:: Annual Report 2008 - TH ::

Page 1



สารบัญ 04 06 06 08 09 10 12 14

รายงานของคณะกรรมการตอผูถือหุน คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะผูบริหาร โครงสรางการบริหาร ขอมูลสำคัญ ผลงานและความสำเร็จ วิสัยทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกร รายงานของคณะผูบริหาร คุณภาพที่จับตองได

18

รวมสรางคุณคา… ดวยพันธมิตรทางธุรกิจที่ตอบสนองไดทุกความตองการ

20

รวมสรางคุณคา… ดวยความนาเชื่อถือและไววางใจ

22

รวมสรางคุณคา… ดวยความเขาใจและใหโอกาสซึ่งกันและกัน

24 26 28 30 32 33

สรุปพัฒนาการที่สำคัญ การรับรอง และรางวัลในรอบปที่ผานมา ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการ ภาพรวมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต การบริหารความเสี่ยงและปจจัยเสี่ยง รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

34 35

งบการเงินรวม รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต งบดุล งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม

68 72 73 74 90 91

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายบริหาร รายการระหวางกัน การจายเงินปนผลในรอบ 3 ปที่ผานมา ขอมูลเพิ่มเติม ศูนยบริการลูกคาและศูนยกระจายสินคา สรุปตำแหนงตามแบบ 56-2


รวมสรางคุณคา... ดวยความเปนเลิศในคุณภาพและนวัตกรรม



4 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

รายงานของคณะกรรมการตอผูถือหุน ในป 2551 เศรษฐกิจโลกตองเผชิญวิกฤติจากความผันผวน ที่รุนแรงในระบบการเงินอยางไมเคยประสบมากอนในยุค โลกาภิวัฒน หรือแมแตในรอบ 80 ปที่ผานมา ทำใหสถาบัน การเงินระดับโลกหลายรายกาวสูการขาดทุนอยางหมดสภาพ วิกฤติเศรษฐกิจครั้งนี้ไดเริ่มจากความลมเหลวของธุรกิจ อสังหาริมทรัพยในสหรัฐอเมริกากอน แลวสงผลใหภาค อุตสาหกรรมกาวสูภาวะที่ยากลำบากไปดวย สำหรับ ประเทศไทย ยิ่งตองประสบผลกระทบมากขึ้น เมื่อตองเผชิญ กับปญหาความแตกแยกทางการเมืองที่รุนแรงพรอมกันไป ทำใหนักลงทุนขาดความเชื่อมั่น การลงทุนโดยตรงจาก ตางประเทศไดถดถอย และอุตสาหกรรมการทองเที่ยวได ทรุดลงอยางหนัก นอกจากนี้ ปจจัยบวกที่ผานมาของ เศรษฐกิจไทย คือ ภาคการสงออก ก็ทรุดตัวตามความ ผันผวนที่เลวราย ทำใหความเจริญเติบโตติดลบในไตรมาส สุดทายของป แมตองประสบกับสภาวะเศรษฐกิจและการเมืองที่ทรุดลง และขาดเสถียรภาพดังกลาวขางตน แตบริษัท ปูนซีเมนต นครหลวง จำกัด (มหาชน) ก็ยังสามารถบรรลุผลประกอบ การที่แสดงใหเห็นศักยภาพและความสามารถที่จะปรับและ รับสถานการณที่ยากลำบากไดดี พิสจู นใหเห็นถึงความ แข็งแกรงและความมุงมั่นของฝายบริหารในการฟนฝา

นายประพล บุรณศิริ

นายพอล ไฮนซ ฮูเกนโทเบลอร

นายวีระพันธุ ทีปสุวรรณ

อุปสรรคและสถานการณอันเลวราย คณะผูบริหารไดดำเนิน การอยางเขมแข็ง มีการตัดสินใจที่รวดเร็วและเด็ดขาดใน หลายประการ ตั้งแตเริ่มมีสัญญาณปญหาเศรษฐกิจที่ชะงักงัน และสอเคาความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และตั้งแตไตรมาสแรก ของป ฝายบริหารไดดำเนินการตัดลดคาใชจายอยาง เขมงวดและตอเนื่อง เพื่อลดผลกระทบจากอุปสงคของ สินคาที่มีแนวโนมลดลง และเพื่อลดความเสียหายที่ในระยะ หนึ่งตนทุนเฉลี่ยของพลังงานไดสูงขึ้น ดวยมาตรการ ประหยัดคาใชจายเหลานี้ บริษัทของทานจึงมีผลประกอบการ ในป 2551 เปนรูปธรรมที่นาพอใจ เชนเดียวกับปที่ผานๆ มา โดยไดตระหนักถึงความสำคัญ ของการมอบผลตอบแทนใหแกผูถือหุนที่ไดลงทุนในบริษัท ดวยความจริงใจ คณะกรรมการจึงไดมีมติใหนำเสนอตอ ผูถือหุนใหพิจารณาอนุมัติการจายเงินปนผลประจำปจาก ผลประกอบการของป 2551 ในอัตราสูงสุดและเหมาะสมตอ โครงสรางทางการเงินของบริษัท เปนจำนวนเงิน 11 บาท ตอหุน โดยเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2551 บริษัทไดจายเงิน ปนผลระหวางกาลไปแลวครั้งหนึ่งในอัตราหุนละ 6.50 บาท และหากผูถือหุนอนุมัติการจายเงินปนผลประจำปตามที่ได เสนอขางตน บริษัทก็จะจายเงินปนผลงวดสุดทายของป 2551 อีกหุนละ 4.50 บาท ภายในวันที่ 7 พฤษภาคม 2552

นายฟลิป อารโต (รับตำแหนง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2552)

นายทวีผล คงเสรี

นายชัชชน รัตนรักษ


รายงานของคณะกรรมการตอผูถือหุน 5

มองไปในอนาคต จากการที่ประเทศไดมีรัฐบาลชุดใหมเมื่อ ปลายป 2551 บริษัทจึงคาดและหวังวาความสมดุลยจะมีมาก ขึ้นในป 2552 หากเปนเชนนั้น เสถียรภาพทางการเมือง จะชวยฟนฟูความเชื่อมั่นของนักลงทุนทั้งชาวไทยและ ตางประเทศ เปดทางใหผูประกอบการไทยแสดงศักยภาพที่ จะชวยกระตุนการบริโภค การคาและภาคธุรกิจการทองเที่ยว ซึ่งจะทำใหเศรษฐกิจของไทยสามารถผานพนวิกฤติและกลับ คืนสูรากฐานอันแข็งแกรงไดอีก ในสวนของบริษัท ภารกิจที่สำคัญตอไปนอกเหนือจากการ ติดตามความคืบหนาของโครงการลงทุนขนาดใหญใน ประเทศ และการรอเวลาที่ภาคธุรกิจการกอสรางและอสังหา ริมทรัพยจะฟนกลับสูสภาวะปกติแลว เราจะใหความสำคัญ ในการปรับปรุงผลกำไร โดยการลดตนทุนดวยมาตรการ ตางๆ จะใสใจในการใชพลังงานทดแทนมากขึ้น จะสราง มูลคาเพิ่มใหกับลูกคาโดยการออกผลิตภัณฑใหมๆ และจะ บริหารจัดการหวงโซอุปทานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จะยังคงยึดมั่นในหลักการของสุขอนามัยและความปลอดภัย ในการทำงาน การรักษาสิ่งแวดลอม การรวมมือกับชุมชน และการพัฒนาประสิทธิภาพของบุคคลากร เพื่อใหสามารถ บรรลุเปาหมายทั้งทางสังคมและของบริษัทอยางสมบูรณ และยั่งยืน

นายเชษฐ รักตะกนิษฐ

นางสาวจันทนา สุขุมานนท

คณะกรรมการขอถือโอกาสนี้ขอบคุณผูถือหุน ลูกคา คูคา พนักงาน และผูมีสวนรวมทุกทานที่ไดใหความไววางใจ และสนับสนุนบริษัทดวยดีตลอดมา

วีระพันธุ ทีปสุวรรณ ประธานกรรมการ

นายอูรซ วอลฟกัง นายวันชัย เบียริ โตสมบุญ (ลาออก เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2551)

นายประกอบ วิศิษฐกิจการ

นายฮาราลด ลิงค

นายมารเซล สมิธ (ลาออก เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2551)


6 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะผูบริหาร คณะกรรมการ กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร นายวีระพันธุ ทีปสุวรรณ นายพอล ไฮนซ ฮูเกนโทเบลอร นายชัชชน รัตนรักษ นายทวีผล คงเสรี นายอูรซ วอลฟกัง เบียริ นายประกอบ วิศิษฐกิจการ นายเชษฐ รักตะกนิษฐ นายฮาราลด ลิงค นายประพล บุรณศิริ

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ (ลาออก เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2551) กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

กรรมการที่เปนผูบริหาร นางสาวจันทนา สุขุมานนท นายวันชัย โตสมบุญ นายมารเซล สมิธ นายฟลิป อารโต

กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ (ลาออก เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2551) กรรมการผูจัดการ (รับตำแหนง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2552)

โครงสรางการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ

บรรษัทภิบาล

นายมารเซล สมิธ

นายฟลิป อารโต

กรรมการผูจัดการ และประธานคณะผูบริหาร (ลาออก เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2551)

กรรมการผูจัดการ และประธานคณะผูบริหาร (รับตำแหนง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2552)

นางสาวจันทนา สุขุมานนท กรรมการ และรองประธานคณะผูบริหาร การตลาดและการขาย


คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะผูบริหาร 7

คณะกรรมการตรวจสอบ นายประกอบ วิศิษฐกิจการ นายเชษฐ รักตะกนิษฐ นายฮาราลด ลิงค

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

คณะผูบริหาร นายมารเซล สมิธ นายฟลิป อารโต นางสาวจันทนา สุขุมานนท นายวันชัย โตสมบุญ นายรุงโรจน สุนทรเสถียรกุล นายแอนเดรียส ลอยเทเนกเกอร นายนพพร เทพสิทธา

ประธานคณะผูบริหาร (ลาออก เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2551) ประธานคณะผูบริหาร (รับตำแหนง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2552) รองประธานคณะผูบริหาร (การตลาดและการขาย) รองประธานบริหาร (กิจการสระบุรี) รองประธานอาวุโส (การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย) รองประธานอาวุโส (การเงินและการควบคุม) รองประธานอาวุโส (การจัดสงและการสงออก)

นายวันชัย โตสมบุญ

นายรุงโรจน สุนทรเสถียรกุล

นายแอนเดรียส ลอยเทเนกเกอร

นายนพพร เทพสิทธา

กรรมการ และรองประธานบริหาร กิจการสระบุรี

รองประธานอาวุโส การบริหารและการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย

รองประธานอาวุโส การเงินและ การควบคุมธุรกิจ

รองประธานอาวุโส การจัดสงและการสงออก


8 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ขอมูลสำคัญ ลานตัน กำลังการผลิตปูนซีเมนตชนิดเม็ด กำลังการผลิตปูนซีเมนตชนิดผง ลานบาท รายไดสุทธิจากการขาย กำไรจากการดำเนินงานกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี และรายไดคาใชจายอื่นๆ (Operating EBITDA) กำไรจากการดำเนินงานกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี (EBITDA) กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน กำไรสุทธิ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน เงินลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยรวม หนี้สินทางการเงินสุทธิ สวนของผูถือหุนรวม อัตราสวน (%) อัตรากำไรจากการดำเนินงานกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี และรายไดคาใชจายอื่นๆ (Operating EBITDA) อัตรากำไรจากการดำเนินงานกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี (EBITDA) อัตรากำไรสุทธิจากการดำเนินงาน อัตรากำไรสุทธิ อัตรากระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน อัตราสวนทางการเงิน กำไรสุทธิตอหุน (บาท) เงินปนผลจายตอหุน (บาท) อัตราสวนเงินปนผลจายตอกำไรสุทธิ (%) อัตราสวนหนี้สินทางการเงินตอสวนของผูถือหุน (%) อัตราสวนหนี้สินตอสินทรัพยรวม (%) บุคลากร กลุมบริษัทฯ กลุมธุรกิจปูนซีเมนต 1 2

ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริษัทฯ ปรับปรุงงบการเงินจากการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 และ 45 ดูขอมูลเพิ่มเติมไดที่หมายเหตุประกอบงบการเงิน

2551

2550

2549

2548

12.3

12.3

12.3

12.3

14.5

14.5

14.5

14.5

21,305

22,800

23,647

22,380

5,054

5,211

6,059

6,307

5,461

5,506

6,344

6,613

4,176

4,396

5,320

3,173

3,230

3,914

4,073

3,099

4,000

4,328

4,232

1,729

1,028

1,177

1,021

5,567

2

2

23,503

21,503

20,834

21,029

2,534

771

73

(1,793)

2

15,845

15,890

15,880

16,803

24%

23%

26%

28%

26%

24%

27%

30%

20%

19%

22%

25% 2

15%

14%

17%

18%

15%

18%

18%

19%

13.79

14.05

16.57

17.15

14.00

14.00

14.00

80%

100%

2

82%

16%

5%

0%

(11%)

33%

26%

24%

20%

2,876

3,056

2,927

2,866

2,039

2,254

2,243

2,163

1

11.00

2

84%


ขอมูลสำคัญ ผลงานและความสำเร็จ 9

ผลงานและความสำเร็จ มีสวนในการพัฒนาประเทศมายาวนานกวา 30 ป ดวยการนำเสนอผลิตภัณฑปูนซีเมนตที่มีนวัตกรรมและสนองตอบทุกความตองการ ของตลาด 2512 2515 2520 2524 2532 2536 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546

-

2548 2549 2550 2551 -

ปูนซีเมนตนครหลวงจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ในป 2512 ชื่อ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด ผลิตและจำหนายปูนซีเมนตเปนปแรก จดทะเบียนเปนบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใชถานหินลิกไนตเปนเชื้อเพลิงในการผลิตแทนการนำเขาน้ำมันเตา ริเริ่มระบบการนำพลังงานความรอนกลับมาใชใหม เปนรายแรกในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัทจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจำกัด และเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) เพิ่มกำลังการผลิตเปน 12.3 ลานตันตอป ไดรับประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานสากลการจัดการดานคุณภาพ ISO 9002 ไดรับประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานสากลการจัดการดานสิ่งแวดลอม ISO 14001 บริษัท “โฮลซิม” ผูผลิตปูนซีเมนตรายใหญของโลกเขารวมถือหุน ริเริ่มโครงการเชื้อเพลิงและวัตถุดิบทดแทน (Alternative Fuels and Raw Materials - AFR) ปรับโครงสรางหนี้ และโครงสรางการเงินเสร็จสมบูรณ เริ่มใชระบบซื้อ-ขายปูนซีเมนตผานอินเตอรเน็ต (โครงการเว็บเซลส) ไดรับรางวัลการปฏิบัติอันเปนเลิศเชิงบรรษัทภิบาล ประจำป 2543 ไดรับรางวัลคณะกรรมการตรวจสอบแหงป ประจำป 2543 ไดรับประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานการจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก.18001 ไดรับใบอนุญาตโครงการใชเชื้อเพลิงและวัตถุดิบทดแทนในการผลิตปูนซีเมนต เริ่มใชเครื่องหมายการคาครอบครัวอินทรี เปดอาคารเตรียมเชื้อเพลิงทดแทนที่โรงงานสระบุรี ปลอดภาระหนี้สินทางการเงิน เปดตัวผลิตภัณฑปูนซีเมนตสูตรพิเศษ สำหรับงานฉาบและงานกอ “อินทรีทอง” ไดรับการคัดเลือกใหเปน “บริษัทดีเดนอันดับหนึ่งของประเทศไทย” (The Best Company in Thailand) และ “บริษัทดีเดนอันดับหนึ่งของเอเซียในภาคอุตสาหกรรมกอสราง (Best Asian Company in the Construction Sector) โดยการสำรวจของนิตยสาร Euromoney ปรับกลยุทธการวางตำแหนงสินคา ภายใตแนวคิด “As I Wish” หรือ “อินทรี ปูนดี…ไดดั่งใจ” แนะนำผลิตภัณฑปูนสำเร็จรูปพรอมใชงาน “อินทรี มอรตาร แมกซ” การเปดตัวกฎทอง 12 ประการพื้นฐานความปลอดภัย การนำแผนปฏิบัติเพื่อลดอุบัติเหตุเปนศูนยมาใช เปดธุรกิจแฟรนไชส สำหรับอินทรีคอนกรีต เริ่มธุรกิจเพื่อดำเนินการดานแหลงวัตถุดิบหินและทราย สำหรับนครหลวงคอนกรีต ประกาศนียบัตร สำหรับโรงงานนาอยูและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมใจเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดรับประกาศนียบัตรจากนายกรัฐมนตรีจากการสนับสนุนการจัดสรางฝายชะลอน้ำของกรมทรัพยากรน้ำ รางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงานจากกระทรวงแรงงาน ปูนอินทรีฟา (ปอรตแลนดชนิด 5) ไดรับการรับรองมาตรฐานยุโรป “EN 197-1”และมาตรฐานฝรั่งเศส “NF 002” รางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน ประจำป 2551 จากกระทรวงแรงงาน ติดตอกันเปนปที่สอง รับมอบโลและเกียรติบัตรรับรองการปฏิบัติตามมาตรฐาน ความรับผิดชอบของผูประกอบการอุตสาหกรรมตอสังคม (CSR-DIW) ในฐานะเปนบริษัทชั้นนำที่มีการดำเนินธุรกิจอยางรับผิดชอบตอสังคม จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เกียรติบัตรโครงการ “โรงโม เหมืองหิน ติดดาว” จังหวัดสระบุรี 2551 ประเภท เหมืองหิน ระดับ ดีเยี่ยม จากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสระบุรี รวมกับ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี


10 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

วิสัยทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกร วิสัยทัศนองคกร เพื่อวางรากฐานของอนาคตใหกับสังคม

พันธกิจองคกร เพื่อเพิ่มพูนคุณคาตอทุกฝายที่เกี่ยวของ โดยการนำเสนอสิ่งที่ดีที่สุด ดานปูนซีเมนต อะกรีเกต และผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ อยางครบวงจร สามารถบรรลุซึ่งผลกำไรที่เหนือมาตรฐาน ในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต ดวยการปฎิบัติงานที่มุงมั่นใน คุณภาพ บริการ และนวัตกรรม

คานิยมองคกร 4 ประการ เปนองคกรที่ยึดมั่นในการบริการลูกคา ดวยคุณภาพ และนวัตกรรม เปนองคกรที่มีผลประกอบการดานการเงินที่มั่นคงและยั่งยืน เปนองคกรที่มีความรับผิดชอบ และเปนสมาชิกที่ดีของสังคม เปนองคกรที่มีบรรยากาศเปดกวาง ยอมรับนับถือ เกื้อกูลกัน และใหโอกาสพนักงานในการพัฒนาตนเอง

เปาหมายสูงสุด 4 ประการ: เราตองการเปนที่หนึ่งในใจ… ลูกคาของเรา… ตอบสนองทุกความตองการของลูกคาดวยผลิตภัณฑและบริการที่ดีที่สุด ชุมชนของเรา… รับผิดชอบตอสังคม หวงใยสิ่งแวดลอม ชุมชน และสังคมไทย พันธมิตรของเรา… ใหความรวมมือเพื่อเพิ่มพูนโอกาสทางธุรกิจ และเติบโตไปดวยกัน พนักงานของเรา… ไดรับผลประโยชนตอบแทนที่จูงใจ มีโอกาสพัฒนาตนเอง กาวหนาในอาชีพ และทำงานทามกลางความไวใจ โปรงใส ยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน


วิสัยทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกร 11

คำขวัญ ที่ปูนซีเมนตนครหลวง…เราสนองตอบทุกความตองการ


12 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

รายงานของคณะผูบริหาร ราคาเชื้อเพลิงที่พุงสูงขึ้นประกอบกับวิกฤตเศรษฐกิจโลก ไดทำใหความตองการในตลาดของป 2551 ลดต่ำลง แมตองเผชิญกับปที่ยากลำบาก ปูนซีเมนตนครหลวงยังคง รักษาผลกำไรไวในระดับที่นาพอใจ ในป 2551 เศรษฐกิจโลกตองประสบกับวิกฤติทางการเงิน ซึ่งสงผลกระทบไปทั่วโลกอยางรวดเร็วประเทศไทยก็ไดรับ ผลกระทบดังกลาวดวยเชนกัน ตั้งแตชวงกลางปเปนตนมา ภาคการกอสรางเริ่มตกอยูในภาวะชะลอตัวเชนเดียวกับ ภาคธุรกิจโดยรวม สภาวะดังกลาวไดสงผลกระทบโดยตรงตออุตสาหกรรม ปูนซีเมนตอยางมาก อีกทั้งความไมแนนอนทางการเมือง ที่ดำเนินไปอยางตอเนื่องยังสงผลตอความมั่นใจของทั้งผูผลิต ผูใหบริการ และผูบริโภค นอกเหนือจากโครงการขยายเสนทางรถไฟฟาสายสีแดง ที่ไดผูรับเหมาดำเนินการแลวโครงการสาธารณูปโภคอื่นที่ สำคัญๆ ไมสามารถดำเนินการไดตามเปาหมายที่วางไวโดย มีสาเหตุหลักมาจากสถานการณทางการเมืองที่ไมเอื้ออำนวย และเมื่อผูบริโภคตัดสินใจชะลอการใชจายเงินออกไป ธุรกิจ อสังหาริมทรัพยจึงไดรับผลกระทบอยางหนัก ยอดขายปูนซีเมนตในประเทศไทยลดลงเฉลี่ยรอยละ 10 ปูนซีเมนตนครหลวง สามารถรักษาสวนแบงตลาดไวได โดยมียอดขายที่ลดลงในอัตราเดียวกัน นอกจากนี้ราคาขาย ปูนซีเมนตที่มีการปรับตัวขึ้นตลอดทั้งป ไดสะทอนตนทุน การผลิตที่ไดรับผลกระทบจากตนทุนดานพลังงานที่ไดมีการ ปรับตัวขึ้นอยางรุนแรง จากการคาดคะเนวาวิกฤติเศรษฐกิจยังคงจะสงผลกระทบ ไปถึงป 2552 ปูนซีเมนตนครหลวง จึงไดมีการปรับใช มาตรการลดคาใชจายเพื่อรักษาผลกำไรและกระแสเงินสด และมีการปรับลดงบประมาณการลงทุนในโครงการที่สำคัญ ตางๆควบคูไปกับการเพิ่มประสิทธิภาพของฝายขาย ฝาย จัดสง และทีมงานบริการสนับสนุนดานเทคนิคใหยังคงเพิ่ม คุณคาใหแกลูกคาของเราดวยสินคาและบริการที่มีคุณภาพ ดีเยี่ยมเชนเคย บริษัทไดทำการพัฒนาสายธุรกิจคอนกรีตผสมเสร็จและ อะกรีเกตอยางตอเนื่อง นอกจากนั้นยังไดดำเนินการตาม ยุทธศาสตรดานพลังงานที่วางไว โดยไดดำเนินการกอสราง โรงงานคัดแยกพลังงานทดแทนของจีโอไซเคิลแลวเสร็จ และ เปดตัวโครงการนำความรอนเหลือใชจากขบวนการผลิตกลับ มาใชผลิตกระแสไฟฟา (Waste Heat Recovery - WHR)

ซึ่งจะชวยใหบริษัทสามารถผลิตกระแสไฟฟาสำหรับใชภายใน โรงงานไดจากเตาเผาสองหนวยที่ใหญที่สุดของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง มุงมั่นที่จะเปนผูนำในดานอาชีว อนามัยและความปลอดภัยควบคูไปกับการรักษาสิ่งแวดลอม โดยในป 2551 ปูนซีเมนตนครหลวงไดพัฒนามาตรการตางๆ ในดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และยัง เปนหนึ่งในบริษัทจำนวนไมมากที่ไดรับการรับรองการปฏิบัติ ตามเกณฑมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรมวาดวยการ แสดงความรับผิดชอบของโรงงานอุตสาหกรรมตอสังคม (CSR-DIW) นอกจากนั้น ปูนซีเมนตนครหลวงยังไดสมัครเขารวมโครงการ ฉลากคารบอนของสถาบันสิ่งแวดลอมไทยซึ่งมีความเปนไปได มากวา ปูนซีเมนตนครหลวง จะเปนกลุมบริษัทแรกใน ประเทศไทยที่ไดรับฉลากคารบอนภายในไตรมาสแรกของ ป 2552 นับเปนขอพิสูจนถึงความหวงใยของเราที่มีตอ สิ่งแวดลอมและการพัฒนาเพื่อสังคมไทยที่ดีกวาอยางแทจริง โดยรวมแลว ถึงแมสภาพเศรษฐกิจที่เลวรายจะทำใหบริษัท จะมียอดขายลดลงรอยละ 7 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2550 และสงผลใหบริษัทมีรายไดกอนหักดอกเบี้ยและภาษี 4,583 ลานบาท หรือต่ำกวาป 2550 อยูรอยละ 2 กำไรสุทธิ 3,173 ลานบาท ลดลงจากป 2550 รอยละ 2 ทั้งนี้ อัตรากำไร สุทธิไดเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15 จากอัตรารอยละ 14 ในป 2550 สูป 2552: เปนที่แนนอนวา ป 2552 จะเปนปที่ยากลำบากสำหรับ ทุกภาคธุรกิจของประเทศไทย แมสถานการณทางการเมือง มีแนวโนมที่จะกลับสูภาวะปกติในระดับหนึ่ง แตผลกระทบ จากวิกฤติการณเศรษฐกิจโลกก็มีแนวโนมที่จะขยายตัวเต็มที่ เชนเดียวกัน อยางไรก็ตาม ปูนซีเมนตนครหลวงมีความตั้งใจอยางแนวแน ที่จะพลิกวิกฤติในครั้งนี้ใหเปนโอกาสในการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจขององคกรใหแข็งแกรง และพัฒนาคุณภาพของบริการใหดียิ่งขึ้นควบคูไปกับความ มุงมั่นในดานความรับผิดชอบตอสังคมและการพัฒนา อยางยั่งยืน

ฟลิป อารโต ประธานคณะผูบริหาร



14 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

คุณภาพที่จับตองได บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ไมเคยละเลย การพัฒนาคุณภาพสินคาและบริการ มีการทำวิจัยอยาง ตอเนื่องเพื่อกอใหเกิดสินคาและบริการใหมๆ หรือเพิ่มคุณคา ใหกับสินคาเดิม เพื่อเปนคำตอบที่สมบูรณตอปญหาของ ลูกคา เพื่อใหสามารถใชผลิตภัณฑไดอยางถูกตองตามความ ตองการ และเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายใหกับลูกคา รถปฏิบัติการเคลื่อนที่ (Mobile Lab) ไดถูกนำมาใหบริการ ในดานตางๆทั้งที่เปนมาตรฐานและเฉพาะกิจที่หนวยงานของ ลูกคา เพื่อตอบสนองความตองการเฉพาะอยาง สิ่งนี้ทำให ลูกคาเขาถึงบริการของเรามากขึ้น และถือเปนความสำเร็จ อีกกาวหนึ่งของบริษัทในฐานะผูใหบริการ อินทรีคอนกรีต คืออีกหนึ่งในความภูมิใจในดานสินคาและ บริการของบริษัท ลูกคาสามารถมั่นใจไดวากระบวนการผลิต ที่นำสมัยและใชเทคโนโลยีควบคุมคุณภาพ (Technology Quality Control) ที่ไดมาตรฐานของบริษัท จะทำใหลูกคา ไดรับสินคาที่มีคุณภาพดีเทาเทียมกัน ไมวา จะผลิตที่หนวย ผลิตใด บริการโลจิสติกสที่ดีเยี่ยม ทำใหลูกคามั่นใจไดวา จะไดรับสินคาในคุณภาพ เวลา และสถานที่ที่ถูกตอง นอกจากนี้ เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นในดานคุณภาพ บริษัทจะ มอบหมายพนักงานที่ไดรับการฝกอบรมใหเปนมืออาชีพจาก หนวยบริการลูกคา คอยใหการตรวจสอบโรงงานของลูกคา เพื่อใหมีประสิทธิภาพที่ดี การผสานกันอยางเหมาะเจาะ ระหวางกระบวนการผลิตที่ีนำสมัยและใชเทคโนโลยีควบคุม คุณภาพ (Technology Quality Control) ที่แมนยำ ปราศจากปญหา ทีมงานบริการที่สามารถใหบริการเฉพาะ อยางและมีความกระตือรือรนที่จะตอบสนองตอความ ตองการของลูกคา ทำใหผลิตภัณฑของบริษัทเปนตราเดียว ที่ลูกคาสามารถไววางใจได อินทรีคอนกรีตเฟรนไชส (INSEE Concrete Franchise) เปนอีกกาวหนึ่งในการปฏิบัติตอลูกคาแบบหุนสวนคนสำคัญ ลูกคาที่เขารวมโครงการจะไดรับสิทธิพิเศษมากมายเฉกเชน เปนหุนสวนของบริษัท กิจการของลูกคาจะไดรับการดูแล เสมือนหนึ่งเปนกิจการของบริษัทเอง เมื่อพูดถึงคุณภาพ คำวา “ดีเลิศ”อาจจะฟงเปนคำโออวด เกินจริง หรือจับตองไมได แตที่ปูนซีเมนตนครหลวง

สามารถกลาวไดอยางภาคภูมิใจวา ดวยความสามารถของ บุคลากร และศักยภาพ ของปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของคุณภาพ ของสินคาและบริการของบริษัทจะไมเปนที่สองรองจากใคร จาก “การพัฒนาที่ยั่งยืน” สู “การตลาดสีเขียว” การพัฒนา ที่ยั่งยืนคือหนี่งในหลักการของการดำเนินงานของบริษัท โดยรวม ในขณะที่การตลาดสีเขียวคือหนึ่งในหลักการของ การทำการตลาดของบริษัทที่พยายามตอบสนองทุกความ ตองการของลูกคาโดยไมละเลยสิ่งแวดลอม ความใสใจ ในสิ่งแวดลอมไดถูกหลอหลอมเขาไปในทุกกิจกรรมทางการ ตลาดกระบวนการผลิตของบริษัทตองไมสรางมลภาวะและมี การพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อนำวัสดุที่ใหพลังงานทดแทนมา ใชแทนเชื้อเพลิงปกติเพื่อลดปริมาณคารบอนไดออกไซดจาก กระบวนการผลิตปูนซีเมนต มีการเพิ่มขอมูลวิธีการใชที่ ถูกตองและคำเตือนตางๆ ที่บรรจุภัณฑ เพื่อทำใหเกิดการ ใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ปูนซีเมนตนครหลวง เปนองคกรที่มีลูกคาเปนศูนยกลาง โดยใชทฤษฎี “หวงโซแหงคุณคา (Value Chain)” ในการ วางแผนกลยุทธทางการตลาดทุกๆ กิจกรรมทางการตลาด จะตองเพิ่มคุณคาใหกับสินคาหรือบริการ กิจกรรมที่เพิ่ม คุณคาไมมากพอก็จะถูกยกเลิกไป ความเที่ยงธรรมคือนโยบายหลักในการปฏิบัติตอผูมีสวนได สวนเสียกับบริษัทในยามเศรษฐกิจฝดเคือง บริษัทตระหนัก เสมอวา “ราคา” ทีเ่ ราตัง้ คือ “ตนทุน” ของลูกคา ราคาที่ เหมาะสมคือคำตอบสุดทาย ราคานี้คือราคาที่ทำใหทั้ง บริษัท และคูคาอยูรอดรวมกัน บริษัทเนนการแขงขันที่ ใสสะอาด และไมเคยคิดเอาเปรียบลูกคา การเปดเผยขอมูล อยางตรงไปตรงมาคืออีกหนึ่งนโยบายการทำงานของบริษัท สาธารณชนสามารถเขาถึงขอมูลทางการเงินของบริษัทได โดยไมมีเงื่อนไข ทุกเรื่องที่เกี่ยวของกับลูกคาคือเรื่องสำคัญ บริษัทพยายาม ตอบสนองทุกความตองการที่แตกตางของลูกคาแตละราย เมื่อคิดถึงบริษัท ลูกคาตองคิดถึงผูเชี่ยวชาญดานปูนซีเมนต ที่ทันสมัย ที่พรอมจะใหคำตอบที่ถูกตองไดอยางรวดเร็ว


จันทนา สุขุมานนท กรรมการและรองประธาน คณะผูบริหาร


รวมสรางคุณคา... ดวยความเปนเลิศในสินคาและการบริการ



18 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

รวมสรางคุณคา... ดวยพันธมิตรทางธุรกิจที่ตอบสนองไดทุกความตองการ “ปูนอินทรีคือหุนสวนหนึ่งของยงสวัสดิ์” คุณสรรเพชญ ศลิษฏอรรถกร กรรมการผูจัดการ ยงสวัสดิ์ กรุปเปนผูประกอบธุรกิจคาวัสดุกอสรางรายใหญที่สุด รายหนึ่งของประเทศไทยและยังเปนหนึ่งในลูกคาที่มี สัมพันธภาพที่ดีกับปูนซีเมนตนครหลวงมารวม 30 ป จาก “ยงงวนฮวด” รานโชหวยเล็กๆ ในป 2466 มาจนถึงยงสวัสดิ์ ซึ่งเปนที่รูจักในป 2551 คุณสรรเพชญ ไดมาแบงปน ประสบการณและที่มาของความสำเร็จในฐานะนักบริหาร ผูมากดวยประสบการณทำธุรกิจ ความเปนมาและความสำเร็จของยงสวัสดิ์ กรุป “ยงสวัสดิ์ เปนธุรกิจครอบครัวของคนจีน เริ่มจากการเปน กรรมกรแบกขาวสาร พอมาถึงรุนพอก็ขายของเบ็ดเตล็ด ประมาณป 2510 ก็เริ่มขายวัสดุกอสราง ขายปูนซีเมนต ซึ่งผมเกิดป 2509 ชวงนั้นพอดี พอแมมีการวางรากฐานให ผมไปเรียนสายธุรกิจดานพาณิชยที่พาณิชยการพระนคร เพื่อที่จะมาตออาชีพการขายวัสดุกอสราง แลวก็มาตอ ปริญญาตรีบริหารธุรกิจที่ราชมงคล ในระหวางเรียนผมก็กลับ มาทำงานอยูตลอด เพราะที่บานไมมีพนักงาน ทีนี้ เราเรียน มาก็อยากมาปรับปรุงที่ราน คอยๆ เขามาชวยพอแม หลังป 2529 พอเรียนจบ ผมก็เริ่มมาบริหารเต็มตัว พอป 2531 ก็เปด บริษัทยงสวัสดิ์กอสรางขึ้นมา” “หลักการขายของเรา คือ เนนการบริการ ดูแลลูกคาเหมือน ญาติ ซึ่งเปนแนวคิดที่ไดรับจากปูนอินทรี วัฒนธรรม ในการดูแลลูกนอง ผมก็ใชแนวทางครอบครัว ผมบอก พนักงานทุกคนวา เราคือครอบครัวขนาดใหญ เรียกผมวาเฮีย เรียกพี่สาวผมวาเจ บริษัทยงสวัสดิ์ ที่กาวขึ้นมาจะเล็กจะ ใหญไมสำคัญ สำคัญที่เราทุกคน มีความรักความสามัคคี ความเอื้ออาทรตอกัน ถึงจะสรางความเปนปกแผน ความเจริญกาวหนาใหกับบริษัท”

เกือบ 30 ปกับการเปนลูกคาปูนซีเมนตนครหลวง เกือบ 30 ป ในฐานะลูกคาและผูรวมแบงปนประสบการณ การทำธุรกิจกับปูนซีเมนตนครหลวงทำให คุณสรรเพชญ เปนผูหนึ่งที่มีโอกาสเฝามองพัฒนาการของปูนซีเมนต นครหลวงอยางใกลชิด ซึ่งเหตุผลที่ คุณสรรเพชญ ยังคง เลือกปูนซีเมนตนครหลวง ไมไดจำกัดอยูเพียงเพราะ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขององคกร แตยังมีเรื่อง ของความผูกพันทางจิตใจเขามาเกี่ยวของดวย “ในชวง 10 ปหลัง ปูนอินทรีพัฒนาไปคอนขางเร็วในเรื่องของ ระบบการจัดการ และการเปนผูนำในการนำเทคโนโลยี มาใช เพิ่มประสิทธิภาพใหกับองคกร เชน ปูนอินทรีเปนบริษทั แรกๆ ของประเทศไทยที่นำ webSALES มาใช ปูนอินทรี ยังเปนตนแบบของเราในหลายๆ เรื่อง พอเห็นเคาทำอะไรที่ดี เราก็ดูวา จะสามารถยอลงแลวนำมาใชกับของเราไดหรือ เปลา เชน การทำ Customer Relationship Management การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ การเก็บขอมูลการขาย ซึ่งการวิเคราะหขอมูลตางๆ เราก็ทำรวมกัน ปูนอินทรีให อิสระกับเราในการทำธุรกิจ สามารถบริหารจัดการสินคา ดวยตัวเราเอง มีปญหาทางธุรกิจก็ปรึกษากับผูบริหาร ปูนอินทรีได เคาใหความชวยเหลือดานองคความรูตางๆ และดูแลเราเหมือนญาติคนนึง เราไมไดมองผลประโยชนทาง ธุรกิจเพียงอยางเดียว เรายังมองวา เรามีใจคลองใจกันมาก แคไหน ผลประโยชนทางธุรกิจมันก็สวนหนึ่ง แตการที่จะ สรางคุณคาเพิ่มหรือคุณคาพิเศษ เปนสิ่งที่อยูเหนือ ผลประโยชนทางธุรกิจ มันคือคุณคาทางจิตใจที่ทำใหเกิด ความรักความผูกพัน ปูนอินทรีก็คือหุนสวนหนึ่งของ ยงสวัสดิ์ เมื่อเราไดหุนสวนที่ดี มีการสนับสนุนที่ดี เราก็เดินกาวไปดวยกัน โตไปดวยกัน”


สรรเพชญ ศลิษฏอรรถกร กรรมการผูจัดการ ยงสวัสดิ์ กรุป


ประสาท มากทวม ประธานเครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตำบลทับกวาง และประธานชุมชนมิตรภาพรวมใจ


รวมสรางคุณคา... ดวยความนาเชื่อถือและไววางใจ 21

รวมสรางคุณคา... ดวยความนาเชื่อถือและไววางใจ “เมื่อผูบริหารสัมผัสกับชุมชนโดยตรง ปญหาที่มีอยูก็หมดไป” คุณประสาท มากทวม เดิมเปนคนสมุทรสงคราม เคย ทำงานในโรงงานปูนซีเมนตนครหลวงมารวม 50 ป ปจจุบัน คุณประสาทเปนที่เคารพนับถือของชาวบานในฐานะประธาน เครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตำบล ทับกวาง และประธานชุมชนมิตรภาพรวมใจ จังหวัดสระบุรี ซึ่งเปนแหลงชุมชนที่อยูในละแวกใกลเคียงกับโรงงานปูน ซีเมนตนครหลวง การดูแลความเปนอยูของลูกบานจำนวน 31 ชุมชน ไมใชงาน งายๆ แตภารกิจของคุณประสาทก็ยังคงดำเนินไปไดอยาง ราบรื่น คุณประสาทกลาวเสริมวา ปจจัยหนึ่งเนื่องจากไดรับ ความชวยเหลือจากเพื่อนบานรายใหญของชุมชนคือโรงงาน ปูนซีเมนตนครหลวง “ผมไดรับเลือกเปนประธานชุมชนมิตรภาพรวมใจตอนป 2547 ประธานเครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมตำบลทับกวาง ดูแลหมดทั้ง 31 ชุมชนในตำบล ทับกวาง หนาที่คือดูแลความเรียบรอยในชุมชน ดูสิ่งที่ชุมชน เราขาด ปญหาที่ชุมชนเรามี เชน ที่นี่ถนนหนทางมันยังเปน ลูกรังอยู พอชุมชนเขาไปอยูในความดูแลของเทศบาลแลว เราก็พยายามที่จะขอใหเทศบาลนั้นมาดูแลเรื่องถนน เรื่องไฟ น้ำประปา สาธารณูปโภคทุกอยางที่ชุมชนเรายังขาดอยู เราทำโครงการเขาไปจัดประชุมรวม เพื่อที่จะของบประมาณ มาสนับสนุน” ปูนซีเมนตนครหลวงกับกองทุนพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดลอม ในพื้นที่ตำบลทับกวาง “ปูนซีเมนตนครหลวง ไดใหการดูแลพื้นที่ทับกวางมาก พอสมควร เคาดูแลตั้งแต วัด ชาวบาน โรงเรียน อยางวัดก็มี

จัดทอดกฐิน โรงเรียนก็มีจัดอุปกรณ บางโรงเรียนก็มีทำ หองน้ำ ทำรางระบายน้ำ ทำที่กรองน้ำให เวลากอสรางก็ให ปูนมาสนับสนุน มีจัดหนวยแพทยเคลื่อนที่ มาดูแลกลุมอาชีพ พาชาวบานไปประชุมกันวา อยากจะไดอาชีพอะไร บางทีก็ พากลุมแมบานไปดูงาน” ทั้งนี้ หนึ่งในโครงการที่ปูนซีเมนต นครหลวงเขาไปริเริ่ม ไดแก กองทุนพัฒนาชุมชนและ สิ่งแวดลอมในพื้นที่ตำบลทับกวาง โดยใหผูอยูอาศัยในชุมชน ดังกลาวเขามามีสวนรวม ในการตัดสินใจวาจะนำกองทุน ไปใชอยางไร “เราจะมีคณะกรรมการประชุมรวมกัน มาจัดตั้งประชุม สามฝาย คือมีเทศบาล มีโรงปูน มีชุมชน ปญหาอะไรที่ เทศบาลทำไมได แตโรงงานปูนซีเมนตนครหลวงทำได เคา ก็จะนำไปพิจารณาซึ่งคณะกรรมการก็เลือกจากประชาคม ระเบียบการพวกผมก็เปนคนราง ผมเองก็ดีใจนะครับวามีปูน ซีเมนตนครหลวงแหงแรกที่ตั้งกองทุนมาดูแลสังคมบานเรา เปนโรงปูนที่เขามามีบทบาทรวมกับเทศบาล อันนี้ก็รูสึกวาเคา มาใหความดูแลใกลชิด แสดงใหเห็นวา เมื่อผูบริหารสัมผัส กับชุมชนโดยตรง ปญหาที่มีอยูก็หมดไป” “เปนโครงการที่ดีมาก เขาถึงสิ่งที่ชาวบานตองการจริงๆ บางครั้งความชวยเหลือจากโครงการอื่นๆ ก็อาจจะยังไม ตรงกับเปาหมาย ตองยอมรับวาปูนซีเมนตนครหลวงเปน โรงปูนโรงแรกที่ทำโครงการแบบนี้ สิ่งดีๆ จึงเกิดขึ้นกับ ชุมชนเราจริงๆ” การใหผูอยูอาศัยในชุมชนเขามามีสวนรวมตัดสินใจวาจะ พัฒนาชุมชนไปในทิศทางใดนับเปนกาวหนึ่งของการพัฒนา อยางยั่งยืนที่ปูนซีเมนตนครหลวงมุงมั่นปูรากฐานใหแกชุมชน


22 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

รวมสรางคุณคา... ดวยความเขาใจและใหโอกาสซึ่งกันและกัน “ที่นี่เปนองคกรที่ใหโอกาสผม” คุณวีระ คงประยูร หัวหนาหมวดงานซอมประจำโรงงาน ปูนซีเมนตนครหลวง ที่สระบุรี หนึ่งในพนักงานเกาแกตั้งแตป 2528 ของปูนซีเมนตนครหลวง หากมองจากทาทางในการทำงานอันคลองแคลวภายนอก คงแทบไมมีใครเชื่อวา ผูชายอารมณดีคนนี้กำลังใชแขนขวา เพียงขางเดียวในการปฏิบัติงาน “เริ่มตนทำงานเปนพนักงานติดตั้งเครื่องจักร ตอนนั้นรูสึก จะเปนวันที่ 25 พฤศจิกายน 2528 นะครับ แลวก็โชคไมดี นิดนึง ตอนป 30…วันที่ 23 เมษายน 2530 มาเกิดอุบัติเหตุ จนเสียแขนซายไป ชวงนั้นก็พักรักษาตัวประมาณสี่เดือนแลว คอยกลับมาทำงานที่บริษัท ตอนเกิดอุบัติเหตุบริษัทก็ รับผิดชอบดูแลเราอยางดีดวยความหวงใย นอกเหนือจาก กองทุนทดแทนในสมัยนั้น” สำหรับคนทั่วไป อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นอาจกอใหเกิดความหวาด กลัวจนเปนผลใหตัดสินใจเปลี่ยนสายอาชีพ แตสำหรับ คุณวีระ ปูนซีเมนตนครหลวงยังคง “เปนสังกัด” อันดับหนึ่ง ในใจตลอด 23 ปมานี้ “วัฒนธรรมของปูนซีเมนตนครหลวงเนี่ย มีอยูจุดนึง คือ ผูบังคับบัญชาจะใหความดูแลเปนพิเศษกับคนที่อยูโรงปูน

มาตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน คือ ไมทิ้งกันนะครับ ตำแหนง ไหนที่สามารถทำไดก็จะโยกยายตามความเหมาะสม แลวก็ เปดโอกาสใหเราพัฒนาตัวเองตามความสามารถที่เรามี ซึ่ง โครงการอบรมของปูนก็มีทั้งแบบที่มีวิทยากรมาจากภายนอก และภายใน ทั้งนี้ เวลาเราจะทำงานแตละอยาง เราถือวา เราตองมีการฝกอบรมเรื่องลักษณะงาน หรือความปลอดภัย ในการทำงานนั้นๆ กอน” 24 ปกับปูนซีเมนตนครหลวง อุบัติเหตุที่ทำใหสูญเสียแขนซายไปไมเคยบั่นทอนกำลังใจ ของคุณวีระที่จะใชชีวิตตามปกติ นอกจากนั้น เขายังเล็งเห็น ความสำคัญของการดึงประสิทธิภาพภายในออกมาใชให เต็มที่เพื่อตอบแทนองคกร “ผมวาตัวผมมีขีดจำกัด แตที่นี่เปนองคกรที่ใหโอกาสผม… เราไมไดทะเยอทะยานอะไรมากมาย เราอยากจะทำใหดีที่สุด เราอยากจะใหสังคมใหโอกาสเรา ไมใหเปนภาระของสังคม ถาสังคมไมใหโอกาสเรา ผมวามันแยมากเลยนะ” สุดทายนี้คุณวีระ ไดใหขอคิดในการทำงานเพิ่มเติมวา “ตองอยูใหได ถาอยูไมได คนที่เดือดรอนที่สุดก็คือคนที่รัก เราที่สุด เราก็พยายามทำในสิ่งที่ตัวเองทำได”


วีระ คงประยูร หัวหนาหมวดงานซอมประจำโรงงานปูนซีเมนตนครหลวง สระบุรี


24 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

สรุปพัฒนาการที่สำคัญ การรับรอง และรางวัลในรอบปที่ผานมา ลูกคา

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน 1. สนับสนุนการจัดทำระบบการจัดการความปลอดภัยเพื่อ พัฒนาการที่สำคัญ ปองกันอุบัติเหตุขั้นเสียชีวิต จำนวน 3 หัวขอ ไดแก การตลาดและการขาย ความปลอดภัยในการใชยานพาหนะ การปฏิบัติงาน 1. ประสบความสำเร็จในการเสริมสรางภาพลักษณของตรา บนที่สูง การตัดแยกแหลงพลังงานและการล็อคอุปกรณ อินทรี ใหเปนหนึ่งในปูนซีเมนตชั้นนำของประเทศไทย 2. จัดกิจกรรมดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. รถคอนกรีตผสมเสร็จขนาดเล็กซึ่งถูกออกแบบใหเปน Road Show ในกลุมบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง รูปการตูนในการละเลนตางๆ เพื่อสะทอนความเปน รางวัล มิตรกับสิ่งแวดลอมและเพื่อดึงดูดความสนใจ ไดเริ่มการ การบริหารทรัพยากรบุคคล ปฏิบัติงานตั้งแตเดือนตุลาคม 2551 เพื่อตอบสนอง 1. รางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธ ความตองการคอนกรีตของแตละครัวเรือน และสวัสดิการแรงงาน ประจำป 2551 จากกระทรวง 3. ธุรกิจอินทรีคอนกรีตแฟรนไชสไดมีการขยายตัวขึ้น แรงงานติดตอกันเปนปที่สอง เรื่อยๆ เพื่อเพิ่มเครือขายพันธมิตรทางธุรกิจของบริษัทมีแฟร อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน นชายดที่ไดรบั การรับรองทั้งหมด 22 รายเมื่อเดือนธันวาคม 1. ธุรกิจจัดการกากของเสียจีโอไซเคิลไดรับการรับรอง 2551 มาตรฐานการจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4. เพื่อตอบสนองทุกความตองการสินคาและเพื่อพัฒนา OHSAS18001:2007 มาตรฐานสินคาของลูกคาผูทรงคุณคาของเรา บริษัท 2. บริษัท คอนวูด จำกัด ไดรับการรับรองมาตรฐานการจัดการ ไดทำการเพิ่มผลิตภัณฑแผนพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปใน ดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS18001:2007 แฟรนไชสผูผลิต ผลิตภัณฑคอนกรีตอินทรี เดิมจาก มีแคบล็อคคอนกรีต สังคมและชุมชน 5. มีการพัฒนาและเปดใชระบบฐานขอมูลลูกคาของบริษัท พัฒนาการที่สำคัญ เพื่อเปนกาวยางอันสำคัญสูความเปนองคกรที่มีลูกคา กิจกรรมองคกรเพื่อสังคมและชุมชนสัมพันธ เปนศูนยกลางจะไดมีการพัฒนาฐานขอมูลลูกคาของ 1. ดำเนินโครงการ “๘๐ พรรษา ๘๘๐ ฝาย อินทรีสราง กลุมบริษัทฯ ในเครือตอไปในป 2552 ถวายในหลวง” อยางตอเนื่อง โดยสรางฝายชะลอ 6. ยอดขายผานทางเว็บเซลสเพิ่มขี้นอีก 10% ไปเปน 76% ในป ความชุมชื้นเพิ่มเติมอีก 1,550 ฝาย ในป 2551 2551 สะทอนใหเห็นความสะดวกสบายที่ลูกคาได เพิ่มเติมจากที่สรางไปแลว 1,050 ฝาย ในป 2550 รับในการซื้อ บริษัทฯมีเปาหมายที่จะเพิ่มยอดขายทาง 2. ใหการสนับสนุนดานการศึกษาและวิชาชีพผานโครงการตางๆ เว็บใหไดอยางนอย 80% ในป 2552 3. สนับสนุนเงินกองทุนประกันสุขภาพเพื่อสงเสริมและ 7. โครงการคอมแพคโมบายแพลนทเปนนวัตกรรมเพื่อ สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุข ขยายศักยภาพในการใหบริการในโครงการกอสรางทั้งใน 4. จัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ กรุงเทพฯ และตางจังหวัดที่ตองการใชคอนกรีตปริมาณ ตำบลทับกวาง เพื่อการพัฒนาชุมชนในดานหลักๆ ไดแก มากและตองการตั้งหนวยผลิตคอนกรีตภายในพื้นที่ ดานเสริมสรางความเขมแข็งและสนับสนุนการพัฒนา กอสรางที่มีจำกัด ซึ่งสามารถลดคาใชจายและเวลา อาชีพ, ดานการศึกษา และวัฒนธรรม, ดานสิ่งแวดลอม ในการจัดสงคอนกรีต ไมติดขัดปญหาจราจร และอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร รางวัล พนักงาน กิจกรรมองคกรเพื่อสังคมและชุมชนสัมพันธ พัฒนาการที่สำคัญ 1. ไดรับการรับรองการปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานของกรม การบริหารทรัพยากรบุคคล โรงงานอุตสาหกรรมตอสังคม CSR-DIW เพื่อเปนการนำรอง 1. จัดใหมีคายอาสาพนักงานในการรวมกิจกรรมการสราง เขาสูเกณฑมาตรฐานสากล วาดวยการแสดงความรับผิดชอบ ฝายชะลอน้ำตาม โครงการ ๘๐ พรรษา ๘๘๐ ฝาย ตอสังคม (ISO 26000 Social Responsibility) ซึ่งมีแผนจะ อินทรีสรางถวายในหลวง เปนปที่ 2 ประกาศใชทั่วโลกเร็วๆ นี้ 2. การริเริ่มดำเนินโครงการ พัฒนาผลการปฏิบัติงานของ 2. ไดรับการเสนอชื่อจากผูบริหารระดับสูงจากองคกรชั้นนำ พนักงานรายบุคคล เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทำงาน ใหเปนหนึ่งใน 8 บริษัท ในการเขาชิงรางวัล “Thailand ของพนักงาน และขององคกรโดยรวม Corporate Excellence Awards 2007” รางวัลเชิดชู 3. จัดใหมีโครงการประเมินขีดความสามารถดานผูนำ องคกรที่มีความเปนเลิศดานการบริหารจัดการระดับ สำหรับผูบริหารของบริษัทฯ เปนปที่ 3 ติดตอกัน ซึ่ง ประเทศ รางวัลพระราชทานโดยสมเด็จพระเทพ รวมแลวครอบคลุมผูบริหารระดับสูงของบริษัทถึง 90 คน โดย รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี จัดโดย สมาคม บริษัทนำขอมูลที่ไดไปใชประโยชนในการวางแผน จัดการธุรกิจแหงประเทศไทย และสถาบันบัณฑิตบริหาร การพัฒนาผูบริหาร ตลอดจนความกาวหนาทางอาชีพ ธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


สรุปพัฒนาการที่สำคัญ การรับรอง และรางวัลในรอบปที่ผานมา 25

3. พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ประทานโลประกาศเกียรติคุณ ในฐานะเปนองคกรที่ไดรวมกับสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย สนับสนุนโครงการ “โครงงานวิจัย อุตสาหกรรมสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี” 4. รับมอบโลประกาศเกียรติคุณ ในฐานะองคกร ผูชวยเหลือราชการกรมปาไม สาขาการฟนฟูและ พัฒนาพื้นที่ปา จากกรมปาไม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผูถือหุน พัฒนาการที่สำคัญ สิทธิของผูถือหุน 1. บริษัทไดเชิญชวนใหผูถือหุนเสนอวาระและคำถามสำหรับ การประชุมสามัญประจำปผูถือหุนที่จะมีขึ้นในป 2552 โดยแจงผานเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2. ไดมีการนำระบบการลงทุนและลงทะเบียนออนไลนมา ใชในการประชุมสามัญประจำปผูถือหุน เพื่อใหเกิด ความรวดเร็วและถูกตองแมนยำ ตลอดจนอำนวย ความสะดวกใหแกผูถือหุน การเงินและการควบคุม 1. ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบควบคุมภายในเพื่อ ความถูกตอง เชื่อถือไดของการรายงานผลทางการเงิน และปองกันความเสี่ยงทางดานการเงินตางๆ รางวัล สิทธิของผูถือหุน 1.บริษัทไดรับผลการประเมินในกลุม “ดีมาก” จาก โครงการ AGM Assessment 2008 จัดโดยสมาคม สงเสริมผูลงทุนไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และ ก.ล.ต.

การผลิต พัฒนาการที่สำคัญ กิจการสระบุรี 1. อีโคสยามไดเปลี่ยนชื่อเปน “จีโอไซเคิล” ซึ่งเปนแบรนด ดานการจัดการวัสดุที่ไมใชแลวของโฮลซิม ซื่งดำเนิน กิจการอยูใน 35 ประเทศทั่วโลกและสามารถเขาถึง เครือขายขอมูลและแนวทางการปฏิบัติดานการจัดการ วัสดุที่ไมใชแลวที่ดีที่สุด 2. จีโอไซเคิลเริ่มดำเนินงานโรงเตรียมเชื้อเพลิงทดแทนที่ ใหญที่สุดแหงหนึ่งของโลกซึ่งไดรับการออกแบบดวย เทคโนโลยีลาสุดพรอมดวยระบบการจัดการสิ่งแวดลอม มาตรฐานระดับโลกประกอบดวยสวนงานตางๆ ของทั้ง กระบวนการเตรียมวัสดุที่ไมใชแลวกอนที่จะสงเขาเตา ปูนซีเมนต 3. ปรับปรุงและใชโปรแกรมการบริหารจัดการวัตถุดิบ (QSO - Quarry Scheduling Optimization) ระบบใหม เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการวัตถุดบิ ภายในของบริษทั อยางคุมคามากยิ่งขึ้น

4. โครงการรวมกับโรงงาน 2 ในการใชเครื่อง PGNAA (Prompt Gamma Neutron Activation Analysis ) เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพวัตถุดิบสำหรับ กระบวนการผลิตปูนซีเมนต และพัฒนาการใชวัตถุดิบ ของบริษัทใหคุมคามากยิ่งขึ้น รางวัล กิจการสระบุรี 1. เกียรติบัตรโครงการ “โรงโม เหมืองหิน ติดดาว” จังหวัดสระบุรี 2551 ประเภทเหมืองหิน ระดับดีเยี่ยม จากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัดสระบุรี รวมกับ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

คูคาและพันธมิตรทางธุรกิจ พัฒนาการที่สำคัญ การจัดสงและการสงออก 1. นำการบริหารหวงโซอุปทาน (Supply Chain Management) มาใช โดยนำหนวยงานที่เกี่ยวของ (การตลาดและการขาย การผลิตและการจัดสง) มารวม ประชุมวางแผนดานอุปสงค (Demand) และอุปทาน (Supply) รวมกันทุกสัปดาห ซึ่งสงผลใหการวางแผนมี ความแมนยำ และสามารถปรับตัวเขากับสภาวะตลาด ซึ่งผันผวนไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารในหนวยงานใหสอดคลอง กับการบริหารแบบหวงโซอุปทาน รวมถึงการพัฒนา องคความรูดานหวงโซอุปทานใหกับพนักงานและผูขนสง ผานโครงการ Supply Chain Capability Building 3. จัดทำโครงการปรับปรุงความสามารถและประสิทธิภาพ ในการบรรจุและจายปูนซีเมนต ที่โรงงาน 1 เพื่อลด ตนทุนการบรรจุ เพิ่มเสถียรภาพและความรวดเร็วใน การจายปูนซีเมนต 4. ปรับปรุงประสิทธิภาพการจายสินคา โดยจัดทำโครงการ ทดลองจายสินคาดวยบัตร RFID ที่โรงงาน 3 เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของการเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็วและ ถูกตองแมนยำ การเงินและการควบคุม 1. ปรับปรุงระบบการชำระเงินและการรายงานผลทางการ เงินแบบอัตโนมัติ เพื่อใหมีความถูกตอง ครบถวนและ มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. นำกระบวนการประเมินเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนมาปรับใช เพื่อพัฒนาระบบการจัดซื้อใหเปนมาตรฐานสากลและ เสริมสรางประสิทธิภาพในระยะยาว 3. ขยายขอบเขตของระบบบริหารจัดการผูรับเหมา และการ จัดทำผูใหบริการใหครอบคลุมระบบหวงโซอุปทาน เพื่อเพิ่ม ใหมีประสิทธิภาพ พรอมกับลดภาระดานคาใชจาย 4. ปรับใชโครงการลดตนทุนคาใชจาย เพื่อใหบรรลุผลกำไรที่ เพิ่มขึ้นจากป 2550


ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการ ในป 2551 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ยังคงสานตอพันธกิจดานบรรษัทภิบาลอยางตอเนื่อง โดย ไดริเริ่มโครงการและจัดกิจกรรมจำนวนมากที่มีความสำคัญ และเกี่ยวของกับระบบบรรษัทภิบาลซึ่งจะไดกลาวถึง รายละเอียดของโครงการและกิจกรรมตางๆ ดังตอไปนี้ มาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรมในเรื่องการแสดง ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR-DIW) ปูนซีเมนตนครหลวงเปนหนึ่งในบริษัทจำนวนไมมากที่ไดรับ การรับรองการปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานของกรมโรงงาน อุตสาหกรรมวาดวยการแสดงความรับผิดชอบของโรงงาน อุตสาหกรรมตอสังคม CSR-DIW เพื่อเปนการพัฒนาองคกร เขาสูเกณฑมาตรฐานสากลตามรางมาตรฐานระหวางประเทศ วาดวยการแสดงความรับผิดชอบตอสังคม (ISO 26000 Corporate Social Responsibility) ซึ่งมีแผนจะประกาศ ใชเร็วๆ นี้ มาตรฐานนี้มุงเนนในเรื่องความรับผิดชอบของ ผูประกอบการอุตสาหกรรมตอกระบวนการตัดสินใจในดาน การผลิตและขบวนการที่เกี่ยวของที่จะมีผลกระทบทางสังคม และสิ่งแวดลอมเพื่อใหสอดคลองกับการพัฒนาอยางยั่งยืนของ สวนรวม

เคารพในสิทธิของผูถือหุนและปฏิบัติตอผูถือหุนอยาง เทาเทียม • เราสงเสริมการใหขอ มูลขาวสารทีส่ ะดวกรวดเร็ว และผูถ อื หุน สามารถคนขอมูลยอนหลังที่จัดเก็บภายในเว็บไซตของบริษัท นานกวาเว็บไซตของตลาดหลักทรัพย กวา 2 ป • โครงสรางการถือหุนของบริษัทมีผูถือหุนรายใหญมากกวา 1 ราย จึงไมมีผูถือหุนรายใดรายหนึ่งมีอิทธิพลตอการ บริหารงาน และมีกรรมการอิสระมากกวา 1 ใน 3 ของ กรรมการทั้งคณะถวงดุลอำนาจในการบริหาร ทำใหผูถือ หุนรายยอยสามารถใชสิทธิออกเสียงตามที่ตนตองการได • เพื่อปองกันมิใหผูถือหุนเสียเปรียบ บริษัทกำหนดนโยบาย จริยธรรมทางธุรกิจ หามผูบริหารและพนักงานใชขอมูล ภายในเพื่อประโยชนในการซื้อขายหุนของบริษัท และ กำลังจะประกาศนโยบายระยะเวลาหามซื้อขายหุน (Silent Period) ในป 2552 • ปจจุบันบริษัทยังไมมีคณะกรรมการสรรหา การสรรหา กรรมการทำโดยคัดสรรผูมีความรูความเชี่ยวชาญและ ประสบการณที่เกี่ยวของ และกรรมการแตละรายตองได รับความเห็นชอบจากผูถือหุนเกินกึ่งหนึ่ง แตเนื่องจากผูถือ หุนสวนใหญของบริษัทเปนรายยอย (ถือหุนมากกวารอยละ 1 มีแค 8 รายจากจำนวนรวม 3,632 ราย) และกรรมการ


ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการ 27

แตละรายไดรับคะแนนมากกวารอยละ 98 จึงแสดงให เห็นวาไดรับคะแนนสนับสนุนจากผูถือหุนรายยอยเปน จำนวนมาก ใหความสำคัญกับบทบาทของผูมีสวนไดสวนเสีย • บริษัทใหความสำคัญเปนอันดับแรกกับกลุมบุคคลผูมีสวน ไดสวนเสียหรือผูที่มีแนวโนมจะไดรับผลกระทบจากการ ดำเนินธุรกิจของบริษัททั้งทางตรงและทางออม ทั้งนี้ จากการสำรวจ เราไดมีการประเมินและทำการระบุกลุม ผูมีสวนไดสวนเสียทั้ง 12 กลุมใหม อันไดแกพนักงาน ชุมชน ลูกคา คูคา เจาหนาที่ภาครัฐ สื่อ องคกรอิสระ สถาบันการศึกษา คูแ ขง และสาธารณชน เพือ่ ใหเราสามารถ ใหความชวยเหลือตลอดจนการสนับสนุนไดอยางเต็มที่ • บริษัทตระหนักเปนอยางดีถึงความสำคัญในการรักษา สิ่งแวดลอมจึงไดเปดใหผูมีสวนไดสวนเสียสามารถรอง เรียนประเด็นที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมเขามาไดที่ envi.info@sccc.co.th, ตู ปณ.11 ทับกวาง ตลอดจน ระบบการสื่อสารภายใน (Intranet) และกลองรับขอมูลใน บริเวณชุมชนใกลเคียง • เราใหความสำคัญกับพันธกิจในการปลูกฝงใหพนักงาน ทุกคนยึดลูกคาเปนหัวใจสำคัญ เพื่อการบริการที่ดีที่สุด ในทุกระดับทั้งภายในและภายนอกองคกร โปรงใสตรวจสอบได • บริษัทไดมีการริเริ่มจัดการประชุมสามฝาย (หนวยงาน รัฐบาลในระดับทองถิ่นและระดับจังหวัด ชุมชน และ ปูนซีเมนตนครหลวง) อยางสม่ำเสมอเพื่อหารือประเด็น ที่สงผลกระทบตอชุมชน อาทิ การใชเชื้อเพลิงและวัตถุดิบ ทดแทน โครงการนำความรอนเหลือจากขบวนการผลิต กลับมาใชผลิตกระแสไฟฟา ทั้งนี้เพื่อใหชุมชนของเราเกิด การพัฒนาอยางยั่งยืน • บริษัทไดประกาศนโยบายเพื่อย้ำความมุงมั่นของบริษัทอัน ไดแกการบริหารคุณภาพ สิ่งแวดลอมอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยในการทำงาน และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อใหมีการยึดถือปฏิบัติอยางแทจริง นอกจากนั้น บริษัท ยังไดเขารวมโครงการสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมแก บุคลากรในภาคอุตสาหกรรม และรวมแบงปนความรูและ ประสบการณดังกลาวผานโครงการ CSR Sharing Program ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ • บริษัทไดทำการแกไขกฎบัตรคณะกรรมการการตรวจสอบ ใหเปนไปในแนวทางเดียวกับกฎระเบียบใหมของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย และของสำนักงาน ก.ล.ต. • การตรวจสอบภายในประจำปไดมีการขยายขอบเขตไปถึง กลุมบริษัทตางๆ อาทิ บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด และบริษัท คอนวูด จำกัด • ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการดานกฎหมายขึ้นเพื่อปฏิบัติงาน ดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับกฎหมายการใหความรูในดาน กฎหมายและการกำหนดรายการที่ตองดำเนินการทางดาน กฎหมายทั้งหมดของบริษัท

การควบคุมภายใน • มีการทำกิจกรรมรายงานผลประโยชนทับซอนออนไลนอยาง ตอเนื่อง โดยการรายงานดังกลาวมีขึ้น 2 ครั้งตอป • บริษัทจัดทำฐานขอมูลในการกำกับดูแลบริษัท (Compliance Platform) โดยระบุเงื่อนไขกฎหมายและ ขอปฏิบัติ สำหรับทุกหนวยงานในองคกรครบถวน • บริษัทจัดกิจกรรมการตรวจสอบดานกฎหมายใหทุก หนวยงานรวมถึงบริษัทยอย โดยทำการตรวจเยี่ยมสถานที่ที่ มีการดำเนินกิจกรรมของบริษัททุกแหงกวา 70 แหง (รวมหนวยจัดจำหนวยคอนกรีตสำเร็จรูป) เพื่อใหความรูและ สนับสนุนแกพนักงานระดับปฏิบัติการใหมีการปฏิบัติงานได อยางถูกตองตามกฎหมาย • ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบควบคุมภายในเพื่อความ ถูกตองแมนยำของการรายงานผลทางการเงิน และปองกัน ความเสี่ยงทางดานการเงินในดานตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น การตรวจสอบภายใน • ผูตรวจสอบภายในไดทำการประเมินความเสี่ยงเพื่อลดความ เสี่ยงทางการเงินและการดำเนินธุรกิจ • นอกจากนั้นยังไดมีการตรวจสอบเพื่อการสรางมาตรการควบ คุมที่รัดกุมและมั่นใจไดวาการดำเนินธุรกิจของบริษัทเปนไป ในทิศทางที่สอดคลองกับกฎหมายและขอบังคับตางๆ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน • หนวยงานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไดทำการ ประเมินและวิเคราะหปจจัยที่ยังขาดอยูในการปองกัน ความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินในการทำงาน (Fatality Prevention Elements gap analysis) ในทุกหนวยงานของ ปูนซีเมนตนครหลวงมาตลอดรอบป • นอกจากนั้นยังไดดำเนินการตรวจสอบโดยใชระบบพีระมิด ทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของโฮลซิมใน หนวยงานคอนวูด เทคโนโลยีสารสนเทศ • ในป 2551 ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศไดออกกฎระเบียบใน การใชคอมพิวเตอรสำหรับพนักงานปูนซีเมนตนครหลวง ใหสอดคลองกับกฎหมายดานสารสนเทศปจจุบัน โดย พนักงานทุกคนตองทำความเขาใจ ยอมรับ และปฏิบัติตาม กฎระเบียบดังกลาวอยางเครงครัด โดยทุกคนตองผานการ อบรมออนไลนเรื่องการใชสารสนเทศอยางถูกตอง • บริษัทควบคุมตรวจสอบมิใหมีการดาวนโหลดซอฟทแวรหรือ ติดตั้งอุปกรณตางๆ ลงบนคอมพิวเตอรของบริษัทโดยไมได รับอนุญาต • บริษัทไดใหผูสอบบัญชีทำการตรวจสอบระบบสารสนเทศของ บริษัทและบริษัทในเครือ ซึ่งไดผลเปนที่นาพอใจวาการ ควบคุมทั่วไปในระบบสารสนเทศมีประสิทธิภาพ นาเชื่อถือ และเพียงพอ


28 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ภาพรวมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต ป 2551 นับเปนปที่ทาทายธุรกิจปูนซีเมนตในประเทศไทยเปน อยางมาก ความไมแนนอนทางการเมืองไดสั่นคลอนความ มั่นใจของนักลงทุนและผูบริโภค สงผลใหโครงการขนาดใหญ จำนวนมากของรัฐบาลตองเลื่อนออกไป สภาวะเศรษฐกิจโลก ซบเซาและการปรับตัวอยางรวดเร็วของราคาเชื้อเพลิงไดทำ ใหตลาดการเงินและการคาระหวางประเทศทั่วโลกไดรับผล กระทบอยางหนัก

การสงออก เนื่องจากความตองการของตลาดภายในประเทศที่ชะลอตัว ตั้งแตป 2549 ตอเนื่องมาถึงป 2550 ทำใหผูผลิตปูนซีเมนต ภายในประเทศจำเปนตองเพิ่มการสงออกไปยังตลาด ตางประเทศ เพื่อใหสายการผลิตสามารถดำเนินการไดอยาง เต็มประสิทธิภาพปริมาณการสงออกปูนซีเมนตของประเทศ ในป 2551 อยูที่ 15.7 ลานตัน ลดลงจากป 2550 รอยละ 14 เนื่องจากความตองการของตลาดโลกที่ลดลง

ความตองการในประเทศลดลงรอยละ 11 จากป 2550 กอปร กับสภาวะราคาเชื้อเพลิงที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหมีการ ปรับราคาปูนซีเมนตเพื่อใหสอดรับกับตนทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น ผูผลิตปูนซีเมนตจำนวนมากตองทำการปรับโครงสรางการ บริหารจัดการ เพื่อตอบรับกับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ

ความตองการปูนซีเมนตในการกอสรางที่ลดลงและกำลังการ ผลิตปูนซีเมนตที่มเี กินความตองการในหลายประเทศนั้น จะ เพิ่มการแขงขันในตลาดการสงออกในปถัดไป จากผลกระทบ ที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดนี้ ทำใหปริมาณการสงออกโดยรวมของ


ภาพรวมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต 29

ประเทศ ในป 2552 คาดวาจะลดลงจาก 15.2 ลานตัน เหลือประมาณ 13 ลานตัน แนวโนมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต ป 2552 บริษัทคาดการณวาปริมาณความตองการปูนซีเมนตภายใน ประเทศจะยังคงลดลงอยางมากจากป 2551 ในอัตรา ที่รอยละ 10-15 อันเปนผลจากภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่ ชะลอตัวลง นำไปสูการชะลอการลงทุนในอุตสาหกรรมการ กอสรางโดยเฉพาะอยางยิ่งในธุรกิจอสังหาริมทรัพย จากขอมูลแสดงใหเห็นวาจำนวนการออกใบอนุญาตจัดสรรที่ ดินของโครงการตางๆ ทั่วประเทศในรอบ 9 เดือนแรกของป

2551 ลดลงจากปที่แลวประมาณรอยละ 25 และมีปริมาณ ที่อยูอาศัยที่เกินความตองการอยูประมาณ 500,000 หนวย โดยในจำนวนนี้แบงเปนบานใหม 300,000 หนวย และบานมือสอง 200,000 หนวย ดังนั้นสถานการณใน อนาคตจึงขึ้นอยูกับรัฐบาลชุดใหมวาจะสามารถสรางความ เชื่อมั่นใหกับนักลงทุน และเรงรัดลงทุนในโครงการ สาธารณูปโภคขนาดใหญ เพื่อกระตุนการเติบโตทาง เศรษฐกิจและภาคการกอสรางซึ่งก็ตองพิจารณาถึงสภาวะ การณของเศรษฐกิจโลกโดยรวมดวย


การบริหารความเสี่ยงและปจจัยเสี่ยง คณะผูบริหารของ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ตระหนักดีถึงความรับผิดชอบในการดูแลใหมี การกำกับกิจการที่ดี เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผูถือหุน ของบริษัท ในการนี้บริษัทไดจัดตั้งหนวยงานบริหารความ เสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk Management Unit) เพื่อทำการประเมินและบริหารความเสี่ยงในเชิงธุรกิจของ บริษัท และบริษัทในเครือทุกๆ ป โดยวิเคราะหปจจัยความ เสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได ภายในระยะเวลา 5 ปขางหนา พรอมทั้งแนะนำแนวทางตางๆในการบริหารความเสี่ยง เหลานั้น เสนอตอคณะผูบริหาร ทุกฝายจึงสามารถมั่นใจได วาฝายบริหารมีความเขาใจในความเสี่ยงทางธุรกิจของบริษัท และสามารถบริหารความเสี่ยงนั้นไดอยางเหมาะสม

ปจจัยเสี่ยง ภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลกและความผันผวนของราคา น้ำมันและถานหิน ในป 2551 รวมถึงการแข็งคาขึ้นของ เงินบาท ไดถูกระบุวาเปนปจจัยเสี่ยงทางธุรกิจที่สำคัญ ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ 1. ความเสี่ยงจากสภาวะเศรษฐกิจโลกและภายในประเทศ ถดถอย ปญหาวิกฤติการเงินโลกที่สงผลใหเกิดสภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยทั่วทั้งโลก สงผลใหความตองการปูนซีเมนตของ โลก และภายในประเทศลดลงอยางมาก ประกอบกับ


การบริหารความเสี่ยงและปจจัยเสี่ยง 31

เศรษฐกิจภายในประเทศไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจาก ปญหาความขัดแยงทางการเมือง ทำใหผูบริโภคขาด ความเชื่อมั่น บรรยากาศการลงทุนภายในประเทศอยูใน สภาวะซบเซาอยางยิ่ง บริษัททำการติดตามประเมินสถาน การณอยางตอเนื่อง เพื่อปรับกลยุทธในการดำเนินธุรกิจ เพื่อลดผลกระทบจากความเสี่ยงเหลานี้ 2. ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้ำมันและถานหิน การปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันและถานหินสงผลกระทบ ตอตนทุนทางดานพลังงาน การขนสงและกระดาษ บริษัท จึงมุงพัฒนาโครงการตางๆ เพื่อควบคุมตนทุนการผลิต เชน การใชพลังงานทดแทน การทำสัญญาระยะยาวกับ ผูจัดหาถานหินรายหลัก การใชกาซธรรมชาติ CNG มาใช ทดแทนน้ำมันดีเซลและเบนซินสำหรับการขนสงปูนซีเมนต และการนำเอาความรอนสวนเกินจากการผลิตปูนซีเมนต กลับมาใชเพื่อผลิตกระแสไฟฟาภายในโรงงาน

3. ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนระหวาง เงินบาทและดอลลารสหรัฐอเมริกา เงินบาทมีการแข็งคาขึ้นอยางมากเมื่อเทียบกับเงินสกุล ดอลลารสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงครึ่งป แรกของป 2551 ซึ่งมีผลกระทบในทางลบตอการรับรู รายไดเปนเงินบาทของธุรกิจการสงออกปูนซีเมนต อยางไรก็ตามผลกระทบจากความเสี่ยงนี้ไดถูกหักลางไป บางสวนจากการนำเขาถานหินเปนเงินสกุลดอลลารสหรัฐ อเมริกา นอกจากนี้ บริษัทไดทำการปองกันความเสี่ยง ดานอัตราแลกเปลี่ยน (Hedge) เพิ่มเติมอีกบางสวน เพื่อ ลดผลกระทบที่เหลือจากสวนตางระหวางการนำเขาและ การสงออกไวเรียบรอยแลว


32 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน งบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอยและงบการเงินเฉพาะของบริษัทไดจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศ ไทยและสอดคลองกับพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 โดยบริษัทใชดุลยพินิจอยางระมัดระวังในการเลือกใชนโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ และถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอ รวมทั้งการเปดเผยขอมูลสำคัญในหมายเหตุประกอบงบการเงิน อยางเพียงพอและเหมาะสม คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินดังกลาวขางตน รวมถึงขอมูลทาง การเงินที่ปรากฎในรายงานประจำป และเปนผูจดั ใหมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจอยาง มีเหตุผลวารายงานและขอมูลทางการเงินมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน รวมทั้งปองกัน การทุจริตและการดำเนินการที่ผิดปกติ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 คน ทำหนาที่ตามที่กำหนดไวในแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยในเรื่องแนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยชวยคณะกรรมการบริษัทดูแลการตรวจสอบภายในและ การตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีภายนอกแทนคณะกรรมการบริษัทและดำเนินการตามกฎบัตรที่รวมกันบัญญัติโดยคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบและรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาตไดแสดงไวใน รายงานประจำปนี้แลว

วีระพันธุ ทีปสุวรรณ ประธานกรรมการ

ฟลิป พอล อเล็กซานดร อารโต กรรมการผูจัดการ


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน, รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 33

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เสนอผูถือหุน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบมีความยินดีเสนอรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจำปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังตอไปนี้ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการอิสระเทานั้นและปฏิบัติงานภายใตกฎบัตรที่เปนลายลักษณอักษรซึ่งจัดทำขึ้นโดย คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการของบริษัท ในป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง คณะ กรรมการตรวจสอบพิจารณาแผนการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระหวางป และพิจารณาผลการตรวจสอบ การประเมิน ประสิทธิภาพการควบคุมภายในของบริษัท และคุณภาพของรายงานทางการเงิน ผูบริหารไดรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบวา งบการเงินรวมรายไตรมาสและงบการเงินรวมประจำป ไดจัดทำขึ้นตามหลัก การบัญชีที่รับรองทั่วไป คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานและพิจารณางบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะของ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ซึ่งรวมถึงการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชน กับผูบริหารและผูสอบบัญชี จากการสอบทานและการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบดังกลาวขางตน คณะกรรมการ ตรวจสอบขอรายงานตอคณะกรรมการของบริษัทวางบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ไดจัดทำ ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และไดแสดงถึงผลประกอบการของบริษัทและบริษัทยอย คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแผนงานการตรวจสอบของผูตรวจสอบภายใน ในการประเมินการควบคุมภายในบางสวนของ การดำเนินงานของบริษัทประจำป 2551 นอกจากนั้นคณะกรรมการตรวจสอบยังไดพิจารณาผลการประเมินกับผูตรวจสอบภายใน และผูบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบพอใจในแผนการดำเนินการของผูบริหารในการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการพิจารณาและอนุมัติแผนงานการตรวจสอบประจำป 2552 รวมทั้งงบประมาณเพื่อสนับสนุนการ ดำเนินการตามแผน ซึ่งแผนการตรวจสอบและงบประมาณไดจัดทำรวมกับหนวยงานตรวจสอบภายในของกลุมโฮลซิม จากการสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปสำหรับป 2551 และการประเมินของผูสอบบัญชีและผูตรวจสอบ ภายในดังกลาวขางตน คณะกรรมการตรวจสอบไมพบการปฏิบัติซึ่งไมเปนไปตามขอกำหนดของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย และกฎระเบียบและขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบเสนอใหคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมใหญผูถือหุนสามัญประจำป แตงตั้ง นางสายฝน อินทรแกว นางสาวรัตนา จาละ และ นางสาวกมลทิพย เลิศวิทยวรเทพ แหงบริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด ใหเปนผูสอบ บัญชีของบริษัทสำหรับป 2552 ตอไปอีกหนึ่งวาระ รวมถึงพิจารณาคาตอบแทนตามที่เสนอ วันที่ 30 มกราคม 2552 ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน)

ประกอบ วิศิษฐกิจการ ประธานกรรมการตรวจสอบ


งบการเงินรวม


รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต 35

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอตอผูถือหุนของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของผูถือหุนรวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติ งานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสด สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และเฉพาะของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป

สายฝน อินทรแกว ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4434 บริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 19 กุมภาพันธ 2552


36 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

งบดุล

บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

งบการเงินรวม

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัทอื่น - สุทธิ สินคาคงเหลือ - สุทธิ ลูกหนี้อื่น - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน เงินจายลวงหนาคาสินคา บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัทอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนทั่วไป - บริษัทที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงาน - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี อื่นๆ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

หมายเหตุ

2551

2550

6, 7

1,108,496,630

503,148,104

826,407,539

352,466,266

7, 8 9 10 7

234,676,521 2,401,309,014 1,900,107,796 7,777,450

454,815,719 2,292,241,183 1,578,588,098 2,317,370

793,535,976 1,478,885,398 1,675,292,256 273,547,272

881,740,237 1,432,658,077 1,385,470,191 211,251,571

7

140,327,200 65,716,445 125,443,451 5,983,854,507

31,971,203 113,297,189 4,976,378,866

140,327,200 48,827,939 88,877,563 5,325,701,143

30,997,926 88,939,831 4,383,524,099

11 12 13 7, 14 15 16 17

1,081,546,228 368,119,260 13,423,563,380 328,880,128 1,189,002,293

927,515,316 368,119,260 12,518,609,059 824,975,079 915,821,520

711,757,897 483,426,543 2,126,893,493 11,388,225,590 304,052,025 1,021,295,376

700,149,097 483,426,543 1,832,033,107 10,522,371,689 800,144,466 731,080,195

18

852,179,119 276,051,311 17,519,341,719 23,503,196,226

678,024,671 293,658,610 16,526,723,515 21,503,102,381

660,077,426 149,664,425 16,845,392,775 22,171,093,918

558,754,539 154,691,428 15,782,651,064 20,166,175,163


งบดุล 37

งบดุล (ตอ)

งบการเงินรวม

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัทอื่น สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สวนของหนี้สินระยะยาวสำหรับประทานบัตรที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น สวนลดคางจาย คาไฟฟาคางจาย ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย คาใชจายคางจายอื่นๆ เงินรับลวงหนาจากลูกคา อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน

หมายเหตุ

2551

2550

7, 19

3,429,819,571

1,008,388,487

3,400,000,000

1,000,000,000

7, 20

146,540,722 1,110,122,962 52,000,000

270,898,309 1,245,084,629 54,000,000

253,091,007 770,903,770 -

329,336,577 934,086,505 -

35,013,948

32,876,946

35,013,948

32,876,946

479,664,820 125,831,495 636,852,762 457,632,269 34,030,597 116,098,935 6,623,608,081

228,181,228 238,054,479 579,513,192 799,648,268 19,244,873 35,389,933 4,511,280,344

475,564,307 117,385,242 616,615,369 394,437,380 32,338,528 93,896,236 6,189,245,787

223,332,734 226,851,784 550,428,948 733,594,823 14,263,389 24,667,514 4,069,439,220

160,000,000

212,000,000

-

-

212,319,191 519,144,664 142,762,983 1,034,226,838 7,657,834,919

247,333,140 513,608,411 128,589,131 1,101,530,682 5,612,811,026

212,319,191 451,182,397 132,322,148 795,823,736 6,985,069,523

247,333,140 452,615,128 117,119,030 817,067,298 4,886,506,518

7, 21 22

หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระ 7, 21 ภายในหนึ่งป หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินระยะยาวสำหรับประทานบัตร - สุทธิจากสวนที่ 22 ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป 23 เงินทุนเลี้ยงชีพ สำรองโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน 24 รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550


38 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

งบดุล (ตอ)

งบการเงินรวม

สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 287,500,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท ทุนออกจำหนายและชำระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 237,500,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน กำไรสะสม จัดสรรแลว - สำรองตามกฎหมาย - สำรองหุนทุนซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ หัก : หุนทุนซื้อคืน สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ - สุทธิ สวนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

หมายเหตุ

2551

2550

26

2,875,000,000

2,875,000,000

2,875,000,000

2,875,000,000

26

2,375,000,000 10,106,266,730 (1,029,582)

2,375,000,000 10,106,266,730 61,136

2,375,000,000 10,106,266,730 -

2,375,000,000 10,106,266,730 -

25 26

300,000,000 1,710,643,745 3,061,608,260 17,552,489,153 (1,710,643,745) 15,841,845,408 3,515,899 15,845,361,307 23,503,196,226

300,000,000 1,710,643,745 3,108,794,195 17,600,765,806 (1,710,643,745) 15,890,122,061 169,294 15,890,291,355 21,503,102,381

300,000,000 1,710,643,745 2,404,757,665 16,896,668,140 (1,710,643,745) 15,186,024,395 15,186,024,395 22,171,093,918

300,000,000 1,710,643,745 2,498,401,915 16,990,312,390 (1,710,643,745) 15,279,668,645 15,279,668,645 20,166,175,163

26


งบดุล, งบกำไรขาดทุน 39

งบกำไรขาดทุน

บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2551

2550

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

รายได รายไดจากการขายสุทธิ เงินปนผลรับ รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนสินคาขาย คาใชจายในการขายและจัดจำหนาย คาใชจายในการบริหาร รวมคาใชจาย กำไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินไดนิติบุคคล คาใชจายทางการเงิน สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม ตามวิธีสวนไดเสีย กำไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนิติบุคคล กำไรสุทธิสำหรับป

12

28

12 18

การแบงปนกำไรสุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ จำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักสุทธิ (หุน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

21,304,822,857 134,624,124 21,439,446,981

22,800,424,169 115,367,298 22,915,791,467

18,207,720,518 118,086,990 277,665,186 18,603,472,694

20,045,278,327 81,873,646 242,499,849 20,369,651,822

11,602,883,781 4,343,011,536 1,182,635,529 17,128,530,846

12,420,014,739 4,863,779,954 1,104,388,843 18,388,183,536

9,465,297,559 3,534,347,455 1,066,349,448 14,065,994,462

10,542,617,512 4,126,348,437 1,019,205,319 15,688,171,268

4,310,916,135 (167,014,973)

4,527,607,931 (117,423,465)

4,537,478,232 (143,555,620)

4,681,480,554 (87,305,381)

272,117,902 4,416,019,064 (1,243,501,995) 3,172,517,069

179,105,486 4,589,289,952 (1,359,024,836) 3,230,265,116

4,393,922,612 (1,267,704,436) 3,126,218,176

4,594,175,173 (1,365,685,044) 3,228,490,129

3,172,676,491 (159,422) 3,172,517,069

3,230,479,554 (214,438) 3,230,265,116

3,126,218,176

3,228,490,129

13.79 230,000,000

14.05 230,000,000

13.59 230,000,000

14.04 230,000,000

29


40 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หนวย: บาท)

งบการเงินรวม

หมาย เหตุ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 รายได (คาใชจาย) ที่รับรูในสวนของผูถือหุน: - ผลตางจากการแปลง คางบการเงิน กำไรสุทธิสำหรับป ตัดหุนทุนซื้อคืน เงินปนผลจาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

26 30

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รายได (คาใชจาย) ที่รับรูในสวนของผูถือหุน: - ผลตางจากการแปลง คางบการเงิน สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้น จากการเพิ่มทุนของบริษัทยอย กำไรสุทธิสำหรับป เงินปนผลจาย 30 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ทุนออก จำหนาย และ ชำระแลว

สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ กำไรสะสม จัดสรรแลว ยังไมไดจัดสรร หุนทุนซื้อคืน

สวนเกิน มูลคาหุน

ผลตางจาก การแปลง สำรอง คางบ ตามกฎหมาย การเงิน

สวนของผูถือหุน สวนนอยของ บริษัทยอย

รวม

15,879,547,177

372,480

15,879,919,657

2,985,423,948 -

35,556 3,230,479,554 (3,219,940,226)

11,252 (214,438) -

46,808 3,230,265,116 (3,219,940,226)

2,500,000,000 10,106,266,730

25,580

(125,000,000) -

-

35,556 -

2,375,000,000 10,106,266,730

61,136

300,000,000

1,710,643,745

3,108,794,195 (1,710,643,745)

15,890,122,061

169,294

15,890,291,355

2,375,000,000 10,106,266,730

61,136

300,000,000

1,710,643,745

3,108,794,195 (1,710,643,745)

15,890,122,061

169,294

15,890,291,355

-

- (1,090,718)

-

-

-

-

(1,090,718)

(363,573)

(1,454,291)

-

-

-

-

- 3,172,676,491 - (3,219,862,426)

-

3,172,676,491 (3,219,862,426)

3,869,600 (159,422) -

3,869,600 3,172,517,069 (3,219,862,426)

2,375,000,000 10,106,266,730 (1,029,582)

300,000,000

3,061,608,260 (1,710,643,745)

15,841,845,408

3,515,899

15,845,361,307

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

300,000,000

รวมสวนของ ผูถือหุนของ บริษัท - สุทธิ

สำรองหุน ทุนซื้อคืน 4,696,067,693

2,973,254,867 (4,696,067,693)

- 3,230,479,554 - (2,985,423,948) 125,000,000 - (3,219,940,226)

1,710,643,745


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน 41

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (ตอ)

(หนวย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไรสะสม

หมาย เหตุ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 กำไรสุทธิสำหรับป ตัดหุนทุนซื้อคืน เงินปนผลจาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กำไรสุทธิสำหรับป เงินปนผลจาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

26 30

30

10,106,266,730 10,106,266,730

300,000,000 300,000,000

2,375,000,000 2,375,000,000

10,106,266,730 10,106,266,730

300,000,000 300,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

สวนเกิน มูลคาหุน

จัดสรรแลว

ทุนออก จำหนาย และ ชำระแลว 2,500,000,000 (125,000,000) 2,375,000,000

สำรองตาม กฎหมาย

ยังไมไดจัดสรร

หุนทุนซื้อคืน

รวม

4,696,067,693 (2,985,423,948) 1,710,643,745

2,364,852,012 3,228,490,129 125,000,000 (3,219,940,226) 2,498,401,915

(4,696,067,693) 2,985,423,948 (1,710,643,745)

15,271,118,742 3,228,490,129 (3,219,940,226) 15,279,668,645

1,710,643,745 1,710,643,745

2,498,401,915 3,126,218,176 (3,219,862,426) 2,404,757,665

(1,710,643,745) (1,710,643,745)

15,279,668,645 3,126,218,176 (3,219,862,426) 15,186,024,395

สำรองหุน ทุนซื้อคืน


42 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

งบกระแสเงินสด

บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบการเงินรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิกอนภาษี รายการปรับกระทบยอดกำไรสุทธิกอนภาษีเปนเงินสดรับ(จาย) จากกิจกรรมดำเนินงาน: สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมตามวิธีสวนไดเสีย เงินปนผลรับจากบริษัทรวม คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและคาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพ คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย คาเผื่อการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ โอนกลับคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงาน คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย ขาดทุนจากการจำหนายสินทรัพยถาวร คาใชจายเงินสมทบเขาเงินทุนเลี้ยงชีพ และสำรองโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง คาใชจายดอกเบี้ย กำไรจากการดำเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพยดำเนินงานลดลง(เพิ่มขึ้น): ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ ลูกหนี้อื่น-บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง): เจาหนี้การคา คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินทุนเลี้ยงชีพและสำรองโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน เงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินไดนิติบุคคล เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

2551

2550

4,416,019,064

4,589,289,952

4,393,922,612

4,594,175,173

(272,117,902) 59,155,817 878,079,144 15,491,900 (56,335,795) 216,514,072

(179,105,486) 141,628,194 814,796,873 84,659,644

(118,086,990) 52,799,759 689,755,268 15,491,900 (56,335,795) 27,139,614 216,156,999

(81,873,646) 40,225,413 651,840,824 27,492,326 82,481,847

75,826,705 (16,256,376) 152,993,377

60,217,408 (9,616,234) 102,193,119

65,690,343 (15,892,804) 131,899,634

51,105,534 (9,699,197) 72,075,035

5,469,370,006

5,604,063,470

5,402,540,540

5,427,823,309

74,345,744 (338,570,237) (5,460,080) (175,523,791)

(294,160,634) 68,764,047 5,303,091 28,028,119

19,094,215 (305,444,380) (73,904,500) (156,315,220)

(148,513,720) 154,514,827 (50,523,542) 29,085,297

(259,500,895) (111,250,741) (56,116,600) 4,597,293,406 (137,985,587) (1,360,316,873) 3,098,990,946

187,750,241 158,733,184 (37,607,496) 5,720,874,022 (103,984,080) (1,616,844,479) 4,000,045,463

(239,609,944) (114,124,961) (51,919,956) 4,480,315,794 (115,845,388) (1,302,840,902) 3,061,629,504

140,446,155 148,901,187 (36,375,499) 5,665,358,014 (72,075,035) (1,573,624,385) 4,019,658,594


งบกระแสเวินสด 43

งบกระแสเงินสด (ตอ)

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2551

2550

2551

2550

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการจำหนายสินทรัพยถาวร ซื้อสินทรัพยถาวร เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอยเพิ่มขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตนเพิ่มขึ้น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นลดลง(เพิ่มขึ้น) เงินปนผลรับ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

377,541,766 (2,108,204,977) (16,260,745) 17,723,953 118,086,990 (1,611,113,013)

220,646,143 (1,601,734,333) (44,011,772) (105,044,151) 81,873,646 (1,448,270,467)

377,167,934 (1,899,410,605) (322,000,000) (13,936,834) 5,143,657 118,086,990 (1,734,948,858)

393,244,758 (1,441,528,954) (576,400,000) (13,377,510) (5,804,514) 81,873,646 (1,561,992,574)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินปนผลจาย จายชำระคืนเงินกูยืมระยะยาว จายชำระหนี้สินระยะยาวสำหรับประทานบัตร เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสิ้นป

2,425,300,684 (3,219,862,426) (54,000,000) (32,876,947) (881,438,689) (1,090,718) 605,348,526 503,148,104 1,108,496,630

564,844,020 (3,219,940,226) (73,000,000) (30,870,372) (2,758,966,578) 35,556 (207,156,026) 710,304,130 503,148,104

2,400,000,000 (3,219,862,426) (32,876,947) (852,739,373) 473,941,273 352,466,266 826,407,539

600,000,000 (3,219,940,226) (30,870,372) (2,650,810,598) (193,144,578) 545,610,844 352,466,266

311,515,664

527,749,700

311,515,664

363,578,700

ขอมูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม: รายการที่ไมเกี่ยวของกับเงินสด: โอนที่ดิน อาคารและอุปกรณเปนสินทรัพยไมมีตัวตน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

6


44 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

1.

ขอมูลทั่วไป 1.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ไดจัดตั้งขึ้นเปนบริษัทจำกัดตามกฎหมายไทย และไดจดทะเบียน แปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจำกัดเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2536บริษัทฯประกอบกิจการใน ประเทศไทย โดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตปูนซีเมนต และมีที่อยูที่จดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 199 ชั้น 7 - 12 อาคารคอลัมนทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร และโรงงานตั้งอยูเลขที่ 99 หมูที่ 9 และเลขที่ 219 หมูที่ 5 ถนนมิตรภาพ กม. 129-131 ตำบลทับกวาง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 1.2 วิกฤตการณทางเศรษฐกิจ วิกฤตการณทางการเงินที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาในชวงปที่ผานมาไดสงผลกระทบตอสภาวะเศรษฐกิจโลกอยางรุนแรง โดย จะเห็นไดจากการลดลงอยางมากของราคาหุนทั่วโลก ภาวะการตึงตัวของตลาดสินเชื่อรวมทั้งการกูยืมระหวางธนาคาร การลม ละลายของสถาบันการเงินขนาดใหญ และความเชื่อมั่นของผูบริโภคที่ลดลง วิกฤตการณดังกลาวไดสงผลกระทบอยางเปนสาระ สำคัญตอแผนการดำเนินธุรกิจและการเงินรวมถึงมูลคาของสินทรัพยของผูประกอบการในประเทศไทยเปนจำนวนมาก ถึงแมวา รัฐบาลของประเทศตางๆ ไดใชความพยายามในการที่จะแกไขปญหาเหลานี้ แตยังคงมีความไมแนนอนวาสภาวะเศรษฐกิจของโลก จะกลับคืนสูสภาวะปกติเมื่อใด งบการเงินนี้จัดทำบนพื้นฐานขอเท็จจริงของสภาวะเศรษฐกิจที่เปนอยูในปจจุบัน และประมาณการ และขอสมมติฐานตางๆ ที่บริษัทฯพิจารณาแลววาเหมาะสมในสถานการณปจจุบัน อยางไรก็ตามงบการเงินนี้อาจไดรับผลกระทบ ในทางลบจากเหตุการณตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

2.

เกณฑในการจัดทำงบการเงิน 2.1 งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ยกเวนมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได ซึ่งบริษัทฯถือปฏิบัติกอนวันที่มีผลบังคับใช โดยมาตรฐานการบัญชีฉบับ ดังกลาวเปนไปตามเกณฑที่กำหนดขึ้น โดยมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได ฉบับปรับปรุงป 1996 (IAS No. 12 “Income Taxes” (revised 1996)) อีกทั้งไดถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชนพนักงาน (IAS No.19 “Employee Benefits”) และมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศฉบับที่ 39 เรื่องการรับรูและ การวัดคาเครื่องมือทางการเงิน (IAS No. 39 “Financial Instruments: Recognition and Measurement”) การแสดงรายการในงบการเงินไดทำขึ้นเพื่อใหเปนไปตามขอกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจาก งบการเงินตามกฎหมายดังกลาว งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปเรียกวา “บริษัทฯ”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปเรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 45

ชื่อบริษัท

จัดตั้งขึ้นใน ประเทศ

บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด

ไทย

บริษัท อีเกิ้ล ซีเมนต โฮลดิ้งส จำกัด บริษัท คอนวูด จำกัด แขมร ซีเมนต อินดัสตรี คัมปะนี ลิมิเต็ด

ไทย ไทย กัมพูชา

ทุนจดทะเบียน 2551 ลานบาท 400

2550 ลานบาท 400

700 700 300 300 0.405 ลาน 0.005 ลาน เหรียญสหรัฐฯ เหรียญสหรัฐฯ

อัตรารอยละของ การถือหุนโดยบริษัทฯ 2551 รอยละ 99.99 99.99 99.99 75.00

ลักษณะของธุรกิจ

2550 รอยละ 99.99 ผลิตคอนกรีต ผสมเสร็จและหินทราย 99.99 การลงทุน 99.99 วัสดุกอสราง 75.00 ซื้อขายปูนซีเมนต

ข) บริษัทฯจัดทำงบการเงินโดยรวมบริษัทยอยทั้งหมดในงบการเงินรวมตั้งแตวันที่ไดมา ซึ่งเปนวันที่บริษัทฯมีอำนาจในการควบคุม บริษัทยอยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทยอยจัดทำขึ้นโดยมีวันที่ในงบการเงินเชนเดียวกับบริษัทฯและจัดทำโดยใชนโยบายการบัญชีที่สำคัญ เชนเดียวกัน ง) งบการเงินของบริษัทยอยซึ่งจัดตั้งในตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย ณ วันที่ในงบดุล สำหรับรายการสินทรัพยและหนี้สินหรืออัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือนสำหรับรายการที่เปนรายไดและคาใชจาย ผลตาง ซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงคาดังกลาวไดแสดงไวเปนรายการ “ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน” ในสวนของผูถือหุน จ) ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทยอย รายการคาระหวางกันที่มีสาระสำคัญไดตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แลว ฉ) สวนของผูถือหุนสวนนอยคือสวนของกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยสวนที่เปนสวนไดเสียที่ไมไดเปนของกลุม บริษัทฯ สวนของผูถือหุนสวนนอยแสดงเปนรายการแยกตางหากในงบกำไรขาดทุนรวมและแสดงในสวนของผูถือหุนในงบดุล รวมโดยแสดงแยกตางหากจากสวนของผูถือหุนที่เปนของบริษัทใหญ 2.3 บริษัทฯไดจัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทรวมตามวิธีราคาทุน

3.

การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม 3.1 มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชในปปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี โดยใหใชมาตรฐานการบัญชีใหมดังตอไปนี้ ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 51

งบกระแสเงินสด สัญญาเชา สินคาคงเหลือ ตนทุนการกูยืม การนำเสนองบการเงิน นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด งบการเงินระหวางกาล การรวมธุรกิจ สัญญากอสราง สินทรัพยไมมีตัวตน

มาตรฐานการบัญชีขางตนใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงิน สำหรับปปจจุบัน 3.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 86/2551 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี โดยใหใชมาตรฐานการบัญชีใหม ดังตอไปนี้


46 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การดอยคาของสินทรัพย ฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการบัญชีขางตนใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงิน สำหรับปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีดังกลาว

4.

นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 4.1 การรับรูรายได ก) รายไดจากการขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อบริษัทฯไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปนสาระสำคัญของความเปนเจาของสินคาใหกับ ผูซื้อแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกำกับสินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สำหรับสินคาที่ไดสงมอบหลังจาก หักสินคารับคืนและสวนลดแลว ข) รายไดดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง ค) เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อมีสิทธิในการรับเงินปนผล 4.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่งถึงกำหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมา และไมมีขอจำกัดในการเบิกใช 4.3 ลูกหนี้การคาและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคาแสดงตามมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่ อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงินและการวิเคราะหอายุลูกหนี้ 4.4 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงมูลคาตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยและเขากอนออกกอน) หรือมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา ราคาทุนของสินคาสำเร็จรูปและสินคาระหวางผลิตหมายถึงตนทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งคาโสหุยโรงงานดวย วัตถุดิบและวัสดุโรงงานถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช คาเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาสินคาและสินคาลาสมัยจะตั้งขึ้นสำหรับสินคาที่ลาสมัยหรือเสื่อมสภาพ 4.5 เงินลงทุนในหุนทุน เงินลงทุนในบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินรวมแสดงมูลคาตามวิธีสวนไดเสีย เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน เงินลงทุนทั่วไปในบริษัทที่เกี่ยวของกันของบริษัทยอยแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน บริษัทฯและบริษัทยอยจะบันทึกขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนตอเมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับของเงินลงทุนต่ำกวาราคาทุน ในบัญชี 4.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาทุนหลังหักคาเผื่อการดอยคา (ถามี) แหลงแรแสดงมูลคาตามราคาทุนหลังหักคาเสื่อมราคาสะสมซึ่ง คำนวณโดยวิธีจำนวนผลผลิตตามผลผลิตที่คาดวาจะไดรับจากสินทรัพยนั้น อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหลังหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) คาเสื่อมราคา ของอาคารและอุปกรณ คำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพยดังนี้


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 47

อาคารและสิ่งปลูกสราง 5 - 30 เครื่องจักรและอุปกรณ 5 - 30 เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสำนักงาน 3-5 ยานพาหนะ 5 ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและงานระหวางกอสราง คาเสื่อมราคารวมอยูในการคำนวณผลการดำเนินงาน

ป ป ป ป

4.7 สินทรัพยไมมีตัวตนและคาตัดจำหนาย สินทรัพยไมมีตัวตนแสดงตามราคาทุนหักคาตัดจำหนายสะสม คาตัดจำหนายของสินทรัพยไมมีตัวตน ยกเวนคาสัมปทานเหมืองแรของธุรกิจหินทราย คำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย โดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชประโยชนโดยประมาณของสินทรัพยไมมีตัวตนแตละประเภทดังนี้ คาสัมปทานเหมืองแร โปรแกรมคอมพิวเตอร

20 - 25 ป 3 ป

คาตัดจำหนายของคาสัมปทานเหมืองแรของธุรกิจหินทรายคำนวณโดยวิธจี ำนวนผลผลิตตามผลผลิตทีค่ าดวาจะไดรบั จากสินทรัพยนน้ั คาตัดจำหนายรวมอยูในการคำนวณผลการดำเนินงาน 4.8 หุนทุนซื้อคืน หุนทุนซื้อคืนแสดงมูลคาในงบดุลดวยราคาทุนเปนรายการหักจากสวนของผูถือหุนทั้งหมด หากราคาขายของหุนทุนซื้อคืนสูงกวา ราคาซื้อหุนทุนซื้อคืน บริษัทฯจะรับรูผลตางเขาบัญชีสวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืนและหากราคาขายของหุนทุนซื้อคืนต่ำกวาราคา ซื้อหุนทุนซื้อคืน บริษัทฯจะนำผลตางหักจากสวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืนใหหมดไปกอน แลวจึงนำผลตางที่เหลืออยูไปหักจากบัญชี กำไรสะสม 4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯไมวา จะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญกับบริษัทฯ ผูบริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ 4.10 สัญญาเชาดำเนินงาน สัญญาระยะยาวเพื่อเชาสินทรัพยโดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญยังคงอยูกับผูใหเชา จะจัดเปน สัญญาเชาดำเนินงาน เงินที่ตองจายภายใตสัญญาเชาดำเนินงานสุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไดรับจากผูใหเชาจะบันทึกในงบกำไร ขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชานั้น คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเชาดำเนินงานกอนหมดอายุการเชา เชน เบี้ยปรับที่ตองจายใหแกผูใหเชาจะบันทึกเปน คาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น 4.11 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปน เงินตราตางประเทศคงเหลืออยู ณ วันที่ในงบดุลแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนรวมอยูในการคำนวณผลการดำเนินงาน 4.12 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯจะทำการประเมินวามีขอบงชี้ซึ่งแสดงวาสินทรัพยของบริษัทฯดอยคาลงหรือไม หากมีขอบงชี้ของ การดอยคา หรือเมื่อตองทำการประเมินการดอยคาของสินทรัพยเปนรายป บริษัทฯจะทำการประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน


48 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ของสินทรัพย มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยหมายถึง มูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการ ใชสินทรัพยแลวแตราคาใดจะสูงกวา และหากพบวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้นมีมูลคาสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนแสดงวา สินทรัพยดังกลาวเกิดการดอยคา บริษัทฯจะลดมูลคาของสินทรัพยลงใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนในการประเมินมูลคาจาก การใชประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดวาจะไดรับจากสินทรัพยจะถูกคำนวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตรา คิดลดกอนภาษีซึ่งสะทอนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเปนลักษณะ เฉพาะของสินทรัพยที่กำลังพิจารณาอยู ในการประเมินมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย บริษัทฯใชแบบจำลองการประเมิน มูลคาที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย ซึ่งสะทอนถึงจำนวนเงินที่กิจการสามารถจะไดมาจากการจำหนายสินทรัพยในงบดุล หักดวยตนทุนในการจำหนาย โดยการจำหนายนั้นผูซ้อื กับผูขายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคา กันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน บริษัทฯจะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในงบกำไรขาดทุน ยกเวนที่ดิน อาคารและอุปกรณซึ่งใชวิธีการตีราคาใหมและได บันทึกสวนเกินทุนจากการตีราคาใหมไวในสวนของผูถือหุนแลว คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยจะถูกนำไปลดจากสวนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพยกอนในจำนวนที่ไมเกินสวนเกินทุนที่เคยบันทึกไว ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯจะประเมินวามีขอบงชี้ที่แสดงใหเห็นวารายการขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชคาความนิยม ที่บริษัทฯไดรับรูในงวดกอนไดหมดไปหรือลดลงหรือไม หากมีขอบงชี้ดังกลาว บริษัทฯตองประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของ สินทรัพยนั้น และกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชคาความนิยมที่บริษัทฯรับรูในงวดกอน 4.13 ผลประโยชนพนักงาน ผลประโยชนพนักงาน - โครงการสมทบเงิน บริษัทฯและพนักงานไดรวมกันจัดตั้งเงินทุนเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมและเงินที่บริษัทฯจายสมทบใหเปน รายเดือน เงินที่บริษัทฯจายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่เกิดรายการ ผลประโยชนพนักงาน - โครงการผลประโยชน บริษัทฯไดจัดใหมีโครงการผลประโยชนเงินบำเหน็จพนักงานซึ่งรวมถึงเงินสงเคราะหการลาออกจากงานและเงินรางวัลการปฏิบัติงาน ครบกำหนดระยะเวลา หนี้สินและตนทุนโครงการเงินบำเหน็จพนักงานไดใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว ผูเชี่ยวชาญอิสระไดทำการประเมินหนี้สิน ดังกลาวอยางสม่ำเสมอ วิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไวพิจารณาวาการบริการในแตละงวดกอใหเกิดสิทธิในการไดรับ ผลประโยชนเพิ่มขึ้น และวัดมูลคาแตละหนวยแยกจากกันเพื่อรวมเปนภาระผูกพันงวดสุดทาย ตนทุนบริการในอดีตรับรูตามวิธี เสนตรงตลอดชวงอายุงานเฉลี่ยจนกวาผลประโยชนที่ปรับเปลี่ยนนั้นจะตกเปนสิทธิขาดของพนักงาน กิจการตองรับรูกำไรขาดทุนจาก การลดขนาดโครงการลงและการชำระผลประโยชนของโครงการเมื่อมีการลดขนาดโครงการลงและการชำระผลประโยชนเกิดขึ้น ผลกำไรหรือขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยจะรับรูทันทีในงบกำไรขาดทุน หนี้สินเงินบำเหน็จพนักงาน วัดคาโดยวิธีคิดสวนลดมูลคาปจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตโดยใชอัตราสวนลดซึ่งใกลเคียงกับอัตราผลตอบแทน ของหุนกูภาคเอกชนที่ไดรับการจัดอันดับอยูในระดับดี 4.14 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯจะบันทึกประมาณการหนี้สินไวในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตไดเกิดขึ้นแลว และมีความ เปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษทั ฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯสามารถประมาณ มูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ 4.15 ภาษีเงินได ก) ภาษีเงินไดตามแบบแสดงรายการ บริษัทฯและบริษัทยอยในประเทศไทยคำนวณภาษีเงินไดตามเกณฑที่กำหนดไวในประมวลรัษฎากร บริษัทยอยในตางประเทศคำนวณภาษีเงินไดตามอัตราภาษีที่ระบุในกฎหมายภาษีอากรของประเทศนั้น ข) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีคำนวณขึ้นจากผลแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สิน ณ วันที่ในงบดุล


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 49

กับฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินนั้น โดยใชอัตราภาษีที่มีผลบังคับใช ณ วันที่ในงบดุล บริษัทฯรับรูหนี้สินภาษีเงินไดรอ การตัดบัญชีสำหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษี และรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสำหรับผลแตกตางชั่วคราว ที่ใชหักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใช ทั้งนี้บริษัทฯจะรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีก็ตอเมื่อมีความ เปนไปไดคอนขางแนที่บริษัทฯจะมีกำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอสำหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและผลขาดทุนทาง ภาษีที่ยังไมไดใชนั้น บริษัทฯจะทบทวนมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ ทุกวันที่ในงบดุล และจะปรับลดมูลคาตามบัญชี ดังกลาวเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนวาบริษัทฯจะไมมีกำไรทางภาษีเพียงพอตอการนำสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ทั้งหมดหรือบางสวนมาใชประโยชน 4.16 เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินที่แสดงในงบดุลประกอบดวยเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคาและเงินกูยืม ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสำหรับรายการแตละรายการไดเปดเผยแยกไวในแตละหัวขอที่เกี่ยวของ การบัญชีสำหรับตราสารอนุพันธทางการเงินและการปองกันความเสี่ยง ตราสารอนุพันธถูก วัดมูลคาเริ่มแรกดวยมูลคายุติธรรมนับตั้งแตวันที่ตราสารอนุพันธไดมีผลผูกมัด และมีการวัดมูลคาในภายหลัง ดวยมูลคายุติธรรมเชนกัน วิธีการรับรูกำไรหรือขาดทุนขึ้นอยูกับประเภทของรายการที่ทำการปองกันความเสี่ยง ณ วันที่ตราสาร อนุพันธเริ่มมีผลผูกมัด บริษัทฯตองระบุวาตราสารอนุพันธนั้นจัดอยูในประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังตอไปนี้ 1) การปองกันความเสี่ยงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สินที่รับรูในบัญชี (การปองกันความเสี่ยงในมูลคายุติธรรม) 2) การปองกันความเสี่ยงจากการผันผวนของกระแสเงินสด ซึ่งเกิดจากความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับสินทรัพยหรือหนี้สินที่รับรูในบัญชี เชนการจายชำระดอกเบี้ยในอนาคตของหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยผันแปร (การปองกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด) 3) การปองกันความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศของสัญญาที่ผูกมัด (การปองกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด) การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของตราสารอนุพันธประเภทการปองกันความเสี่ยงในมูลคายุติธรรมที่คาดวาจะมีประสิทธิผลสูง จะรับรูในงบกำไรขาดทุน โดยรับรูพรอมกับการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สินที่ไดถูกทำการปองกัน ความเสี่ยงนั้น การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของตราสารอนุพันธประเภทการปองกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดที่คาดวาจะมีประสิทธิผลสูง ใหรับรูในสวนของผูถือหุน หากการปองกันความเสี่ยงดังกลาวทำใหเกิดการรับรูสินทรัพยหรือหนี้สิน ใหโอนกำไรหรือขาดทุนที่ไดเคย รับรูในสวนของผูถือหุนไปรวมไวในตนทุนเริ่มแรกของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินหรือหนี้สินที่ไมใชหนี้สินทางการเงิน หรือใหปรับกำไรหรือขาดทุนที่ไดเคยรับรูในสวนของผูถอื หุนดังกลาวไปยังงบกำไรขาดทุน โดยถือเปนกำไรหรือขาดทุนในงวดบัญชี เดียวกันกับที่รายการกระแสเงินสดมีผลกระทบตองบกำไรขาดทุน เชนการชำระดอกเบี้ยหรือเกิดการผูกมัดของเครื่องมือปองกัน ความเสี่ยงนั้น รายการอนุพันธบางรายการที่แมจะเปนการปองกันความเสี่ยงที่มีประสิทธิผลภายใตนโยบายการจัดการความเสี่ยงของบริษัท แตอาจไมเขาเงื่อนไขสำหรับการใชการบัญชีปองกันความเสี่ยงภายใต IAS 39 การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของตราสารอนุพันธ ดังกลาวใหรับรูในงบกำไรขาดทุนโดยทันที เมื่อเครื่องมือปองกันความเสี่ยงถูกขาย หรือการปองกันความเสี่ยงนั้นไมเขาเงื่อนไขสำหรับการใชการบัญชีปองกันความเสี่ยง ภายใต IAS 39 ใหยังคงแยกผลกำไรหรือขาดทุนสะสมของเครื่องมือปองกันความเสี่ยงที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนเอาไวจนกวา รายการผูกมัดของเครื่องมือปองกันความเสี่ยงในอนาคตจะเกิดขึ้น แตหากคาดวารายการในอนาคตจะไมเกิดขึ้นแลว ใหปรับผลกำไร หรือขาดทุนสะสมของเครื่องมือปองกันความเสี่ยงที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนไปยังงบกำไรขาดทุนในทันที เมื่อมีการปรับปรุงมูลคา ตามบัญชีของเครื่องมือทางการเงินที่มกี ารปองกันความเสี่ยงในมูลคายุติธรรม ใหตัดจำหนายไปยังกำไรหรือขาดทุนโดยเริ่มตนทันที ที่มีการปรับปรุงเกิดขึ้น และตองไมชากวาเมื่อรายการที่มีการปองกันความเสี่ยงจะหยุดไดรับการปรับปรุงจากการเปลี่ยงแปลงใน มูลคายุติธรรม และตองถูกตัดจำหนายใหหมดทั้งจำนวนภายในอายุของเครื่องมือทางการเงินนั้น


50 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

บริษัทฯ ไดมีการจัดทำเอกสารที่เปนการระบุถึงความสัมพันธของเครื่องมือปองกันความเสี่ยงและรายการที่มีการปองกันความเสี่ยง ขึ้น วัตถุประสงคในการบริหารความเสี่ยงและกลยุทธในการปองกันความเสี่ยง ขั้นตอนดังกลาวรวมไปถึงการระบุตราสารอนุพันธ ทั้งหมดที่ใชในการปองกันความเสี่ยงตอสินทรัพยและหนี้สินแตละรายการโดยเฉพาะ หรือตอสัญญาที่ผูกมัดโดยเฉพาะ บริษัทฯยัง จัดทำเอกสารการประเมินประสิทธิผลของเครื่องมือปองกันความเสี่ยง ณ วันที่ทำการปองกันความเสี่ยง รวมถึงเอกสารการประเมิน ประสิทธิผลอยางตอเนื่อง เพื่อดูวาการปองกันความเสี่ยงจะมีประสิทธิผลสูงในการหักกลบกับการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมหรือ กระแสเงินสดที่เกิดจากความเสี่ยงที่ไดปองกัน

5.

การใชประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณฝายบริหารอาจตองใชการประมาณการและการตั้งสมมติฐาน ซึ่งมีผลตอจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน การประมาณการดังกลาวตั้งอยูบนความรูความเขาใจอยางดี ที่สุดของฝายบริหารภายใตสถานการณและการกระทำในปจจุบันซึ่งบริษัทฯ อาจตองเขาไปผูกพันในอนาคต อยางไรก็ตามผลที่เกิดขึ้นจริง อาจแตกตางไปจากจำนวนที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานทางบัญชีที่สำคัญ ประมาณการและขอสมมติฐานจะไดรับการทบทวนอยางสม่ำเสมอ โดยอาศัยประสบการณในอดีตและปจจัยตางๆ รวมถึงเหตุการณใน อนาคตที่คาดวาจะเกิดขึ้น ซึ่งฝายบริหารมีความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลภายใตสถานการณนั้น บริษัทฯไดตั้งประมาณการและขอสมมติฐานตอเหตุการณในอนาคต เปนผลใหประมาณการทางบัญชีอาจจะไมตรงกับผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณการและขอสมมติฐานที่อาจมีความเสี่ยงตอการปรับปรุงบัญชีในปถัดไปตอมูลคาสินทรัพยยกไป ณ วันที่ในงบดุล ไดแก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงาน ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี และสำรองโครงการเงินบำเหน็จ พนักงาน ตนทุนโครงการเงินบำเหน็จพนักงานและโครงการผลประโยชนพนักงานอื่นๆ เปนมูลคาประเมินโดยผูเชี่ยวชาญอิสระ ซึ่งมูลคา ดังกลาวตองใชการตั้งสมมติฐานเรื่องอัตราคิดลดอัตราการปรับเงินเดือนในอนาคต อัตราการเสียชีวิต และอัตราเงินบำเหน็จที่อาจเพิ่มขึ้น ในอนาคต การประมาณการในเรื่องนี้คอนขางมีความไมแนนอนอันเนื่องมาจากลักษณะของโครงการที่มีระยะเวลายาว (หมายเหตุ 24) การประมาณการในเรื่องอื่นๆ ไดถูกเปดเผยในแตละสวนที่เกี่ยวของของหมายเหตุประกอบงบการเงินนี้ คดีฟองรอง บริษัทฯมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย ซึ่งฝายบริหารไดใชดุลยพินิจในการประเมินผลของคดีที่ถูกฟองรองแลว และเชื่อมั่นประมาณการหนี้สินที่บริษัทฯไดบันทึกไวในบัญชีเพียงพอ อยางไรก็ตามผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากที่ไดมีการ ประมาณการไว

6.

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวยรายการ ดังตอไปนี้

2551 1,108,243,414 253,216 1,108,496,630

2550 502,903,069 245,035 503,148,104

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 826,406,453 352,465,202 1,086 1,064 826,407,539 352,466,266

541,927,783

248,684,430

356,738,695

งบการเงินรวม เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินลงทุนระยะสั้นในเงินฝากประจำ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ซึ่งสวนหนึ่งเปนเงินฝากกับสถาบันการเงิน ที่เกี่ยวของกัน - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

199,349,600


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 51

7.

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขทางการคา และเกณฑที่ตกลงกันระหวางบริษัทฯและบริษัทเหลานั้นซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปรายการที่สำคัญไดดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

(หนวย: พันบาท) นโยบายการกำหนดราคา

รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา ขายสินทรัพย ซื้อสินคา รายไดอื่น (คาใชจาย) ดอกเบี้ยรับ รายการธุรกิจกับบริษัทรวม ซื้อสินคา คาบริการจาย รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน ขายสินคา ซื้อสินคา รายไดอื่น (คาใชจาย) คาบริการจาย คาใชจายในการขายและบริหาร ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย

-

-

1,441,546 723 181,101 20,289 141,403

1,473,618 172,957 191,698 28,280 113,857

ราคาตลาด ตนทุนบวกสวนเพิ่ม ราคาตลาด ตนทุนบวกสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ ซึ่งอิงกับสถาบันการเงิน

653,047 192,272

1,292,448 -

653,047 192,272

1,292,448 -

ราคาตลาด ตามที่ตกลงในสัญญา

3,153,324 483,562 1,800 190,716 280,844 3,598 81,772

3,667,911 14,832 144,817 201,346 6,434 41,002

3,153,324 483,562 1,800 135,249 232,964 2,540 65,108

3,667,911 14,832 144,817 199,156 4,829 17,840

ราคาตลาด ราคาตลาด ตนทุนบวกสวนเพิ่ม ตามที่ตกลงในสัญญา ตนทุนบวกสวนเพิ่ม อัตราดอกเบี้ยในตลาด อัตราดอกเบี้ยในตลาด

ยอดคงคางของรายการขางตน ณ วันสิ้นปไดแสดงเปนรายการแยกตางหากในงบดุล คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในป 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยไดจายคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารเปนจำนวนเงิน 107 ลานบาท (2550: 103 ลานบาท) และงบการเงินเฉพาะกิจการจำนวน 107 ลานบาท (2550: 103 ลานบาท)

8.

ลูกหนี้การคา - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคา - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกันมีดังนี้

งบการเงินรวม บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด แขมร ซีเมนต อินดัสตรี คัมปะนี ลิมิเต็ด บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกันอื่นๆ รวม

2551

2550

234,676,521 234,676,521

454,815,719 454,815,719

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 357,574,864 305,779,855 176,843,690 92,539,662 259,117,422 483,420,720 793,535,976 881,740,237

ลูกหนี้การคา - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกันดังกลาวขางตนสวนใหญยังอยูในกำหนดชำระ


52 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ฝายบริหารเชื่อวาจะเก็บหนี้จากลูกหนี้การคา - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกันไดเต็มจำนวน ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมไดตั้งคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญสำหรับลูกหนี้เหลานี้

9.

ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 แยกตามอายุหนี้ที่ คงคางนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระ ไดดังนี้ งบการเงินรวม 2551 2550 2,175,265,555 2,068,843,261 40,053,848 57,344,882 43,369,937 53,776,305 504,701,772 435,939,239 2,763,391,112 2,615,903,687 (362,082,098) (323,662,504) 2,401,309,014 2,292,241,183

ปจจุบันถึง 30 วัน มากกวา 30 วัน ถึง 60 วัน มากกวา 60 วัน ถึง 90 วัน มากกวา 90 วันขึ้นไป รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น - สุทธิ

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 1,407,949,242 1,354,280,686 5,151,162 27,019,055 1,117,254 28,073,811 281,962,017 212,289,038 1,696,179,675 1,621,662,590 (217,294,277) (189,004,513) 1,478,885,398 1,432,658,077

บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำนวนเงิน 362 ลานบาท และ 324 ลานบาท ไวในงบการเงินรวมและจำนวนเงิน 217 ลานบาท และ 189 ลานบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ตามลำดับ ฝายบริหารเชื่อวา คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังกลาวเพียงพอสำหรับผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได

10. สินคาคงเหลือ

(หนวย: บาท) ราคาทุน

สินคาสำเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ วัสดุโรงงาน สินคาระหวางทาง รวม

2551 379,966,562 68,436,889 158,813,623 1,346,097,534 26,304,939 1,979,619,547

2550 425,149,449 99,129,495 120,557,995 977,705,147 18,507,224 1,641,049,310

งบการเงินรวม คาเผื่อการลดลงของมูลคา สินคาคงเหลือ คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพ 2551 2550 (79,511,751) (62,461,212) (79,511,751) (62,461,212)

สินคาคงเหลือ-สุทธิ

2551 379,966,562 68,436,889 158,813,623 1,266,585,783 26,304,939 1,900,107,796

2550 425,149,449 99,129,495 120,557,995 915,243,935 18,507,224 1,578,588,098 (หนวย: บาท)

ราคาทุน

สินคาสำเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ วัสดุโรงงาน สินคาระหวางทาง รวม

2551 285,665,433 41,825,210 92,744,379 1,303,346,578 26,304,938 1,749,886,538

2550 363,276,234 38,798,510 89,219,973 934,640,216 18,507,224 1,444,442,157

งบการเฉพาะกิจการ คาเผื่อการลดลงของมูลคา สินคาคงเหลือ คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพ 2551 2550 (74,594,282) (58,971,966) (74,594,282) (58,971,966)

สินคาคงเหลือ-สุทธิ 2551 285,665,433 41,825,210 92,744,379 1,228,752,296 26,304,938 1,675,292,256

2550 363,276,234 38,798,510 89,219,973 875,668,250 18,507,224 1,385,470,191


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 53

11. เงินลงทุนในบริษัทยอย ชื่อบริษัท

งบการเฉพาะกิจการ อัตรารอยละ มูลคาเงินลงทุน ของการถือหุน ตามวิธีราคาทุน

ลักษณะ ความ สัมพันธ

ประเภท ของธุรกิจ

2551 (รอยละ)

2550 (รอยละ)

2551 (บาท)

(Unit: Baht) เงินปนผลรับ ระหวางปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550 (บาท) (บาท)

2550 (บาท)

บริษัท นครหลวง คอนกรีต จำกัด

คอนกรีตผสมเสร็จ และหินทราย

ทางตรง

99.99

99.99

399,999,400

399,999,400

-

-

บริษัท อีเกิ้ล ซีเมนต โฮลดิ้งส จำกัด

ลงทุน

ทางตรง

99.99

99.99

699,999,300

699,999,300

-

-

บริษัท คอนวูด จำกัด

วัสดุกอสราง

ทางตรง

99.99

99.99

300,000,000

300,000,000

-

-

ทางตรง

75.00

75.00

11,758,497 149,697 1,411,757,197 1,400,148,397 (699,999,300) (699,999,300) 711,757,897 700,149,097

-

-

แขมร ซีเมนต อินดัสตรี ซื้อขายปูนซีเมนต รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย หัก: คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ

ตามสัญญารวมทุนเพื่อจัดตั้ง แขมร ซีเมนต อินดัสตรี คัมปะนี ลิมิเต็ด (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “เคซีไอ”) ขึ้นภายใตกฎหมายของประเทศ กัมพูชา โดยมีทุนจดทะเบียน 1.5 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา แบงออกเปน 1.5 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 เหรียญสหรัฐอเมริกา บริษัทฯ ถือหุนจำนวนรอยละ 75 ซึ่งคิดเปนเงินลงทุนจำนวน 1.125 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา อยางไรก็ตาม ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวนเทียบเทากับ 405,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา โดยบริษัทจะเพิ่มทุนจดทะเบียนตอไปเมื่อมีความจำเปนทางธุรกิจ ซึ่งเคซีไอได เริ่มดำเนินการในวันที่ 1 เมษายน 2548

12. เงินลงทุนในบริษัทรวม 12.1 รายละเอียดของบริษัทรวม ชื่อบริษัท

ประเภท จัดตั้ง ลักษณะ ของ ขึ้นใน ความ ธุรกิจ ประเทศ สัมพันธ

อัตรารอยละ ของการถือหุน 2551 2550 (รอยละ) (รอยละ)

บริษัท ลานนา รีซอรสเซส จำกัด ถานหิน (มหาชน)

ไทย

ทางตรง

ชื่อบริษัท

บริษัท ลานนารีซอรสเซส จำกัด (มหาชน)

44.99

44.99

งบการเงินรวม มูลคาตามบัญชีตาม วิธีสวนไดเสีย

งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน

2551 (บาท)

2551 (บาท)

2550 (บาท)

2550 (บาท)

1,081,546,228 927,515,316 483,426,543 483,426,543

งบการเงินรวม สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนใน บริษัทรวมในระหวางป 2551 2550 272,117,902 179,105,486

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินปนผลรับระหวางป 2551 118,086,990

2550 81,873,646


54 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

12.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลคายุติธรรมของเงินลงทุนในบริษัทรวมดังกลาวเปนจำนวนเงิน 976 ลานบาท (2550: 2,850 ลานบาท) ซึ่งคำนวณจากราคาปดซึ่งแสดงอยูในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 12.3 ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทรวม (หนวย: ลานบาท) ชื่อบริษัท

บริษัท ลานนา รีซอรสเซส จำกัด (มหาชน)

ทุนเรียกชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550

สินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550

รายไดรวมสำหรับ กำไรสุทธิสำหรับ ปสิ้นสุด ปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550 2551 2550

350

3,878

1,366

7,484

350

3,355

1,089

6,045

628

379

13. เงินลงทุนทั่วไป - บริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษทั ยอยแหงหนึง่ มีเงินลงทุนในหุน สามัญของบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกันซึง่ บันทึกโดยวิธรี าคาทุนดังตอไปนี้ ชื่อบริษัท

ประเภท จัดตั้งขึ้น ของ ในประเทศ ธุรกิจ

ลักษณะ ความ สัมพันธ

ทุนชำระแลว

อัตรารอยละ ของการถือหุน

2551 2550 2551 2550 (ลาน (ลาน (รอยละ) (รอยละ) ตากา) ตากา) บริษัท โฮลซิม (บังกลาเทศ) ซีเมนต จำกัด

บังกลาเทศ ทางออม

120

120

10.42

10.42

งบการเงินรวม วิธีราคาทุน

เงินปนผลรับ

2551 (บาท)

2550 (บาท)

368,119,260

368,119,260

2551 2550 (บาท) (บาท)

-

-

14. เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย ในระหวางป เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอยมีการเคลื่อนไหวดังตอไปนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัท อีเกิ้ล ซีเมนต โฮลดิ้งส จำกัด - มีกำหนดชำระคืนเงินตนทั้งจำนวนในวันที่ 28 มิถุนายน 2553 และมีอัตราดอกเบี้ยเทากับ MLR โดยมีกำหนดชำระดอกเบี้ยทุกครึ่งป เริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2546 บริษัท นครหลวง คอนกรีต จำกัด - มีกำหนดชำระคืนทุกครึ่งปในจำนวนเงินที่แตกตางกันและมีอัตรา ดอกเบี้ย เทากับ MLR ลบรอยละ 1 ตอป โดยมีกำหนดชำระดอกเบี้ย ทุกงวดสามเดือนเริ่มตั้งแตเดือนมีนาคม 2548 รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ในระหวางป เพิ่มขึ้น

ลดลง

369,119,260

-

-

369,119,260

1,621,700,000

322,000,000

- 1,943,700,000

1,990,819,260 322,000,000 (158,786,153) (27,139,614) 1,832,033,107 294,860,386

- 2,312,819,260 - (185,925,767) - 2,126,893,493


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 55

15. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (หนวย: บาท) ที่ดินและ แหลงแร ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 ซื้อเพิ่มและโอนเขาบัญชี จำหนายและโอน ออกจากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป จำหนายและโอนเขา/ ออกจากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเผื่อการดอยคา 31 ธันวาคม 2550 บันทึกเพิ่มขึ้นระหวางป 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551

อาคารและ สิ่งปลูกสราง

งบการเงินรวม เครื่องจักร เครื่องตกแตง ยานพาหนะ และอุปกรณ ติดตั้งและ เครื่องใช สำนักงาน

งานระหวาง กอสราง

รวม

1,638,125,566 6,678,198,197 23,042,215,333 1,246,520,097 1,321,515,411 1,974,993,152 35,901,567,756 10,987,413 180,185,403 621,769,446 122,397,202 131,791,661 2,084,376,704 3,151,507,829 (15,699,755) (158,584,706) (527,089,543) (63,960,478) (10,602,382) (1,356,280,300) (2,132,217,164) 1,633,413,224 6,699,798,894 23,136,895,236 1,304,956,821 1,442,704,690 2,703,089,556 36,920,858,421 10,768,232 3,723,140,725 17,557,418,866 14,566,240 185,492,581 481,263,151

883,666,881 1,182,237,766 95,200,095 26,111,479

- 23,357,232,470 - 802,633,546

- (142,373,442) (489,203,878) 25,334,472 3,766,259,864 17,549,478,139

(63,605,818) (8,605,964) 915,261,158 1,199,743,281

- (703,789,102) - 23,456,076,914

-

25,481,053 25,481,053

245,174 15,053,554 15,298,728

438,346 438,346

1,627,357,334 2,929,576,419 5,484,551,293 1,608,078,752 2,908,057,977 5,572,118,369

362,853,216 389,257,317

คาเสื่อมราคาสำหรับป 2550 (591 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและจัดจำหนายและคาใชจายในการบริหาร) 2551 (639 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและจัดจำหนายและคาใชจายในการบริหาร)

-

-

25,726,227 15,491,900 41,218,127

139,277,645 1,974,993,152 12,518,609,059 242,961,409 2,703,089,556 13,423,563,380

747,287,032 802,633,546


56 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

(หนวย: บาท) ที่ดินและ แหลงแร ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 ซื้อเพิ่มและโอนเขาบัญชี จำหนายและโอน ออกจากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป จำหนายและโอนเขา/ ออกจากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเผื่อการดอยคา 31 ธันวาคม 2550 บันทึกเพิ่มขึ้นระหวางป 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551

อาคารและ สิ่งปลูกสราง

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแตง ยานพาหนะ และอุปกรณ ติดตั้งและ เครื่องใช สำนักงาน

งานระหวาง กอสราง

รวม

1,116,890,010 6,046,792,607 21,539,664,870 1,140,766,393 1,269,550,276 1,901,280,615 33,014,944,771 - 98,643,571 582,737,510 118,177,763 81,795,182 1,892,899,311 2,774,253,337 (15,699,755) (154,879,929) (513,985,325) (63,877,023) (7,694,567) (1,187,729,798) (1,943,866,397) 1,101,190,255 5,990,556,249 21,608,417,055 1,195,067,133 1,343,650,891 2,606,450,128 33,845,331,711 252,422 3,578,917,599 16,948,890,207 600,707 157,164,570 375,841,242

798,523,863 1,165,988,991 83,927,441 16,136,538

- 22,492,573,082 633,670,498

- (139,330,709) (476,884,905) 853,129 3,596,751,460 16,847,846,544

(63,257,723) (5,156,022) 819,193,581 1,176,969,507

- (684,629,359) - 22,441,614,221

-

-

15,053,554 15,053,554

438,346 438,346

1,116,637,588 2,467,875,008 4,590,774,663 1,100,337,126 2,393,804,789 4,745,516,957

342,242,530 375,435,206

-

-

15,491,900 15,491,900

103,561,285 1,901,280,615 10,522,371,689 166,681,384 2,606,450,128 11,388,225,590

คาเสื่อมราคาสำหรับป 2550 (446 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและจัดจำหนายและคาใชจายในการบริหาร)

597,027,387

2551 (477 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและจัดจำหนายและคาใชจายในการบริหาร)

633,670,498

ที่ดิน สิ่งปลูกสรางและเครื่องจักรของบริษัทยอยสวนหนึ่งซึ่งมีมูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 232 ลานบาท ไดใชเปนหลักทรัพยค้ำประกันเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 21 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯและบริษัทยอยมีอาคารและอุปกรณจำนวนหนึ่ง ซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใชงาน อยูราคาทุนของสินทรัพยดังกลาวมีจำนวนเงิน 7,577 ลานบาท และ 7,923 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 7,129 ลานบาท และ 7,519 ลานบาท) ตามลำดับ


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 57

16. สินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงาน (หนวย: บาท)

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 จำหนายและโอน ออกจากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเสือ่ มราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาเสือ่ มราคาสำหรับป จำหนายและโอนเขา/ออก จากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเผือ่ การดอยคา 31 ธันวาคม 2550 ลดลงระหวางป 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551

ทีด่ นิ

อาคารและ สิง่ ปลูกสราง

งบการเงินรวม เครือ่ งจักร เครือ่ งตกแตงติดตัง้ และอุปกรณ และเครือ่ งใชสำนักงาน

647,379,452

801,831,148

43,577,086

16,088,693

507,800 1,509,384,179

(292,357,472) 355,021,980

(446,456,085) 355,375,063

(270,500) 43,306,586

(5,566,085) 10,522,608

507,800

(744,650,142) 764,734,037

-

362,087,833 19,907,053

34,828,483 942,885

16,088,591 24

507,800 -

413,512,707 20,849,962

-

(207,338,614) 174,656,272

(164,659) 35,606,709

(5,566,085) 10,522,530

507,800

(213,069,358) 221,293,311

160,448,611 (3,328,591) 157,120,020

110,447,782 (53,007,204) 57,440,578

-

-

-

270,896,393 (56,335,795) 214,560,598

486,930,841 197,901,960

329,295,533 123,278,213

8,748,603 7,699,877

102 78

-

824,975,079 328,880,128

คาเสือ่ มราคาสำหรับป 2550 (รวมอยูใ นคาใชจา ยในการบริหาร) 2551 (รวมอยูใ นคาใชจา ยในการบริหาร)

ยานพาหนะ

รวม

30,739,164 20,849,962


58 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

(หนวย: บาท) ที่ดิน ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 จำหนายและโอนออกจากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป จำหนายและโอนออกจากบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาเผื่อการดอยคา 31 ธันวาคม 2550 ลดลงระหวางป 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551

อาคารและ สิ่งปลูกสราง

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องจักร เครื่องตกแตงติดตั้ง ยานพาหนะ และอุปกรณ และเครื่องใชสำนักงาน

รวม

610,561,256 798,761,200 (292,357,472) (446,456,085) 318,203,784 352,305,115

40,177,404 (270,500) 39,906,904

16,049,466 (5,566,085) 10,483,381

507,800 507,800

1,466,057,126 (744,650,142) 721,406,984

- 359,018,189 - 19,906,748 - (207,338,615) - 171,586,322

31,440,814 940,705 (164,659) 32,216,860

16,049,464 (5,566,085) 10,483,379

507,800 507,800

407,016,267 20,847,453 (213,069,359) 214,794,361

148,448,611 (3,328,591) 145,120,020

110,447,782 (53,007,204) 57,440,578

-

-

-

258,896,393 (56,335,795) 202,560,598

462,112,645 173,083,764

329,295,229 123,278,215

8,736,590 7,690,044

2 2

-

800,144,466 304,052,025

คาเสื่อมราคาสำหรับป 2550 (รวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2551 (รวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

30,726,502 20,847,453

ในระหวางป 2551 บริษัทฯไดบันทึกกลับรายการคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงานเปนจำนวน 56 ลานบาท จำนวนดังกลาวไดแสดงรวมอยูใน “คาใชจายในการบริหาร” ในงบกำไรขาดทุนสำหรับป ผูบริหารเชื่อวาสินทรัพยดังกลาวสามารถขายได ในอนาคตโดยมีราคาไมต่ำกวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยดังกลาว


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 59

17. สินทรัพยไมมีตัวตน (หนวย: บาท) งบการเงินรวม ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 ซื้อเพิ่มและโอนเขาบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจำหนายสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจำหนายสำหรับป 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจำหนายสำหรับป 2550 2551

คาสัมปทานเหมืองแร

โปรแกรมคอมพิวเตอร

สินทรัพย ไมมีตัวตนอื่น

รวม

880,797,778 314,141,866 1,194,939,644

53,502,932 177,974 53,680,906

248,618,358 13,456,569 262,074,927

1,182,919,068 327,776,409 1,510,695,477

108,537,796 23,363,201 131,900,997

34,268,807 7,443,244 41,712,051

124,290,945 23,789,191 148,080,136

267,097,548 54,595,636 321,693,184

772,259,982 1,063,038,647

19,234,125 11,968,855

124,327,413 113,994,791

915,821,520 1,189,002,293

21,543,202 23,363,201

2,570,260 7,443,244

12,657,215 23,789,191

36,770,677 54,595,636

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ คาสัมปทานเหมืองแร ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 ซื้อเพิ่มและโอนเขาบัญชี 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจำหนายสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจำหนายสำหรับป 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจำหนายสำหรับป 2550 2551

โปรแกรมคอมพิวเตอร

สินทรัพย ไมมีตัวตนอื่น

รวม

716,626,778 314,141,865 1,030,768,643

31,765,369 120,000 31,885,369

219,162,281 11,190,633 230,352,914

967,554,428 325,452,498 1,293,006,926

107,249,872 21,570,603 128,820,475

14,857,237 6,038,412 20,895,649

114,367,124 7,628,302 121,995,426

236,474,233 35,237,317 271,711,550

609,376,906 901,948,168

16,908,132 10,989,720

104,795,157 108,357,488

731,080,195 1,021,295,376

20,255,278 21,570,603

1,098,263 6,038,412

2,733,393 7,628,302

24,086,934 35,237,317

คาตัดจำหนายสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 จำนวน 44 ลานบาท และ 29 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 25 ลานบาท และ 17 ลานบาท) ตามลำดับ รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือจำนวน 11 ลานบาท และ 8 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 10 ลานบาท และ 7 ลานบาท) ตามลำดับ รวมอยูในคาใชจายในการขายและจัดจำหนายและคาใชจายในการ บริหาร


60 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

18. ภาษีเงินไดนิติบุคคล/ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับป 2551 และ 2550 สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม ภาษีเงินไดนิติบุคคล สินทรัพยทางภาษีเงินไดรอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น คาใชจายภาษีเงินไดที่อยูในในงบกำไรขาดทุน

2551 1,417,656,443 (174,154,448) 1,243,501,995

2550 1,439,790,713 (80,765,877) 1,359,024,836

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 1,369,027,323 1,388,726,866 (101,322,887) (23,041,822) 1,267,704,436 1,365,685,044

ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบดวยรายการดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 2551 ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีคำนวณจาก ผลแตกตางชั่วคราว: ยอดคงเหลือตนป บวก:ผลประโยชนทางภาษีปปจจุบัน หัก:ผลประโยชนทางภาษีที่ใชไประหวางป ยอดคงเหลือปลายป

2550

678,024,671 186,407,616 (12,253,168) 852,179,119

597,258,794 82,325,027 (1,559,150) 678,024,671

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

558,754,539 113,576,055 (12,253,168) 660,077,426

535,712,717 24,600,972 (1,559,150) 558,754,539

19. เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน งบการเงินรวม 2551 เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินที่ เกี่ยวของกัน- ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินอื่น รวมเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

2550

2,400,000,000 1,029,819,571 3,429,819,571

1,000,000,000 8,388,487 1,008,388,487

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2,400,000,000 1,000,000,000 3,400,000,000

1,000,000,000 1,000,000,000

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินที่เกี่ยวของกัน - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีรายละเอียดดังนี้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บวก : เพิ่มขึ้นระหวางป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

งบการเงินรวม 1,000,000,000 1,400,000,000 2,400,000,000

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 1,000,000,000 1,400,000,000 2,400,000,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยมีเงินกูยืมระยะสั้นจำนวน 3,430 ลานบาท ในงบการเงินรวมและ 3,400 ลานบาทใน งบการเงินเฉพาะกิจการจากธนาคารพาณิชย ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 4.4 ถึง 6.2 ตอป และมีกำหนดชำระคืนภายในป 2552


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 61

20. เจาหนี้การคา - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ยอดคงเหลือของเจาหนี้การคา - บริษัทยอยและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีดังนี้ งบการเงินรวม บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด แขมร ซีเมนต อินดัสตรี คัมปะนี ลิมิเต็ด บริษัท ลานนารีซอรสเซส จำกัด (มหาชน) โฮลซิม กรุป ซัพพอรท ลิมิเต็ด พีที ลานนา ฮาริตะ อินโดนีเชีย บริษัทที่เกี่ยวของกันอื่นๆ รวม

2551

2550

42,019,161 37,690,894 65,724,211 1,106,456 146,540,722

206,324,817 52,324,071 12,249,421 270,898,309

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 71,361,770 53,163,026 35,824,448 5,658,778 42,019,161 206,324,817 37,690,894 52,324,071 65,724,211 470,523 11,865,885 253,091,007 329,336,577

21. เงินกูยืมระยะยาว งบการเงินรวม เงินกูยืมจากสถาบันการเงินที่เกี่ยวของกัน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ซึ่งมี กำหนดชำระคืนทุกครึ่งปจำนวน 15 งวด ในจำนวนเงินที่แตกตางกันเริ่มตั้งแตเดือน ตุลาคม 2548 ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR หัก: สวนที่ครบกำหนดชำระภายในหนึ่งป สุทธิ

2551

2550

212,000,000 (52,000,000) 160,000,000

266,000,000 (54,000,000) 212,000,000

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

-

-

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่เกี่ยวของกัน - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีรายละเอียดดังนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 หัก : จายคืนระหวางป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

งบการเงินรวม 266,000,000 (54,000,000) 212,000,000

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ -

เงินกูยืมระยะยาวดังกลาวของบริษัทยอยแหงหนึ่งค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดิน สิ่งปลูกสรางและเครื่องจักรสวนหนึ่งของบริษัทยอยตาม ที่กลาวไวในหมายเหตุ 15 สัญญากูเงินดังกลาวไดกำหนดเงื่อนไขบางประการเกี่ยวกับการดำเนินงาน การจายเงินปนผล การรักษา อัตราสวนทางการเงินตางๆ และอัตราการถือหุนของผูถือหุนใหญ


62 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

22. หนี้สินระยะยาวสำหรับประทานบัตร งบการเงินรวม หนี้สินระยะยาวสำหรับประทานบัตร หัก: สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สุทธิ

2551 247,333,139 (35,013,948) 212,319,191

2550 280,210,086 (32,876,946) 247,333,140

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 247,333,139 280,210,086 (35,013,948) (32,876,946) 212,319,191 247,333,140

บริษัทฯไดเขาทำขอตกลงการตออายุประทานบัตรในป 2548 กับกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อตอบแทนการออกประทานบัตรโดยบริษัทฯมีขอผูกพันในการจายชำระผลตอบแทนเปนรายปจำนวน 8 งวด เริ่มตั้งแตป 2550 ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 6.5 ตอป

23. เงินทุนเลี้ยงชีพ บริษัทฯ บริษัทยอย และพนักงานไดรวมกันจัดตั้งเงินทุนเลี้ยงชีพและจดทะเบียนจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่งบริษัทฯและบริษัทยอยตอง จายสมทบกองทุนใหพนักงานตามขอกำหนดของเงินทุนเลี้ยงชีพสามกองทุนดังตอไปนี้: กองทุนที่ 1 เงินทุนเลี้ยงชีพ (ที่ไมไดเปนกองทุนแยกตางหากจากสินทรัพยของบริษัทสำหรับพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทยอยแหงหนึ่ง) พนักงานที่ทำงานครบ 5 ป มีสิทธิไดรับเงินทุนเลี้ยงชีพเต็มจำนวน สำหรับพนักงานที่ทำงานไมครบ 5 ป จะไมไดรับสวนที่บริษัทฯและ บริษัทยอยดังกลาวสมทบใหตามระเบียบของกองทุน สมาชิกจะตองจายสะสมและบริษัทฯและบริษัทยอยดังกลาวจะตองจายสมทบเปน รายเดือนเขาเงินกองทุนในอัตรารอยละ 5 ของเงินเดือนสมาชิก กองทุนที่ 2 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2532 บริษัทฯไดจัดตั้งเงินทุนเลี้ยงชีพ (ที่ไมไดเปนกองทุนแยกตางหากจากสินทรัพยของบริษัทฯ) สำหรับพนักงาน อีกกองทุนหนึ่ง พนักงานที่จะสมัครเปนสมาชิกกองทุนใหมนี้จะตองมีอายุการทำงานครบ 5 ปขึ้นไป โดยมีอัตราสวนการจายเงินสะสมใน สวนของพนักงานและการจายเงินสมทบในสวนของบริษัทฯในอัตราที่เทากันขึ้นอยูกับอายุงานของพนักงานบริษัทฯไดปดกองทุนดังกลาวใน ป 2550 กองทุนที่ 3 บริษัทฯ บริษัทยอยและพนักงานไดรวมกันจดทะเบียนจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้น ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมและบริษัทฯและบริษัทยอยจายสมทบใหเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 5 - 10 ของ เงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุนอยุธยา จำกัด ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยจายสมทบ กองทุนเปนจำนวนเงิน 56 ลานบาท (2550: 59 ลานบาท) และเฉพาะของบริษัทฯเปนจำนวนเงิน 50 ลานบาท (2550: 55 ลานบาท)

24. สำรองโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน บริษัทฯและบริษัทยอยแหงหนึ่งไดจัดใหมีผลประโยชนเงินบำเหน็จพนักงาน (ที่ไมไดเปนกองทุนแยกตางหากจากสินทรัพยของบริษัทฯและ บริษัทยอย) สำหรับพนักงานที่ทำงานครบหนึ่งปหรือสามป ภายใตขอบังคับผลประโยชนเงินบำเหน็จพนักงานดังกลาวเมื่อพนักงานครบ เกษียณอายุหรือออกจากงานโดยมีอายุครบตามขอบังคับจะมีสิทธิไดรับเงินตามอัตราที่กำหนด บริษัทฯบันทึกผลประโยชนตามการ ประมาณที่ดีที่สุดของฝายบริหารและวัดคาโดยวิธีคิดสวนลดมูลคาปจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต โดยใชอัตราสวนลดซึ่ง ใกลเคียงกับอัตราผลตอบแทนของหุนกูภาคเอกชนที่ไดรับการจัดอันดับอยูในระดับดี ผูเชี่ยวชาญอิสระไดทำการประเมินหนี้สินเงินทุนเลี้ยง ชีพและหนี้สินดังกลาวอยางสม่ำเสมอ บริษัทฯและบริษัทยอยดังกลาวตั้งสำรองสำหรับโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เปนจำนวนเงิน 132 ลานบาท และ 11 ลานบาท (2550: 117 ลานบาท และ 11 ลานบาท) ตามลำดับ

25. สำรองตามกฎหมาย เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 116 แหงตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯตองจัดสรรกำไรสุทธิประจำปสวนหนึ่งไว เปนทุนสำรองไมนอยกวาละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไมนอยกวา รอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนำไปจายเงินปนผลได เงินสำรองตามกฎหมายของบริษัทฯมี จำนวนเทากับรอยละ 10 ของทุนจดทะเบียนแลว


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 63

26. หุนทุนซื้อคืน งบการเงินรวม จำนวนหุนทุนซื้อคืน (หุน) ราคาเฉลี่ยหุนละ (บาท)

2551 7,500,000 228.09

2550 7,500,000 228.09

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 7,500,000 7,500,000 228.09 228.09

เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2546 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯมีมติอนุมัติใหซื้อหุนคืนเพื่อวัตถุประสงคในการบริหารเงินสดคงเหลือที่เปน สภาพคลองสวนเกินของบริษัทฯ ในวงเงินไมเกิน 3,200 ลานบาท โดยจะซื้อหุนทุนคืนเปนจำนวนไมเกินจำนวน 12.5 ลานหุน หรือคิด เปนรอยละ 5 ของหุนที่ออกและจำหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทฯโดยกำหนดระยะเวลาการซื้อหุนทุนคืนตั้งแตวันที่ 26 ธันวาคม 2546 ถึงวันที่ 11 มิถุนายน 2547 และระยะเวลาจำหนายหุนทุนที่ซื้อคืนตั้งแตวันที่ 11 ธันวาคม 2547 ถึงวันที่ 11 มิถุนายน 2550 (ภายหลัง 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จสิ้น แตตองไมเกิน 3 ป) ในกรณีที่บริษัทฯจำหนายหุนไมหมดภายในระยะเวลาที่กำหนด บริษัทฯจะ ลดทุนที่ออกและชำระแลวลงโดยวิธีตัดหุนทุนที่ซื้อคืนและยังไมไดจำหนายที่เหลืออยู ในวันที่ 14 กุมภาพันธ 2548 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (กลต.) กำหนดหลักเกณฑ อยางเปนทางการใหบริษทั จดทะเบียนปฏิบัติตามการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องการซื้อหุนคืนตามมาตรา 66/1 (2) แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดพิจารณาวาการซื้อหุนคืนของบริษัท มหาชน จำกัดจะกระทำไดไมเกินวงเงินกำไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรที่มีอยูและใหขอสังเกตเพิ่มเติมวาหนวยราชการที่เกี่ยวของควรกำหนดเปนหลัก เกณฑเพื่อใหบริษัท มหาชน จำกัด ตองกันในบัญชีกำไรสะสมซึ่งจัดสรรแลวเพื่อเปนเงินสำรองโดยมีจำนวนเงินเทากับมูลคาที่ไดจายซื้อหุน คืน เงินสำรองจะคงอยูจนกวาจะมีการจำหนายหุนที่ซื้อคืนไดหมด หรือลดทุนที่ชำระแลวดวยหุนซื้อคืนที่ไดจำหนายไมหมด ในการประชุม สามัญประจำปผูถือหุนเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2548 มีมติอนุมัติการแบงสรรกำไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร ณ วันที่ 1 มกราคม 2548 เปน สำรองสำหรับหุนทุนซื้อคืนจำนวนเงิน 2,985.4 ลานบาท ตามหลักเกณฑที่กลต.กำหนด เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2549 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯมีมติอนุมัติใหซื้อหุนคืนครั้งที่ 2 เพื่อวัตถุประสงคในการบริหารเงินสดคงเหลือ ที่เปนสภาพคลองสวนเกินของบริษัทฯ ในวงเงินไมเกิน 1,800 ลานบาท โดยจะซื้อหุนทุนคืนเปนจำนวนไมเกินจำนวน 7.5 ลานหุน หรือ คิดเปนรอยละ 3 ของหุนที่ออกและจำหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทฯโดยกำหนดระยะเวลาการซื้อหุนทุนคืนตั้งแตวันที่ 14 กรกฎาคม 2549 ถึงวันที่ 20 ธันวาคม 2549 และระยะเวลาจำหนายหุนทุนที่ซื้อคืนตั้งแตวันที่ 21 มิถุนายน 2550 ถึงวันที่ 20 ธันวาคม 2552 (ภายหลัง 6 เดือนนับแตการซื้อหุนคืนเสร็จสิ้นแตตองไมเกิน 3 ป) ในกรณีที่บริษัทฯจำหนายหุนไมหมดภายในระยะเวลาที่กำหนด บริษัทฯ จะลดทุนที่ออกและชำระแลวลงโดยวิธีตัดหุนทุนที่ซื้อคืนและยังไมไดจำหนายที่เหลืออยู ในการประชุมสามัญประจำปผูถือหุนเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2550 มีมติอนุมัติการแบงสรรกำไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เปนสำรองสำหรับหุนทุนซื้อคืนเพิ่มเติม จำนวนเงิน 1,710.6 ลานบาท ตามหลักเกณฑที่กลต. กำหนด เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ลดทุนชำระแลวโดยวิธีตัดหุนทุนที่ซื้อคืนและยัง ไมไดจำหนายออกไปภายใตโครงการซื้อหุนคืนครั้งที่ 1 จำนวน 12.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท คิดเปนจำนวนเงิน 125 ลานบาท เพื่อใหเปนไปตามขอกำหนดในกฎกระทรวงเกี่ยวกับหุนซื้อคืน ซึ่งกำหนดใหบริษัทฯ ตองจำหนายหุนที่ซื้อคืนใหเสร็จสิ้นภายใน ระยะเวลาไมเกิน 3 ป นับแตการซื้อหุนคืนแลวเสร็จ (ไมเกินวันที่ 11 มิถุนายน 2550) ซึ่งบริษัทฯ ไดดำเนินการจดทะเบียนลดทุนชำระ แลวจาก 2,500 ลานบาท (250 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท) เปน 2,375 ลานบาท (237.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท) กับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2550 นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดกลับรายการสำรองสำหรับหุนซื้อคืนจำนวน 2,985.4 ลานบาท เขาบัญชีกำไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร

27. คาใชจายสำหรับการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัทฯ ไดตัดสินใจที่จะลดกำลังการผลิตปูนซีเมนตลงชั่วคราวตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป และไดจัดโครงสรางภายในของบริษัทฯและบริษัทยอยใหม จึงไดเสนอเงื่อนไขหลักเกณฑการใหพนักงานออกจากงานดวยความ สมัครใจ จำนวนผลประโยชนบันทึกอยูในงบกำไรขาดทุนสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เปนจำนวนเงิน 154 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 146 ลานบาท) ซึ่งรวมอยูในตนทุนการผลิตจำนวน 139 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 136 ลานบาท) และอยูในคาใชจายในการขายและจัดจำหนายและคาใชจายในการบริหาร จำนวน 15 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 10 ลานบาท)


64 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

28. คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจายตามลักษณะที่สำคัญไดแก งบการเงินรวม เงินเดือนและคาแรงและผลประโยชนอื่นของ พนักงาน คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป การเปลี่ยนแปลงในสินคาสำเร็จรูปและงาน ระหวางทำ คาใชจายในการผลิตอื่น คาใชจายอื่น รวมคาใชจาย

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

2551

2550

1,710,561,485 107,229,015 878,079,144 5,265,506,464

2,010,540,631 102,917,981 814,796,873 5,342,898,929

1,424,367,053 107,229,015 689,755,268 4,744,671,100

1,689,793,163 102,917,981 651,840,824 4,759,642,134

131,930,236 5,361,092,392 3,674,132,110 17,128,530,846

57,545,847 6,158,415,938 3,901,067,337 18,388,183,536

55,513,740 4,139,866,523 2,904,591,763 14,065,994,462

107,987,558 5,144,861,570 3,231,128,038 15,688,171,268

29. กำไรตอหุน กำไรตอหุนที่แสดงไวในงบกำไรขาดทุนเปนกำไรตอหุนขั้นพื้นฐานซึ่งคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปดวยจำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ย ถวงน้ำหนักที่ออกอยูในระหวางป ไมมีการแสดงกำไรตอหุนปรับลดสำหรับปเนื่องจากบริษัทฯไมมีหุนสามัญเทียบเทา

30. เงินปนผล ในการประชุมสามัญประจำปผูถือหุนเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2550 มีมติอนุมัติใหจายเงินปนผลเพิ่มเติมในอัตราหุนละ 7.5 บาท จากกำไร สุทธิป 2549 เปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 1,725 ลานบาท ดังนั้น เมื่อรวมเงินปนผลจายระหวางกาลจำนวนหุนละ 6.5 บาท ทำใหเงินปนผลจาย ทั้งหมดจากกำไรสุทธิป 2549 มีจำนวนหุนละ 14.0 บาท เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ มีมติอนุมัติใหจายเงินปนผลระหวางกาลใหแกผูถอื หุนของบริษัทฯจากผล การดำเนินงานสำหรับงวดเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน 2550 ในอัตราหุนละ 6.5 บาท เปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 1,495 ลานบาท เงินปนผล ระหวางกาลนี้ไดจายในวันที่ 9 กันยายน 2550 ในการประชุมสามัญประจำปผูถือหุนเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 มีมติอนุมัติใหจายเงินปนผลเพิ่มเติมในอัตราหุนละ 7.5 บาท จากกำไร สุทธิป 2550 เปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 1,725 ลานบาท ดังนั้น เมื่อรวมเงินปนผลจายระหวางกาลจำนวนหุนละ 6.5 บาท ทำใหเงินปนผลจาย ทั้งหมดจากกำไรสุทธิป 2550 มีจำนวนหุนละ 14.0 บาท เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯมีมติอนุมัติใหจายเงินปนผลระหวางกาลใหแกผูถือหุนของบริษัทฯจากผล การดำเนินงานสำหรับงวดเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน 2551 ในอัตราหุนละ 6.5 บาท เปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 1,495 ลานบาท เงินปนผล ระหวางกาลนี้ไดจายในวันที่ 5 กันยายน 2551

31. หนังสือค้ำประกันธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยมีหนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯและบริษัทยอยคงเหลืออยูเปน จำนวนเงิน 67 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 49 ลานบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของ บริษัทฯและบริษัทยอย

32. ภาระผูกพัน 32.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันที่สำคัญดังนี้ 32.1.1 บริษัทฯ ไดขยายอายุสัญญารับความชวยเหลือทั่วไปกับบริษัทที่เกี่ยวของแหงหนึ่งออกไปอีก 1 ป โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งนี้บริษัทฯผูกพันที่จะจายคาตอบแทนตามเกณฑและอัตราที่ระบุในสัญญา


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 65

32.1.2 บริษัทฯ ไดทำสัญญากับบริษัทที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอรของบริษัทฯ เปนเวลา 3 ป โดยบริษัทฯ สามารถตออายุสัญญาไดตามขอกำหนดที่ระบุในสัญญา บริษัทฯผูกพันที่จะตองจายคาบริการรายเดือนๆ ละ 7.6 ลานบาท 32.1.3 บริษัทฯและบริษัทยอยไดทำสัญญาเชาที่ดิน พื้นที่ในอาคารสำนักงาน ยานพาหนะและบริการอื่นๆ หลายฉบับกับบริษัทใน ประเทศหลายแหงเปนเวลาตั้งแต 3 ป ถึง 30 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยผูกพันที่จะตองจายคา เชาและคาบริการในอนาคตดังนี้ ครบกำหนดชำระภายในป ภายใน 1 ป 1 ถึง 5 ป มากกวา 5 ป รวม

งบการเงินรวม 170 220 27 417

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 114 87 3 204

32.1.4 บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันตามสัญญาซื้อวัตถุดิบและเชื้อเพลิง การจางงานขนสง การเชาอุปกรณและการขาย สินคาซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทยอย 32.1.5 บริษัทฯไดเขาทำสัญญากับบุคคลภายนอกเพื่อซื้อที่ดินและแหลงวัตถุดิบสองแหงภายใตเงื่อนไขที่กำหนด บริษัทฯ จะซื้อทรัพยสินในราคาตามที่ระบุไวในสัญญา 32.1.6 บริษัทยอยแหงหนึ่งไดเขาทำสัญญารับความชวยเหลือทางเทคนิคกับบริษัทในตางประเทศแหงหนึ่ง ซึ่งสัญญาดังกลาว มีกำหนด 10 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 6 มีนาคม 2545 ถึงวันที่ 5 มีนาคม 2555 และสามารถตออายุโดยอัตโนมัติคราวละ 1 ป ภายใตสัญญาดังกลาว บริษัทยอยดังกลาวตองจายคาธรรมเนียมตามเกณฑและอัตราที่ระบุในสัญญา 32.1.7 บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันรายจายฝายทุนและสัญญาคากอสรางเปนจำนวนเงินประมาณ 1,699 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,688 ลานบาท) 32.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทรวมมีภาระผูกพันที่สำคัญดังตอไปนี้ บริษทั รวมไดทำสัญญาเชาทีเ่ กีย่ วของกับการเชาทีด่ นิ พืน้ ทีใ่ นอาคารสำนักงาน ยานพาหนะ และบริการอืน่ ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทรวมมีภาระผูกพันในการจายคาเชาตามสัญญาเชาและบริการดังกลาวเปนจำนวนเงินประมาณ 22.7 ลานบาท (2550: 22.9 ลานบาท)

33. เครื่องมือทางการเงิน 33.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 เรื่องการแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน บริษัทฯและบริษัทยอย มีเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญที่แสดงในงบดุลประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมี นโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืม ระยะยาวที่มีดอกเบี้ย อยางไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทยอยจึงอยูในระดับ ต่ำ รายละเอียดเงินใหกูยืมระยะยาว เงินกูยมื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินและเงินกูยืมระยะยาวไดแสดงไวในหมายเหตุขอ 14, 19 และ 21 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อขายสินคาเปนเงินตราตางประเทศ บริษัทฯไดพิจารณาใชนโยบาย เนนความสมดุลของรายการรับและรายการจายเงินตราตางประเทศโดยรวมในแตละชวงเวลา บริษัทฯไดตกลงทำสัญญาขายเงินตรา ตางประเทศลวงหนาซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งปเพื่อใชเปนเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง


66 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยมีสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศดังนี้ (หนวย: ลาน) สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา

งบการเงินรวม สินทรัพย หนี้สิน ทางการเงิน ทางการเงิน 35

5

งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย หนี้สิน ทางการเงิน ทางการเงิน 36

5

อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (บาทตอหนวยสกุลเงินตราตางประเทศ) 34.9438

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯไมมีสัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือ ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา ฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกำหนดให มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระ สำคัญจากการใหสินเชื่อ นอกจากนี้ การใหสินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทยอยไมมีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยมี ฐานของลูกคาที่หลากหลายและมีอยูจำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทยอยอาจตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อคือ มูลคาตามบัญชีของลูกหนี้การคาที่แสดงอยูในงบดุล 33.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญของบริษัทฯและบริษัทยอยจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินใหกูยืมและเงินกูยืมมี อัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทยอยจึงประมาณมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการ เงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลคายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรู และเต็มใจ ในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะที่ไมมีความเกี่ยวของกัน วิธีการกำหนดมูลคายุติธรรม ขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกำหนดจากราคาตลาดลาสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคา ที่เหมาะสม

34. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคของบริษัทฯและบริษัทยอยในการบริหารทางการเงินคือ การดำรงไวซึ่งความสามารถในการดำเนินงานอยางตอเนื่อง และการดำรงไวซึ่งโครงสรางของทุนที่เหมาะสม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 67

35. การเสนอขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน (หนวย: ลานบาท) ซีเมนต 2551 2550 17,201 18,849 1,025 1,128 18,226 19,977 8,932 9,491

รายไดจากภายนอก รายไดระหวางสวนงาน รายไดทั้งสิ้น กำไรขั้นตนตามสวนงาน รายไดและคาใชจายที่ไมได ปนสวน: รายไดอื่น คาใชจา ยในการขายและจัดจำหนาย คาใชจายในการบริหาร คาใชจายทางการเงิน สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม ภาษีเงินไดนิติบุคคล กำไรสุทธิ

งบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม คอนกรีต อื่นๆ การตัดบัญชี รวม และหินทราย ระหวางกัน 2551 2550 2551 2550 2551 2550 2551 2550 3,361 3,188 743 763 - 21,305 22,800 237 119 1 (1,262) (1,248) 3,598 3,307 743 764 (1,262) (1,248) 21,305 22,800 477 577 294 312 - 9,703 10,380 135 115 (4,343) (4,864) (1,183) (1,104) (167) (117) 272 179 (1,244) (1,359) 3,173 3,230 (หนวย: ลานบาท)

ซีเมนต 2551 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยสวนกลาง รวมสินทรัพย

2550

11,437 10,546

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม คอนกรีต อื่นๆ การตัดบัญชี และหินทราย ระหวางกัน 2551 2550 2551 2550 2551 2550 1,351

1,307

636

666

-

-

รวม 2551

2550

13,424 12,519 10,079 8,984 23,503 21,503

36. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน บริษัทฯไดมีการจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ใหมเพื่อใหสอดคลองกับการ จัดประเภทรายการบัญชีในปปจจุบัน ซึ่งไมมีผลกระทบตอกำไรสุทธิหรือสวนของผูถือหุน การจัดประเภทรายการใหมมีดังตอไปนี้ (หนวย: บาท)

ตนทุนสินคาขาย คาใชจายในการขายและ จัดจำหนาย และคาใชจาย ในการบริหาร

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ การจัดประเภทรายการใหม ตามที่เคยรายงานไว การจัดประเภทรายการใหม ตามที่เคยรายงานไว 12,420,014,739 16,372,605,252 10,542,617,512 14,007,049,969 5,968,168,797

2,030,808,630

5,145,553,756

37. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการของบริษัทฯแลวในวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552

1,696,351,645


68 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายบริหาร คำอธิบายและวิเคราะหผลการดำเนินงาน (หนวย: ลานบาท) รายไดจากการขายสุทธิ รายไดจากการขายสุทธิ - ซีเมนต รายไดจากการขายสุทธิ - คอนกรีตและหินทราย รายไดจากการขายสุทธิ - ธุรกิจอื่น การตัดบัญชีระหวางกัน กำไรสุทธิ กำไรจากการดำเนินงานกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและ คาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี และรายไดคาใชจายอื่นๆ (Operating EBITDA) อัตรากำไรจากการดำเนินงานกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชีและ รายไดคาใชจายอื่นๆ (Operating EBITDA) [%] กำไรสุทธิจากการดำเนินงาน

2551 21,305 18,226 3,598 743 -1,262 3,173

มกราคม - ธันวาคม 2550 22,800 19,977 3,307 764 -1,248 3,230

+/-7% -9% 9% -3% -1% -2%

5,054

5,211

-3%

24% 4,176

23% 4,396

-5%

รายไดจากการขาย รายไดจากการขายรวม: รายไดจากการขายรวมของบริษัทฯและบริษัทยอยสำหรับป 2551 เปนจำนวนเงิน 21,305 ลานบาท ลดลง 1,495 ลานบาท หรือลดลง รอยละ 7 ธุรกิจซีเมนตมีรายไดลดลงเปนจำนวนเงิน 1,751 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 9 โดยมีรายไดเปนจำนวนเงิน 18,226 ลานบาท มีการพัฒนาขึ้นในสวนของธุรกิจคอนกรีตและหินทรายซึ่งเพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 291 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 9 โดยมีรายไดเปน 3,598 ลานบาท และรายไดจากการขายของธุรกิจอื่นเปนจำนวนเงิน 743 ลานบาท ซึ่งลดลงเปนจำนวนเงิน 21 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 3 จากป 2550

รายไดจากการขายซีเมนต: ประเทศไทยไมไดเตรียมพรอมรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจที่แพรกระจายอยางกวางขวางซึ่งเริ่มตั้งแตกลางปที่ผานมา โดยเห็นได จากอุตสาหกรรมกอสรางถดถอยอยางเห็นไดชัดไปพรอมๆ กับอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ ซึ่งมีผลทำใหอุตสาหกรรมซีเมนตไดรับ ผลกระทบอยางมีนัย จากความไมแนนอนทางการเมืองของประเทศในชวงระยะเวลาหนึ่งเปนผลใหพื้นฐานทางธุรกิจมีความยุงยากยิ่งขึ้น ทำใหลดความ นาเชื่อถือในทุกกลุมธุรกิจ ไมวาจะเปนภาคอุตสาหกรรมการผลิต ภาคการใหบริการ และสวนของผูบริโภค ภายใตความเชื่อมั่นที่ ลดลงจากสถานการณการเมืองนั้นไดสงผลใหมีการชะลอตัวของโครงการสำคัญตางๆ ในสวนของโครงสรางพื้นฐานทั่วไป ในภาคของ อสังหาริมทรัพยก็มีการชะลอตัวเชนเดียวกัน สืบเนื่องมาจากผูบริโภคตัดสินใจที่จะชะลอการใชจายที่สำคัญในชวงที่มีความไมแนนอนนี้ ออกไปกอน เปนผลทำใหตลาดซีเมนตของประเทศไทยในป 2551 ลดลงประมาณรอยละ 10 เปนปริมาณ 24.8 ลานตัน จากปริมาณ 27.7 ลานตันในป 2550 จากการที่บริษัทฯไดมองเห็นถึงความรุนแรงของวิกฤตเศรษฐกิจนี้แตเนิ่นๆ บริษัทฯจึงไดมีการนำมาตรการที่เขมงวดในการควบคุมการ ทำกำไรระยะยาวของบริษัทฯมาใช รวมไปถึงการหยุดสายการผลิตปูนเม็ดสองสายการผลิตตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ซึ่งเปนการ ลดกำลังการผลิตปูนเม็ดของบริษัทฯลงจำนวนปริมาณ 2.5 ลานตัน


คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายบริหาร 69

ในดานตลาดการสงออก ปริมาณการสงออกทั้งหมดลดลงรอยละ 14 มาเปน 15.6 ลานตัน เทียบกับ 18.2 ลานตันในป 2550 และจาก การหยุดสายการผลิตปูนเม็ด 2 เตาเผานั้น ปริมาณการสงออกของบริษัทฯลดลงรอยละ 36 มาเปน 3.9 ลานตัน เทียบกับ 6.2 ลานตัน ในป 2550 ประเทศเวียดนามยังคงเปนตลาดสงออกปูนเม็ดที่ใหญที่สุดของบริษัทฯตามมาดวยประเทศแถบตะวันออกกลาง ในขณะที่ ประเทศสิงคโปรเปนตลาดสงออกหลักสำหรับปูนซีเมนต ราคาขายสงออกของปูนเม็ดและปูนซีเมนตในเงินสกุลดอลลารสหรัฐอเมริกา สูงขึ้นอยางมีนัยสำคัญซึ่งเปนผลมาจากราคาสินคาอุปโภคบริโภคและตนทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เหตุผลที่กลาวมาขางตนสงผลใหรายไดจากการขายซีเมนตลดลงรอยละ 9 มาเปนจำนวนเงิน 18,226 ลานบาท จากจำนวนเงิน 19,977 ลานบาท ในป 2550

รายไดจากการขายคอนกรีตและหินทราย: บริษัทฯจำหนายคอนกรีตผสมเสร็จไดถึง 2.2 ลานลูกบาศกเมตรในป 2551 ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 2.1 ลานลูกบาศกเมตรในป 2550 ในภาพรวม ราคาขายยังคงไมแตกตางจากปกอนมากนัก และยอดขายดังกลาวยังอยูในระดับที่ต่ำอันเนื่องมาจากสถานการณการแขงขันในตลาด ที่ยังสูงมาก ธุรกิจหินทรายไดเริ่มดำเนินงานการผลิตหินและทรายในป 2550 โดยสามารถเพิ่มปริมาณการขายไดอยางมีนัยสำคัญ

รายไดจากการขายอื่นๆ: รายไดจากการขายอื่นๆ สำหรับป 2551 ลดลงเล็กนอยคิดเปนรอยละ 3 จากปกอน เนื่องจากความตองการและความเชื่อมั่นของ ผูบริโภคที่ลดลง

กำไรสุทธิ บริษัทฯไดดำเนินการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดตนทุนการสูญเปลามาใชในป 2551 ในการที่จะรักษาผลประกอบการและการ ทำกำไรของบริษัทฯใหคงอยู บริษัทฯไดมีการขึ้นราคาขายตามราคาสินคาอุปโภคบริโภคและตนทุนเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น นอกจากนั้นยัง พัฒนาประสิทธิภาพภายในดานการใชวัตถุดิบและเชื้อเพลิง และการควบคุมตนทุนคงที่อยางเขมงวด สงผลใหตนทุนขายและคาใชจาย สำหรับป 2551 เทากับ 17,129 ลานบาท ลดลงเปนจำนวนเงิน 1,259 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 7 เทียบกับตนทุนขายและ คาใชจายสำหรับป 2550 เทากับ 18,388 ลานบาท ผลประกอบการดานกำไรสุทธิของบริษัทฯ และบริษัทยอยสำหรับป 2551 เปนจำนวนเงิน 3,173 ลานบาท ซึ่งลดลงเปนจำนวนเงิน 57 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 2 ตนทุนสินคาขายสำหรับป 2551 ลดลงจากปกอน 817 ลานบาท เปนจำนวนเงิน 11,603 ลานบาท เทียบกับจำนวนเงิน 12,420 ลานบาท ของปกอน เหตุผลหลักมาจากความตองการที่นอยลงตอสินคาและบริการ บริษัทฯสามารถชดเชยตนทุนสินคาอุปโภคบริโภคและตนทุน เชื้อเพลิงที่สูงขึ้นดวยการลดตนทุนและการบริหารตนทุนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น คาใชจายในการขายและจัดจำหนายเปนจำนวนเงิน 4,343 ลานบาท ลดลงเปนจำนวนเงิน 521 ลานบาท หรือรอยละ 11 จากจำนวนเงิน 4,864 ลานบาทในปกอน ซึ่งเกิดจากการขนสงปูนเม็ดและปูนซีเมนตในปริมาณที่ลดลง รวมถึงการควบคุมตนทุนที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น และตนทุนพลังงานและคาขนสงที่ลดลง คาใชจายในการบริหารเปนจำนวนเงิน 1,183 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 79 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 7 จากยอด คาใชจายในการบริหารของปกอนซึ่งเทากับ 1,104 ลานบาท อัตราสวนของคาใชจายในการบริหารเปรียบเทียบกับรายไดจากการขาย สุทธิสำหรับป 2551 คิดเปนอัตราสวนรอยละ 5.5 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับป 2550 ซึ่งเทากับรอยละ 4.8 เนื่องมาจากรายไดสุทธิที่ลดลง คาใชจายทางการเงินสำหรับป 2551 เทากับ 167 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 50 ลานบาท เทียบกับคาใชจายทางการเงินสำหรับ ป 2550 เทากับ 117 ลานบาท ซึ่งเกิดจากการเพิ่มขึ้นของภาระดอกเบี้ยจายสำหรับการเบิกเงินกูระยะสั้นที่เพิ่มขึ้น รายไดอื่นคิดเปนจำนวนเงิน 135 ลานบาท ซึ่งปจจัยหลักเกิดจากการบันทึกผลกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากคาเงินบาทตอ ดอลลารสหรัฐอเมริกาที่ออนตัวลง ในป 2551 กำไรจากการดำเนินงานกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชีและ รายไดคาใชจายอื่นๆ เปนจำนวนเงิน 5,054 ลานบาท ซึ่งลดลงเปนจำนวนเงิน 157 ลานบาท จากป 2550 ซึ่งเทากับ 5,211 ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 3


70 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

คำอธิบายและวิเคราะหกระแสเงินสด (หนวย: ลานบาท) เงินสดสุทธิจากการดำเนินงาน เงินลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - เพื่อดำรงความสามารถในการผลิตและแขงขัน กระแสเงินสดอิสระ เงินลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - การขยายสวนงาน เงินลงทุนอื่นๆ ลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินปนผลจาย กระแสเงินสดที่ตองการเพิ่มเติม หนี้สินทางการเงินเพิ่มขึ้น ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง)

2551 3,099

มกราคม - ธันวาคม 2550 4,000

+/-23%

-1,069 2,030 -658 116 -3,220 -1,732 2,337 -1 605

-818 3,182 -454 -176 -3,220 -668 461 -207

-31% -36% -45% 166% -159% 407% 392%

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน บริษัทฯและบริษัทยอยมีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงานสำหรับป 2551 เปนจำนวนเงิน 3,099 ลานบาท ซึ่งลดลงเปนจำนวนเงิน 901 ลานบาท จากยอดเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงานสำหรับป 2550 เทากับ 4,000 ลานบาท รายไดที่ลดลงและสินคาคงเหลือ ณ สิ้นป ที่สูงขึ้นในสวนของปูนเม็ด เชื้อเพลิง และกระดาษคราฟท สงผลลบตอกระแสเงินสด อยางไรก็ตามบริษัทฯ ไมมีการบันทึกสินคาสูญหาย หรือตัดจำหนายสินคาคงเหลือใดๆ ณ วันสิ้นป สินคาคงเหลือดังกลาวจะถูกนำมาใชในไตรมาสแรกของป 2552 ซึ่งกระแสเงินสดที่ เกี่ยวของดังกลาวจะถูกรับรูในชวงเวลาเดียวกันนี้

กระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมลงทุน บริษัทฯและบริษัทยอยมีเงินสดใชไปในกิจกรรมลงทุนสำหรับป 2551 เปนจำนวนเงิน 1,611 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 163 ลานบาท เทียบกับปกอนซึ่งเทากับ 1,448 ลานบาท รายจายลงทุนใชไปสำหรับโครงการหลักที่ตอเนื่องของบริษัทฯ ไดแก โครงการสราง โรงงานจัดเตรียมเชื้อเพลิงและวัตถุดิบทางเลือก โครงการสรางโรงงานผลิตปูนซีเมนตกอ การลงทุนในโครงการใหมเพื่อสรางโรงงานนำ ความรอนเหลือใชจากกระบวนการผลิตกลับมาใชผลิตกระแสไฟฟาสองโรง และโครงการขยายธุรกิจคอนกรีตผสมเสร็จและหินทราย

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในการประชุมสามัญประจำปผูถือหุนมีมติอนุมัติใหจายเงินปนผลสำหรับครึ่งหลังของป 2550 จำนวน 7.50 บาทตอหุนและคณะกรรมการ บริษัทอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลสำหรับป 2551 จำนวน 6.50 บาทตอหุน ดังนั้นบริษัทฯมีกระแสเงินสดใชไปในการจาย เงินปนผลเปนจำนวนเงิน 3,220 ลานบาท ในขณะที่บริษัทฯมีการเบิกหนี้สินทางการเงินเพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 2,337 ลานบาท


คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายบริหาร 71

คำอธิบายและวิเคราะหฐานะการเงิน (หนวย: ลานบาท) 23,503 5,984 1,082 13,424 329 2,684 7,658 6,624

100% 25% 5% 57% 1% 11% 33% 28%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 21,503 4,976 928 12,519 825 2,255 5,613 4,511

372 662 15,845

2% 3% 67%

459 643 15,890

2551 รวมสินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนทั่วไป - บริษัทที่เกี่ยวของกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงาน - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งป หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมสวนของผูถือหุน

100% 23% 4% 58% 4% 10% 26% 21%

+/9% 20% 17% 7% -60% 19% 36% 47%

2% 3% 74%

-19% 3% -0%

รวมสินทรัพย บริษัทฯและบริษัทยอยมีสินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เปนจำนวนเงิน 23,503 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 2,000 ลานบาท จากยอดสินทรัพยรวม ณ สิ้นป 2550 เทากับ 21,503 ลานบาท สินทรัพยหมุนเวียนมีจำนวนเงิน 5,984 ลานบาท เทียบกับป 2550 เปนจำนวนเงิน 4,976 ลานบาท ซึ่งเกิดจากยอดเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา และสินคาคงเหลือที่สูงขึ้น อัตราสวนลูกหนี้การคาตอสินทรัพยหมุนเวียนคิดเปนรอยละ 44 และ รอยละ 55 หรือคิดเปนระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย 45 วัน และ 42 วัน ณ สิ้นป 2551 และ 2550 ตามลำดับ อัตราสวนสินคาคงเหลือตอสินทรัพยหมุนเวียนคิดเปนรอยละ 32 สำหรับทั้งป 2551 และ 2550 ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิเปนจำนวนเงิน 13,424 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 905 ลานบาทจากปกอน ปจจัยหลักมาจากการ ลงทุนในการกอสรางโรงงานจัดเตรียมเชื้อเพลิงและวัตถุดิบทางเลือก โรงงานผลิตปูนซีเมนตกอ โรงงานนำความรอนเหลือใชจาก กระบวนการผลิตกลับมาใชผลิตกระแสไฟฟาสองโรง และโครงการขยายธุรกิจคอนกรีตผสมเสร็จและหินทราย ในระหวางป บริษัทฯไดมีการจำนายสินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงาน ซึ่งทำใหมูลคาทางบัญชีลดลงเหลือ 329 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยมีสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นเปนจำนวนเงิน 2,684 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 429 ลานบาท เทียบกับยอดสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ณ สิ้นป 2550 เปนจำนวนเงิน 2,255 ลานบาท ปจจัยหลักคือการเพิ่มขึ้นของ สินทรัพยไมมีตัวตนจากการไดรับสัมปทานเหมืองหินแหงใหม

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยมีหนี้สินรวมเปนจำนวนเงิน 7,658 ลานบาท เพิ่มขึ้นเปนจำนวนเงิน 2,045 ลานบาท จากยอดหนี้สินรวม ณ สิ้นป 2550 เทากับ 5,613 ลานบาท ปจจัยหลักมาจากการที่บริษัทฯเบิกเงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เปนจำนวนเงิน 2,425 ลานบาท ณ สิ้นป 2551 และ 2550 บริษัทฯและบริษัทยอยมียอดเจาหนี้การคาเปนจำนวนเงิน 1,257 ลานบาท และ 1,516 ลานบาท ตามลำดับ คิดเปนอัตราสวนเจาหนี้การคาตอหนี้สินหมุนเวียนเทากับรอยละ 19 และรอยละ 34 ตามลำดับ

สวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทยอยมีสวนของผูถือหุนรวมเปนจำนวนเงิน 15,845 ลานบาท และจำนวนเงิน 15,890 ลานบาทตามลำดับ โดยมีจำนวนหุนสามัญที่ออกจำหนายและเรียกชำระเต็มมูลคาแลว 237.5 ลานหุน


72 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

รายการระหวางกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯ ไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของ กันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญกับบริษัทฯ ผูบริหารสำคัญ กรรมการหรือ พนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตาม เงื่อนไขทางการคาและเกณฑที่ตกลงรวมกันระหวางบริษัทฯ และบริษัทเหลานั้นซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจ บริษัทฯ ไดสรุป รายละเอียดดังกลาวไวแลวในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ขอ 7

หลักเกณฑเพื่อการพิจารณารายการระหวางกัน เมื่อมีความจำเปนตองมีรายการระหวางกัน บริษัทฯ ไดพิจารณาอนุมัติบนเงื่อนไขความจำเปน และการมีเงื่อนไขทางธุรกิจที่ อยูในระดับเดียวกัน ตัวอยางเชน การขายหรือซื้อสินคาหรือบริการจะพิจารณาจากราคาตลาด กำไรสวนตางจะกำหนด โดยรวมคาใชจายดานการบริการ ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวาเปนการทำเพื่อประโยชนของบริษัทฯอยางเต็มที่และชอบธรรม

กลไกและวิธีการอนุมัติที่สมเหตุสมผล บริษัทฯปฏิบัติตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเรื่องการเปดเผยขอมูลสำหรับบริษัทในตลาดหลักทรัพย และคณะกรรมการตรวจสอบไดมีการตรวจทานธุรกรรมที่เปนรายการระหวางกันของบริษัทฯแลว


รายการระหวางกัน, การจายเงินปนผลในรอบ 3 ปที่ผานมา 73

การจายเงินปนผลในรอบ 3 ปที่ผานมา คณะกรรมการบริษัทมุงมั่นที่จะใหประโยชนสูงสุดแกผูถือหุน ทั้งโดยการจายเงินปนผล และการเพิ่มมูลคาหุน ทั้งนี้โดยการสนับสนุนการเติบโต และการพัฒนาอยางยั่งยืนของบริษัท ในรอบ 3 ปที่ผานมานี้ การจายเงินปนผลอยูในเกณฑระหวาง 11 - 14 บาทตอหุน บริษัทไดกันเงินสำรองตามกฎหมายครบถวนถึงรอยละ 10 ของทุนจดทะเบียนแลว เมื่อมีการอนุมัติเงินปนผลระหวางกาล หรือเสนอใหผูถือหุนพิจารณาเงินปนผลประจำปนั้น คณะกรรมการบริษัทแนใจแลว วาบริษัทมีกำไรเพียงพอที่จะทำได ระหวางป 2549 - 2551 บริษัทมีการจายเงินปนผลดังตอไปนี้

ป 2551 จำนวนเงินปนผลทั้งสิ้นคือหุนละ 11 บาท - คณะกรรมการบริษัทอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2551 จำนวน 6.50 บาทตอหุน - คณะกรรมการบริษัทเสนอใหผูถือหุนพิจารณาอนุมัติการจายเงินปนผลสำหรับครึ่งหลังของป 2551 ในวันที่ 10 เมษายน 2552 จำนวน 4.50 บาทตอหุน

ป 2550 จำนวนเงินปนผลทั้งสิ้นคือหุนละ 14 บาท - คณะกรรมการบริษัทอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2550 จำนวน 6.50 บาทตอหุน - ผูถือหุนอนุมัติการจายเงินปนผลสำหรับครึ่งหลังของป 2550 ในวันที่ 10 เมษายน 2551 จำนวน 7.50 บาทตอหุน

ป 2549 จำนวนเงินปนผลทั้งสิ้นคือหุนละ 14 บาท - คณะกรรมการบริษัทอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2549 จำนวน 6.50 บาทตอหุน - ผูถือหุนอนุมัติการจายเงินปนผลสำหรับครึ่งหลังของป 2549 ในวันที่ 14 มีนาคม 2550 จำนวน 7.50 บาทตอหุน


74 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ขอมูลเพิ่มเติม 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ทะเบียนเลขที่ 0107536001346 (เลขทะเบียนเดิม บมจ.208) ประเภทธุรกิจ: สำนักงานใหญ:

อุตสาหกรรมผลิตและจำหนายปูนซีเมนต อาคารคอลัมนทาวเวอร ชัน้ 7-12 เลขที่ 199 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โรงงาน: เลขที่ 99 หมู 9 (โรงงาน 1 และ 3) และเลขที่ 219 หมู 5 (โรงงาน 2 และโรงงานมอรตาร) ถนนมิตรภาพ ก.ม. 129 -131 ตำบลทับกวาง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 18260 ประเทศไทย เลขที่ 301 หมูที่ 5 (โรงเตรียมเชื้อเพลิงทดแทน) ถนนมิตรภาพ กม.133 ตำบลทับกวาง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 18260 ประเทศไทย โทรศัพท: + 66 2 797 7000 โทรสาร: + 66 2 797 7001 ถึง 2 เว็บไซต: www.siamcitycement.com จำนวนหุนที่ออกและเรียกชำระแลว: หุนสามัญจำนวน 237,500,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ในจำนวนนี้เปนหุนที่บริษัท ไดซื้อคืน 7.5 ลานหุน (โปรดดูขอมูลเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 26 หนา 63 1.2 นิติบุคคลที่บริษัทถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ชื่อบริษัท สถานที่ตั้ง ประเภทธุรกิจ / ผลิตภัณฑ 1 บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด

กรุงเทพฯ1

2 บริษัท คอนวูด จำกัด

กรุงเทพฯ2

3 บริษัท อีเกิ้ล ซีเมนต โฮลดิ้งส จำกัด

กรุงเทพฯ3

4 บริษัท ลานนา รีซอรสเซส จำกัด (มหาชน) 5 แขมร ซีเมนต อินดัสตรี คัมปะนี ลิมิเต็ด*

กรุงเทพฯ4 พนมเปญ ประเทศ กัมพูชา5

อุตสาหกรรม / คอนกรีตผสมเสร็จ และอะกรีเกต อุตสาหกรรม / วัสดุกอสราง ลงทุน / ประกอบธุรกิจ โดยการถือหุน อุตสาหกรรม / ผลิต และจำหนายถานหิน การคา / ปูนซีเมนต

ทุน จดทะเบียน (ลานบาท) 400

จำนวนหุน สัดสวนการ สามัญที่ออก ถือหุนโดยตรง (รอยละ) จำหนาย (หุน) 4,000,000 99.99

300

3,000,000

99.99

700

7,000,000

99.99

350

35,000,000

44.99

ประมาณ 14 (1,620 ลานเรียล)

500

75.00

หมายเหตุ: * ตามขอตกลงรวมคาของ แขมร ซีเมนต อินดัสตรี คัมปะนี ลิมิเต็ด ไดกำหนดทุนจดทะเบียนไวที่ 1.5 ลานเหรียญสหรัฐ อยางไรก็ตามทุน จดทะเบียน ณ วันที่จัดตั้งบริษัทมีอยูจำนวน 5,300 เหรียญสหรัฐ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเปนคราวๆ ตามความตองการเงินทุนในการดำเนินธุรกิจ และในป 2551 ไดเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 405,000 เหรียญสหรัฐ (หรือ 1,620 ลานเรียล) 1 อาคารคอลัมนทาวเวอร ชัน้ 7-12 เลขที่ 199 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท + 66 2 797 7555 โทรสาร + 66 2 797 7005 2 อาคารคอลัมนทาวเวอร ชัน้ 7-12 เลขที่ 199 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท + 66 2 797 7444 โทรสาร + 66 2 797 7004 3 อาคารคอลัมนทาวเวอร ชัน้ 7-12 เลขที่ 199 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท + 66 2 797 7000 โทรสาร + 66 2 663 1628 4 อาคารมหาทุนพลาซา ชัน้ 9 เลขที่ 888/99 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท + 66 2 253 8080 โทรสาร + 66 2 253 5014 5 House No. 9, corner street 75 & 80, Sangkat Shrah Chak, Khan Daun Penh, Phnom Penh, Cambodia, โทรศัพท + 855 23 430 902 - 3 โทรสาร + 855 23 430 897


ขอมูลเพิ่มเติม 75

1.3 บุคคลอางอิงอื่นๆ นายทะเบียนหุน บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย โทรศัพท + 66 2 229 2800 โทรสาร + 66 2 359 1259 Call Center + 66 2 229 2888 ผูสอบบัญชี นางสายฝน อินทรแกว ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ใบอนุญาตเลขที่ 4434 บริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย โทรศัพท + 66 2 264 0777 โทรสาร + 66 2 264 0789 - 90

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต เพื่อสนองความตองการของตลาดภายในประเทศ อยางไรก็ตาม ในกรณีที่อุปสงคภายในประเทศ ต่ำกวาอุปทาน บริษัทก็อาจจำหนายอุปทานสวนเกินออกไปยังตางประเทศ 2.2 บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด เปนบริษัทยอยเพียงแหงเดียวที่มีรายไดมากกวารอยละ 10 ของรายไดรวม ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 35 หนา 67 2.3 การเปลี่ยนแปลง / พัฒนาการสำคัญของการประกอบธุรกิจ / การบริหารงานในป 2551 ดูรายงานของคณะผูบริหาร หนา 12 และสรุปพัฒนาการที่สำคัญ การรับรองและรางวัลในรอบปที่ผานมาหนา 24 และ 25

3. โครงสรางการถือหุนและการจัดการ 3.1 ผูถือหุนรายใหญ 10 อันดับแรก ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2551 มีดังนี้ เลขที่ ชื่อผูถือหุน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บริษัท ซันไรส อีคิวตี้ จำกัด บริษัท ไทย ร็อค-เซม จำกัด CLEARSTREAM NOMINEES LTD. JPMSSPL NORTRUST NOMINEES LTD. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD. กองทุนรวม วายุภักษ หนึ่ง โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) กองทุนรวม วายุภักษ หนึ่ง โดย บลจ.กรุงไทย จำกัด (มหาชน) นางศศิธร รัตนรักษ

จำนวนหุนที่ถือ

รอยละ

80,065,840 77,628,433 8,350,200 7,051,100 5,627,800 2,654,052 2,411,693 2,254,000 2,254,000 2,085,040

33.712 32.686 3.516 2.969 2.370 1.117 1.015 0.949 0.949 0.878


76 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

3.2 รายละเอียดสมาชิกคณะกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 พรอมทั้งประสบการณมีดังตอไปนี้ ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป) ชวงเวลา

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ ประเภทธุรกิจ

กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 1

นายวีระพันธุ ทีปสุวรรณ ประธานกรรมการ2

67

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย นอรทอีสเทิรน สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย บอสตัน สหรัฐอเมริกา

พฤศจิกายน ประธานกรรมการ 2549 - ปจจุบัน มกราคม ประธานกรรมการ 2550 - ปจจุบัน 2546 - ปจจุบัน รองประธาน กรรมการ 2542 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ 2538 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ

2526 - ปจจุบัน กรรมการ

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

2533 - 2548

ประธานกรรมการ

2542 - 2547

ประธานกรรมการ

2537 - 2547

ประธานกรรมการ

1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต บริษัท ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) / ธนาคารพาณิชย บริษัท อีสเทอรน สตาร เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) / อสังหาริมทรัพย บริษัท ศรีอยุธยาประกันภัย จำกัด (มหาชน) / ประกันภัย บริษัท อยุธยาอลิอันซ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) / ประกันชีวิต 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน บริษัท กรุงเทพโทรทัศนและวิทยุ จำกัด / สถานีโทรทัศน บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด (มหาชน) / เครื่องใชเซรามิก บริษัท หลักทรัพยกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) / ซื้อขายหลักทรัพย บริษัท เงินทุนกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) / สถาบันการเงิน

0.002% ไมมี 6/6 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรสำหรับประธานคณะกรรมการบริษัท ของ IOD (RCP18/2551)


ขอมูลเพิ่มเติม 77

2

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป)

นายพอล ไฮนซ ฮูเกนโทเบลอร์ รองประธาน กรรมการ2

60

ชวงเวลา

วุฒิบัตรขั้นสูง 2544 - ปจจุบัน หลักสูตร ผูบริหารระดับสูง นานาชาติ ฮารวารด 2542 - 2543 บิซิเนส สคูล สหรัฐอเมริกา คุณวุฒิเทียบเทา ปริญญาโท เศรษฐศาสตร และธุรกิจ มหาวิทยาลัย เซนตแกลเลน สวิตเซอรแลนด

2545 - ปจจุบัน

ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยี แหงสวิต

2547 - ปจจุบัน

2543 - ปจจุบัน

2544 - ปจจุบัน 2541 - ปจจุบัน 2541 - ปจจุบัน

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): 3

นายชัชชน รัตนรักษ กรรมการ2

36

ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัย รอยัล โฮลโลเวย คอลเลจ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551):

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน รองประธาน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง กรรมการ จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต กรรมการผูจัดการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต สมาชิกคณะ โฮลซิม จำกัด / ปูนซีเมนต ผูบริหาร กรรมการ บริษัท ลานนา รีซอรสเซส จำกัด (มหาชน)/ ผลิตและจำหนายถานหิน 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริษัท โฮลซิม พาทิซิเพชั่นส (ประเทศไทย) จำกัด / โฮลดิ้งส กรรมการ บริษัท โฮลซิม เซอรวิสเซส (เอเซีย) จำกัด / ผูใหบริการดานสารสนเทศ กรรมการ บริษัท ไทย ร็อค-เซม จำกัด / โฮลดิ้งส กรรมการ บริษัท โฮลซิม แคปปตอล (ประเทศไทย) จำกัด / โฮลดิ้งส

0.023% ไมมี 3/6

พฤศจิกายน 2549 - ปจจุบัน

กรรมการ

มิถุนายน 2548 - ปจจุบัน

กรรมการ

เมษายน 2549 - ปจจุบัน

ประธานกรรมการ และประธาน คณะผูบริหาร

0.449% ไมมี 6/6

1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน บริษัท หลักทรัพยจัดการ กองทุนรวม พรีมาเวสท จำกัด/ การจัดการกองทุนรวม บริษัท ตนสน พร็อพเพอรตี้ จำกัด / พัฒนาอสังหาริมทรัพย


78 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

4

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป)

นายทวีผล คงเสรี กรรมการ2

67 ปริญญาตรีวิศวกรรม เครื่องกล นาคม มหาวิทยาลัยชิสุโอกะ มี2550 - ปจจุบัน ประเทศญี่ปุน ปจจุบัน

ชวงเวลา

2537 - 2546

2522 - ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน 2547 สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

5

นายอูรซ วอลฟกัง เบียริ กรรมการ2

65

คุณวุฒิเทียบเทา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เซนตแกลเลน สวิตเซอรแลนด

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551):

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต กรรมการ บริษัท อีสเทอรน สตาร เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) / อสังหาริมทรัพย กรรมการ บริษัท อยุธยาอลิอันซ ซี.พี. ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) / ประกันชีวิต 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริษัท ซุปเปอร แอสเซทส จำกัด / อสังหาริมทรัพย กรรมการ บริษัท ซันไรส อีควิตี้ จำกัด / บริการ ใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการลงทุนใน ประเทศไทย กรรมการ บริษัท เขาเขียว คันทรี่คลับ จำกัด / สนามกอลฟ กรรมการ บริษัท สยามภูริมงคล จำกัด / อสังหาริมทรัพย กรรมการและ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด/ กรรมการอิสระ เครื่องใชเซรามิก

0.007% ไมมี 5/6 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DAP) ป 2548

2541 พฤษภาคม 2551 2545 ธันวาคม 2547 ไมมี ไมมี 1/6

กรรมการ รองประธาน คณะผูบริหาร

กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต บริษัท โฮลซิม จำกัด / ปูนซีเมนต


ขอมูลเพิ่มเติม 79

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 6

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป) ชวงเวลา

นายประกอบ วิศิษฐกิจการ 69 ปริญญาโท กรรมการ2 บริหารธุรกิจ และประธานกรรมการ (การเงิน) ตรวจสอบ มหาวิทยาลัย (กรรมการอิสระ) อินเดียนา สหรัฐอเมริกา

2542 - ปจจุบัน

2551 - ปจจุบัน ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) การเงิน มหาวิทยาลัย อินเดียนา สหรัฐอเมริกา

2542 - 2550 2536 - ปจจุบัน 2529 - 2538, 2540 - 2545 2549 - ปจจุบัน 2549 - 2551

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การเขารวมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการและ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง ประธาน จำกัด (มหาชน) / คณะกรรมการ ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต ตรวจสอบ ประธาน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี คณะกรรมการ จำกัด (มหาชน) / ธุรกิจเกษตร ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) / ธุรกิจเกษตร กรรมการอิสระ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) / ธุรกิจเกษตร บริษัท ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ผูชวยกรรมการ จำกัด (มหาชน) / ธนาคารพาณิชย ผูจัดการใหญ 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริษัท ลีซ อิท จำกัด/ เชาซื้อ กรรมการอิสระและ บริษัท อยุธยา ออโต ลีส จำกัด กรรมการตรวจสอบ (มหาชน) / ธุรกิจเงินทุน

ไมมี ไมมี 6/6 12/12 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรสำหรับประธานคณะกรรมการบริษัท (RCP) รุน 5 ป 2544 - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DCP) รุน 33 ป 2546


80 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 7

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป)

นายเชษฐ รักตะกนิษฐ 68 ปริญญาตรี กรรมการ2 บริหารธุรกิจ และกรรมการ มหาวิทยาลัย ตรวจสอบ บริกแฮม ยัง (กรรมการอิสระ) สหรัฐอเมริกา

ชวงเวลา 2542 - ปจจุบัน เมษายน 2550 - ปจจุบัน 2546 - ปจจุบัน

2537 - ปจจุบัน

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การเขารวมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

8

นายฮาราลด ลิงค กรรมการ2 และกรรมการ ตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

54 คุณวุฒิเทียบเทา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย เซนตแกลเลน สวิตเซอรแลนด

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การเขารวมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (ป 2551) : การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการและ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง กรรมการตรวจสอบ จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต กรรมการ บริษัท ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) / ธนาคารพาณิชย กรรมการตรวจสอบ บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส จำกัด และประธาน (มหาชน) / สื่อและสิ่งพิมพ กรรมการ สรรหาและกำหนด คาตอบแทน กรรมการ และ บริษทั ศรีอยุธยาประกันภัย จำกัด กรรมการสรรหา (มหาชน) / ประกันภัย และกำหนด คาตอบแทน

ไมมี ไมมี 5/6 12/12 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - DCP Refresher Course รุนที่ 3 ป 2549 - Director Financial ป 2548 - หลักสูตรสำหรับกรรมการตรวจสอบ (ACP) ป 2548 - Finance for Non-Finance Director (FN) ป 2546 - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DCP) ป 2546

พฤศจิกายน 2541 - 2551

1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการและ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง กรรมการตรวจสอบ จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต

2543 - ปจจุบัน

กรรมการ

2530 - ปจจุบัน

หุนสวนผูจัดการ

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) / เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล บี.กริมแอนโก / บริการแนะนำการลงทุน

ไมมี ไมมี 3/6 1/12 หลักสูตรการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของ St. Gallen, ประเทศสวิซเซอรแสนด


ขอมูลเพิ่มเติม 81

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 9

นายประพล บุรณศิริ กรรมการ2 (กรรมการอิสระ)

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป) ชวงเวลา 68 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร มีนาคม 2550 บัณฑิต วูซเตอร ปจจุบัน โพลีเทคนิค อินสทิตูท สหรัฐอเมริกา 2545 - ปจจุบัน 2539 - 2544

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

10

ไมมี ไมมี 6/6 หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DAP) ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

กรรมการที่เปนผูบริหาร นางสาวจันทนา สุขุมานนท 59 ประกาศนียบัตร กรรมการ3 หลักสูตรการบริหาร พฤศจิกายน การจัดการขั้นสูง 2549 - ปจจุบัน ฮารวารด บิซิเนส สคูล มิถุนายน สหรัฐอเมริกา 2547 - ปจจุบัน ประกาศนียบัตร การศึกษาธุรกิจ ศูนยศึกษา 2541 เศรษฐศาสตร มิถุนายน 2547 และรัฐศาสตร อังกฤษ 2538 - 2540 สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต ที่ปรึกษาดาน บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค การจัดการ อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) / อสังหาริมทรัพยและกอสราง ผูจัดการใหญ บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค และกรรมการ อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) / ผูจดการ อสังหาริมทรัพยและกอสราง ดานการตลาด

รองประธาน คณะผูบริหาร กรรมการและ รองประธานบริหาร (การตลาด และการขาย) รองประธานอาวุโส (การตลาด และการขาย) กรรมการผูจัดการ

1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน บริษัท ชลประทานซีเมนต จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต

ไมมี ไมมี 5/6 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DAP)


82 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 11

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป)

นายวันชัย โตสมบุญ 60 ปริญญาโท กรรมการ3 บริหารธุรกิจ Asian Institute of Management ปริญญาตรี กฎหมาย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร

ชวงเวลา มิถุนายน 2547ปจจุบัน 2542 - มิถุนายน 2547 2542 - ปจจุบัน 2542 - 2547

2548 - ปจจุบัน 2547 - 2548 2542 - 2547 2542 - 2548 สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการและ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง รองประธาน จำกัด (มหาชน) / บริหาร ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต (กิจการสระบุรี) รองประธานบริหาร บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง (การลงทุนบริษัท จำกัด (มหาชน) / ในเครือและบริษัทรวม) ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต กรรมการ บริษัท ลานนา รีซอรสเซส จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายถานหิน กรรมการ บริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) / วัสดุกอสราง 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด (มหาชน) / เครื่องใชเซอรามิก ประธานกรรมการ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด บริหาร (มหาชน) / เครื่องใชเซอรามิก กรรมการผูจัดการ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด (มหาชน) / เครื่องใชเซอรามิก ประธานกรรมการ บริษัท กะรัต ฟอเซท จำกัด / เครื่องสุขภัณฑ

0.009% ไมมี 6/6 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DAP) ป 2547 - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DCP) ป 2544


ขอมูลเพิ่มเติม 83

12

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป)

นายมารเซล สมิธ กรรมการผูจัดการ3 (ลาออกวันที่ 31 ธันวาคม 2551)

52 ประกาศนียบัตร หลักสูตรการบริหาร การจัดการขั้นสูง ฮารวารด บิซิเนส สคูล สหรัฐอเมริกา

ชวงเวลา มีนาคม 2550 -ธันวาคม 2551 2538 - 2549

ประกาศนียบัตร การบริหารขั้นสูง ฝรั่งเศส และ IMD สวิตเซอรแลนด 2530 - 2537 ประกาศนียบัตร บริหารธุรกิจ Technical University Delft เนเธอรแลนด

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการผูจัดการและ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง ประธานคณะผูบริหาร จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต รองประธานอาวุโส ซิกา เอจี, สวิตเซอรแลนด / และผูจัดการภูมิภาค อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ เอเซีย แปซิฟค 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการผูจัดการ ซิกา บี.วี. เนเธอรแลนด / อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ

ปริญญาตรี วิศวกรรม กอสราง HTS เนเธอรแลนด สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): 13

นายฟลิป อารโต กรรมการ ผูจัดการ3 (ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2552)

ไมมี ไมมี 6/6

52 ปริญญาโท Public Administration, มกราคม 2552Harvard Kennedy School, Boston, USA ปจจุบัน

กรรมการผูจัดการและ ประธานคณะผูบริหาร

2546 - 2551 ปริญญาตรี Ecole Polytechnique, Science and Engineering, Paris

ประธานกรรมการและ ประธานคณะเจาหนาที่ บริหาร

ปริญญาตรี วิศวกรรม 2545 - 2546 โยธา Ecole Nationale Des Ponts Et Chaussees, Paris 2542 - 2544

กรรมการผูจัดการ

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551):

ผูจัดการทั่วไป การตลาดฝรั่งเศส

1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต เซนต ลอวเรนซ ซีเมนต, โฮลซิม กรุป, แคนนาดา / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน ควีนแลน ซีเมนต จำกัด, โฮลซิม กรุป, ออสเตรเลีย / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต Oburg-Origny, โฮลซิม กรุป, ฝรั่งเศส-เบเนลักษ / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต

ไมมี ไมมี 1/6

หมายเหตุ 1. เปนขอมูล ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2551 โดยสัดสวนการถือหุนในบริษัทของกรรมการไดรวมจำนวนหุนที่ถือโดยคูสมรสและ บุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของกรรมการ (ถามี) ไวแลว และคำนวณจาก 230 ลานหุน 2. กรรมการที่ไมใชพนักงาน และไมเปนผูบริหารของบริษัท 3. กรรมการบริหารที่เปนพนักงานของบริษัทดวย


84 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

3.3 คณะผูบริหาร คณะผูบริหารแตงตั้งโดยคณะกรรมการ มีหนาที่ในการบริหาร และควบคุมการดำเนินธุรกิจของบริษัท ใหบรรลุเปาหมายที่กำหนด โดยคณะกรรมการ รายละเอียดเกี่ยวกับคณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีดังนี้ ชื่อ-สกุล / อายุ คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณทำงาน ตำแหนงปจจุบัน (ป) ชวงเวลา ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน 1 นายมารเซล สมิธ 52 ประกาศนียบัตร ประธานคณะ หลักสูตรการบริหาร มีนาคม 2550กรรมการผูจัดการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง ผูบริหาร การจัดการขั้นสูง ธั น วาคม 2551 และประธาน จำกัด (มหาชน) / (ลาออกวันที่ ฮารวารด บิซิเนส สคูล คณะผู บ  ริ ห าร ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต 31 ธันวาคม 2551) สหรัฐอเมริกา 2538 - 2549 รองประธานอาวุโส ซิกา เอจี, สวิตเซอรแลนด และผูจัดการภูมิภาค / อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ ประกาศนียบัตร เอเซีย แปซิฟค การบริหารขั้นสูง ฝรั่งเศส และ IMD 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน สวิตเซอรแลนด 2530 - 2537 กรรมการผูจัดการ ซิกา บี.วี. เนเธอรแลนด ประกาศนียบัตร / อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ บริหารธุรกิจ Technical University Delft เนเธอรแลนด ปริญญาตรี วิศวกรรมกอสราง HTS เนเธอรแลนด 1 สัดสวนการถือหุนในบริษัท : ไมมี ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: ไมมี การเขารวมประชุมคณะผูบริหาร (ป 2551): 23/23

หมายเหตุ: 1. เปนขอมูล ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2551 โดยสัดสวนการถือหุนในบริษัทของผูบริหารไดรวมจำนวนหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของผูบริหาร (ถามี) ไวแลว และคำนวณจาก 230 ลานหุน


ขอมูลเพิ่มเติม 85

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 2

นายฟลิป อารโต ประธานคณะ ผูบริหาร (ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2552)

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป) ชวงเวลา 52 ปริญญาโท Public 2552 Administration, มกราคม -ป จ จุ บ น ั Harvard Kennedy School, 2546 - 2551 Boston, USA

ปริญญาตรี Ecole Polytechnique, Science and 2545 - 2546 Engineering, Paris 2542 - 2544 ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา Ecole Nationale Des Ponts Et Chaussees, Paris 1 สัดสวนการถือหุนในบริษัท : ไมมี ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: ไมมี การเขารวมประชุมคณะผูบริหาร (ป 2551): 0 /23

3

นางสาวจันทนา สุขุมานนท 59 ประกาศนียบัตร รองประธาน หลักสูตรการ กายน คณะผูบริหาร บริหารการจัดการ พฤศจิ 2549 ปจจุบัน (การตลาด ขั้นสูง ฮารวารด และการขาย) บิซิเนส สคูล มิถุนายน สหรัฐอเมริกา 2547 - ปจจุบัน ประกาศนียบัตร การศึกษาธุรกิจ ศูนยศึกษา 2541 เศรษฐศาสตร มิถุนายน 2547 และรัฐศาสตร อังกฤษ 2538 - 2540 สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะผูบริหาร (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการผูจัดการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง และประธาน จำกัด (มหาชน) / คณะผูบริหาร ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต ประธานกรรมการ เซนต ลอวเรนซ ซีเมนต, และประธาน โฮลซิม กรุป, แคนนาดา / คณะเจาหนาที่ ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต บริหาร 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการผูจัดการ ควีนแลน ซีเมนต จำกัด, โฮลซิม กรุป, ออสเตรเลีย / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต ผูจัดการทั่วไป Oburg-Origny, โฮลซิม การตลาดฝรั่งเศส กรุป, ฝรั่งเศส-เบเนลักษ / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต

รองประธานคณะ ผูบริหาร

1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต

กรรมการและ รองประธาน บริหาร (การตลาด และการขาย) รองประธานอาวุโส บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง (การตลาดและการขาย) จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการผูจัดการ บริษัท ชลประทานซีเมนต จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต

ไมมี ไมมี 21/23 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DAP)


86 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 4

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป)

นายวันชัย โตสมบุญ 60 ปริญญาโท รองประธาน บริหารธุรกิจ บริหาร Asian Institute of (กิจการสระบุรี) Management

ชวงเวลา มิถุนายน 2547 - ปจจุบัน

ปริญญาตรีกฎหมาย 2542 - มิถนุ ายน 2547 มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร 2542 - ปจจุบัน 2542 - 2547

2548 - ปจจุบัน 2547 - 2548 2542 - 2547 2542 - 2548 สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะผูบริหาร (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กรรมการและรอง บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง ประธานบริหาร จำกัด (มหาชน) / (กิจการสระบุรี) ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต รองประธานบริหาร บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง (การลงทุนบริษัทใน จำกัด (มหาชน) / เครือและบริษัทรวม) ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต กรรมการ บริษัท ลานนา รีซอรสเซส จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายถานหิน กรรมการผูจัดการ บริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) / วัสดุกอสราง 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด (มหาชน) / เครื่องใชเซอรามิก ประธานกรรม บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด การบริหาร (มหาชน) / เครื่องใชเซอรามิก กรรมการผูจัดการ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จำกัด (มหาชน) / เครื่องใชเซอรามิก ประธานกรรมการ บริษัท กะรัต ฟอเซท จำกัด / เครื่องสุขภัณฑ

0.009% ไมมี 21/23 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DAP) ป 2547 -หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DCP) ป 2544


ขอมูลเพิ่มเติม 87

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 5

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป) ชวงเวลา

นายแอนเดรียส ลอยเทเนกเกอร 41 ประกาศนียบัตร รองประธานอาวุโส หลักสูตรการ นยายน (การเงินและการควบคุม) บริหารการจัดการ กั2547 - ปจจุบัน ขั้นสูง ฮารวารด บิซิสเนส สคูล สหรัฐอเมริกา มกราคม 2542 - สิงหาคม 2547 คุณวุฒิเทียบเทา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย พฤศจิกายน 2537 เซนตแกลเลน - ธันวาคม 2541 สวิตเซอรแลนด

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน รองประธานอาวุโส บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง (การเงินและ จำกัด (มหาชน) / การควบคุม) ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต ผูชวยรองประธาน บริษัท โฮลซิม จำกัด / ปูนซีเมนต Corporate Reporting 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน ผูสอบบัญชี เค พี เอ็ม จี / ที่ปรึกษาและสอบบัญชี

ผูสอบบัญชีรับ อนุญาต สวิตเซอรแลนด

6

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ไมมี ไมมี 21/23 - จัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับรายงานประจำปของ โฮลซิม จำกัด ป 2545 - อบรมดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีโดยตลาดหลักทรัพยของ ประเทศสวิตเซอรแลนด - อบรมดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีโดยสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาต ประเทศสวิตเซอรแลนด

นายรุงโรจน สุนทรสถียรกุล รองประธานอาวุโส (การบริหารและการ พัฒนาทรัพยากร มนุษย)

1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน กันยายน 2546 - รองประธาน บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง ปจจุบัน อาวุโส จำกัด (มหาชน) / (การบริหารและ ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย) 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน 2539 - สิงหาคม ผูจัดการทั่วไป บริษัท ออโตอัลลายแอนซ 2546 ฝายบุคคล (ประเทศไทย) จำกัด / อุตสาหกรรมยานยนต ไมมี ไมมี 21/23 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ สิงหาคม 2550 จัดโดย บริษัท เอเชียบิสิเนสฟอรัม จำกัด

50 ปริญญาโท นิติศาสตร มหาวิทยาลัย ไมอามี่ สหรัฐอเมริกา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะกรรมการ (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:


88 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ชื่อ-สกุล / ตำแหนงปจจุบัน 7

อายุ คุณวุฒิการศึกษา (ป)

นายนพพร เทพสิทธา 55 ปริญญาตรี รองประธานอาวุโส วิศวกรรมไฟฟา (การจัดสง จุฬาลงกรณ และสงออก) มหาวิทยาลัย

ชวงเวลา

มกราคม 2547 - ปจจุบัน 2545 ธันวาคม 2546

2543 - 2544 2542 - 2543 สัดสวนการถือหุนในบริษัท1 : ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร: การเขารวมประชุมคณะผูบริหาร (ป 2551): การผานการอบรมที่เกี่ยวของ:

ประสบการณทำงาน ตำแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท/ ประเภทธุรกิจ 1) กิจการที่เปนบริษัทจดทะเบียน รองประธานบริหาร บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง (การจัดสงและสงออก) จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต ผูจัดการฝายจัดสง บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) / ผลิตและจำหนายปูนซีเมนต 2) กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน กรรมการบริหาร บริษัท ทีซีซี โฮลดิ้ง จำกัด / การลงทุน ผูจัดการฝายปฏิบัติการ บริษัท คาสากล ซิเมนตไทย จำกัด / การคาระหวางประเทศ

ไมมี ไมมี 19/23 การอบรมที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรสำหรับกรรมการตรวจสอบ (ACP) - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DAP) - หลักสูตรพัฒนากรรมการ (DCP) อบรมดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี สวนหนึ่งของหลักสูตร Mini MBA สำหรับผูขนสงอินทรี


ขอมูลเพิ่มเติม 89

3.4 รายชื่อกรรมการของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด เปนบริษัทยอยเพียงแหงเดียวที่มีรายไดเกินกวารอยละ 10 ของรายไดรวมตามงบกำไรขาดทุนของ ปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กรรมการ นายมารเซล สมิธ นายพอล ไฮนซ ฮูเกนโทเบลอร นางสาวจันทนา สุขุมานนท นายศิวะ มหาสันทนะ

บริษัท นครหลวงคอนกรีต จำกัด ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร

4. คาตอบแทนกรรมการและคณะผูบริหาร 4.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน คาตอบแทนที่เปนตัวเงินคาตอบแทนที่เปนตัวเงินสำหรับสมาชิกของคณะกรรมการบริษัท รวม 15 คน สำหรับป 2551 รวมเปนเงิน ทั้งสิ้น 14.530 ลานบาท รวมคาเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริษัท เบี้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และเงินรางวัลประจำปแลว (มีกรรมการลาออกระหวางป 2551 จำนวน 2 ราย) คาตอบแทนสำหรับคณะผูบริหาร รวม 6 คน รวมเปนเงินทั้งสิ้น 92.699 ลานบาท รวมเงินเดือนและเงินรางวัลประจำป 2551 4.2 คาตอบแทนอื่น เงินที่บริษัทจายสมทบเขากองทุนเลี้ยงชีพสำหรับคณะผูบริหาร มีจำนวนทั้งสิ้น 1.957 ลานบาท และบริษัทมีการจัดหารถยนตให คณะผูบริหารใช

5. คาตอบแทนผูสอบบัญชี ในป 2551 บริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด ไดรับเงินคาสอบบัญชีจากบริษัทและบริษัทยอยเปนเงินจำนวน 4.036 ลานบาท คาบริการดานอื่นอีกจำนวน 1.065 ลานบาท


90 บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) รายงานประจำป 2551

ศูนยบริการลูกคาและศูนยกระจายสินคา ศูนยบริการลูกคา ศูนยบริการลูกคา บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง เปนหนวยงานหนึ่งของฝายกลุมบริหารความสัมพันธลูกคา บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง ซึ่งกอตั้งเมื่อเดือนกันยายน 2544 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนศูนยกลางในการบริการลูกคา โดยไดรวมงานของแผนกสนับสนุนงานขาย ลูกคา (Customer Sales Support) และแผนกลูกคาสัมพันธ (Customer Care) ไวดวยกัน เพื่อใหมั่นใจวาลูกคาจะไดรับการบริการ ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ในสวนของแผนกลูกคาสัมพันธไดรวมศูนยบริการลูกคาของ บริษัท นครหลวงคอนกรีตไวดวยกัน เมื่อเดือนตุลาคม 2550 ที่ผานมา โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือเพิ่มระดับการบริการ และตอบสนองความตองการของลูกคาอยางมีมาตรฐาน ศูนยบริการลูกคาของบริษัท ทำหนาที่รับการสั่งซื้อสินคา จัดทำใบกำกับภาษี รวมถึงตอบขอซักถาม รับขอรองเรียน และใหความ ชวยเหลือลูกคาในเรื่องสินคาและบริการตลอด 24 ชั่วโมง โดยขอมูลที่ไดรบั แจงจะถูกบันทึกไวในระบบ CRM (Customer Relationship Management) เพื่อชวยติดตามในทุกเรื่องของลูกคาภายในระยะเวลาที่กำหนด และนำมาวิเคราะหเพื่อพัฒนาการบริการใหดียิ่งขึ้นไป

สถานที่ตั้ง: สำนักงานใหญ โรงงานสระบุรี การติดตอ:

อาคารคอลัมนทาวเวอร ชั้น 7 เลขที่ 199 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 อาคารศูนยบริการลูกคา เลขที่ 99 หมู 9 ถนนมิตรภาพ กม. 129 - 131 ตำบลทับกวาง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 18260 โทรศัพท: 1-800-77-5555 (หมายเลขโทรฟรี) หรือ +66 2 797 7777 แฟกซ: 1-800-33-5555 (หมายเลขแฟกซฟรี) หรือ +66 2 797 7788 อีเมล: wecare@sccc.co.th

ศูนยกระจายสินคาและคลังสินคา ปูนซีเมนตนครหลวง มีการจัดสงปูนซีเมนตจากโรงงานสระบุรีไปยังลูกคาทั่วประเทศใน 2 รูปแบบ 1. โรงงานสระบุรีจัดสงสินคาใหแกผูแทนจำหนายตามภาคตางๆ ทั่วประเทศโดยตรง 2. โรงงานสระบุรีจัดสงสินคาใหคลังสินคา มีทั้งหมด 4 แหงไดแก 1. คลังสินคาปูนซีเมนตนครหลวง จังหวัดลำปาง สถานที่ตั้ง: เลขที่ 208 หมู 2 ถนนลำปาง-เชียงใหม ตำบลปงยางคก อำเภอหางฉัตร จังหวัดลำปาง 52190 ลักษณะ: เปนสถานที่จัดเก็บและกระจายสินคาปูนซีเมนตผง สำหรับลูกคาภาคเหนือ 2. คลังสินคาปูนซีเมนตนครหลวง จังหวัดอุดรธานี สถานที่ตั้ง: เลขที่ 1 ถนนยานสถานีรถไฟ ตำบลหมากแขง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 ลักษณะ: เปนสถานที่จัดเก็บและกระจายสินคาปูนซีเมนตถุง สำหรับลูกคาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 3) คลังสินคาปูนซีเมนตนครหลวง จังหวัดอุบลราชธานี สถานที่ตั้ง: เลขที่ 23 ถนนกองทาง ตำบลวารินชำราบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 ลักษณะ: เปนสถานที่จัดเก็บและกระจายสินคาปูนซีเมนตถุง สำหรับลูกคาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 4) ศูนยกระจายสินคาปูนซีเมนตนครหลวง จังหวัดสุราษฎรธานี สถานที่ตั้ง: เลขที่ 13/29 ถนนสุราษฎรธานี-ปากน้ำ ตำบลบางกุง อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 84000 ลักษณะ: เปนสถานที่จัดเก็บและกระจายสินคาปูนซีเมนตถุงและผง พรอมทั้งเปนโรงงานบรรจุปูนซีเมนตลงถุงดวย


ศูนยบริการลูกคาและศูนยกระจายสินคา, สรุปตำแหนงตามแบบ 91

สรุปตำแหนงตามแบบ 56 -2 เปรียบเทียบตามแบบรายงานประจำปของบริษัทที่ออกหลักทรัพย (แบบ 56-2) ซึ่งออกภายใตประกาศคณะกรรมการกลต. ที่ กจ.40/2540 เรื่องหลักเกณฑเงื่อนไขและวิธีการรายงานการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย

หัวขอตามที่ระบุในแบบ 56-2 1. ขอมูลทั่วไป

หัวขอในรายงานประจำปฉบับนี้

หนา

ขอมูลเพิ่มเติม

74

ขอมูลสำคัญ

8

1.1 ขอมูลบริษัท 1.2 นิติบุคคลที่บริษัทถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป 1.3 บุคคลอางอิงอื่นๆ

2. ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท ขอมูลจากงบการเงินและอัตราสวนทางการเงินที่สำคัญ เปรียบเทียบ 3 ปที่ผานมา

3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3.1 ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทยอย และนโยบายการแบงการดำเนินของบริษัทในกลุม ขอมูลเพิ่มเติม 3.2 โครงสรางรายได หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมขอ 35 3.3 การเปลี่ยนแปลงลักษณะการประกอบธุรกิจ รายงานของคณะผูบริหาร คุณภาพที่จับตองได และสรุปพัฒนาการที่สำคัญ การรับรอง และรางวัลในรอบปที่ผานมา ภาพรวมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต

4. ปจจัยความเสี่ยง 5. โครงสรางการถือหุนและการจัดการ 5.1 ผูถือหุน 5.2 การจัดการ 5.2.1 โครงสรางการจัดการ 5.2.2 การสรรหากรรมการและผูบริหาร 5.2.3 คาตอบแทนผูบริหาร 5.2.4 การกำกับดูแลกิจการ 5.2.5 การดูแลเรื่องการใชขอ มูลภายใน 5.2.6 การควบคุมภายใน 5.3 นโยบายการจายปนผล

6. รายการระหวางกัน 7. คำอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงิน และผลการดำเนินงาน 8. งบการเงิน 8.1 งบการเงินเปรียบเทียบของบริษัทและงบการเงิน รวมเปรียบเทียบ 8.2 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี

74 66 12 14 24 28

การบริหารความเสี่ยงและปจจัยความเสี่ยง

30

ขอมูลเพิ่มเติม

74

โครงสรางการบริหาร 6 ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทและขอมูลเพิ่มเติม 26 ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 107 ขอมูลเพิ่มเติม และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมขอ 7 89, 51 ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 26 ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 27 ความกาวหนาดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท และรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 33 การจายเงินปนผลในรอบ 3 ปที่ผานมา 73 รายการระหวางกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมขอ 7

72, 51

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายบริหาร

68

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต ขอมูลเพิ่มเติม

35 89





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.