Ef 0160

Page 1

ฉบับที่ 1/2560

รายงานภาวะเศรษฐกิ จ การคลั ง จั ง หวั ด เพชรบุ รี ประจาเดื อ นมกราคม 2560 “เครื่ อ งชี้ เ ศรษฐกิ จ จั ง หวั ด ในเดื อ นมกราคม 2560 บ่ ง ชี้ เ ศรษฐกิ จ จั ง หวั ด หดตั ว เมื่ อ เที ย บกั บ เดื อนเดี ยวกัน ของปีก่ อน เป็ น ผลจากการชะลอตัว ลงของด้า นอุปทาน ตามการหดตัว ของปริมาณผลผลิ ต ภาคการเกษตร และภาคบริ ก าร รวมถึ ง การชะลอตั ว ลงของภาคอุ ต สาหกรรม ด้ า นอุ ป สงค์ ข ยายตั ว จากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ด้านการเงินขยายตัวจากปริมาณเงินฝากและประมาณสินเชื่อสะสม เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัว ด้านการคลังผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณลดลงขณะที่ ผลการจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้น” เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) หดตัวร้อยละ -8.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากที่ขยายตัว ร้อยละ 0.8 ในเดือนก่อน สะท้อนจากดัชนีผลผลิตภาคการเกษตร หดตัวร้อยละ -23.8 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปีก่อน จากการลดลงของปริมาณผลผลิตข้าว สับปะรดโรงงาน กุ้งขาว และสุกร แต่ปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยจากที่ หดตัวร้อยละ -26.4 ในเดือนก่อน ดัชนีผลผลิตภาคบริการ ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักหดตัวร้อยละ -12.3 จากที่ขยายตัว ร้อยละ 8.9 ในเดือนก่อน ตามการลดลงของรายได้จากการขายส่งขายปลีก ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจากกิจกรรมโรงแรม และภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ขณะที่ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปี ก่อน แต่ชะลอตั วลงจากที ่ขยายตัจด้วร้าอนอุยละ 9.7 โดยเฉพาะจากการขยายตั ในเดือนก่อน ตามการชะลอตั วลงของปริ าณการใช้ต ตามการขยายตั วของดั ชนีเศรษฐกิ ปทาน วของดั ชนีปริมมาณผลผลิ ไฟฟ้ าด้านอุกตารเป็ สาหกรรม านวนโรงงานอุ ภาคบริ นสาคัทุญนจดทะเบี สาหรับยดันและจ ชนีเศรษฐกิ จจังหวัดตด้สาหกรรมสะสม านอุป สงค์หดตัว อีกทั้ง ดัชนีรายได้เกษตรกร และ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ จากอัต ราเงิน เฟ้อทั่วไปหดตัวเช่น กัน แต่อย่า งไร ก็ตามปริ มาณเงิน ฝากรวม ขยายตัว ในส่วนด้านการคลัง ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณลดลง แต่สาหรับการจัดเก็บรายได้ เพิ่มขึ้น”

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ขยายตัวร้อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สะท้อนจาก การบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 8.6 ฟื้นตัวมาเป็นบวกจากที่หดตัวร้อยละ -24.7 ในเดือนก่อน เป็นผลจาก การเพิ่มขึ้น ของภาษีมูลค่าเพิ่มที่จั ดเก็บได้ และจานวนรถยนต์นั่ง ส่ว นบุค คลจดทะเบีย นใหม่ ด้านการลงทุน ภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวต่อเนื่องจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.6 ในเดือนก่อน เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างใหม่ จานวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ และ การขยายตัวของสินเชื่อสาหรับการลงทุน สาหรับการใช้จ่ายภาครัฐ หดตัวร้อยละ -27.2 เป็นผลจากการเบิกจ่าย รายจ่ายประจาของส่วนราชการและรายจ่ายลงทุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ.และเทศบาล) ที่เบิกจ่ายได้ ลดลง ส่งผลให้ภาพรวมการเบิกจ่ายปรับตัวลดลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 0.1 ในเดือนก่อน แต่อย่างไรก็ตามรายจ่าย ลงทุนของส่วนราชการเบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้น


2 ด้านรายได้เกษตรกรในจังหวัด ดัชนีรายได้เกษตรกรหดตัวร้อยละ -27.5 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปีก่อน หดตัวต่อเนื่องจากที่หดตัวร้อยละ -27.8 ในเดือนก่อน เป็นผลจากการลดลงของของปริมาณผลผลิต ข้าว สับปะรดโรงงาน กุ้งขาว และสุกร สาหรับราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะราคาสับปะรดโรงงานลดลง ต่อเนื่องเมื่อเทียบกับเดือนก่อน ด้านการเงิน ปริมาณเงินฝากรวมขยายตัว ร้อยละ 2.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปี ก่อน เป็นผลจาก ธนาคารออมสิ น ธ.ก.ส. และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มี ปริมาณเงินฝากสะสมเพิ่มขึ้น แต่ ชะลอตัวลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 2.4 ในเดือนก่อน สาหรับปริมาณสินเชื่อรวมขยายตัวร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปีก่อน ขยายตัวต่อเนื่องจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.6 ในเดือนก่อน ตามการเพิ่มขึ้นของสินเชื่อจากธนาคาร พาณิชย์และธนาคารออมสิน สอดคล้องกับด้านการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวเช่นกัน

เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ ทั่วไป อยู่ที่ร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผล จากดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 2.6 ตามการเพิ่มขึ้นของอาหารสาเร็จรูป และ ผลไม้สดต่าง ๆ ส่วนหมวดอื่น ๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นร้อยละ 0.9 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีหมวดยาสูบ เครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ หมวดพาหนะ การขนส่ง การสื่อสาร การตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล และเครื่องนุ่งห่ม สาหรับด้านการจ้างงาน ลดลงร้อยละ –2.3 ปรับตัวดีขึ้นจากที่ลดลงร้อยละ -6.1 ในเดือนก่อน

ด้านการคลัง ในเดือนมกราคม 2560 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวม จานวน 504.7 ล้านบาท ลดลงร้ อยละ -27.4 เมื่อเทีย บกับ เดือนเดีย วกันของปีก่อน เป็นผลมาจากการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา จานวน 253.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -46.6 เป็นผลจากส่วนราชการได้รับจัดสรรรายจ่ายประจาลดลงเป็นสาคัญ ขณะที่ การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนรวมรายจ่ายปีก่อน จานวน 251.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.2 โดยเฉพาะการเบิกจ่าย ของหน่ ว ยงานสั งกัดกรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และมหาวิทยาลั ยราชภัฏเพชรบุรี ที่เบิกจ่ายได้สูงกว่า เป้าหมายเป็นสาคัญ สาหรับผลการจัดเก็บรายได้ จานวน 294.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.4 เมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะของสานักงาน สรรพากรพื้นที่เพชรบุรี ภาษีน้ามันของสานักงานสรรพสามิตพื้นที่เพชรบุรี และการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ของสานักงานที่ดินจังหวัดเพชรบุรี ที่จัดเก็บได้เพิ่มขึ้น สาหรับดุลเงินงบประมาณ ในเดือนมกราคม 2560 ขาดดุล จานวน 211.4 ล้านบาท พิจารณาจากผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่สูงกว่ารายได้นาส่งคลัง สะท้อนภาวะการคลัง ในการสนับสนุนเศรษฐกิจของประเทศ


3

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง เดือน มกราคม 2560

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน มกราคม 2560

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)


4 กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงเดือน มกราคม 2560

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณจัดสรรตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน มกราคม 2560

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุน วงเงินตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จานวน 14 หน่วยงาน รวมรายจ่าย ลงทุน 399.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.8 ของงบรายจ่ายลงทุนที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด 3,131.7 ล้านบาท


5 ผลการเบิกจ่ ายงบลงทุน ของหน่วยงานที่ได้รั บงบประมาณจัดสรรตั้งแต่ 100 ล้า นบาทขึ้นไป สะสมตั้ งแต่ต้น ปีงบประมาณจนถึง เดือน มกราคม 2560

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุนวงเงินตั้งแต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป จานวน 11 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน 2,595.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 82.9 ของงบรายจ่ายลงทุนที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด 3,131.7 ล้านบาท

ผลการเบิกจ่ายตามโครงการนโยบายรัฐบาล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน มกราคม 2560

ที่มา: รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิคส์ (GFMIS)


6 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด (Economic and Fiscal) รายเดือน ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจจังหวัด


7

หมายเหตุ : 1/สิ น เชื่ อ สาหรั บ การลงทุ น คานวณจาก 30% ของสิ น เชื่ อ ธนาคารพาณิ ช ย์ ธอส. ธ.ก.ส. และธนาคารออมสิ น 2/รวมรายจ่ า ยขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง คานวณดั ช นี แ ยกตามน้าหนั ก ของแต่ ล ะประเภท 3/ปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ตามประกาศของสภาพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ


8 ตารางที่ 2 เครื่องชี้ภาคการคลัง


9


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.