.2 ห้องซ้อม สาขาวิชา

B = ข้อมูลจากหนังสือ

31
ประเภท ผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 ห้องเรียนดนตรี ครู/ นักเรียน 35 8 x 8 = 64 3 192 30 57.6 250 B 1016.4 2 ห้องซ้อมเดี่ยว ครู/ นักเรียน 1-2 2 x 3 = 6 8 48 30 14.4 62.4 C 3 ห้องซ้อมกลอง ครู/ นักเรียน 1 4 x 4 = 16 3 48 30 14.4 62.4 C 4 ห้องซ้อมรวมวงใหญ่ ครู/ นักเรียน - 8 x 7 = 56 2 112 30 33.60 145.6 A 5 ห้องอัดสตูดิโอ นักเรียน 4 10 x 7 = 70 1 70 30 21 91 B 6 ห้องเก็บเครื่องดนตรี ครู/ นักเรียน - 6 x 4 = 24 2 48 30 14.4 62.4 A 7 ห้องล็อคเกอร์ ห้องล็อค เกอร์ 240 11x5.40 =60 1 60 30 18 78 B 8 ห้องPerformance studio ครู/ นักเรียน 40 17 x 12 = 204 1 204 30 61.2 265.2 C
C = ข้อมูลจากกรณีศึกษา
Architects’ Data D = ข้อมูลจากการอ้างอิงเทศบัญญัติและข้อบังคับทางกฎหมาย ลำดับ 1.1 ห้องซ้อมการ แสดง ประเภท ผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 ห้องซ้อมการแสดง ครู/ นักเรียน 60 16x12=192 1 192 30 57.6 249.6 A,B 968.75 2 ห้องซ้อมการเเสดง ย่อย ครู/ นักเรียน 40 14x8=117 2 234 30 70.2 304.2 A,B 3 ห้องตัดต่อ ครู/ นักเรียน 40 4x2.5=10 7 70 30 21 91 C 4 โถงรองรับ ครู/ นักเรียน 20 8x6.5=52 2 104 30 31.2 135.2 A,B 5 ห้องประชุม ครู/ นักเรียน 20 7.5x5=37.5 1 37.5 30 11.25 48.75 C 6 ห้องล็อคเกอร์ นักเรียน 240 11x5.40 =60 1 60 30 18 78 A,B 7 ห้องเก็บฉาก ครู/ นักเรียน - 8x6=48 1 48 30 14.4 62.4 A,B
ดนตรีประยุกต์
A = ข้อมูลจากการคำนวณขนาดและสัดส่วนผู้ใช้

1.ส่วนการศึกษา (ต่อ)

ตารางที่ 13

แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนสาขาวิชาการเต้น

ตารางที่ 14 แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนสาขาวิชาศิลปะ

A = ข้อมูลจากการคำนวณขนาดและสัดส่วนผู้ใช้ C = ข้อมูลจากกรณีศึกษา

B = ข้อมูลจากหนังสือ Architects’ Data

D = ข้อมูลจากการอ้างอิงเทศบัญญัติและข้อบังคับทางกฎหมาย

32
ลำดับ 1.3 สาขาวิชาการเต้น ประเภท ผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 ห้องPerformance studio ครู/ นักเรียน 40 17 x 12 = 204 1 204 30 61.2 265.2 C 782.20 2 ห้องซ้อม 100 ตร.ม. ครู/ นักเรียน 20 10 x 10 = 100 1 100 30 30 130 A,B 3 ห้องซ้อม 55 ตร.ม. ครู/ นักเรียน 10 8 x 6.5 = 55 2 110 30 33 143 A,B 4 ห้องซ้อม 26 ตร.ม. ครู/ นักเรียน 4 6.5 x 4 = 26 4 104 30 31.2 135.2 A,B 5 ห้องอาบน้ำ/เปลี่ยน ชุด/ล็อคเกอร์ นักเรียน 20 57.33 1 83.70 30 25.11 108.81 A,B ลำดับ 1.4 ห้องซ้อมสาขา ศิลปะ ประเภท ผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 ห้องศิลปะ ครู/ นักเรียน - 8 x 8= 64 2 128 30 38.40 166.40 A,B 800.34 2 ห้องเรียนศิลปะ ครู/ นักเรียน 20 8x8=64 4 256 30 76.80 332.80 A,B 3 ห้องเเสดงผลงาน ครู/ นักเรียน - 12 x 8=96 1 96 30 28.8 124.8 A,B 4 ห้องเก็บผลงาน ครู/ นักเรียน - 4x5.10 =20.40 1 20.40 30 6.12 26.52 C 5 พื้นที่ล้างอุปกรณ์ นักเรียน - 6.50x3.50=22.75 1 22.75 30 6.825 29.57 C 6 ห้องเก็บอุปกรณ์ ครู/ นักเรียน - 6.50x5=32.50 1 32.50 30 9.75 42.25 C 7 ห้องล็อคเกอร์ นักเรียน 240 11x5.40 =60 1 60 30 18 78 B

2 . ส่วนสนับสนุนโครงการ

ตารางที่ 16 แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนส่วนสนับสนุนโครงการ

A = ข้อมูลจากการคำนวณขนาดและสัดส่วนผู้ใช้

C = ข้อมูลจากกรณีศึกษา

B = ข้อมูลจากหนังสือ Architects’ Data D = ข้อมูลจากการอ้างอิงเทศบัญญัติและข้อบังคับทางกฎหมาย

33
(ต่อ)
1.5 ส่วนการศึกษา ประเภท ผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 ห้องเรียนประจำ ครู/ นักเรียน 25 8 x 8= 64 15 960 30 288 1248 A 6,302 2 ห้องปฎิบัติวิทยาศาตร์ ครู/ นักเรียน 20 8x8=64 3 192 30 57.6 249.60 A,B 3 ห้องปฎิบัติการ คอมพิวเตอร์ ครู/ นักเรียน - 8 x 16 = 136 2 272 30 81.60 353.60 A,B 4 ห้อง English room ครู/ นักเรียน 60 14 x14= 196 1 196 30 58.8 254.80 C 5 ห้องสมุด ครู/ นักเรียน - 287 1 287 30 86.10 373.1 B 6 ห้องเเกลลอลี่ ครู/ นักเรียน - 8x8=64 1 64 30 19.20 83.20 C 7 โรงยิม ครู/ นักเรียน - 830 1 830 30 249 1079 B 8 หอประชุม ครู/ นักเรียน - 1037 ตร.ม. 1 1037 30 311 1348 B 9 สนามกีฬากลางเเจ้ง สนามขนาด 7 คน นักเรียน - 2475 1 2475 30 742.5 3217 C
1.ส่วนการศึกษา
ตารางที่ 15 แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนการศึกษา ลำดับ
ลำดับ ส่วนสนับสนุน โครงการ ประเภท ผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 2.1 ห้องพักครู ครู/ นักเรียน1 469.56 30 230.86 1000 A,B 1,736 2.2 โรงอาหาร นักเรียน/ บุคลากร1 345.45 30 103.99 527.35 A,B 2.3 ห้องพยาบาล นักเรียน/ บุคลากร1 53 30 56.9 68.90 A,B 2.4 ห้องกระจายเสียงเเละ ห้องประชาสัมพันธ์ พยาบาล1 114 30 34.2 142.2 A,B

แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนส่วนสาธารณะ

34 3. ส่วนสาธารณะ
ตารางที่ 17
ลำดับ ส่วนสาธารณะ ประเภทผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 โถง ทุกประเภท 164/10 ชั่วโมง 1.50x164=246 1 246 30 73.80 319.80 A 1,672 2 ลานกิจกรรม ทุกประเภท 720 1.20x720=864 1 864 30 259.20 1123.2 A 3 ร้านขายของ ทุกประเภท - 8x8=64 1 64 30 19.20 83.2 B 4 ร้านกาแฟ ทุกประเภท - 7x4.50=31.5 1 31.50 30 9.45 40.95 B 5 ห้องน้ำ ห้องน้ำ - 3 20 60 30 18 78 A 6 ห้องรองรับ ผู้ปกครอง ผู้ปกครอง 10 20 1 20 30 6 26 A 4.ส่วนบริหาร ตารางที่
ลำดับ
ประเภทผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 ห้องผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ 1 4.60x3.60= 16.56 1 16.56 30 4.97 21.53 A,B 293.86 2 ห้องรอง ผู้อำนวยการ ห้องรอง ผู้อำนวยการ 2 3.40x2.90= 9.86 2 19.72 30 5.916 25.636 A,B 3 ห้องเลขขานุการ เลขขานุการ 1 3.40x2.90= 9.86 1 9.86 30 2.958 12.818 A,B 4 ห้องน้ำ ห้อง ผู้บริหาร - 3.80 3 11.40 30 3.42 14.82 A,B 5 ห้องฝ่ายบุคคล ห้องฝ่าย บุคคล 2 3.40x2.90=9.86 2 19.72 30 6 25.72 B 6 ห้องฝ่ายบัญชี ห้องฝ่าย บัญชี 2 3.40x2.90=9.86 2 19.72 30 6 25.72 B 7 ห้องฝ่ายต้อนรับ ห้องฝ่าย ต้อนรับ 2 3.40x2.90=9.86 2 19.72 30 6 25.72 B 8 ห้องฝ่ายการเงิน ห้องฝ่าย การเงิน 2 3x3=9 2 18 30 5.4 23.40 A 9 โถงหลัก ส่วนบริหาร 8 1.5x8=12 1 12 30 3.60 15.60 B 10 ห้องรับรอง ส่วนบริหาร 6 4x4=16 1 16 30 4.80 20.80 B 11 ห้องประชุม ส่วนบริหาร 16 16 x 3 = 48 1 48 30 14.40 62.40 A 12 ห้องน้ำ ส่วนบริหาร - 1.5x1.5=2.25 4 9 30 2.7 11.70 A 5.ส่วนบริการโครงการ
18 แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนส่วนบริหาร
ห้องผู้บริหาร
35 ตารางที่ 19 แสดงสรุปพื้นที่ใช้สอยส่วนบริการโครงการ ลำดับ ส่วน sevice ประเภทผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา รวม 1 โถงทางเข้า ช่าง - 12 1 12 20 3.60 16 A 564 2 ห้องกล้องวงจรปิด ช่าง 2*3 6 1 6 20 1.20 7.20 B 3 ถังเก็บน้ำ ช่าง - 64 1 64 20 12.8 76.80 A 4 ปั้มน้ำ ช่าง - 20 1 20 20 4 24 A 5 GENERATOR ช่าง 8*8 64 1 64 20 12.8 76.80 A 6 MDB ช่าง 4*6 35 1 35 20 7 42 A 7 SDB ช่าง 3*4 12 5 60 20 12 72 A 8 หม้อแปลงไฟฟ้า ช่าง 8*8 64 1 64 20 12.8 76.80 A 9 ห้อง เครื่องปรับอากาศ ช่าง 8*8 64 1 64 20 12.8 76.80 A 10 ห้องเก็บอุปกรณ์ ช่าง 4*4 16 1 16 20 3.20 19.20 A ลำดับ ส่วนทำอาหาร ประเภทผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา 11 ห้องครัว แม่ครัว 3 4.20x3=12.60 1 12.60 20 2.52 15.12 B 12 พื้นที่ตักอาหาร แม่ครัว - 3.50x3=10.50 1 10.50 20 2.1 12.6 B 13 ห้องเก็บอาหาร แม่ครัว 3 4.60x2.7=12.42 1 12.42 20 2.484 14.904 B ลำดับ ส่วนเเม่บ้าน ประเภทผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา 14 ห้องพักเเม่บ้าน เเม่บ้าน 4 3.50x3=10.50 1 10.50 20 2.10 12.60 A,B 15 พื้นที่ซักล้าง เเม่บ้าน - 4x2.50=10 1 10 20 2 12 A,B 16 ห้องเก็บอุปกรณ์ เเม่บ้าน - 3x3=9 1 9 20 1.80 10.80 A ลำดับ ส่วนสถานที่ ประเภทผู้ใช้ จำนวน ผู้ใช้ ตร.ม. / Unit Unit พื้นที่ สุทธิ พื้นที่ สัญจร (%) พื้นที่ สัญจร Total ที่มา 17 ห้องพักฝ่ายสถานที่ ฝ่ายสถานที่ 1 3.50x3=10.50 1 10.50 20 2.1 12.6 A,B 18 ห้องเก็บอุปกรณ์ ฝ่ายสถานที่ - 3x3=9 1 9 20 1.8 10.8 A,B 19 ป้อมผู้รักษาความ ปลอดภัย ฝ่ายสถานที่ 2 3x2=6 2 12 20 2.4 14.4 B 20 ห้อง sever ฝ่ายสถานที่ 1 3x3=9 1 9 20 1.8 10.8 A 21 ห้องพักขยะ ฝ่ายสถานที่ - 4x4=9 1 16 20 3.2 19.2 A A = ข้อมูลจากการคำนวณขนาดและสัดส่วนผู้ใช้ C = ข้อมูลจากกรณีศึกษา
=
B = ข้อมูลจากหนังสือ Architects’ Data D
ข้อมูลจากการอ้างอิงเทศบัญญัติและข้อบังคับทางกฎหมาย

6. ที่จอดรถยนต์ พิจารณาจากพระราชบัญญัติควบคุม

ตารางที่ 20 แสดงสรุปพื้นจอดรถ

อาคารส่วนบริหาร = 294 ตร.ม.

คิดตามกฎหมายแบ่งตามประเภทของอาคาร (1:120)

294/ 120 = 3 คัน

ส่วนการศึกษา= 9878 ตร.ม.

คิดตามกฎหมายแบ่งตามประเภทของอาคาร (1:120)

9878/ 120 = 75 คัน

ส่วนสนับสนุนโครงการ = 1736 ตร.ม.

คิดตามกฎหมายแบ่งตามประเภทของอาคาร (1:120)

1736 / 120 =14 คัน

ส่วนสาธารณะ = 1672ตร.ม.

คิดตามกฎหมายแบ่งตามประเภทของอาคาร (1:120)

1671.15 / 120 = 14 คัน

ส่วนบริการ = 550 ตร.ม.

คิดตามกฎหมายแบ่งตามประเภทของอาคาร (1:120)

550 / 120 = 4 คัน

รถยนต์ขนาด 2.5*5 = 12.50 ตร.ม./คัน

รวมทั้งหมด 85 คัน * 12.50 = 1064 ตร.ม.

ทางสัญจร 100 % = 2128 ตร.ม.

รถจักยานยนต์ 1 *2 = 2 ตร.ม./คัน

คิดเป็น10 % ของจำนวนผู้ใช้โครงการ = 62 คัน* 2 = 124ตร.ม.

ทางสัญจร 100 % =248 ตร.ม. รวมพื้นที่จอดรถทั้งหมด 2376 ตร.ม.

จอดรถยนต์บุคลากร

จอดรถจักรยนต์

36
ลำดับ จำนวน คัน จอดรถผู้ปกครองที่มาติดต่อ 75 85 จอดรถ รับ-ส่ง นักเรียน 4
2
จอดรถรถยนต์คนพิการ
4
10 % ของ จำนวนผู้ใช้งาน 62 62 จอดรถจักรยนต์ 5 % ของจำนวน ผู้ใช้งาน 31 31
องค์ประกอบ พื้นที่ใช้สอย ตรม. รวม ส่วนการศึกษา 9878 16,520 ตร.ม. ส่วนสนับสนุนโครงการ 1736 ส่วนสาธารณะ 1672 ส่วนบริหาร 294 ส่วนบริการ 564 ที่จอดรถ 2376

บทที่ 5

การศึกษาที่ตั้งโครงการ

5.1

ที่ตั้งโครงการระดับจังหวัด

จำนวนนักเรียนที่เข้าเรียนนานาชาติ

และจำนวนโรงเรียนนานาชาติในไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเห็นได้ว่า

จำนวนนักเรียนที่เข้าเรียนโรงเรียนนานาชาติ ที่ต่างจังหวัดเมื่อเทียบกับกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มว่าจะมีอัตราการเข้า

เรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

แผนภูมิที่ 1 แสดงจำนวนนักเรียนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง

ที่มา: https://thaipublica.org/2023/08/scb-eic-in-focus-inter-school/

เนื่ิองจากโครงการโรงเรียนสอนศิลปะการเเสดง SOPA THAILAND มีกลุ่มผู้ใช้งานช่วงอายุ 14- 18 ปี หรือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4- 6 โครงการนี้นี้โรงเรียนเอกชน ซึ่งมีรายได้หลักจากค่าธรรมเนียมการศึกษา จึงมีกลุ่มเป้าหมายโครงการเป็นครอบครัวที่มีรายได้สูง อยู่ ในพื้นที่ที่มีความเจริญ จึงสรุปได้ว่าที่ตั้งโครงการระดับจังหวัด คือกรุงเทพมหานคร ภาพที่ 54 แสดงภาพจุดที่ตั้งโรงเรียนนานาชาติ แผนภูมิที่ 2 แสดงการวิเคราะห์การเดินทางมาโรงเรียน

การกระจุกตัว ของโรงเรียน นานาชาติในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จะเห็น ได้ว่าโรงเรียนนานาชาติ ส่วนมากจะมีที่ตั้ง

บริเวณใกล้เคียงกับขนส่งมวลชน ในใช้การ

เดินทางในกรุงเทพมหานครมากกว่าการ

เดินทางด้วยรถส่วนตัว จึงสรุปได้ว่าที่ตั้งควร

อยู่ใกล้กับขนส่งมวลชน

37

5.1.1

เกณฑ์ในการเลือกพื้นที่

กรุงเทพมหานครมีประชากรมาก เป็นศูนย์กลางของการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง เดินทางโดยการรถไฟฟ้าใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นระบบขนส่งทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิด ให้บริการแล้วทั้งสิ้น 9 สาย 160 สถานี โดยพื้นที่ที่มีรถไฟฟ้าผ่านนั้น จะมีความสะดวกด้านการคมนาคม จึงมีสาธารณูปโภคเกิดขึ้น มาก โดยเลือกสาย 5 สาย คือ สายสุขุมวิท สายสีเเดง สายสีน้ำเงินสายสีเหลือง สายสีม่วง การวิเคราะห์เลือกพื้นที่

ตารางที่ 21 แสดงการวิเคราะห์เลือกสายรถไฟ

เกณท์การเลือกที่ตั้งโครงการ ค่าน้ำหนัก สายสีเหลือง

มีแนวเส้นทางพาดผ่านพื้นที่กรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออกเป็นส่วนใหญ่ ตลอดจนพื้นที่ส่วนเหนือของจังหวัดสมุทรปราการ และช่วยเชื่อมต่อการเดินทางจากย่านพักอาศัย เข้าสู่เมือง ใกล้เคียงกับพื้นที่สีเขียว

5.2 ที่ตั้งโครงการระดับย่าน

5.2.1

ข้อมูลพื้นที่ทางผ่านของรถไฟสายสีเหลือง

ตารางที่ 22 แสดงที่ตั้งรถไฟฟ้ามหานครสายสีเหลือง

ที่มา : th.wikipedia.org/wiki/รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง

แขวง/ตำบล

จอมพล/จันทรเกษม จตุจักร

เขต/อำเภอ จังหวัด

สามเสนนอก ห้วยขวาง

สะพานสอง/วังทองหลาง/คลองเจ้าคุณสิงห์/พลับพลา วังทองหลาง

คลองจั่น/หัวหมาก บางกะปิ

พัฒนาการ/อ่อนนุช สวนหลวง

หนองบอน ประเวศ

บางนาเหนือ/บางนาใต้ บางนา

กรุงเทพมหานคร

สำโรงเหนือ/เทพารักษ์ เมืองสมุทรปราการ สมุทรปราการ พื้นที่ที่อยู่อาศัย มีจำนวน 14 เขต ประกอบด้วย เขตหลักสี่ เขตดอนเมืองเขตสายไหม เขตบางเขน เขตลาดพร้าว เขตวัง ทองหลาง เขตบางกะปิ เขตบึงกุ่ม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง เขตสวนหลวง เขตประเวศ เขตพระโขนง และเขตบางนา มี จำนวนชุมชนมากที่สุดเป็นลำดับที่ 1 โดยมีจำนวน ชุมชนมากที่สุด 694 ชุมชน จำแนกเป็น ชุมชนบ้านจัดสรร 279 ชุมชน ชุมชนเมือง 179 ชุมชน ชุมชนแออัด130 ชุมชน เคหะชุมชน 46 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 39 ชุมชน และชุมชนอาคารสูง 21 ชุมชน มีพื้นที่ประมาณ35,126.60 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.92 ของพื้นที่กลุ่มเขตการวางผังที่ 3 มีจำนวนประชากรชุมชน

660,538 คน คิดเป็นร้อยละ 35.43 ของประชากรกลุ่มเขตการวางผังที่ 3 จำนวนบ้านในชุมชน 167,338 หลังคาเรือน และ จำนวนครัวเรือน 177,764 ครัวเรือน

38
สายสีเขียว สายสีเเดง สายสีน้ำเงิน สายสีม่วง 1. จำนวนผู้ใช้งานต่อวัน 2 5 9 4 8 4 2. การเชื่อมต่อกับคมนาคมอื่น ๆ 3 8 8 8 7 7 3.สภาพเเวดล้อม 5 8 5 7 7 7 ค่าน้ำหนักรวม 10 74 67 67 61 67

5.2.2 เกณฑ์ในการเลือกย่าน

1) ที่ตั้งโครงการระดับนั้นต้องเลือกย่านระหว่าง สถานีรถไฟสายสีเหลือง

2) อยู่ใกล้กับแหล่งชุมชนและหมู่บ้านหรู พื้นที่โครงการต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวก

3) สถานที่ตั้งโครงการอยู่ใกล้เเหล่งชุมชนเมือง

4) สามารถเข้าถึงได้สะดวก

ตารางที่ 23 แสดงการวิเคราะห์เลือกย่าน

เกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการระดับย่าน น้ำหนัก เขตวังทองหลาง เขตสวนหลวง เขตบางนา

1. ที่ตั้งโครงการระดับนั้นต้องเลือกย่านระหว่าง สถานีรถไฟสายสีเหลือง

2.อยู่ใกล้กับแหล่งชุมชนและหมู่บ้านหรู

3. สถานที่ตั้งโครงการอยู่ใกล้เเหล่งชุมชนเมืิอง

มีอณาเขตทิศเหนือติดกับเขตลาดพร้าวและเขตบาง กะปิ ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเขตบางกะปิ ทิศตะวันตกติดกับเขตห้วยขวางและมีย่านการค้าหนาแน่นอยู่บริเวณทางด้านตะวันตก เฉียงเหนือของพื้นที่เขตวังทองหลาง 5.3 การเลือกที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 55 แสดงภาพวิเคราะห์ตั้งโครงการ A

ที่มา: https://landsmaps.dol.go.th/

39
3 5 6 6
2 8 8 8
3 6 8 7
มีการคมนาคมขนส่งที่เข้าถึงโครงการได้อย่างเหมาะสม 2 4 5 5 คะเเนนรวม 10 57 68 65
4.
เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางไปจนถึงหนาแน่นน้อยกระจายอยู่บนพื้นที่
40 ภาพที่ 56 แสดงภาพวิเคราะห์ตั้งโครงการ B ที่มา: https://landsmaps.dol.go.th/ ภาพที่ 57 แสดงภาพวิเคราะห์ตั้งโครงการ C ที่มา: https://landsmaps.dol.go.th/

จากการใช้ค่าถ่วงน้ำหนักจึงเป็น SITE B - ใกล้ BTS สภาพแวดล้อมโดยรอบเป็นชุมชนย่านพักอาศัยและพาณิชยกรรม ใกล้เคียงกับย่านที่พักอาศัย ติดถนนศรีนครินทร์

5.4 การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

5.4.1 บริบทและสภาพแวดล้อมของที่ตั้งโครงการ

การคมนาคม

ถนนศรีนครินทร์ , บีทีเอสกลันตัน

การเข้าถึงโครงการ

- เข้าถึงได้รถยนต์ส่วนตัวและรถ

มอเตอร์ไซค์ ทางรถประจำทาง ทาง

รถไฟฟ้า BTS

สาธารณูปโภค สาธารณูปการ

- สาธารณูปโภค สาธารณูปการครบ

สภาพพื้นที่ตั้งโครงการ - พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นสวน

ภาพที่ 59 แสดงภาพบริบทและสภาพแวดล้อมของที่ตั้งโครงการ ที่มา: https://landsmaps.dol.go.th/

5.4.2 วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อที่ตั้ง

ภาพที่ 60 วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อที่ตั้ง

41
ค่าถ่วงน้ำหนัก SITE A SITE B SITE C 1. ความสะดวกในการเข้าถึง 2 9 8 8 2. มีสภาพเเวดล้อมที่ดี 2 6 6 7
3 7 7 6
ขนาดและรูปร่างที่ดิน 3 4 7 6 คะเเนนรวม 10 63 70 66
ตารางที่ 34 แสดงการวิเคราะห์เลือกที่ตั้งโครงการ เกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ
3. สถานที่ตั้งโครงการอยู่ใกล้เเหล่งชุมชน
4.
42 ภาพที่ 61 แสดงภาพบริบทและสภาพแวดล้อมของที่ตั้งโครงการ ที่มา: https://landsmaps.dol.go.th/ 5.4.3 วิเคราะห์ข้อกฎหมาย ภาพที่ 62 แสดงภาพวิเคราะห์ข้อกฎหมาย ที่มา:https://www.google.com/maps/search/

แนวคิดและผลการออกแบบ

6.1 แนวความคิดและประเด็นในการออกแบบ การสร้างกระตุ้น ในการพัฒนาที่จะเป็นไอดอล โดยการกลสร้างเเรงบันดาลใจให้นักเรียน ด้วยการออกเเบบพื้นที่สถาปัตยกรรมให้เป็นพื้นที่ที่ทำให้เกิดเเรงผลักดันในการฝึกฝนทักษะ คือการ สร้างพื้นที่ที่เป็นห้องที่อยู่บริเวณที่นักเรียนสามารถทำกิจกรรมที่ผู้อื่นสามารภมองเห็นได้ เป็นการ เสริมสร้างความมั่นใจให้นักเรียน เเละมีเเรงกระตุ้นที่จะทำให้นักเรียนตั้งใจในการฝึกฝนมากขึ้น เเละพื้นที่ที่เป็นเเรงจูงใจของนักเรียน ในเเต่ละปีโรงเรียนจะมีค่ายมาเลือกนักเรียนไปเป็นเด็กฝึกโดย ผ่านการออดิชั่น เเละที่นักเรียนจะออดิชั่นได้ต้องถูกเลือกเท่านั้น เเละพื้นที่นี่ นักเรียนที่ถูกเลือก เท่านั้น ถึงจะสามารถเข้ามาได้

ลานอเนกประสงค์ ความทะลุปรุโปร่ง การเรียนในพื้นที่นอกห้องเรียน ห้องอเนกประสงค์

Mass Development การพัฒนารูปเเบบอาคาร

กล่องแมส เเมสสองก้อนซ้อนกัน เจาะเเมสด้านหลังเป็นพื้นที่ว่าง

เจาะเเมสด้านหน้าเป็นพื้นที่ว่าง เจาะเเมสด้านหน้าเป็นพื้นที่ว่าง

ภาพที่ 63

การพัฒนารูปเเบบอาคาร

เจาะเเมสจากด้านข้าง

43
บทที่ 6

Zoning ภาพที่ 64 โซนในโครงการ มีการแบ่งสีการแต่ละโซน เพื่อให้เห็นการวางโซน

1 ภาพที่ 65 ผังพื้นชั้น 1 จะออกแบบที่จะมีพื้นที่ที่ด้านหน้าจะเป็นสำนักงาน ทางเข้านักเรียน และโถงผู้ปกครองเข้าไปอันดับแรกของนักเรียนจะเจอให้ส่วนของลาน กิจกรรมตรงกลาง และบันไดและลิฟต์จะอยู่ซ้าย และเดินไปด้านหลัง ก็จะมีโรงอาหารของนักเรียนและมีห้องครัว ถัดจากห้องครัวจะเป็นโรงยิม และมี สนามหญ้า ที่สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้

44 6.2 การนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่
1
ผังพื้นชั้น

ผังพื้นชั้น 2 ผังพื้นชั้น 3

ภาพที่ 66 ผังพื้นชั้น 2

ภาพที่ 67 ผังพื้นชั้น 3

ออกแบบให้ขึ้นบันไดมาแล้วจะเจอกับห้องพักครู ออกแบบให้ขึ้นบันไดมาจะเจอกับห้องเรียนประจำ และส่วนของปกผู้ครองจะสามารถขึ้นมาจากโถงรองรับผู้ปก และเชื่อมกับห้องสมุดและห้องเรียนวิชาการ และจะเจอกับ ครองมายังหอประขุมได้ ห้องซ้อมการแสดง ด้านหลังจะเป็นห้องชุมนุม ผังพื้นชั้น 4 ผังพื้นชั้น 5

ภาพที่ 68 ผังพื้นชั้น 4

ภาพที่ 69 ผังพื้นชั้น 5

ออกแบบให้ขึ้นบันไดมาจะเจอกับห้องเรียนประจำ ออกแบบให้ขึ้นบันไดมาจะเจอกับห้องบรรยายของ สาขาและเชื่อมกับห้องซ้อมการแสดง และห้องตัดต่อ ศิลปะ และห้องปฏิบัติการศิลปะ

และด้านหลังจะเป็นสาขาดนตรี

45

6.3 การนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 2

การนำเสนอผลการออกแบบครั้งที่ 2 ได้มีการแก้ปัญหาใน

กาออกแบบครั้งที่ 1 โดยได้มีการเพิ่มพื้นที่ให้เหมาะสมกับการใช้งาน

มากขึ้น และมีการเพิ่มรายละเอียดงานให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น

แนวคิดในรอบที่สอง ได้มีการปรับเปลี่ยนกรอบอาคารให้มีความ

สวยงามและดูมีมิติมากขึ้น

ผังพื้นชั้น 1 ผังพื้นชั้น 2

ภาพที่ 70 ผังพื้นชั้น 1

ได้มีการเพิ่มโซนด้านหน้าเพื่อเป็นที่นั่ง และขยายส่วนของโถง

ภาพที่ 71 ผังพื้นชั้น 2

มีพื้นที่ห้องซ้อมการแสดงเพิ่มเข้ามา และห้องไลฟ์สตูดิโอ ผังพื้นชั้น 3 ผังพื้นชั้น 4

ภาพที่ 72 ผังพื้นชั้น 3

ออกแบบโดยการเพิ่มกล่องอเนกประสงค์ และจัดสาขาดนตรี

ภาพที่ 73 ผังพื้นชั้น 4

เพิ่มห้องอเนกประสงค์ และด้านหน้าเปลี่ยนเป็นห้องพักครู

46
47 รูปด้านของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 2 ภาพที่ 74 รูปด้าน A ภาพที่ 75 รูปด้าน B ภาพที่ 76 รูปด้าน C ภาพที่ 77 แสดงภาพรูปด้าน D
48 รูปตัดของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 2 ภาพที่ 78 รูปตัด A ภาพที่ 79 รูปตัด B ภาพที่ 80 รูปตัด C
49 ทัศนียภาพภายนอกของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 2 ภาพที่ 81 ทัศนียภาพภายนอก ทัศนียภาพภายในของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 2 ภาพที่ 8 แสดงภาพทัศนียภาพภายใน ภาพที่ 82 ทัศนียภาพภายนอก

6.4 การนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 3

ได้รับคำแนะนำว่าอาคารควรมีความเปิดโล่งมากขึ้น

และมีความเกาหลีมาขึ้น โครงการยังไม่ตอบโจทย์ความ

สนุกสนาน การเป็นโรงเรียนการแสดงและดนตรี มุมมองของ

อาคารดูไม่ทันสมัย

ภาพที่ 83 แนวความคิดในการออกแบบ

โทนสีศิลปะสไตล์เกาหลี Dancheong

เป็นโทนสีของเกาหลีที่มาความโดนเด่น

และมีความนิยม อย่างมากในสถาปัตยกรรมเกาหลี และมี

พื้นผิวของไม้มาใช้งานวัสดุภายนอก เพื่อทำให้อาคารมีความ

เบามากขึ้น และได้นำหลังคาจั่วเข้ามาใช้ในอาคาร เพื่อความ

โล่งมากขึ้น โดยการนโครงสร้างเคเบิลทรัส ( Cable Truss )มา

ใช้ เพื่อจะได้ความโล่งโปร่ง และยังได้มุมมองที่มีความ

สวยงาม

ภาพที่ 85

โครงสร้างที่ใช้ในโครงการ

ในการออกแบบครั้งที่ 3ได้มีการปรับเปลี่ยนส่วนต่าง ๆ ทำ

พื้นที่ให้มีความโล่งมากขึ้นโครงสร้างสอดคล้องกับการใช้งาน มากขึ้น เช่น ส่วนของหอประชุม

50
84 ด้านหน้าอาคาร อาคาร จะมีทั้งหมด 5 ชั้น โดยจะมีการจัดโซนตามภาพ ภาพที่ 86 พื้นที่แต่ละโซน
ภาพที่

ผังบริเวณ

ภาพที่ 87 ผังบริเวณ

ผังพื้นชั้น 1

ด้านหน้าของโครงการ จะมีรถไฟฟ้าสายสีเลืองวิ่ง

ผ่าน ฝั่งซ้ายจะเป็นร้านสะดวกซื้อ และด้านหลังโครงการจะมี

หมู่บ้าน ฝั่งขาวมือจะเป็นปั๊มน้ำมัน ด้านน้าโครงการ

ในการออกแบบจะแบ่งทางเข้า เป็นสองทางสำหรับผู้ปกครอง

และนักเรียนเพื่อความปลอดภัยของนักเรียน

และพื้นที่ทางเข้าได้เปิดโล่ง เพื่อที่ผู้ที่อยู่ภายนอกอาคารจะได้

สามารถมองเข้ามาแล้วเห็นกิจกรรมภายในอาคาร

51
ภาพที่ 88 ผังพื้นชั้น 1
52 ผังพื้นชั้น 2 ผังพื้นชั้น 3 ภาพที่
ผังพื้นชั้น
ภาพที่
ผังพื้นชั้น
ผังพื้นชั้น
ผังพื้นชั้น 5 ภาพที่
ผังพื้นชั้น
ภาพที่
ผังพื้นชั้น
89
2
90
3
4
91
4
92
5
53 รูปด้านของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 3 ภาพที่ 93 รูปด้าน A ภาพที่ 94 รูปด้าน B ภาพที่ 95 รูปด้าน C ภาพที่ 96 รูปด้าน D

C

54 รูปตัดของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 3
รูปตัด
รูปตัด
ภาพที่ 97
A ภาพที่ 98 รูปตัด B ภาพที่ 99
55 ทัศนียภาพภายนอกของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 3 ภาพที่ 100 ทัศนียภาพภายนอก ภาพที่ 101 ทัศนียภาพภายนอก
56 ทัศนียภาพภายในของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 3 ภาพที่ 102 ทัศนียภาพภายใน
57 ทัศนียภาพภายในของการนำเสนอผลงานการออกแบบ ครั้งที่ 3 ภาพที่ 100 ทัศนียภาพภายใน

งานระบบ

งานระบบสุขาภิบาล

งานระบบ ตำเเหน่งถังเก็บน้ำใต้ดิน ห้องเครื่องน้ำประปา

เเละปั๊มน้ำดับเพลิง

ภาพที่ 101 งานระบบสุขาภิบาล ภาพที่ 102 ตำเเหน่งถังเก็บน้ำใต้ดิน ห้องเครื่องน้ำประปา เเละปั๊มน้ำดับเพลิง

งานระบบไฟฟ้า

ภาพที่ 103 งานระบบไฟฟ้า

58
59 หุ่นจำลอง ภาพที่ 104 หุ่นจำลอง

7.1

สรุปการศึกษาภาคข้อมูล

บทสรุปและข้อเสนอแนะ

การศึกษาด้านข้อมูลในการจัดทำโรงเรียนศิลปะการเเสดงเกาหลี กรุงเทพ ได้ศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรของโรงเรียน School of Performing Art Seoul เพื่อนำปรับการใช้งานในรูปแบบที่เหมาะสมในแบบหลักสูตรการเรียนแบบประเทศไทย จึงได้นำหลัก สองหลักสูตรมาหาจุดร่วมกัน เพื่อให้เหมาะสมกับโครงการ ศึกษาความเป็นไปได้ในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านผู้ใช้สอยโครงการ ความเป็นไป ได้ของที่ตั้งโครงการ ระดับจังหวัด ระดับย่าน ความเป็นไปได้ของงบประมาณค่าใช้จ่ายในโครงการ ความเป็นไปได้ด้านกฎหมาย ความเป็นไปได้ด้านทัศนียภาพของโครงการ และศึกษาที่ตั้งโครงการ วิเคราะห์ที่ตั้งและปัจจัยที่ส่งผลต่อที่ตั้งหาศักยภาพของที่ตั้งเพื่อ นำมาออกแบบให้เหมาะสม

7.2 การศึกษาภาคออกแบบ

การออกแบบโครงการ โรงเรียนศิลปะการเเสดงเกาหลี กรุงเทพ เริ่มจากกหารศึกษาโรงเรียนต้นแบบ และหลักสูตรว่า ต้องการพื้นที่การใช้งานแบบใดบ้าง และสิ่งที่ควรมีเพิ่มเข้ามาในโครงการ โดยจะคำนึงถึงกิจกรรมภายในโครงการว่าเป็นลักษณะใด โครงการจะแบ่งสาขาเรียน เป็น 4 หลักสูตร โดยจะมี สาขาการแสดง สาขาดนตรี สาขาเต้น สาขาศิลปะ เพื่อนักเรียนใน โครงการได้ฝึกฝนความสามารถได้อย่างเต็มที่ จึงสร้างพื้นที่ให้เหมาะสมกับแต่ละสาขา โดยแนวความคิดของโครงการ คือการสร้าง แรงกระให้นักเรียน ส่วนที่เป็นห้องซ้อมการแสดง ห้องซ้อมเต้น จึงเป็นพื้นที่ ที่สามารถมองเห็นกันได้ และสร้างห้องที่นักเรียน สามารถทำคอนเทนต์ได้อย่างสะดวกโดยการสร้างกล่องอเนกประสงค์ สร้างพื้นที่ให้เด็กสาขาศิลปะได้แสดงผลงาน โดยเป็นพื้นที่ที่มี นักเรียนผ่านไปมา รูปแบบของอาคารภายนอกจะออกแบบให้อาคารมีความโล่งโปร่ง เพื่อให้บุคคลที่ผ่านไปมามองเห็นกิจกรรมข้าง ในอาคาร และบรรยากาศสีเขียวภายในอาคาร

7.3 ข้อเสนอแนะ

เนื่องจาก School of Performing Art ,Seoul (SOPA) โรงเรียนหลักสูตรนั้นอยู่ประเทศเกาหลี เน้นความเป็น K-pop

ในการออกแบบจึงต้องสื่อความเป็นเกาหลี K-pop ออกมา

หากศึกษาสถาปัตยกรรมเกาหลีได้มาก รูปแบบของอาคารจะมีความ น่าสนใจ และมีความเป็นภาพลักษณ์เกาหลีที่ลงตัวในประเทศไทยมากขึ้น

60
บทที่ 7

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ (2564). นโยบายการศึกษาไทย ปี 2567. 5 ตุลาคม 2566, จาก https://moe360.blog/2022/09/12/policy-andfocus-moe-2023/

กระทรวงศึกษาธิการ (2565). การศึกษาของประเทศเกาหลีใต้. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน2566, จาก https://www.bic.moe.go.th/images/stories/pdf/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0% B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B 9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9 %83%E0%B8%95%E0%B9%89.pdf

นายพันรัก. (2557). รูปแบบการจัดห้องประชุมในงานอบรม สัมมนา และกิจกรรมกลุ่ม. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566, จาก www.phanrakwork.com www.fin.ucar.edu

สุภัทธา สุขชู. (2549). “Hallyu คลื่นความมั่งคั่งของเกาหลี”. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566, จาก

http://www.positioningmag.com/magazine/details.aspx?id=45405

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สถิติประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2566, จาก

http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx

สุพิทย์ กาญจนพันธ์, เอกสารประกอบการสอนการออกแบบสตูดิโอเบื้องต้น, หน้า 8 ; สุพิทย์ กาญจนพันธ์, แนวทางในการออกแบบสตูดิโอ

AVL Deing Community (2564). องค์ประกอบที่สำคัญของห้องประชุมขนาดใหญ่

https://avl.co.th/blogs/elements-of-a-large-conference-room/

Ernst Neufert Neufert. (2523). ARCHITECTS' DATA. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2566, จาก

https://www.uceb.eu/DATA/CivBook/03.%20Architect_s%20Data.pdf

InnovatorX. (2565). รูปแบบทางสัญจร. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2566, จาก https://www.wazzadu.com/article/6059

61
, หน้า 85.
สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม
2566, จาก

ประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์

นิสิต นางสาวสิริยากร บุญด้วง รหัสนิสิต 62011110047

สาขาวิชา สถาปัตยกรรม

วัน-เดือน-ปีเกิด 29 มกราคม 2543

จังหวัดที่เกิด จังหวัดศรีสะเกษ

ที่อยู่ปัจจุบัน 179 หมู่ 12 ต.ก้านเหลือง อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ 33120

เบอร์โทรศัพท์ 0836017429

ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา: โรงเรียนบ้านกงพาน และโรงเรียนอุทุมพรวิทยา

ระดับมัธยมศึกษา: โรงเรียนกำแพง

ระดับปริญญาตรี: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ประสบการณ์ ฝึกงาน บริษัท มีดีไซน์แอนด์ไอ

62

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.