โนวาเท็กซ์ เดินหน้าด้วย green technology

Page 18

จ า ก ข อ ง เ ห ลื อ ใ ช้ ใ น ท้ อ ง ถิ่ น สู่เส้นใยธรรมชาติ จากแนวคิ ด Eco Textile ผสานกั บ การนำของเหลื อ ใช้ จ าก ธรรมชาติ ม าเพิ่ ม มู ล ค่ า จึ ง เกิ ด เป็ น งานวิ จั ย ด้ า นนวั ต กรรมเส้ น ใย 5 โครงการ คือ 1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เส้ น ใยตาลในเชิ ง อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ เป็นโครงการความร่วมมือ 3 ฝ่ายคือ สถาบั น ฯ คณะวิ ท ยาลั ย อาชี ว ศึ ก ษา สุโขทัย โดยอาจารย์พิทักษ์ อุปัญญ์ และบริ ษั ท ก้ อ งเกี ย รติ เท็ ก ซ์ ไทล์ จำกัด การนำเส้นใยตาลจากลูกตาล โตนดมาทำเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ่ ง ทอนั บ เป็ น นวั ต กรรมใหม่ ด้ ว ยเส้ น ใยตาล มี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ หนี ย วกว่ า ใยฝ้ า ย 2-3 เท่า ทนแสงและความร้อนได้ดีเหมือน ใยฝ้าย มีความมันเหมือนใยไหม ดูดซึม น้ ำ ได้ ดี มี ค วามคงทนต่ อ การขั ด ถู เส้นใยยาว เหนียว ระบายความร้อน ได้ ดี โดยได้ น ำร่ อ งผลิ ต เป็ น ชุ ด สู ท ชุ ด ยู นิ ฟ อร์ ม และ Home Textile ประเภท ผ้าปูโต๊ะ ผ้าม่าน 2. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เส้ น ใยข่ า ในเชิ ง อุ ต สาหกรรมและ

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์จาก เส้นใยตาล

Thai Textile & Apparel 16

คุณบัณฑิต พงศาโรจนวิทย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยนำโชคเท็กซ์ ไทล์ จำกัด

การพัฒนาเส้นด้ายต้นแบบจากใยข่า เป็ น งานวิ จั ย ร่ ว มระหว่ า งสถาบั น ฯ และ บริ ษั ท ไทยนำโชคเท็ ก ซ์ ไทล์ จำกัด ภายหลังจากความสำเร็จในการ พัฒนาเส้นใยกล้วยไปแล้ว ไทยนำโชค เท็กซ์ ไทล์ ได้เดินหน้าพัฒนาเส้นใยข่า ต่ อ ไป ด้ ว ยเล็ ง เห็ น ว่ า การไล่ ต าม เทคโนโลยีของชาติตะวันตกหรือแม้แต่ ญี่ปุ่น เกาหลี ก็ดี คงไม่สามารถตาม ทันหรือนำหน้าได้ ดังนั้นโอกาสจะแข่ง ขันในตลาดโลกได้ดีกว่าก็คือ การสร้าง นวัตกรรมจากวัตถุดิบที่มีอยู่ ในประเทศ และเน้ น ตลาดเฉพาะกลุ่ ม หรื อ nich market คือแนวทางที่จะสร้างความ ยั่งยืนได้มากกว่า “ผมเห็ น ว่ า เราไม่ ส ามารถไล่ ตามเทคโนโลยีได้ ประกอบกับเห็นแนว โน้มของ Eco Textile จึงนำแนวคิดนี้ มาสร้างเป็นโอกาสด้วยการพัฒนาและ วิจัยของที่มีอยู่ ในประเทศคือ วัตถุดิบ

ทางการเกษตรซึ่งประเทศอื่นไม่มีมาทำ เป็นเส้นใย และผลจากที่พัฒนาเส้นใย กล้วยมาได้ 2 ปี ก็ ได้รับการตอบรับ จากต่างประเทศพอสมควร จึงคิดว่า สิ่ ง ที่ ท ำไปนี้ จ ะไม่ สู ญ เปล่ า ตรงข้ า ม กลับเป็นทางรอดด้วยซ้ำ” คุณบัณฑิต พงศาโรจนวิ ท ย์ กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท ไทยนำโชคเท็ ก ซ์ ไทล์ จำกั ด กล่าว ปกติ เ หง้ า ของข่ า จะนำไปใช้ ประโยชน์ ส่วนลำต้นจะถูกตัดทิ้ง ทำ ให้​้เกิดการเน่าเหม็นมีกลิ่น บ้างก็ขจัด ด้วยการเผาซึ่งเป็นการก่อให้เกิดมลพิษ ทางอากาศ ดังนั้นการนำลำต้นที่เหลือ ใช้ ไปทำเส้ น ใยจึ ง เป็ น การลดปั ญ หา สิ่ ง แวดล้ อ มอี ก ทางหนึ่ ง ขณะนี้ ได้ นำร่ อ งผลิ ต ชุ ด สู ท ผ้ า คลุ ม อาบน้ ำ (เหมาะสำหรับธุรกิจสปา) และผ้าม่าน 3. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สิ่ ง ทอที่ มี ส มบั ติ พิ เ ศษจากเส้ น ใย ฝ้ า ยสี พั น ธ์ุ ไ ทย เป็ น ความร่ ว มมื อ ของสถาบันฯ และ ภาควิชาวิศวกรรม- สิ่ ง ท อ ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ธั ญ บุ รี โดยผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ปิ ย นุ ช จริงจิตร และศูนย์วิจัยพืชไร่ นครสวรรค์ กรมวิ ช าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย ดร.ปริญญา สีบุญเรือง

ถ้ า พู ด ถึ ง เ รื่ อ ง องค์ความรู้แล้วนักวิจัย ไทยไม่ ด้ อ ยไปกว่ า นั ก วิ จั ย ชาติ อื่ น เพี ย งแต่ เรายั ง ขาดแคลนความ ร่ ว มมื อ จากผู้ ป ระกอบ การในการนำไปประยุกต์


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.