Ef 1059

Page 1

ฉบับที่ 10/2559

รายงานภาวะเศรษฐกิ จ การคลั ง จั ง หวั ด เพชรบุ รี ประจาเดื อ นตุ ล าคม 2559 “เครื่ อ งชี้ เ ศรษฐกิ จ จั ง หวั ด ในเดื อ นตุ ล าคม 2559 บ่ ง ชี้ เ ศรษฐกิ จ จั ง หวั ด ขยายตั ว เมื่ อ เที ย บ กับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการขยายตัวของด้านอุปทาน สะท้อนจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณ ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ขณะที่ด้านอุปสงค์ หดตัวจากการลดลงของการบริโภคภาคเอกชน และการใช้ จ่ า ยภาครั ฐ ด้ า นการเงิ น ขยายตั ว จากปริ ม าณเงิ น ฝากสะสมและสิ น เชื่ อ ส าหรั บ การลงทุ น เสถี ย รภาพทางเศรษฐกิ จ อั ต ราเงิ น เฟ้ อ ทั่ ว ไปเพิ่ ม ขึ้ น ด้ า นการคลั ง ผลการเบิ ก จ่า ยเงิน งบประมาณและ ผลการจัดเก็บรายได้ลดลง”

เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) ขยายตัวเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สะท้อนจากดั ชนี ผลผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรม ขยายตั ว ร้ อ ยละ 12.4 ตามการเพิ่ ม ขึ้ น ของทุ น จดทะเบี ย นและจ านวนโรงงาน อุ ต สาหกรรมสะสม แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามชะลอตั ว ลงจากเดื อ นก่ อ นที่ ข ยายตั ว ร้ อ ยละ 17.0 ส่ ว นดั ช นี ผ ลผลิ ต ภาคบริการ ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักขยายตัวร้อยละ 12.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวต่อเนื่อง จากเดือนก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 11.6 ตามการเพิ่มขึ้นของภาษีบารุงท้ องถิ่นจากโรงแรม และการเพิ่ม ขึ้นของ วของดั ชนีเศรษฐกิจงขายปลี ด้านอุปกทาน โดยเฉพาะจากการขยายตั วของดัหดตั ชนีปวริร้อมยละ าณผลผลิ จานวนนักตามการขยายตั ท่องเที่ยวและรายได้ จากการขายส่ ขณะที ่ดัชนีผลผลิตภาคการเกษตร -45.8ต การเป็ สาคัยญ าหรับกดั่อชนนีจากการลดลงของปริ เศรษฐกิจจังหวัดด้านอุ ปสงค์หดตั อีกทั้ง สุดักชรนีโคเนื รายได้ กษตรกร และ เมืภาคบริ ่อเทียบกั บเดือนนเดี วกันสของปี มาณผลผลิ ตข้วาวนาปี ้อ เหอยแครงและ หอยแมลงภู ่ เสถียรภาพทางเศรษฐกิ จ จากอัต ราเงินเฟ้อทั่วไปหดตัวเช่นกัน แต่อย่า งไร ก็ตามปริ มาณเงินฝากรวม ขยายตัว ในส่วนด้านการคลัง ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณลดลง แต่สาหรับการจัดเก็บรายได้ เพิ่มขึ้น”


2 เศรษฐกิ จ ด้ า นอุ ป สงค์ (การใช้ จ่ า ย) หดตั ว เมื่ อ เที ย บกั บ เดื อ นเดี ย วกั น ของปี ก่ อ น สะท้ อ นจากดั ช นี การใช้จ่ายภาครัฐ หดตัวร้อยละ -18.4 เป็นผลจากการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาและการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนลดลง เนื่องจากเป็นช่วงต้นปีงบประมาณ ส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง การบริโภคภาคเอกชน หดตัว ร้อยละ -15.0 หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนที่หดตัวร้อยละ -4.2 เป็นผลจากการลดลงของภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้ จานวนรถยนต์นั่ง ส่ว นบุค คลจดทะเบีย นใหม่ และรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ขณะที่การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างใหม่ เพื่อที่อยู่ อาศัย โดยเฉพาะในเขตพื้น ที่ อาเภอชะอาและอาคารเพื่อการพาณิช ย์ในเขตอาเภอบ้านลาดเป็น ส าคั ญ ประกอบกับสินเชื่อสาหรับการลงทุน ขยายตัวร้อยละ 3.3 ขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 2.6

ด้านรายได้เกษตรกรในจังหวัด ดัชนีรายได้เกษตรกรหดตัวร้อยละ -45.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนที่หดตัวร้อยละ -0.6 เป็นผลจากการลดลงของของปริมาณผลผลิตข้าว สุกร โคเนื้อ หอยแครงและหอยแมลงภู่ สาหรับด้านราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรมลดลงต่อเนื่องเมื่อเทียบกับเดือนก่อน โดยเฉพาะราคาข้าว ด้านการเงิน ปริมาณเงินฝากรวมขยายตัว ร้อยละ 4.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปี ก่อน เป็นผลจาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร และธนาคารอาคารสงเคราะห์ มี ปริมาณเงินฝากสะสมเพิ่ ม ขึ้ น แต่ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 5.2 สาหรับปริมาณสินเชื่อรวมขยายตัวร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปีก่อน ขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 2.6 เป็นผลจากปริมาณสินเชื่อรวมที่ขยายตัว สอดคล้องกับด้านการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวเช่นกัน

เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ ทั่วไป อยู่ที่ร้อยละ 0.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผล จากดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 1.1 ตามการเพิ่มขึ้นของเครื่องประกอบอาหาร อาหารบริโภคนอกบ้าน ไข่ ผลิตภัณฑ์นม เนื้อสัตว์ เป็ด ไก่ และสัตว์น้า และหมวดอื่น ๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 0.2 จากการเพิ่มขึ้นของดัชนีหมวดยาสูบ เครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ เครื่องนุ่งห่ม การตรวจรักษาและ บริการส่วนบุคคล และหมวดพาหนะ การขนส่ง การสื่อสาร สาหรับ ด้า นการจ้า งงาน ลดลงร้อยละ -0.8 เท่ากับ เดือนก่อนทีล่ ดลงร้อยละ -0.8 เช่นกัน


3 ด้ า นการคลั ง ในเดือนตุล าคม 2559 ผลการเบิกจ่ ายเงิ นงบประมาณรวม จานวน 490.8 ล้ านบาท ลดลงร้อยละ -22.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุน ที่ลดลง โดยการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา จานวน 393.2 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -21.3 และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน รวมรายจ่ายปีก่อน จานวน 97.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -25.6 เนื่องจากเป็นช่วงต้นปีงบประมาณส่วนราชการ อยู่ระหว่างดาเนินการจัดซื้อจัดจ้ าง สาหรับผลการจัดเก็บรายได้ จานวน 232.3 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -5.4 เมื่อ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ของ สานักงานสรรพากรพื้นที่เพชรบุรี จัดเก็บได้ลดลง ประกอบกับการจัดเก็บค่าเช่าและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ของ สานักงานธนารักษ์พื้นที่เพชรบุรี จัดเก็บได้ลดลงเนื่องจากปีก่อนมีฐานการจัดเก็บรายได้สูงจากการให้เช่าอาคารระยะ ยาวเป็นสาคัญ สาหรับดุลเงินงบประมาณในเดือนตุลาคม 2559 ขาดดุลจานวน 262.9 ล้านบาท พิจารณาจากผล การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่สูงกว่ารายได้นาส่งคลัง สะท้อนภาวะการคลังในการสนับสนุนเศรษฐกิจของประเทศ

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน ตุลาคม 2559 รายการ

1. รายจ่ายจริงปีงบประมาณปัจจุบนั

หน่วย:ล้านบาท งบประมาณ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ เป้าหมาย ทีไ่ ด้รับจัดสรร การเบิกจ่าย การเบิกจ่าย (ร้อยละ) 3,877.6 417.7 10.8 96.0

1.1 รายจ่ายประจา

1,462.7

393.2

26.9

98.0

1.2 รายจ่ายลงทุน

2,414.9

24.5

1.0

87.0

691.0

73.1

10.6

598.3

61.7

10.3

92.7

11.4

12.3

4,568.6 490.8 3. รวมการเบิกจ่าย (1+2) ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

10.7

2. รายจ่ายงบประมาณเหลือ่ มปี 2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 2.2 ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ.2559


4 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน ตุลาคม 2559

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงเดือน ตุลาคม 2559

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)


5 ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณจัดสรรตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน ตุลาคม 2559

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุน วงเงินตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จานวน 11 หน่วยงาน รวมรายจ่าย ลงทุน 304.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.6 ของงบรายจ่ายลงทุนที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด 2,414.9 ล้านบาท


6 ผลการเบิกจ่ ายงบลงทุน ของหน่วยงานที่ได้รั บงบประมาณจัดสรรตั้งแต่ 100 ล้า นบาทขึ้นไป สะสมตั้ งแต่ต้น ปีงบประมาณจนถึง เดือน ตุลาคม 2559

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุนวงเงินตั้งแต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป จานวน 10 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน 1,997.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 82.0 ของงบรายจ่ายลงทุนที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด 2,414.9 ล้านบาท

ผลการเบิกจ่ายตามโครงการนโยบายรัฐบาล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน ตุลาคม 2559

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)


7 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (Economic and Fiscal) รายเดือน ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจจังหวัด


8

หมายเหตุ : 1/สิ น เชื่ อ สาหรั บ การลงทุ น คานวณจาก 30% ของสิ น เชื่ อ ธนาคารพาณิ ช ย์ ธอส. ธ.ก.ส. และธนาคารออมสิ น 2/รวมรายจ่ า ยขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง คานวณดั ช นี แ ยกตามน้าหนั ก ของแต่ ล ะประเภท 3/ปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ตามประกาศของสภาพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ


9 4/มีการปรับลดปริมาณผลผลิตข้าวของเดือน ก.ย.59 จากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ตารางที่ 2 เครื่องชี้ภาคการคลัง


10


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.