@samutprakan issue_6 Jan-Feb 2019

Page 1

หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเที่ยวและของดี จังหวัดสมุทรปราการ

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๕ ประจำ�เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ Vol. 5 / No. 15 / JANUARY - FEBRUARY 2019

T he

Pak n am

Re-Forming ปากน�้ำเมืองร่วมสมัย




มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 05

สารจาก...

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ในพื้นที่ ๑,๐๐๔ ตารางกิโลเมตรของจังหวัดสมุทรปราการ คือความหลากหลายทางสังคมที่บริบทของความเป็นเมืองใหญ่ กับวิถีเรียบง่ายแบบสังคมชนบท ต่างอยู่ร่วมกันแบบผสมผสาน และสร้างเสน่ห์ที่น่าค้นหาให้กับเมืองปากน้ำ�ได้อย่างไม่รู้จบ ความที่สมุทรปราการเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีผู้คนจากที่ต่างๆ ย้ า ยถิ่ น ฐานมาพำ � นั ก อาศั ย ดั ง ปรากฏหลั ก ฐานอ้ า งอิ ง ตั้ ง แต่ สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ทั้งชาวตะวันตกอย่างฮอลันดา รามัญ ลาว และไทย กระจายตัวอยู่เขตแขวงต่างๆ ทำ�ให้แต่ละ พืน้ ทีข่ องสมุทรปราการต่างก็มวี ฒ ั นธรรม ประเพณี และวิถชี วี ติ ที่แตกต่างกันไปด้วยเช่นกัน และเป็นที่น่าดีใจว่าความแตกต่าง หลากหลายนั้นยังคงดำ�เนินอยู่ และได้รับการสานต่อกันมา โดยคนรุ่นใหม่ที่ศรัทธาและหวงแหนวิถีของบรรพชน บางอย่าง สื บ ทอดโดยยึ ด แบบแผนเป็ น เอกลั ก ษณ์ ขณะที่ บ างอย่ า ง ก็ ป รั บ เปลี่ ย นไปตามยุ ค สมั ย เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การ เปลี่ยนแปลงของสังคมและค่านิยมปัจจุบันที่ดำ�เนินอยู่ ในการพั ฒ นาเมื อ งนั้ น เราไม่ อ าจพั ฒ นาแต่ เ พี ย งวั ต ถุ เพื่อนำ�ไปสู่การเติบโตของเมือง แต่ต้องมีการปรับปรุงและ ฟื้นฟูทุกองค์ประกอบที่มีอยู่เดิมของเมืองนั้นๆ อย่างที่ไม่ละทิ้ง เสน่ห์และวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมไว้ข้างหลัง โดยผสมผสานไปกับ การพัฒนาตามยุคสมัยได้อย่างกลมกลืน เพื่อให้ทุกคนทุกวัย ที่อยู่ในสังคมเดียวกัน สามารถก้าวเดินไปข้างหน้าและมุ่งสู่ อนาคตไปด้วยกัน ทีมงานองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ยินดี เป็นอย่างยิ่งที่ได้มีโอกาสนำ�เสนอเรื่องราวที่น่าสนใจของกลุ่ม คนต่างวัย ซึ่งยังคงทำ�งานร่วมกันด้วยความมุ่งหวังที่จะรักษา ความงดงามทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของชาวสมุทรปราการ เอาไว้ใน @Samutprakan ฉบับนี้

Covering an area of 1,004 square kilometers, Samutprakan is home to the diversity of social contexts where urban lifestyles and traditional simplicity of rural areas harmoniously co-exist. According to historical evidence from the Ayuttaya period, Samutprakan is an ancient city that immigrants from different countries including the Dutch, Mons and Laotians settled down among Thais. Hence, each district is embedded with their cultures, traditions, and ways of life. It is delightful to learn that all the diversity lives on and have been inherited by new generations who remain faithful and protective of their ancestor's way of life. Many are inherited in an identical manner to their origins while many have been adapted to the changing eras, social contexts, and values. In city development, it is as important to underline material development as to improve every other aspect of the city including the preservation and restoration of its traditional charm and way of life so everyone of every generation in the same society can walk alongside towards a brighter future. SMPK Provincial Administration Organization is honored to have the opportunity to present interesting stories about how people from different times manage to put their best effort together to conserve Samutprakan's exquisite cultures and identities in this issue.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๕ เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ Vol. 5 / No. 15

JANUARY - FEBRUARY 2019

ที่ปรึกษา consultant นายพูลทวี ศิวะพิรุฬห์เทพ Mr. Poonthavee Sivaphiroonthep ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ Chief Administrator of the PAO Acting as นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ Chief Executive of the Samutprakan PAO คณะทำ�งาน นายธนวัฒน์ กล่ำ�พรหมราช รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าสำ�นักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักดิ์ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางสาวบัณฑิตา ลายคราม นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางปวีณา สีคำ� เจ้าพนักงานธุรการชำ�นาญงาน จัดพิมพ์โดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ แฟกซ์ ๐ ๒๓๙๕ ๔๕๖๐ ต่อ ๒๐๙

working group

Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Miss Banthita Laikram Public Relations Officer, Professional Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level Published by

Samutprakan Provincial Administrative Organization Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel. 0 2389 0600 Fax 0 2395 4560 ext. 209

ผลิตโดย created by บริษัท แจสมิน มีเดีย จำ�กัด Jazzmin Media Co., Ltd. โทรศัพท์ ๐๘ ๖๓๓๙ ๑๑๘๑, ๐๘ ๕๙๐๖ ๔๗๘๑ Tel. 08 6339 1181, 08 5906 4781 อีเมล jazzmin-media01@hotmail.com e-Mail jazzmin-media01@hotmail.com มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZINE


Travel

@samutprakan 07

editor's talk มี ไ ม่ น้ อ ยที่ ก ารเข้ า มาของสั ง คมยุ ค ใหม่ ได้ เข้ า มาเปลี่ ย นแปลงหรื อ แทนที่ ประเพณี วัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบเดิมๆ ไป จนกระทั่ง ไม่เหลือพืน้ ทีใ่ ห้สงิ่ เก่าๆ อันมากคุณค่า ได้หยัดยืน อยู่ท่ามกลางโลกที่กำ�ลังมุ่งขับเคลื่อนไปข้างหน้า

It becomes common to see modern society transforming or replacing traditional cultures, traditions, and ways of life that there is hardly much space left for yesterday treasures to stand tall among the world that keeps spinning forward.

แต่สำ�หรับสมุทรปราการแล้ว ไม่ใช่แบบนั้น เพราะแม้คลื่นแห่งความทันสมัยจะทำ�ให้ชีวิต เคลื่อนไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วด้วยเทคโนโลยี และสังคมดิจทิ ลั แต่ในมุมหนึง่ ของสมุทรปราการ เรากลั บ พบว่ า ยั ง มี เรื่ อ งราวอั น น่ า สนใจของ วัฒนธรรม การละเล่น ประเพณี และการใช้ ชีวิต ที่สืบเนื่องเชื่อมโยงมาจากวิถีของคนรุ่นเก่า โดยคนรุ่นใหม่ที่มองเห็นความงดงามเหล่านั้น ได้ เข้ า มาสื บ สานเพื่ อ ให้ วิ ถี เ หล่ า นั้ น ยั ง คงอยู่ ในขณะที่ พ วกเขาเหล่ า นั้ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ แ ยกตั ว ออกจากสั ง คมสมั ย ใหม่ หากแต่ ใช้ ชี วิ ต แบบ ผสมผสานและเรียนรู้ระหว่างกันของคนรุ่นเก่า และรุ่ น ใหม่ จนเกิ ด วั ฒ นธรรมร่ ว มสมั ย และ ดำ�เนินคู่ไปด้วยกันอย่างกลมกลืน

Nonetheless, Samutprakan does not apply by the same rules. As the wave of modernity has been driving life forward with great speed via technology and digital society, we still find many fascinating stories of cultures, folk plays, traditions and lifestyles inherited from previous generations in Samutprakan. Upon realizing such authentic beauty, new generations engage in conserving the old ways of life without entirely secluding themselves from modern society. Here, the old and the new generations mutually learn and respect one another allowing different cultures and ways of life from different eras to harmoniously co-exist.

@สมุทรปราการฉบับนี้ ขอทำ�หน้าที่พาคุณ ผู้อ่านไปพบกับเรื่องราวร่วมสมัยของคนต่างยุค ไม่ว่าจะเป็นวงกลองยาวที่ในวงนั้นรวมตัวกัน ในเหล่าเครือญาติ ที่มีตั้งแต่เด็กวัยสิบกว่าจนถึง ผู้ใหญ่วัยเกษียณที่ยังบรรเลงจังหวะไปด้วยกัน คณะลิเกของคนรุ่นใหม่ที่ดึงเอาความเป็นสากล เข้ามาอยู่ในการแสดงเพื่อสร้างสีสันแบบใหม่ หรือการเล่นหมากรุกคน ทีเ่ คยปรากฏอยูใ่ นตำ�รา หมากรุก ก็ถกู ฟืน้ กลับมาใหม่โดยคนสองวัย ฯลฯ นอกจากนี้ เรายั ง พาคุ ณ เดิ น เท้ า ลั ด เลาะ เข้ า ไปสั ม ผั ส ความเป็ น อยู่ อ ย่ า งรื่ น รมย์ ข อง ชาวชุมชนมอญ อำ�เภอพระประแดง ซึ่งยังคง วิถีดั้งเดิมไว้อย่างเหนียวแน่นแม้จะมีเมืองใหญ่ รายล้อม รวมถึงความน่าสนใจอีกหลายแง่มุมที่ รอให้คณ ุ เปิดอ่านและทำ�ความรูจ้ กั สมุทรปราการ อย่างลึกซึ้งขึ้นไปด้วยกัน

In this issue, @Samutprakan would like to introduce our readers to numerous stories of co-existence over time differences. Some interesting features include a traditional long drum troupe whose members come from the same family of all generations, a new-generation Li Kay troupe that creatively blends in modern and western accents into traditional performance or the ancient human chess recently brought back to life by people of two generations. Moreover, we are taking you on a walk down small alleys and back streets to fully appreciate the pleasurable living at a Mon community in Phra Pradaeng District where traditional ways of life have been neatly preserved despite their enclosing urban surroundings. We genuinely hope you will be able to enjoy exploring all the brilliant aspects of Samutprakan while flipping each page open.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


update

24 : ready to go

12 : know it first

เดินเลาะ เที่ยวแบบเจาะลึก

รู้ก่อนเที่ยว

รู้จักสมุทรปราการ

Get to Know Samutprakan

14 : hot in town

แหล่งเที่ยวห้ามพลาด

Sanctuary Cafe & Restaurant โอเอซิสในรั้วของบ้านเก่าร้อยปี

Sanctuary Cafe & Restaurant An oasis behind the fence of a century-old house

16 : New Spot

พร้อมเที่ยว

Round and Through Alleys an In-Depth Travel

26 : Map

แผนที่นักเดินทาง feature 28 : COVER STORY

เที่ยวจากปก

ปากน�้ำ...เมืองร่วมสมัย

Paknam The City of Co-Existence / Where the Past, Present and Future Coexist

ที่เที่ยวใหม่

78 : Art along the way

Visit Bang Ka-Ee Embrace the way

เมืองสมุทรปราการ

เยือนบางกะอี่ สัมผัสวิถีริมคลองบางปลา of life by Khlong Bang Pla

ศิลป์ในเส้นทาง

Samutprakan City

18 : DID YOU KNOW ?

80 : around town

Tips About Samutprakan

ต้นไม้ สายลม ล�ำคลอง และแสงส่องในหมู่บ้านมอญ “เว่ขะราว”

เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ

20 : SMPK History

ที่นี่มีอดีต

ท่องทั่วเมือง

The Trees, The Breeze,The Canal And The Sunshine in The Mon Village “Vekharao”

ภาพเก่า เล่าเรื่อง...เมืองปากน�้ำ

GReen trip

Paknam City

92 : green space

The Tales From Yesterday Pictures…

22 : HAPPENING สมุทรปราการเจ็ตสกี ๒๐๑๙

Samutprakan Jet Ski Cup 2019

ย่านนี้สีเขียว

โรงงานยุคใหม่ ใครเขาเผาขยะกัน

Reinvented Plant Farewell Waste Incineration

98 : Nature journey

รักษ์ธรรมชาติ

ดึงธรรมชาติเข้ามาใกล้ตัว ไม่ต้องกลัวโรคภัย

Enclose Yourself with Nature Fear No Sickness


Travel

@samutprakan 09

Travel

@samutprakan

contents lifestyle 104 : good Recipe

เมนูพื้นบ้าน ขนมเทียนญวน

Khanom Thian Yuan

108 : craftsmanship

ท�ำมือ

แส้ปัดยุง จัดการยุงแบบไม่ท�ำลายนิเวศ

Horsetail Mosquito Whisk Eco-Friendly Mosquito Control

110 : otop shopping

ของฝากของดี

เห็ดดีเป็นศรีแก่สุขภาพ

Good Mushrooms Good Blessings to Health

114 : EAt & drink

เที่ยวไปชิมไป

Bougain Cafe & Crafts คาเฟ่เฟื่องฟ้ามีชีวิต ที่เป็นมากกว่าร้านกาแฟ

Bougain CafE & Crafts

The Lively Bougainvillea Cafe Beyond

a Coffee Shop

Play Farm & Play Café กิน-ดื่ม ในฟาร์ม

Play Farm & Play Café Eat-Drink in a farm

122 : make a reservation

ค�่ำนี้นอนไหน

๘๘ Homestay ณ บางกะเจ้า บ้านพักแบบวิถีไทย 88 Homestay Na Bang Kachao Thai Living Homestay

128 : sAmutprakan hot shot

ภาพสวยสมุทรปราการ เทศกาลงานวัด

A temple fair

130 : Calendar

ปฏิทินกิจกรรม

issue 15 JANUARY FEBRUARY 2019


UP D ATE

get to know

know it first | hot in town | N e w S p o t | D i d Y o u K n o w ? | S M PK H i s t o r y | H a p p e n i n g | R e a dy t o g o | M a p

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

11

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


k n ow i t f i r st

GET TO KNOW SAMUTPRAKAN

รู้จักสมุทรปราการ How popular is Samutprakan among Thai travellers ?

มีคนไทยนิยมท่องเที่ยวในสมุทรปราการมากแค่ไหน ?

ในปี ๒๕๖๐ มีคนไทยเข้ามาเยี่ยมเยือนสมุทรปราการ

๒,๐๗๘,๕๓๖ คน ในจ�ำนวนนี้แบ่งเป็นนักท่องเที่ยว ๖๐๔,๓๕๐ คน และนักทัศนาจร ๑,๔๗๔,๑๘๖ คน In 2017, among

2,078,536

Thais who visited Samutprakan, there were 604,350 tourists and 1,474,186 excursionists.

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

13

ระยะเวลาพ�ำนักเฉลี่ย ในจังหวัดสมุทรปราการ ของนักท่องเที่ยวชาวไทย คือ

๑.๗๒ วัน

The average length of stay for Thai travellers in Samutprakan is

1.72 days.

มีชาวไทยเข้ามาพักค้าง ในสถานประกอบการพักแรม จังหวัดสมุทรปราการ รวม

๕๘๖,๖๙๗ คน

The total number of Thai travellers who stayed over at accommodation establishments in Samutprakan is

นักท่องเที่ยวชาวไทย มีค่าใช้จ่ายส�ำหรับ การท่องเที่ยวเฉลี่ย

586,697.

๑,๖๖๘.๙๑ บาท/คน/วัน The average expenditure of Thai travellers is

1,668.91 Baht/ Persons/ Day.

จังหวัดสมุทรปราการ มีรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวไทย ในปี ๒๕๖๐ เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น

๓,๑๘๙.๔๙ ล้ า นบาท The total revenue of Samutprakan generated by Thai visitors in 2017 is

3,189.49

million baht.

*ข้อมูลจากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติล่าสุด ปี ๒๕๖๐ JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


h o t i n t o w n / S a n c t u a r y C a f é & R e s ta u r a n t

Sanctuary Café & Restaurant An oasis behind the fence of a century-old house

Sanctuary Café & Restaurant

โอเอซิสในรั้วของบ้านเก่าร้อยปี นาทีนี้ใครมาถึงสมุทรปราการแล้วไม่แวะมาเช็กอินที่นี่ บอกเลยว่า เชยมาก! เพราะ Sanctuary Café & Restaurant ถือเป็นโอเอซิส แสนงามในผืนดินของบ้านเก่า ทีถ่ กู ปรับปรุงอย่างพิถพี ถิ นั จนกลายเป็น ร้านอาหารที่ไม่ใช่แค่เดินเข้ามาเพื่อกินแล้วอิ่ม แต่มันคือการใช้เวลา ช่วงขณะหนึ่งในการส�ำรวจสถาปัตยกรรมอายุร้อยปี ที่ผสมผสาน รู ป แบบการตกแต่ ง ในแบบวิ น เทจเข้ า ไป ทั้ ง โอบล้ อ มด้ ว ยต้ น ไม้ พืชพรรณ การเข้ามาในร้านนี้จึงรู้สึกเหมือนได้เดินเข้ามานั่งอยู่ใน บ้านเพื่อน ที่ต้นตระกูลของเพื่อนน่าจะเป็นกลุ่มนักธุรกิจผู้มีใจอนุรักษ์ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

15

t this hour, whoever has made it A to Samutprakan but never checks in at this place is extremely outdated!

Sanctuary Café & Restaurant is a splendid oasis resting in an antique house meticulously renovated into a restuarant. Thus, coming here does not only fulfill your empty stomach as it also allows you to momentarily appreciate a century-old achitecture with a hint of vintage decoration surrounded by various kinds of plants.

เมื่ อส� ำรวจโดยรอบ พบว่า บรรยากาศ ทีน่ ชี่ วนให้นกึ ถึงตัวเองสมัยเมือ่ ยังเด็ก ในบ้าน หลังเก่าสไตล์เรโทรของคุณปู่ ซึ่งมีต้นจามจุรี ใหญ่ขนาดเท่าต้นจามจุรีที่ริมบ่อน�้ำของบ้าน หลังนี้ และเมื่อไหร่ก็ตามที่ฤดูกาลของการ ผลิ ด อกเริ่ ม ขึ้ น ดอกสี ส วยเต็ ม ต้ น จามจุ รี ก็ จ ะท� ำ ให้ ผู ้ ค นที่ เ ดิ น ผ่ า นไปมาต้ อ งหยุ ด เงยหน้ามองเหมือนก�ำลังโดนสะกดจิตชัว่ ขณะ นอกจากความเขี ย วขจี ท างด้ า นนอกแล้ ว กลิ่ น ความชื่ น ฉ�่ ำ ยั ง ต่ อ เนื่ อ งไปถึ ง ด้ า นใน ตัวร้านซึ่งเป็นบ้านเก่าหลังงามทาสีขาวขนาด ๒ ชั้น ที่ต้องบอกว่าการออกแบบ-ตกแต่ง ของร้ า นนี้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งของการ

After wandering around, the overall atmosphere of this place is a reminiscence of our childhood in our grandfather’s retro house where large East Indian Walnut trees by the water mesmerize their passerby with their bloom whenever spring approaches. Further inside the lush green scenery, a gracious two-story white house appears before our eyes. Every piece of furniture and lighting in every corner of this living gallery naturally makes us feel cozy and comfortable. While tourist attraction photos on the wall are real attention catchers, modern chairs casually mingle with other vintage furniture that also tells beautiful stories of cultures and art. With such settings, the place is also a perfect venue for a wedding ceremony.

จัดวางเฟอร์นเิ จอร์และการจัดต�ำแหน่งดวงไฟ เพื่อสร้างอารมณ์มากๆ จนบอกได้เต็มปากว่า น่านั่งไปทุกมุม ประหนึ่งเดินอยู่ในแกลเลอรี ที่ มี ชี วิ ต บางมุ ม หยุ ด สายตาลู ก ค้ า ที่ เ ดิ น เข้ า มาด้ ว ยชุ ด ภาพถ่ า ยสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ที่ติดอยู่ตามฝาผนัง บางมุมถูกจัดวางด้วย รูปแบบเก้าอี้ท่ีทันสมัยแต่กลับผสมผสานกัน ได้ ดี กั บ เฟอร์ นิ เจอร์ เ ก่ า ชิ้ น อื่ น ๆ เรี ย กว่ า ใครชอบงานวิ น เทจ ชอบเฟอร์ นิ เจอร์ เ ก่ า ชอบเรื่ อ งราวของศิ ล ปวั ฒ นธรรม คุ ณ จะ ตกหลุมรักที่นี่เป็นแน่ รวมถึงถ้าใครก�ำลังมี แพลนจะแต่งงาน ที่นี่ก็เหมาะมากส�ำหรับ การใช้เป็นสถานที่จัดงานด้วยเช่นกัน

Sanctuary Café & Restaurant ปากซอยสุขุมวิท ๒๙ ตรงข้ามวัดมหาวงษ์ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการ : วันอังคาร-อาทิตย์ เวลา ๑๑.๐๐-๒๒.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๒๘ ๐๑๕๕ Sanctuary Café & Restaurant The entrance of Soi Sukhumvit 29, opposite to Mahawong Temple, Paknam Sub-district, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Opens on Tuesday-Sunday from 11.00 am - 10.00 pm Phone: 08 1828 0155 JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


NEW SPOT

Visit Bang Ka-Ee Embrace the way of life by Khlong Bang Pla

เยือนบางกะอี่

สัมผัสวิถีริมคลองบางปลา is unbelievable that with just a few IPlatminutes after turning into Soi Bang 43, we would be able to witness the beautiful serenity as if we were off into another world, a world with neither crowd or chaos, the simple way of life of Bang Ka-Ee villagers in Bang Pla Sub-District, one of six districts in Bang Phli, Samutprakan.

Situated on Moo 8 in Bang Pla SubDistrict, Bang Ka-Ee Village is a village under “OTOP Tourism: Innovative Community.” The project drives the community with innovative tourism infused with local wisdoms, way of life, cultures and creativity to generate sustainable income to the people within the community. The cham of Bang Ka-Ee Village lies in the way of life along both banks of Khlong Bang Pla. Some villagers sail their boats and work with their square dip nets to catch fishes in the canal where the water remains clear while some leisurely sit and fish along the canalfront as cool breeze passes by. Moreover, there are many places worth a visit in the neighboring areas. To welcome travellers who wish to experience the local way of life, Bang Pla Innovative Community Enterprise offers a one-day boat trip where travellers may

แทบไม่ น ่ าเชื่ อ ว่ าเพี ย งเลี้ย วรถเข้าสู่ซ อย บางปลา ๔๓ ขั บ ลึ ก เข้ า ไปเพี ย งไม่ น าน เราจะได้ พ บกั บ ความสงบงามราวกั บ หลุ ด ไปสู ่ อี ก โลกหนึ่ ง โลกที่ ป ราศจาก ความจอแจวุ ่ น วาย กั บ วิ ถี ริ ม คลอง ที่ เ รี ย บง่ า ยของชาวหมู ่ บ ้ า นบางกะอี่ ต�ำบลบางปลา ๑ ใน ๖ ต�ำบลของอ�ำเภอ บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

หมู่บ้านบางกะอี่ ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๘ ต�ำบล บางปลา เป็ น หมู ่ บ ้ า นซึ่ ง อยู ่ ใ นโครงการ “ท่องเทีย่ วชุมชน OTOP นวัตวิถ”ี แนวทาง ขับเคลื่อนชุมชนจากการท่องเที่ยว ที่ดึงเอา เสน่หข์ องชุมชน ภูมปิ ญ ั ญา วิถชี วี ติ วัฒนธรรม และความสร้ า งสรรค์ มาสร้ า งให้ เ กิ ด การ กระจายรายได้ต่อผู้คนในชุมชน

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

enjoy their meal and sightseeing down the canal under the theme “Cruise back in time. Taste local food. The Source of local fishery. Miracle of the stream. The Origin of Luang Phor Toh.” The one-day trip starts off around ten in the morning of Saturday-Sunday or in the evening for special or reserved trips. Beginning at Wat Rat Niyomtham (Wat Khlong Si), travellers pay respect to the simulated image of Luang Phor Phueak for holy blessings before hopping onto the boat and cruise down Bang Pla Canal, under an ancient wooden bridge witnessing the local way of life and cultures on both sides of the canal. Docking by the shore, travellers are invited to pay respect to centuries-old sacred Chao Phor Suea Shrine (Tiger God Shrine), which the locals often stop by to pay their dear respect and ask for certain blessings. Once their wishes are granted, they would hire children in the neighborhood of Bang Pla Sub-District to perform Lakhon Chatri both to express their gratitude to the Tiger God and provide income to the children. During this trip, travellers will be able to visit and learn more about the community’s source of economy such as Tid Phueak Gourami Fish (a major production source of Gourami Fish), Poultry Distribution Center including chicken and ducks. Travellers can also learn how to prepare Kanom Kong, a traditional Thai dessert recipe which is also one of the famous local OTOP products here before heading to Sanan Fishing Park to learn about His Majesty the late King Bhumibol’s Science and Arts Knowledge. Sailing down the canal, the boat will dock by a waterfront public rest-house where Ta Kieng Rim Khlong Market is located. Here, villagers display and sell their local produces including Gourami Fishes, OTOP products and other delightful food. Either by boat or by cars down a concrete canal road, travellers are welcome to experience various interesting tourist destination in Bang Ka-Ee Community.

เสน่ห์ของหมู่บ้านบางกะอี่ คือวิถีชีวิต ริมคลองบางปลาทั้งสองฝั่ง ชาวบ้านน�ำเรือ ออกมายกยอหาปลาในคลองซึง่ น�ำ้ ยังใสสะอาด บ้ า งนั่ ง ตกปลา หรื อ พั ก ผ่ อ นริ ม คลองที่ มี สายลมเย็นพัดเอื่อย และบริเวณใกล้เคียงนั้น ยังมีสถานทีต่ า่ งๆ ให้แวะเยีย่ มชม เพือ่ รองรับ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ต ้ อ งการมาสั ม ผั ส วิ ถี ข อง ชาวชุมชนนี้ วิสาหกิจชุมชนบางปลานวัตวิถี จึงเปิดบ้านต้อนรับนักท่องเที่ยวแบบ One Day Trip ด้วยการล่องเรือชมทัศนียภาพ ในล�ำคลอง พร้อมกินอาหารภายในเรือ ภายใต้ แนวคิด “ล่องเรือย้อนวันวาน ชิมอาหารพืน้ ถิน่ แหล่งท�ำกินประมงพื้นบ้าน ปาฏิหาริย์ล�ำน�้ำ ก�ำเนิดหลวงพ่อโต” ทริปหนึง่ ของวันนีจ้ ะเริม่ ต้นขึน้ ราวสิบโมง เช้าในวันเสาร์-อาทิตย์ หรืออาจจะช่วงเย็น ส� ำ หรั บ ทริ ป พิ เ ศษที่ มี ก ารจอง โดยเริ่ ม ต้ น ที่วัดราษฎร์นิยมธรรม (วัดคลองสี่) หลังจาก

17

กราบสั ก การะรู ป หล่ อ หลวงพ่ อ เผื อ กเพื่ อ ความเป็นสิรมิ งคลแล้ว ผูร้ ว่ มทริปจะได้ลงเรือ เพือ่ ล่องไปตามล�ำน�ำ้ บางปลา ลอดสะพานไม้ เก่าแก่ ชมวิถีวัฒนธรรมสองฟากฝั่งคลอง เที ย บฝั ่ ง ขึ้ น สั ก การะศาลเจ้ า พ่ อ เสื อ อายุ หลายร้อยปี อันเป็นทีเ่ คารพและนิยมมาขอพร ของชาวบ้านละแวกนี้ และเมื่อสมประสงค์ ก็จะมีการจ้างละครชาตรี การแสดงของเด็ก ในชุมชนต�ำบลบางปลามาเล่นแก้บน เพื่อให้ เด็กๆ ในชุมชนมีรายได้ นอกจากนี้ ยั ง ได้ เ ยี่ ย มชมและเรี ย นรู ้ แหล่งเศรษฐกิจชุมชน อาทิ ปลาสลิดทิดเผือก ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ท� ำ ปลาสลิ ด แหล่ ง ใหญ่ ข อง ชาวบางปลา ศู น ย์ ก ระจายพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ี ก ซึ่ ง มี ทั้ ง ไก่ แ ละเป็ ด เรี ย นรู ้ ก ารท� ำ ขนมกง ขนมไทยโบราณอันเป็นสินค้า OTOP ของทีน่ ี่ ฐานการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาที่บ่อตกปลา สนั่นฟิชชิ่งปาร์ค ก่อนจะเทียบฝั่งที่บริเวณ ศาลาริมคลอง ซึ่งเป็นที่ตั้งของตลาดตะเกียง ริมคลอง โดยชาวบ้านจะน�ำสินค้าท้องถิ่น อย่าง ขนม ปลาสลิด สินค้า OTOP และอาหาร มาขายในซุม้ ริมคลอง จะเที่ยวบางกะอี่ด้วยการล่องเรือ หรือ ใช้ เ ส้ น ทางถนนคอนกรี ต เลี ย บชายคลอง ก็สามารถเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ของชุมชนนี้ได้ ขึ้นกับว่าอยากได้บรรยากาศ แบบไหน

*การลงเรือต้องจองทริปล่วงหน้า สามารถจองทริปและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ส�ำนักงาน วิสาหกิจชุมชนบางปลานวัตวิถี บ้านบางกะอี่ ต�ำบลบางปลา อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๙ ๒๔๙๕ ๖๕๓๖ *For a boat trip, a prior reservation is required. For reservation and further information, please contact Bang Pla Innovative Community Enterprise Office, Baan Bang Ka-Ee, Bang-Pla Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan or call 09 2495 6536. JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


d i d yo u k n o w ?

Tips about Samutprakan

เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ

“บางปลา” เดิมเรียกว่า “บางลาว”

"Bang Pla" once known as "Bang Lao"

เดิมนั้นในแถบนี้เรียกกันว่า “บางลาว” ด้วยเป็นพื้นที่ดั้งเดิมที่มีคนลาวอพยพ จากเวี ย งจั น ทน์ ม าตั้ ง รกรากตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาลที่ ๑ และได้ เริ่ ม เป็ น ชุ ม ชน อย่างเป็นทางการในช่วงปรับปรุงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยก�ำนัน ต�ำบลบางปลาคนแรกคือ “ขุนสมานพลีราษฎร์” ได้เป็นผูเ้ ปลีย่ นชือ่ เป็น “บางปลา” เนื่องจากสมัยนั้นมีการประกวดแกงที่อ�ำเภอบางพลี และชาวต�ำบลนี้ได้น�ำ แกงปลาหมอและแกงปลาอื่นๆ ไปประกวดและได้รับการกล่าวขานถึงรสชาติ ความอร่อย จึงได้มกี ารเปลีย่ นชือ่ จาก “บางลาว” เป็น “บางปลา” มาตัง้ แต่นนั้

Formerly known as "Bang Lao," the area was originally where Lao immigrants from Vientiane settled down in King Rama I era and officially founded a community during the change of national governing system during the reign of King Rama V. The first governor was "Khun Saman Phiraj" who changed the subdistrict title to Bang Pla after the deliciousness of the villagers' Climbing Gourami Curry earned its reputation from many competitions in Bang Phli District.

ต�ำบลบางปลา เป็น ๑ ใน ๖ ต�ำบลของอ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ ๕๓.๓๗๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๓๓,๓๖๐ ไร่ ต�ำบลนี้ ประกอบด้วยหมูบ่ า้ นทัง้ สิน้ ๑๕ หมูบ่ า้ น แต่ในส่วนทีเ่ รียกกันว่าเกาะบางปลานัน้ ประกอบไปด้วยบางส่วนของหมูท่ ี่ ๑ ถึงหมูท่ ี่ ๖

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Bang Pla is one of six sub-districts in Bang Phli District, Samutprakan covering an area of 53.376 square kilometers or approximately 33,360 rais. It is further divided into 15 villages although Bang Pla island alone is made of Moo 1 to Moo 6.

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

19

เรือยาวกับไม้ตะเคียน

Long Boat and Ta-khian Wood

Long Boat Festival is one of Samutprakan's vital traditions held annually but did you know that most dugout boat builders prefer Ta-khian Wood (Iron Wood) to any other type of wood? Besides its beautiful characteristics straight out of the textbook, it is believed that boats made of this particular wood will be guarded by the guardian goddess of boat. First, the shipwright floats the tree trunk in the water and picks the side that faces down as the bottom of the boat. Mostly, the bow is made of the tree base and the stern of the trunk's end to achieve a boat with wide body and slim end that enables a faster sail.

การแข่งขันเรือยาวเป็นหนึง่ ในประเพณีสำ� คัญ ของชาวสมุ ท รปราการที่ จั ด ขึ้ น ทุ ก ปี แต่ รู ้ หรือไม่ว่าในการสร้างเรือยาวขึ้นมาสักล�ำนั้น ช่างขุดเรือจะเลือกไม้ตะเคียนมาขุดเรือยาว มากกว่าไม้ชนิดอื่น เพราะเชื่อมาแต่โบราณ ว่ามีแม่ย่านางสถิตอยู่ และมีลักษณะงาม ตามต�ำราขุดเรือแต่โบราณ โดยช่างขุดเรือ จะพิจารณาว่าใช้สว่ นไหนท�ำเป็นส่วนท้องเรือ หัวเรือ และหางเรือ ซึ่งส่วนท้องเรือนั้นจะ น�ำล�ำต้นไปลอยน�้ำเพื่อดูว่าไม้จะพลิกด้านใด แล้ ว เลื อ กเอาด้ า นตรงข้ า มเป็ น ท้ อ งเรื อ ส่วนที่ใช้เป็นหัวเรือนั้นนิยมใช้ส่วนโคนต้น และใช้ส่วนปลายเป็นส่วนท้ายเรือ เพื่อที่จะ ได้เรือทีม่ รี ปู ทรงกว้าง ท้ายเรียว รูปร่างคล้าย ปลาช่ อ นที่ ส ามารถเบิ ก น�้ ำ ได้ ดี ท� ำ ให้ เรื อ วิง่ ได้เร็ว

๑๓๕ ปี พระปรางค์เอียงวัดสาขลา

“พระปรางค์เอียง” คือพระปรางค์เก่าแก่ อั น เป็ น โบราณสถานส� ำ คั ญ ของวั ด สาขลา ต�ำบลนาเกลือ อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัด สมุทรปราการ เกิดจากการก่อสร้างที่มีการ วางเสาเข็มทางด้านคลองเอาไว้มาก เนือ่ งจาก ชาวบ้านเกรงกันว่าพระปรางค์จะเอนไปทาง ด้านทิศตะวันออกแล้วจะล้มลงไปในคลอง ท�ำให้ด้านหนึ่งมีเสาเข็มน้อยจนเกิดการเอน ของยอดเจดีย์ซึ่งเอียงจากจุดตั้งฉากไปทาง ทิ ศ ตะวั น ตก ๑๕ องศา นอกจากนี้ ยั ง มี ความแข็งแรงคงทนเป็นพิเศษจากภูมิปัญญา ชาวบ้าน ที่น�ำอ้อยมาต�ำผสมเข้ากับปูน และ ใช้ปูนในการก่อสร้างจ�ำนวนหลายร้อยเกวียน การก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๔๒๗ นับถึง ปีนี้ก็ล่วงสู่ ๑๓๕ ปีแล้วที่พระปรางค์เอียง ยืนหยัดอยูค่ ปู่ ระวัตศิ าสตร์ของวัดสาขลา

135 Year-Old Leaning Stupa, Sa Khla Temple

"The Leaning Stupa" is an ancient stupa with historical significance situated at Sa Khla Temple, Na Kluea Sub-District, Phra Samutchedi District, Samutprakan. During the construction, villagers placed more foundation pillars on the canal side than average worrying the stupa might bend to the east and collapse into the canal. Unexpectedly, the other side of the stupa with less pillars tilted 15 degrees to the west. With local wisdom, smashed sugar canes was added to the cement used in the construction for extra durability. Completed in 1884, this year marks the Leaning Stupa's 135th anniversary at Sa Khla Temple.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


S M P K h i s t o r y / T h e Ta l e s f r o m Y e s t e r d ay P i c t u r e s . . . Pa k n a m C i ty

The Tales from Yesterday Pictures... Paknam City

ภาพเก่า เล่าเรื่อง… เมืองปากน�้ำ

วิถีชีวิตริมน�้ำ ๒๔๖๓

The way of life by the stream in 1920

นอกจากประวัติศาสตร์ที่บันทึกเรื่องราวเป็นลายลักษณ์ อั ก ษรแล้ ว ภาพถ่ า ยคื อ หลั ก ฐานเรื่ อ งเล่ า ชิ้ น ส� ำ คั ญ ที่ จ ะบอกกล่ า วความเป็ น มาในครั้ ง วั น วานได้ อ ย่ า ง หลากอารมณ์ ภาพของเมื อ งปากน�้ ำ ในอดี ต ที่ ค วาม เป็ น อยู ่ ยั ง สงบเรี ย บง่ า ย พาเราย้ อ นกลั บ สู ่ อ ดี ต กาล เมื่อราว ๑๐๐ ปีก่อน คือภาพถ่ายอันทรงคุณค่าที่ตกทอด มาสู่ลูกหลานชาวปากน�้ำในปัจจุบัน

ชายทะเลบางปูในอดตี

Bang Pu Beach in the past.

O

ther than proper historical records, pictures are undeniably crucial evidence that capture the living tales from the past. With precious century-old pictures of Paknam City in an earlier time where people led a simple and peaceful life, let's take a walk back in time.

วัดทรงธรรมวรวิหาร อําเภอพระประแดง สมัยเมื่อร้อยกว่าปีที่แล้ว

Wat Songtham Worawihan, Phra Pradaeng District in the previous century.

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

21

เมอื่ เริ่มสร้างในปี ๒๔๘๐ เรือนจ�ำสมุทรปราการเanดิมCentr al Prison when its utprak The former Sam n began in 1937 tio ruc first const

วิถีชีวิตชาวมอญปากลดั บนโปสต

The way of life of Paklat-Mon ์การ์ดเก่าสมยั ปี ๒๔๔๘ s on a vintage postcard in 1905

ย่านจอแจกลางตลาดปากน�้ำ ช่ว งราวปี ๒๔๖๓ The most crowded are in 1920

a in the heart of Paknam Market

ชุมชนสมุทรปราการอันแสนสงบในปี ๒๔๔๖ Peaceful communities in Samutprakan in 1903

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


Happening

"Samutprakan Jet ski Cup 2019" The First Jet ski Championship to boost the provincial economic and tourism promotion

“สมุทรปราการเจ็ตสกี ๒๐๑๙” ครั้งแรกของการแข่งขันเจ็ตสกี เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและส่งเสริมการท่องเที่ยว

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ด้วยตระหนักถึงความส�ำคัญของการเล่นกีฬา เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนได้ ออกก�ำลังกาย รูจ้ กั ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด เกิดความรัก ความสามัคคี ตลอดจนเป็นการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรปราการ ให้เป็น ที่ รู ้ จั ก แพร่ ห ลาย และยั ง เป็ น การกระตุ ้ น เศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการอีกทางหนึง่ คุณชาติชาย อุทัยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด สมุทรปราการ และ คุณชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม ประธานหอการค้ า จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ จึ ง ได้ ร ่ ว มกั น จั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าทางน�้ ำ “สมุทรปราการเจ็ตสกี ๒๐๑๙” ขึน้ เป็นครัง้ แรก เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ บริเวณ ริ ม เขื่ อ นแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา หน้ า ศาลากลาง จังหวัดสมุทรปราการ

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 23

pon realizing the countless U benefits of sports, Samutprakan p l a n n e d to e n co u ra g e yo u n g

children, youth and the general public to exercise in their free time, keep away from drugs while forging a greater unity and simultaneously promote its provincial tourism and boost up its economy. Thus, Chatchai Uthaiphan, Samutprakan governor and Chonsawat Asavahame, the chairman of Samutprakan Chamber of Commerce, organized "Samutprakan Jetski Cup 2019", the first water sports championship on March 3, 2019 by Chao Phraya Dam, in front of Samutprakan's Provincial City Hall.

champion of Thailand and Nuengsakon Thanettrakul, a former world champion, was particularly filled with great fun and excitement among the echoing cheers of the crowd and watersports enthusiasts. Mr.Chonsawat Asavahame said he was very pleased with how the race went so smoothly. He also added that the race would surely be held again before the end of this year and that he targeted to further support and take water sports in Samutprakan to the next level.

คุณชาติชาย อุทยั พันธ์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด สมุทรปราการ ได้กล่าวถึงการแข่งขันในครัง้ นี้ ว่า “ปัจจุบนั การแข่งขันเจ็ตสกีเป็นการแข่งขัน กีฬาทางน�้ำที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ได้มีนักกีฬาเจ็ตสกี จากประเทศไทยไปท� ำ การแข่ ง ขั น และ ชนะเลิศในรายการระดับโลก จนสร้างชือ่ เสียง ให้กบั ประเทศไทยมาแล้วหลายราย เพราะกีฬา เจ็ตสกีเป็นกีฬาทางน�้ำที่สามารถเล่นได้ทุกวัย และปลอดภัย” การแข่ ง ขั น ครั้ ง นี้ จั ด รายการแข่ ง ขั น ออกเป็น ๓ รุ่น คือ รุ่น Amateur Blaster Stock, รุ่น Novice Ski Stock 1500 และ รุ่น Blaster Open ส่วนรุ่น VIP มี คุณชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม ประธานจัดการแข่งขัน, คุณนาคร ศิ ล าชั ย อดี ต แชมป์ ป ระเทศไทย และ คุณหนึ่งสกล ธเนศตระกูล อดีตแชมป์โลก ร่ ว มเข้ า แข่ ง ขั น ด้ ว ย โดยการแข่ ง ขั น เต็ ม ไปด้ ว ยความสนุ ก สนาน ท่ า มกลาง เสี ย งเชี ย ร์ จ ากผู ้ ช มและคนรั ก กี ฬ าทางน�้ ำ ที่มาร่วมชมกันอย่างมากมาย คุ ณ ชนม์ ส วั ส ดิ์ อั ศ วเหม ได้ ก ล่ า วถึ ง การจัดงานในครั้งนี้ว่า พอใจกับการจัดการ แข่ ง ขั น ที่ เ ป็ น ไปอย่ า งราบรื่ น และภายใน สิ้ น ปี นี้ จ ะมี ก ารจั ด ขึ้ น อี ก อย่ า งแน่ น อน พร้อมทั้งตั้งเป้าที่จะพัฒนากีฬาทางน�้ำของ จังหวัดสมุทรปราการให้เป็นเลิศต่อไป

Chatchai Uthaiphan, the governor of Samutprakan, stated, "Over the past few years, JetSki Competition has become increasingly popular. Many incredible Thai JetSki athletes have won grand prizes from world tournaments and brought a good reputation back to Thailand. JetSki is indeed is a water sport that people of all ages can safely enjoyed. The competition was divided into three race classes: Amateur Blaster Stock, Novice Ski Stock 1500 and Blaster Open. The VIP race class joined by Mr.Chonsawat Asavahame, the chairperson of the competition organizer, Nakorn Silachai, a former

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


r e a dy t o g o

ความเพลิ ด เพลิ น ในการเดิ น เท้ า ลั ด เลาะ เข้าไปตามชุมชน คือการได้ส�ำรวจซอกซอย อย่างละเอียด รวมถึงรู้จักชุมชน ผู้คน และ วัฒนธรรมในท้องถิ่นนั้นๆ ได้อย่างลึกซึ้งขึ้น อย่างไรก็ดี ก่อนไปก็ควรเตรียมตัวให้พร้อม เสี ย ก่ อ น เพื่ อ จะได้ ไ ม่ มี อ ะไรตกหล่ น เมือ่ ต้องการหยิบจับขึน้ มาใช้สอย

The pleasure of visiting local communities by foot is being able to thoroughly explore small alleys and streets developing a deeper understanding of the community, the people, and the culture. However, it is best to equip yourself with the useful items when in need.

Round and through alleys An in-depth travel

เดินเลาะ เที่ยวแบบเจาะลึก

ผ้าพันคอหรือผ้าคลุมไหล่

หมวกปีกกว้าง

เดิ น เที่ ย วในชุ ม ชนที่ ต ้ อ งลั ด เลาะไป ตามร้าน บ้าน หรือร้านกาแฟในซอก ในซอย เป็นความเพลิดเพลินที่บางครั้ง ท� ำ ให้ ลื ม ไปว่ า เราก� ำ ลั ง อยู ่ ก ลางแดด หมวกปีกกว้างที่มีปีกนิ่มๆ พับให้เล็ก กางให้ ใ หญ่ ไ ด้ เป็ น เพื่ อ นเดิ น ทาง กลางแดดร้ อ นที่ ดี ที่ ไ ด้ ทั้ ง ความสวย และการใช้งาน มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Floppy Hat

Since it can be easy to lose track of time when strolling around despite the blazing sun, it is best to bring a fashionable yet extremely handy floppy hat with you. This perfect travel companion can be folded to fit your pocket or expanded to a larger portable shelter.

ถึงแม้ว่าความร้อนในบ้านเราจะท�ำให้เราลืม นึกถึงผ้าพันคอหรือผ้าคลุมไหล่ แต่ในบาง สถานการณ์และบางสถานที่ที่มีความจ�ำเป็น ให้เราต้องดูแลการแต่งตัวให้เรียบร้อย การพก ผ้าพันคอผืนเบาๆ พกพาง่าย เพือ่ ใช้คลุมไหล่ หากเราใส่ เ สื้ อ แขนกุ ด หรื อ ต้ อ งคลุ ม ผม หากเราต้ อ งเข้ า ไปในสถานที่ ท างศาสนา การเตรียมสิ่งเล็กๆ น้อยๆ แบบนี้นอกจาก ช่วยให้เราสบายใจ ยังเป็นการแสดงความ เคารพและถูกกาลเทศะด้วย Scarf or Shawl

Despite the high temperature in Thailand, there are certain situations and places where polite outfits are required as an expression of respect. A light portable scarf or a shawl can be used as a quick shoulder wrap in case you wear a sleeveless top or a quick hair cover before entering sacred places. Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 25

ขวดน�้ำ หรือกระติกน�้ำส่วนตัว

ไม่ว่าเราจะอึดและอดน�้ำได้นานแค่ไหนก็ตาม เวลาอยู่ กลางแดดเป็นระยะเวลานานเป็นชั่วโมงหรือ ๒ ชั่วโมง ที่ เราเดิ น เที่ ย วเล่ น ก็ ค งต้ อ งจิ บ น�้ ำ เป็ น ระยะเพื่ อ คลาย กระหาย เตรียมขวดน�ำ้ หรือกระติกน�ำ้ ของตัวเองให้พร้อม จะได้ไม่ต้องกังวลการหาร้านเพื่อซื้อน�้ำ และแน่นอนว่า เราจะได้ไม่สร้างขยะพลาสติกเพิ่ม แถมเป็นภาระให้กับ ชุมชนอีก Personal Water Bottle

No matter how tough you are, when staying in the sun for hours, you would need to sip some water from time to time. Prepare yourself with a water bottle so you no longer have to be anxiously seeking a store to buy some beverages. This way, you will also cut back plastic waste to the community.

สมุดจด ปากกา และเซตสีวาดรูป

ถึ ง แม้ ว ่ า โทรศั พ ท์ แ ละกล้ อ งถ่ า ยรู ป จะเป็ น เครื่องมือในการบันทึกภาพที่เราจะขาดไม่ได้แล้ว แต่ ใ นบางครั้ ง การได้ พ บกั บ มุ ม แปลกๆ หรื อ การได้เห็นสิ่งที่ประทับใจ การบันทึกด้วยดิจิทัล หรืออิเล็กทรอนิกส์ไม่สามารถตอบโจทย์ในเรื่อง ความรูส้ กึ หรือการสัมผัสแบบเดิมได้ สมุดส�ำหรับจด สเกตช์รปู หรือวาดรูปลงสี ในแบบทีเ่ ราอยากบันทึก ในมุมทีเ่ ราไม่อยากถอนสายตาผ่านไปอย่างรวดเร็ว อาจเป็นการเริม่ ต้นของการบันทึกอีกแบบทีน่ า่ สนใจ Notebook, Pen and Portable Art Kit

Although mobile phones and cameras are undeniably indispensable digital tools to record pictures, they still cannot portray certain aspects of senses or emotions that traditional tools can. Sketching and painting are no less interesting alternatives to satiate your crave of capturing rare sceneries or unforgettable moments.

รองเท้าใส่สบาย

การเดิ น เที่ ย วมี หั ว ใจที่ ก ารเดิ น รองเท้ า ที่ ใ ส่ ส บาย และพร้อมที่จะถอดออกยามต้องเข้าวัด หรือเข้าไปใน บ้านชาวบ้าน คงจะสะดวกกว่าการที่ต้องคอยก้มใส่ รองเท้าแบบผูกเชือกหรือสวมแน่นหนา การหารองเท้า คู่ใจที่เป็นรองเท้าแตะแบบเปิดสบายๆ น่าจะท�ำให้ อรรถรสในการเดินชุมชนเป็นไปอย่างราบรืน่ ไม่สะดุด

ถุงผ้าพับพกพา

การช้ อ ปปิ ้ ง หาของติ ด ไม้ ติ ด มื อ เป็ น เรื่ อ ง ที่อดใจไม่ได้ เพราะในชุมชนต่างๆ มักมี ข้าวของต่างถิ่นที่หากไม่ได้ติดมือกลับไป คงเสียดายแย่ การมีกระเป๋าผ้าพับพกพา น�้ำหนักเบาติดไว้ ไม่ใช่แค่สะดวกในการ ใส่ของทีซ่ อื้ เท่านัน้ ยังเป็นการช่วยลดจ�ำนวน ของถุงพลาสติกทีเ่ ราอาจกลายเป็นผูส้ นับสนุน การเกิดขยะโดยไม่ตงั้ ใจ Foldable and Portable Shopping Bag

Carrying a lightweight, foldable and portable shopping bag on a trip gives you extra storage space for irresistible local souvenirs along the way and is, in a way, one of the simplest ways to help lessen the waste of single-use plastic bags.

Comfortable footwear

When visiting local temples or villager’s houses, a pair of comfortable shoes that are easy to remove like casual sandals are much likely a more convenient choice than having to frequently bend down to untie shoelaces or fully covered shoes.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


m a p / to u r i st m a p o f sa m u t p r a k a n

88 homestay

Bougain Cafe & Crafts

play cafe Sanctuary Paknam Cafe & Restaurant

อ่าวไทย Gulf of Thailand

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 27

tourist map of samutprakan

แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c o v e r S T OR y

Paknam

The city of co-existence / where the past, present and future coexist

ปากน�้ำ…เมืองร่วมสมัย

จะเป็ น อย่ า งไร ถ้ า ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมอั น ดี ง ามในอดี ต ถูกทอดทิ้งให้กลายเป็นเพียงความทรงจ�ำ จะเป็นอย่างไร ถ้าศาสตร์อันทรงคุณค่าที่บรรพชนได้ค้นพบ ถูกหยุดเอาไว้ในห้วงเวลาเพียงเท่านั้น จะเป็นอย่างไร ถ้าการส่งไม้ต่อในประเพณีอันดีงามจากรุ่นสู่รุ่น ถูกหยุดชะงักด้วยเพราะเหตุของโลกสมัยใหม่ จะเป็นอย่างไร ถ้าคนรุ่นใหม่หลงระเริงแต่กับความฉาบฉวย ในโลกปัจจุบัน จนหลงลืมในรากเหง้าของตัวเอง ติ ด ตามเรื่ อ งราว “ความร่ ว มสมั ย ” ที่ ศ าสตร์ แ ห่ ง ศิ ล ปะ ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงาม จะเชื่อมโยงคน ๒ รุ่นในจังหวัด สมุทรปราการเข้าไว้ด้วยกัน

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

What would happen...if beautiful art and cultures from the past were left a mere memory? What would happen...if invaluable knowledge and wisdom discovered by our ancestors were frozen in time? What would happen...if passing on precious traditions were to come to an end by the modern world? What would happen...if new generations were all lost in today's superficiality that they forgot their own roots? Catch us on the journey to "co-existence" and how arts, traditions and cultures have linked people of two generations in Samutprakan.

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 29

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c o v e r S T OR y / H u m a n C h e s s

Human Chess

A Living Chess

หมากรุกคน หมากรุกมีชีวิต

หมากรุกคนมีต้นก�ำเนิดมาจากหมากรุกกระดาน เคยมีชาวบ้าน ในต� ำ บลปากน�้ ำ พู ด ถึ ง หมากรุ ก คนเอาไว้ ว ่ า “สิ่ ง ไม่ มี ชี วิ ต ถูกหยิบยกขึ้นมาให้ดูมีชีวิตชีวาจากสิ่งที่มีชีวิต” uman chess originated from board chess. H As villagers in Paknam sub-district described, "A lifeless thing was presented with liveliness by the livings."

One of the compositions by Somdet Phra Chao Borommawong Thoe Krom Phraya Damrong Rajanubhab mentioned the great popularity of chess play in India as Indians theorized the play to have been developed from "Chaturanga." According to their ancient epic, when Rama enclosed the Kingdom of Lanka, Mandodari invented a chess play to relieve her husband's stress from the warfare. The game required its two opponents to take turns chasing and conquering the other's chess pieces across a square board.

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

31

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


Another piece of poetic composition in the Phra Vajirayana Royal Library Edition of Thailand's first printed chess handbook explained that after the chess play was created by Mandodari, it was widely spreaded to many countries by hermits. In Thailand, King Rama VI often played chess with his royal pages to test their wit. Although human chess occured after His reign, there is no official report on who the first initiator in Thailand truly was. A decade ago, villagers from different communities in Samutprakan gathered to practice a human chess play at Thetsaban 2 School. Teacher Sriwan Mongprasert, who was not retired at the time, found her interest in the play as it would not only promote and preserve traditional Thai plays but also strengthen community participation.

ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งของที่ ม าในการละเล่ น หมากรุ ก แล้ ว ในบทพระราชนิ พ นธ์ ข อง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวไว้วา่ การเล่นหมากรุกนัน้ เป็ น ที่ นิ ย มเล่ น กั น มากในประเทศอิ น เดี ย โดยคนอิ น เดี ย ได้ อ ้ า งถึ ง ต� ำ นานเก่ า แก่ ว ่ า สมัยเมือ่ พระรามไปล้อมเมืองลงกา นางมณโฑ ทอดพระเนตรเห็นว่าพระสวามี (ท้าวทศกัณฐ์) ดูจะมีความกังวลในการท�ำสงคราม นางเลย คิดออกแบบการละเล่นหมากรุกขึ้นมาเพื่อ คลายเครียดให้กับพระสวามี โดยใช้ตัวหมาก เป็ น ตั ว เดิ น บนกระดานสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย เดินรุกไล่กันกินกัน ซึ่งหมากรุกนี้มีชื่อเรียกว่า “จัตุรงค์” ขณะที่ ใ นส่ ว นหนึ่ ง จากบทร้ อ ยกรอง ที่เขียนไว้ในต�ำราหมากรุกฉบับหอพระสมุด วชิรญาณ ซึ่งเป็นต�ำราหมากรุกเล่มแรกของ ประเทศไทย บอกไว้ว่า หลังจากการริเริ่ม หมากรุกคนของนางมณโฑแล้วนั้น ก็มีฤาษี น�ำการละเล่นดังกล่าวไปเผยแพร่ตอ่ ในหลายๆ ประเทศ ส่วนประเทศไทยเองในสมัยรัชกาล ที่ ๖ พระองค์ทรงเล่นหมากรุกกับมหาดเล็ก

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

เพื่ อ เป็ น การทดสอบเชาวน์ ป ั ญ ญาของ ผู ้ ถ วายงาน แต่ ส� ำ หรั บ หมากรุ ก คนที่ ไ ด้ เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่อมานั้น ไม่มีใครยืนยัน ได้ว่าใครคือผู้ริเริ่มเป็นคนแรกในประเทศไทย กันแน่ จนถึ ง เมื่ อ ประมาณสิ บ กว่ า ปี ที่ ผ ่ า นมา ชาวบ้านต่างชุมชนในจังหวัดสมุทรปราการ นัดรวมตัวกันมาฝึกซ้อมการแสดงหมากรุกคน

As Teacher Sriwan researched on the history of human chess in Paknam sub-district from villagers, she discovered that it was first introduced to Thailand back in the reign of King Rama VII by Teacher Chalerm Iam-opat, the owner of Chalerm Wittaya School, who was a royal page of Somdet Phrachao Borommawongthoe (Phraongchao Sawatdisophon) Krommaphra Sawat Watdanawisit, the father of Queen Rambai Barni. At his father's funeral ceremony, Teacher Chalerm also organized a human chess performance by his students. In human chess, a table is drawn on a square courtyard consisting of 64 squares where each is written with a number and players are divided into two parties. During the play, the

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 33

traditional Piphat Mai Khaeng Ensemble would orchestrate their music to complement the different dances of each human chess piece, for example, the song named "Sa-mer (Always)" when Khun (the King) moves or "Assawa Leela (Horse Gallop)" when the Horse (the Knight) moves. Together with the aesthetic music and dances, another highlight that also wins the crowd is the narrator team that requires a lot of quick-wittiness.

ที่ ล านของโรงเรี ย นเทศบาล ๒ (วั ด ใน) คุณครูศรีวรรณ หมงประเสริฐ ซึ่งในเวลานั้น ยั ง ไม่ เ กษี ย ณ ก็ เ กิ ด สนใจในการละเล่ น ประเภทนี้ เพราะนอกจากจะเป็ น เรื่ อ ง ของการส่ ง เสริ ม และการอนุ รั ก ษ์ ใ นการ ละเล่ น ไทยแล้ ว หมากรุ ก คนยั ง ท� ำ ให้ เ กิ ด การมีส่วนร่วมของชุมชน

คุณครูศรีวรรณท�ำการสืบค้นประวัติเรื่อง หมากรุ ก คนที่ เ กิ ด ขึ้ น ในต� ำ บลปากน�้ ำ จาก กลุม่ ชาวบ้านเหล่านัน้ จนได้พบข้อมูลเพิม่ เติม ว่า แท้จริงแล้วหมากรุกคนในประเทศไทย เกิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๗ โดย คุณครู เฉลิม เอี่ยมโอภาส เจ้าของโรงเรียนเฉลิม วิ ท ยา ซึ่ ง ในขณะนั้ น ท่ า นเป็ น มหาดเล็ ก

At the present, the human chess performances by students in Paknam sub-district are inherited by villagers over decades. In the past, grandmothers wore their round-necked sleeveless collar top and a sarong to the practice. However, there was a time when human chess was overwhelmed with challenges ranging from travel expenses, the lack of budget for costumes, ornaments, food, welcome snacks for parents who took their kids to the practice and even helped with the fitting or make-up to the time-consuming practice hours (often upto two hours) and several parents' career changing. Hence, it slowly vanished from the society.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ (พระองค์เจ้า สวั ส ดิ โ สภณ) กรมพระสวั ส ดิ วั ด นวิ ศิ ษ ฎ์ พระราชบิ ด าของสมเด็ จ พระนางเจ้ า ร� ำ ไพพรรณี เมื่ อ บิ ด าของคุ ณ ครู เ ฉลิ ม เสียชีวิตลง ท่านได้จัดการแสดงหมากรุกคน โดยน� ำ เด็ ก ๆ มาแสดงในวั น ฌาปนกิ จ ของ บิดาด้วย ในการเล่ น หมากรุ ก คนนั้ น จะมี ก ารตี ตารางลงบนลานกว้ า งเป็ น สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส แบ่งเป็น ๖๔ ช่อง มีตัวเลขก�ำกับบนตาราง และแบ่งผูเ้ ล่นเป็น ๒ ฝ่าย มีการบรรเลงดนตรี โดยวงปี่พาทย์ไม้แข็งเต็มวง ซึ่งจังหวะการ บรรเลงเพลงนั้ น จะด� ำ เนิ น ไปตามท่ ว งท่ า ร่ายร�ำของตัวหมากรุกคน เช่น ถ้าตัวขุนเดิน วงปี ่ พ าทย์ ก็ จ ะใช้ เ พลงที่ ชื่ อ “เสมอ” ถ้ า ตัวม้าเดินก็ใช้เพลง “อัศวลีลา” ซึ่งความสนุก ในการชมการแสดงหมากรุกคน อันนอกเหนือ ไปจากความสุ น ทรี ย ์ ที่ ไ ด้ จ ากเสี ย งดนตรี ประกอบ และท่ า ร� ำของตั ว เดิ น ที่ แ ตกต่ า ง กันไปตามบทแล้ว อีกความน่าสนใจที่เรียก เสี ย งเฮจากผู ้ ชมได้ไ ม่แ พ้กัน คือทีม พากย์ ที่ต้องใช้เชาวน์ปัญญาสูงมาก ปัจจุบันการแสดงหมากรุกของนักเรียน ในต�ำบลปากน�ำ้ ได้รบั การถ่ายทอดวิชามาจาก กลุม่ ชาวบ้านรุน่ น้ารุน่ อาเมือ่ สมัยสิบกว่าปีกอ่ น สมั ย นั้ น เวลานั ด ซ้ อ มกัน ทีย่ายายจะใส่เสื้อ คอกระเช้าและนุ่งผ้าถุงกันมา และจากวันนั้น จนวันนี้แม้จะผ่านมาหลายปีแล้ว การแสดง หมากรุกคนก็ยังคงสืบสานอยู่ต่อเนื่อง ทว่า อุปสรรคที่เกิดขึ้นในการแสดงหมากรุกคน ก็คือเรื่องของค่าใช้จ่าย ค่าเดินทาง ค่าเสื้อผ้า เครื่ อ งแต่ ง กาย ค่ า อาหาร รวมไปถึ ง ค่ า รับรองผู้ปกครองกรณีพาเด็กมาซ้อมมาแสดง แถมยั ง มาช่ ว ยแต่ ง หน้ า แต่ ง ตั ว ให้ รวมทั้ ง ระยะเวลาในการแสดงต่อครั้งซึ่งค่อนข้างยาว (บางครั้ ง ยาวนานถึ ง ๒ ชั่ ว โมง) บวกกั บ บุคลากรบางท่านทีไ่ ด้หนั ไปประกอบอาชีพอืน่ ในช่วงหนึ่งการแสดงหมากรุกคนจึงค่อยๆ หายไป

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 35

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 37 It was the recent requests by students, parents and senior officers of Paknam sub-district that encouraged Teacher Sriwan to revive human chess in February, 2018. The performance was rearranged to fit half-an-hour length while the narration was replaced with narrative storytelling techniques. Instead of voicing after each dance on the board, a written script was read by the narrator although it could often be modified for a more refreshing and flavorful entertainment. Teacher Sriwan also added a bilingual narration to the performance as an opportunity to exhibit the various talents of the children. That performance was Thailand's first human chess performance with scripted narration. "Human chess performances can't go on for two hours or more like they used to. No one's gonna watch it. These days, people are addicted to speed so we have to adjust the play accordingly. Having our graduates on the recent academic board," the comeback of that human chess was a successful cooperation between Thetsaban 2 School and the academic board. Moreover, it was a new generation human chess performance with scripted bilingual narration and a male and female students as the master of ceremonies." Throughout an hour of listening to Teacher Sriwan Mongprasert, a retired government teacher (C-9), with expert academic standing, and a committee of Office of the Basic Education Commission, sharing her recent reinvention of the human chess, her sparkling eyes were filled with unwavering determination strongly believing that such amazing opportunity would train young children to work as a team and their future cohabitation with others in the society.

จนเมื่ อ ไม่ น านนี้ เ องที่ มี เ สี ย งรบเร้ า เกิดขึน้ เยอะทัง้ จากตัวเด็ก ผูป้ กครอง และทาง ผู ้ ใ หญ่ ข องต� ำ บลปากน�้ ำ ท� ำ ให้ เ มื่ อ เดื อ น กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ คุณครูศรีวรรณได้รื้อฟื้น หมากรุกคนกลับขึ้นมาอีกครั้ง ด้วยการปรับ รูปแบบให้การแสดงแต่ละครั้งต้องไม่นาน เกินกว่าครึ่งชั่วโมง เพิ่มอรรถรสด้วยการปรับ บทพากย์ โดยเปลี่ยนรูปแบบเป็นวิธีบอกบท บรรยายแทน คื อ แทนที่ ค นพากย์ จ ะต้ อ ง คอยดูตัวแสดงที่ก�ำลังด�ำเนินไปบนกระดาน แล้วพากย์ ต าม ก็ เ ปลี่ ย นเป็ น การเขี ย นบท ขึ้นมาเลย โดยมีพิธีกรเป็นผู้พากย์โดยอ่าน ตามบทบรรยาย ซึ่งบทในแต่ละการแสดง จะถู ก ดั ด แปลงเพิ่ ม เติ ม อยู ่ เรื่ อ ยๆ ไม่ ใ ห้ ซ�้ำกัน แล้วเพิ่มการบรรยายเป็น ๒ ภาษา ซึ่ง คุณครูศรีวรรณพยายามที่จะให้โอกาสกับเด็ก แต่ละคนซึ่งมีความสามารถเฉพาะทางได้มี ส่วนร่วมในการแสดงหมากรุกคน โดยการ แสดงครั้งนั้นถือเป็นการแสดงหมากรุกคน แบบบอกบทบรรยายครัง้ แรกของประเทศไทย “ต้ อ งบอกว่ า ถ้ า เราจะให้ ก ารแสดง หมากรุกคนแสดงกันยาวนานถึง ๒ ชั่วโมง

หรือ ๒ ชั่วโมงกว่า แบบสมัยก่อน ไม่มีใคร เขาดูหรอกค่ะ เพราะเดีย๋ วนีค้ นชอบอะไรเร็วๆ เราจึ ง ต้ อ งปรั บการแสดงให้เข้า กับ ยุค สมัย รวมทั้ ง ตอนนี้ เ ราก็ มี ศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ เ ขาเป็ น กรรมการสถานศึ ก ษา ซึ่ ง การกลั บ มาของ หมากรุกคนครั้งนี้ ถือเป็นการท�ำงานร่วมกัน ของโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดใน) กับกรรมการ สถานศึกษา และนีก่ เ็ ป็นการแสดงหมากรุกคน แบบใหม่ ที่ เรี ย กว่ า หมากรุ ก คนแบบบอก บทบรรยาย ซึ่ ง มี ก ารบรรยาย ๒ ภาษา โดยเด็กนักเรียนฝ่ายชายและฝ่ายหญิงเป็น ผู้ท�ำหน้าที่พิธีกร” ตลอดเวลาเกือบ ๑ ชั่วโมง ที่ฟังคุณครู ศรีวรรณ หมงประเสริฐ ข้าราชการบ�ำนาญครู ระดับ ๙ วิทยฐานะครูเชีย่ วชาญ คณะกรรมการ สถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน เล่ า ถึ ง การแสดง หมากรุ ก คนรู ป แบบใหม่ ที่ เ ธอพลิ ก ฟื ้ น การละเล่นหมากรุกคนขึ้นมา เราเห็นแววตา ที่ มุ ่ ง มั่ น บวกด้ ว ยค� ำ พู ด ที่ เ ธอย�้ ำ ว่ า นี่ คื อ โอกาสของการฝึ ก เด็ ก ๆ ในการท� ำ งาน แบบเป็นทีม เพื่อจะพัฒนาตัวเขาไปสู่การ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้

ข้อมูลเพิม่ เติมการแสดงหมากรุกคน ติดต่อได้ที่ โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดใน) ต�ำบลปากน�ำ ้ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ (คุณครูศรีวรรณ หมงประเสริฐ) โทรศัพท์ ๐๘ ๙๔๘๘ ๒๒๘๗ For more details of human chess performances, please contact Teacher Sriwan Mongprasert at Thetsaban 2 School, Paknam Sub-District, Mueang District, Samutprakan or call 08 9488 2287.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c o v e r S T OR y / L i - K ay

Li-Kay,

A contemporary dance inherited by the new generation

ลิ เ ก นาฏกรรมร่วมสมัย

ที่สืบสานผ่านคนรุ่นใหม่

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 39

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


การแสดงลิ เ ก ปรากฏตามหลั ก ฐานว่ า เป็นการแสดงที่มีมาตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยา และในช่ ว งสมั ย รั ช กาลที่ ๕ เป็ น ยุ ค ที่ การแสดงลิเกมีการเพิ่มเติมลีลาการแสดง ด้ ว ยการออกภาษา เพื่ อ เป็ น การแสดง ล้อเลียนคนต่างชาติทอี่ ยูใ่ นกรุงเทพมหานคร ในขณะนั้น ด้วยการใช้น�้ำเสียงปนส�ำเนียง ภาษาไทยและภาษาต่างชาติพนั ธุ์ รวมถึงการ แต่งกายและเพลงทีใ่ ช้ขบั ร้องด้วย ถึงในวันนี้ลิเกจะไม่ได้เป็นเพียงมหรสพ เพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น หลั ก ของคนในสั ง คม วงกว้างเหมือนที่เคยได้รับความนิยม ด้วยมี ความเพลิ ด เพลิ น อื่ น เข้ า มาให้ เ สพอย่ า ง หลากหลายโดยที่ไม่ต้องก้าวขาออกจากบ้าน จึ ง ไม่ แ ปลกใจถ้ า จะมี เ ด็ ก รุ ่ น ใหม่ ที่ ใช้ ชี วิ ต ในเมืองใหญ่ขมวดคิว้ ถามว่า ลิเกคืออะไร

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

41

A

ccording to historical references, Li-Kay is a Thai folklore performance with its first emergence in the Ayutthaya peiod. During the reign of King Rama V, Li-Kay incorporated verbal expression as an additional part to the performance along with impersonation of foreigners living in Bangkok back in the days via mixed accents, costumes and songs.

Even though Li-Kay is no longer the main popular source of entertainment for Thai people like it once was. With easy access to an endless list of modern entertainment without having to take a single step out of their houses, it is natural that new generations living in big cities knit their brows when asked what Li-Kay is.

ในเวลาเดี ย วกั น ส� ำ หรั บ เด็ ก รุ ่ น ใหม่ ที่ เติบโตในบริบทของสิง่ แวดล้อมทีย่ งั ผูกพันกับ ครอบครัว โรงเรียน และวัด คุน้ เคยเป็นอย่างดี กับวิถีชีวิตที่มีความผูกพันเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง ทั้งความสนุก สุข เศร้า มีอารมณ์ร่วมกันกับ ความเป็นสังคมเกื้อกูลแบบชุมชน เราปฏิเสธ ไม่ได้เลยว่า การแสดงลิเกยังคงเป็นส่วนหนึ่ง ของความสุขเพลิดเพลินของคนในสังคมอย่าง เหนียวแน่นไม่เสื่อมคลาย โดยเฉพาะในพื้นที่ ทีม่ คี วามผูกพันกับวัด และด้วยสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งที่วิถีชีวิตของผู้คนใกล้ชิดกับ วัดและศาสนา การแสดงลิเกจึงยังเป็นที่นิยม และได้รบั การต้อนรับจากคนในท้องทีไ่ ด้อย่าง น่าสนใจ หนึ่งในคณะลิเกที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ถูกใจคนสมุทรปราการ ด้วยความสมัยใหม่ และร่ ว มสมั ย คื อ คณะ “สองเทพบุ ต ร สุดที่รัก” ของ คุณนีโน่ หรือ กฤษฎิ์สพล สุ ท ธิ หิ รั ญ ด� ำ รงค์ และ คุ ณ แน็ ค กี้ หรื อ ธเนศพิพัฒ สุทธิหริ ญ ั ด�ำรงค์ สองพีน่ อ้ งทีล่ ลี า ร้องร�ำ ฝีปาก และค�ำคิดสร้างสรรค์ต่างจาก คณะอืน่ ใดในประเทศไทย พรสวรรค์ในการเล่ น ร้อง ร�ำลิเกของ สองเทพบุตรสุดทีร่ กั เริม่ ต้นมาจากครอบครัว ที่เป็นคณะลิเกมาก่อน การเติบโตในเส้นทาง ของลิ เ กจึ ง เกิ ด จากการซึ ม ซั บ กลิ่ น เสน่ ห ์ ของเสียงดนตรี เสียงร้อง ลีลาการร�ำ และ จิ ต วิ ญ ญาณแบบลิ เ กมาตั้ ง แต่ เ ด็ ก ด้ ว ยวั ย เพียงแค่ ๓-๔ ขวบกันเท่านัน้ JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


คณะสองเทพบุตรสุดที่รัก ถือเป็นการ เติบโตที่แตกต่างและโดดเด่นถูกใจแฟนคลับ ลิเก เพราะความร่วมสมัยที่มีการหยิบเอา ศิลปะบันเทิงในเชิงการร้อง การร�ำ การด�ำเนิน เรื่อง และโดยเฉพาะการแต่งกายร่วมสมัย เข้ามาท�ำให้เป็นความแตกต่างโดดเด่น ลิ เ กในแบบสองเทพบุ ต รสุ ด ที่ รั ก มี ส่วนผสมของลิเก การแสดงละคร และตลก ที่ คิ ด ค้ น ขึ้ น มาให้ เ ป็ น ลิ เ กที่ มี ร สชาติ ค วาม สนุก กลมกล่อม แตกต่าง ปรับการแสดง ไปตามความเป็นคนรุ่นใหม่ของคณะ เพื่อให้ คนรุ ่ น ใหม่ ไ ด้ รู ้ จั ก ลิ เ กในบริ บ ทที่ ส ามารถ เชื่อมโยงกันได้ด้วยอายุ เพศ วัย และสมัย ความแปลกที่สุด คือการเอาชุดซูเปอร์ฮีโร่ มาสวมใส่ในการแสดงบนเวที จึงดูแปลกตา และดึ ง ดู ด พร้ อ มกั น นั้ น ได้ มี ก ารผสาน เรื่ อ งราวที่ เ ป็ น เส้ น หลั ก ของการเล่ า เรื่ อ ง ปรับใส่ความสนุกแบบมุกตลกคาเฟ่เข้าไปเสริม รวมถึงการใช้ฉากแสดงบนเวทีซึ่งมีอารมณ์ ของโรงละคร ที่ ใช้ ม ่ า นและการหมุ น เวที ที่แปลกแตกต่างกว่าคณะอื่น คุณแน็คกี้ หนึ่งในสองเทพบุตรสุดที่รัก ยอมรับว่าเป็นเรื่องไม่ง่าย ที่จะท�ำให้เกิดการ

In the meantime, new generations growing up with a closely bonded, caring and supportive rural environment with their family, schools, temples, and community, Li-Kay maintains its popularity as an inseparable entertainment of the society particularlyin the area whose way of life is closely connected with temples and religions including Samutprakan. Among all Li-Kay performers, Samutprakan's most beloved performing troupe with the best uniqueness that interestingly embraces the contemporary world is "Song Thepphabut Suttheerak" (Thai for two beloved heavenly handsome gentlemen). The two brothers, Nino-Kritsaphol Sutthihirandamrong and Nacky-Thanetphiphat Sutthihurandamrong, are renowned for their dancing skills, eloquence, and creative improvisation unlike any other Li-Kay Troupe in Thailand. มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 43

The talents of Song Thepphabut Suttheerak trace back to their former Li-Kay performer family. Intuitively, they started to absorb the charismatic essences of music, singing voice, posture, movement, dance, the full spirit of Li-Kay since the age of three to four years old. One of the distinctiveness of Song Thepphabut Suttheerak Troupe most cherished by Li-Kay fans is how contemporary aspects are integrated into the classical performance including the art of singing, dancing, performance, stage design, and costumes.

ยอมรับจากขนบเดิมทีเ่ ป็นมา “ลิเกเหมือนโขน ทีก่ ารบิดหรือปรับจะถูกมองว่าผิดครู คณะผม โดนวิจารณ์เยอะมาก แต่ส่ิงที่ท�ำให้เราเป็น ที่นิยมอยู่ในวันนี้ เพราะผมเชื่อว่าผมก�ำลัง อนุรักษ์ลิเกในแบบของเรา เสียงวิจารณ์ไม่ได้ ท�ำให้หยุด คณะเราเคารพขนบเดิมในกรอบ ที่แตกต่าง แต่ยังอยู่ในกฎเดียวกันของลิเก”

แต่ไม่ใช่ว่าการแสดงลิเกในแบบร่วมสมัย ของคณะนี้ จะสามารถเข้ า ถึ ง กลุ ่ ม คนดู ทัว่ ประเทศได้ คุณแน็คกีใ้ ห้ขอ้ สังเกตจากกลุม่ คนดูในสมุทรปราการว่า เพราะเป็นจังหวัด ที่ มี ค นสองจั ง หวะของวั ฒ นธรรม ซึ่ ง มี ทั้ ง ความเป็นเมืองใหญ่ และมีวัฒนธรรมแบบ สังคมต่างจังหวัด

Song Thepphabut Suttheerak is a reinvented mixture of traditional Li-Kay, drama, and gags for a fuller flavor of entertainment that better fits the changing lifestyle of new generations despite age, gender and time differences. However, one of the most strangely attractive features is dramatists wearing Superhero costumes on stage. Moreover, contemporary senses of humor were added to the main storylines and western theatrical elements and techniques like the use of the curtain and revolving stage set the troupe's performances apart from the rest. Nacky admitted it was never easy to win acceptance. "Li-Kay is just like Khon where a little twist and turn are considered wrongdoings. My troupe JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


“ส่วนตัวของผม สมุทรปราการมีสังคม ของเมืองแบบรอบนอกและรอบใน ลิเกกลุม่ ผม จะเล่ น อยู ่ ใ นแถบปริ ม ณฑลซึ่ ง อยู ่ ติ ด กั บ กรุ ง เทพฯ มี ค วามเป็ น เมื อ งแบบสมั ย ใหม่ มากกว่าคณะอื่น และถ้าคณะผมต้องออก ไปเล่นในต่างจังหวัดรอบนอกไกลออกไปอีก จังหวะเล่นและการปล่อยมุกก็ต้องปรับลง จังหวะหนึ่ง ให้เข้ากับพื้นที่และบรรยากาศ ของคนเพื่อจะได้ทันมุกกัน” หัวใจของศิลปะการแสดงลิเก ที่สามารถ เข้ า ถึ ง คนได้ ง ่ า ย ไม่ ว ่ า จะเป็ น คนจาก ที่ ไ หนก็ ต าม คื อ ลั ก ษณะของการแสดงที่ เดินเรือ่ งรวดเร็ว มีความตลกขบขัน ล้อเลียน เบาสมอง กระทบกระทั่ง สนุกสนาน ท�ำให้ คนคลายเครียด หลีกหนีจากความเป็นจริง ในชีวิตได้ และเป็นการสร้างสายใยเพื่อลด ช่องว่างระหว่างครอบครัวของคนต่างจังหวัด ท� ำ ให้ ผู ้ ใ หญ่ แ ละผู ้ เ ฒ่ า ผู ้ แ ก่ ข องครอบครั ว มีพนื้ ทีผ่ อ่ นคลายด้วยกันกับลูกหลาน ด้วยการ จูงมือพากันมานั่งดูลิเกที่วัด โลกของลิเกกับปัจจุบนั ส�ำหรับคุณแน็คกี้ แล้วนัน้ ไม่ได้หา่ งไกลกันเลย เพราะถ้าคนเมือง ไปดูการแสดงสมัยใหม่อย่างคอนเสิร์ตหรือ การแสดงได้ คนต่างจังหวัดที่ยังผูกพันกับ ศิลปะพื้นบ้าน และมีรูปแบบชีวิตที่แตกต่าง

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

จากคนเมือง ก็มีการแสดงอย่างลิเกที่สร้าง ความสนุก คลายเหงา ลืมเศร้าร่วมกันได้ และ ตราบใดทีค่ นยังนิยมเข้าวัดเพือ่ ท�ำบุญ พบปะ ท�ำกิจกรรมต่างๆ และยังมีวดั เป็นศูนย์รวมใจ ของหมู่บ้าน ตราบนั้นลิเกก็ยังคงอยู่ “ทุกครั้งที่มีการเล่นและดูลิเก จะไม่มี ความเหงา เพราะคนเราจะได้ หั ว เราะ คลายทุ ก ข์ ร ่ ว มสนุ ก ด้ ว ยกั น ไม่ ใช่ ต ่ า งคน ต่างอยู”่

was harshly criticized. The reason we stay popular these days is because we truly believe we are preserving Li-Kay in our own way. The criticism never stops us. Our troupe respects traditional framework in an alternative manner yet by the same Li-Kay rules. N o t w i t h s t a n d i n g, t h e t ro u p e ' s contemporary Li-Kay cannot access nationwide mainstream audiences. Samutprakan's audiences, for

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 45

example, are target audiences with a proportionately mixed cultural background of both contemporary urban and conventional upcountry. "Therefore, my troupe that generally performs in Greater Bangkok areas possesses a higher sense of contemporary urbanness than others. If we have to perform in farther provinces, the rhythm and humor expression need to be slightly toned down one step to serve the different lifestyle." explained Nacky. The heart of Li-Kay performance that makes it accessible to anyone of any background is the swift storylines packed with delightful humor. It helps relieve stress, allows a temporary escape from reality, reduces the generation gap and strengthen the bond within the family especially in the rural area as the elders and the youngs can comfortably sit and watch the play together at the temple. Li-Kay and the modern world, in Nacky's opinion, are not far apart. As much passionately as people in the city travel to concerts or modern performances, people in the rural area who stay closely bonded with ar t attend Li-K ay. Additionally, as long as pe ple enjoy going to the temple to make merits, meet each other, join activities and as long as the temple remains the spiritual sanctuary to villagers, Li-Kay, too, shall live on. "At every Li-Kay performance, no one feels empty as people cast away their worries and share their laughter instead of living separately."

ติดตามตารางการแสดงได้ทาง Facebook: ลิเกสองเทพบุตรสุดที่รัก Foto's Gallery

For performance schedule, follow Facebook: ลิเกสองเทพบุตรสุดที่รัก Foto's Gallery

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c o v e r S T OR y / S a n g t h o n g

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 47

Sangthong The Long Drum Troupe Family

สั ง ข์ ท อง คณะกลองยาวที่เล่นกัน ทั้งตระกูล

ดนตรี ก ลองยาวไม่ ใช่ ก ารเล่ น เพื่ อ ความสนุ ก สนาน เพียงอย่างเดียว แต่คือการสืบสานประเพณี และคือ วันรวมญาติ ที่เผลอๆ อาจรวมคนได้ทั้งหมู่บ้านด้วยซ�้ำ ในฐานะผูช้ ม ความสนุกของการนัง่ ชมคณะกลองยาว อาจเป็นเรือ่ งความเร้าใจในจังหวะเสียงกลอง หรือท่วงท่า ของสาวร�ำวงที่สาวเท้าเข้ามาทันทีเมื่อได้ยินเสียงดนตรี เริม่ ต้นขึน้ แต่สำ� หรับผูแ้ สดงอย่างคณะกลองยาวสังข์ทอง แล้ว ความสนุกส�ำหรับพวกเขามาจากความรักความผูกพัน ทีเ่ ห็นกลองยาวตัง้ อยูท่ บี่ า้ นมาตัง้ แต่เด็ก

K

long Yao (or long drum) is not a musical instrument played solely for personal amusement but also to preserve traditions and reunite relatives or even the whole village.

As an audience, the fun of watching a long drum performance may be the exciting rhythm or the spontaneous and fun dance soon as the music starts. However, to long-drum troupe performers like Sangthong Long Drum Troupe, their fun springs from the love and bond with the instrument since they were born.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


คุณโจ หรือ วันชัย จิวะพงษ์กลู หัวหน้าวง ปัจจุบนั อายุ ๓๑ ปี และตีกลองยาวมา ๑๖ ปี เรี ย กว่ า เกื อ บครึ่ ง ชี วิ ต แล้ ว เขาบอกเราว่ า ตอนที่เริ่มเล่นกลองยาวใหม่ๆ เขาก็เหมือน เด็ ก ทั่ ว ไปที่ โ ตมาในสิ่ ง แวดล้ อ มแบบไหน บรรยากาศของสังคมดนตรีดั้งเดิมเหล่านั้น ก็ ส ่ ง เสริ ม ให้ ตั ว เขาสนใจอยากจะตี ก ลอง เป็นเอง พอเห็นพี่ป้าน้าอาตีกลองได้ ตัวเอง ก็อยากตีเป็นบ้าง และความเท่ที่สุดในการ ตีกลองส�ำหรับโจคือ “เวลามีงานบวช การที่ เราได้ ตี ก ลอง ยื น อยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง ด้ า นหน้ า ของนาค มันท�ำให้เรารูส้ กึ ว่าเราเท่ เฟีย้ วดี” พี่ป้าน้าอาที่คุณโจพูดถึงนั้น คือสมาชิก ทั้งคณะของสังข์ทองตั้งแต่รุ่นที่ ๑ มาจนถึง รุน่ ปัจจุบนั ก็เป็นรุน่ ที่ ๔ แล้ว ทุกวันนีถ้ า้ เล่น เต็มวงจริงๆ สมาชิกวงสังข์ทองจะมีทั้งหมด ๑๘ คน (รวมรุน่ ที่ ๔ ซึง่ เป็นเด็กอายุประมาณ ๑๔-๑๕ ปี) เกือบทุกคนใช้นามสกุลเดียวกัน เป็นลูกพี่ลูกน้องกันทั้งหมด แต่ก็มีบางคน ที่เปลี่ยนนามสกุลไปแล้วด้วยเหตุผลต่างๆ แต่สิ่งที่ยังคงอยู่ คือทุกคนพบปะกันอย่าง สม�ำ่ เสมอเมือ่ มีการเล่นกลองยาว Joe-Wanchai Jiraphongkun, a 31-yearold leader of the troupe who has been playing a long drum for 16 years or half his life, said that since he grew up watching his brothers, sisters, aunts, and uncles playing drums, he, too, wanted to be good at it. Joe added, "At ordination ceremonies, I felt I was really cooI being able to perform in the front row of Naga Parade." The brothers, sisters, aunts, and uncles he spoke of previously are all Sangthong Troupe members from four generations. Altogether, there are 18 members including the fourth generation with 14 to 15-year-old members. All members are related. Thus, most members share the same family name and even though some have changed theirs for various reasons, they always reunite whenever a Klong Yao performance takes place. We asked all the members who sat cross-legged on the floor at the back of Bang Phli Noi Temple how it was

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 49

even possible to have the entire family inherited long drum playing without leaving out a single member. An uncle said "Since most members have their own routine job on weekdays, our troupe has no trouble accepting a job together on Sunday. Our grandparents did the same. These days, our grandchildren generation or Sangthong's fourth generation can play both drums and Chings (hand chimes). When the parents gather up for practice, young children who tag along unknowingly absorb music senses and gradually pick up their favorite instrument and play. When the eldest plays, the middle and the little ones also play without ever being forced. Each freely chooses the instrument and the position in the troupe and keeps practicing accordingly."

เมื่อถามสมาชิกทั้งวงซึ่งนั่งขัดสมาธิคุย กับเราที่พื้นหลังวัดบางพลีน้อย ว่ามันเป็น ไปได้ จ ริ ง เหรอที่ ค นทั้ ง ตระกู ล จะสื บ ทอด การตี ก ลองยาวต่ อ กั น มาเรื่ อ ยๆ โดยไม่ มี สมาชิ ก คนใดหลุ ด ออกไปจากวงจรเลย คุณอาท่านหนึ่งบอกว่า “ทุกวันนี้วงเรามีงาน ประจ�ำของตัวเอง ท�ำงานรับจ้าง ท�ำกิจการ ส่วนตัวเล็กๆ หรือไม่กร็ บั ราชการ ซึง่ พวกเรา จะรับงานกันแค่วันอาทิตย์วันเดียว มันเลย ไม่ใช่เรื่องยาก ปู่ย่าตายายเราก็ท�ำมาแบบนี้ จนถึ ง วั น นี้ รุ ่ น หลานเราก็ มี ทั้ ง ตี ก ลองตี ฉิ่ ง อยูใ่ นวง ถือเป็นรุน่ ที่ ๔ ของสังข์ทอง เรียกว่า เวลาพ่อแม่นดั รวมพลซ้อมดนตรีกนั ลูกหลาน ก็ ม ากลิ้ ง เกลื อ กอยู ่ ต รงที่ ซ ้ อ มนั่ น แหละ พอซึมซับไปนานๆ เด็กๆ ก็ค่อยๆ ลุกมาจับ

เครือ่ งดนตรีเล่น เห็นพีค่ นโตเล่น น้องคนกลาง คนเล็ก ก็อยากเล่นบ้างโดยที่พ่อแม่ไม่เคย บังคับ จนกลายเป็นว่าแต่ละคนก็มคี วามสนใจ ในเครือ่ งดนตรีเฉพาะอย่าง ชอบต�ำแหน่งไหน ก็ ซ ้ อ มก็ เ ล่ น เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะของตั ว เอง ในต�ำแหน่งนัน้ ” หากได้เคยมีโอกาสดูการเล่นของคณะ กลองยาว เคยสงสั ย ไหมว่ า กลองที่ มี อ ยู ่ หลายตัวนั้นมีการแบ่งต�ำแหน่งกันอย่างไร และกลองทุ ก ตั ว ท� ำ หน้ า ที่ เ หมื อ นกั น ไหม สมาชิ ก ของคณะสั ง ข์ ท องได้ ใ ห้ ค วามรู ้ ใ น เรื่องนี้กับเราว่า ถ้าหน้ากลองใหญ่ เสียงก็ จะใหญ่ หน้ า กลองเล็ ก เสี ย งก็ เ ล็ ก ตาม โดยกลองตัวทีเ่ สียงเล็กนีเ้ ขามีเอาไว้ขดั จังหวะ เพื่อเป็นลูกเล่น ที่เหลือก็เป็นความสามารถ JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


เฉพาะตัวของผู้เล่นแต่ละคนแล้วว่าจะเล่น ยังไง เพราะภาพรวมในจังหวะการตีกลอง ไม่ ไ ด้ มี อ ะไรเป็ น หลั ก การ มั น คื อ การด้ น แต่โดยหลักๆ แล้ว การตีกลองยาวจะมีหวั หน้า คนหนึ่งคอยเป็นคนเริ่มต้นตีน�ำเพื่อขึ้นเพลง ให้คนอืน่ ตีตาม รวมทัง้ จะมีเสียงของฆ้องและ ฉาบใหญ่เป็นตัวร่วมเพื่อให้จังหวะในการตี จนเมือ่ ใกล้จบเพลง หัวหน้าวงจะเป็นคนตีนำ� ในการจบ ความน่ า สนใจอย่ า งมากของวงดนตรี กลองยาวสังข์ทอง คือสมาชิกคณะที่ใส่เสื้อ ทีมสกรีนด้านหลังว่า “สังข์ทอง” นัน้ คือการ รวมตั ว ของคนต่ า งอายุ ที่ อ ยู ่ ใ นวงเดี ย วกั น โดยคนที่อายุมากที่สุดและน้อยที่สุดมีอายุ ต่างกัน ๕๕ ปี คุณลุงซึ่งอายุมากที่สุดในวง เล่าให้ฟังว่า เขาเริ่มตีกลองยาวมาตั้งแต่อายุ ๑๗ จนตอนนี้ ๖๐ แล้ว ผูใ้ หญ่ในบ้านคุณลุง ท่านนีต้ กี ลองกันหมด และมีงานแสดงตามวัด ประมาณอาทิ ต ย์ ล ะ ๓ งาน ถ้ า วั น ไหนมี งานบวชที่ต้องไปเล่น คุณลุงและญาติผู้ใหญ่ ก็ต้องไปค้างคืนที่นั่นกันตั้งแต่คืนก่อนหน้า เพื่ อ ที่ เช้ า มาจะได้ แ สดงทั น ในช่ ว งแห่ น าค จนพิ ธี เ สร็ จ ต่ างคนก็ จ ะต่างแยกย้ายกลับ ขณะทีเ่ ด็กอายุนอ้ ยทีส่ ดุ ของวงซึง่ อายุ ๑๕ ปี ทุกวันนีต้ ดิ เล่นเกมเล่นมือถือตามยุคตามสมัย แต่ เ ด็ ก ผู ้ ช าย ๓ คนในวงก็ ไ ม่ เ คยทิ้ ง การ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ตีกลองยาว ถึงเวลาต้องไปซ้อมหรือไปแสดง พวกเขาก็ รู ้ ห น้ า ที่ ตั ว เองโดยไม่ ต ้ อ งมี ใ คร คอยก�ำกับ ปั จ จุ บั น รายได้ ส� ำ หรั บ คณะกลองยาว สังข์ทองต่อการจ้าง ๑ งาน เพื่อไปเล่นตาม งานวัดอยูท่ ี่ ๔,๐๐๐-๕,๕๐๐ บาท ขึน้ อยูก่ บั ความใกล้ไกลของระยะทาง ซึ่งเมื่อมาหาร จ�ำนวนผู้แสดงคือ ๑๖-๑๘ คนแล้ว ออกมา เป็นเงินที่น้อยนิด แต่นั่นก็แสดงให้เห็นว่า คณะกลองยาวคณะนีเ้ ล่นกันด้วยความรักและ เล่นด้วยใจจริงๆ เงินเป็นสิ่งส�ำคัญ แต่ก็ไม่ใช่

If you have witnessed a long drum troupe performance, have you ever wondered how all the drums' positions are divided or whether all of them deliver the same job? Sangthong Troupe's members pointed out that a larger drumhead would offer bigger sound while a smaller one smaller sound. Although drum beating relies more on improvisation than strict rules, at the beginning and nearly at the end of each song, the long drum troupe leader usually heads up with the opening beats so the rest may follow. Gongs and cymbals also help provide a more rhythmic performance.

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

51

Another fascinating fac t about Sangthong Long Drum Troupe is how it combines people of all ages where the eldest and the youngest are 55 years apart. The eldest 60-year-old uncle told us he started playing since he was 17 and that every elder member in his family played drums. In earlier days, he and his family performed at three temple fairs a week. One night before an ordination ceremony, they would stay overnight in the nearby area, perform the following morning at Naga Parade and split up after the ceremony ended. Due to the changing era, three youngest 15-year-old members are addicted to mobile games but they have never once missed a practice or performance.

On average, Sangthong Long Drum Troupe earns 4,000-5,500 baht per per formance depending on the distance. However, when divided by the number of its members (16-18 persons), such little income proves how they genuinely perform with all their hearts. To them, money is somewhat important but never the prerequisite to stopping inheriting this musical art. Although many troupes in Samutprakan either died out or disbanded as they had to work in other places, Sangthong Long Drum Troupe was more fortunate as all members are close relatives. Every performance together is basically a family reunion. "We are doing our best to preserve these traditional long drums despite the increasing popularity of modern music and car procession. Instead of more income, we even have to pay extra for the repair, additional instruments not to mention travel and food expenses." said a member.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 53

เงือ่ นไขทีจ่ ะท�ำให้การสืบสานดนตรีประเภทนี้ ต้องหยุดส่งต่อ เพราะหากศาสตร์แห่งดนตรี และศิลปะทุกแขนงในโลกใช้เงินเป็นตัวตั้ง เราเชือ่ ว่าขณะทีย่ คุ สมัยเดินหน้าไป ประเพณี อั น ดี ง ามก็ จ ะค่ อ ยๆ ล่ ม สลายด้ ว ยเช่ น กั น เช่นในสมัยก่อน จังหวัดสมุทรปราการเอง ก็มคี ณะกลองยาวอยูห่ ลายวง จนวันนีล้ ม้ หาย ตายจากไปบ้าง เลิกเล่นไปบ้างเพราะไปท�ำงาน ต่ างถิ่ น แต่ ค วามโชคดีของคณะกลองยาว สังข์ทองคือทั้งหมดเป็นญาติพี่น้อง รู้จักกัน ทุกบ้าน มีงานอะไรก็เรียกมารวมตัวกันเล่น ถือว่าเป็นวันรวมญาติเสียด้วยซ�ำ ้ “เราพยายามเก็บอนุรกั ษ์กลองยาวไว้ครับ เพราะเดี๋ยวนี้ดนตรีสมัยใหม่อย่างพวกรถแห่ รถอะไรมั น เข้ า มาแทนที่ เ ยอะ ทุ ก วั น นี้ กลองยาวไม่ ใช่ ตั ว สร้างรายได้อะไรเลยนะ แถมเสี ย รายได้ ด ้ ว ยซ�้ ำ เพราะต้ อ งเอาไป ซ่อมแซมกลองซื้ออุปกรณ์ดนตรี และไหน จะค่าเดินทางค่าอาหารอีก” สมาชิกคนหนึ่ง กล่าวกับเรา ในวั น ที่ เ รามาชมการแสดงของคณะ กลองยาวสังข์ทอง เราเข้าใจแล้วว่าที่เขาว่า กันว่า “เวลาดูกลองยาวเล่น ยิง่ มีจำ� นวนกลอง เยอะยิ่งดี เพราะเสียงมันสะใจ” หมายถึง อะไร ? เพราะขณะทีก่ ารเล่นกลองยาวแบบทัว่ ไป เขาจะเล่นกันแค่ ๗ ลูก กลองยาวคณะนี้ เขาเล่นกันทีใช้กลอง ๑๐ กว่าลูก จึงเป็นการ แสดงที่ ตื่ น ตาตื่ น ใจ และท� ำ ให้ ผู ้ ช มรู ้ สึ ก หึกเหิมน่าดู After watching Sangthong Long Drum Troupe's performance, we could see what it meant by "The more drums, the better the satisfaction gets." General long drum troupes only perform with seven drums but Sangthong troupe always per forms with ten or more, hence the spectacular performance that fully energizes the crowd.

คณะกลองยาวสังข์ทอง เลขที่ ๑๙/๕ หมู่ ๗ ต�ำบลบางเสาธง อ�ำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๙ ๑๐๓๖ ๘๐๙๙ (ติดต่อคุณโจ หัวหน้าคณะ) Facebook: กลองยาว ตระกูลสังข์-บางเสาธง

Sangthong Long Drum Troupe 19/5 Moo 7, Bang Sao Thong Sub-District, Bang Sao Thong District, Samutprakan Phone: 09 1036 8099 (contact Joe, the troupe leader) Facebook: กลองยาว ตระกูลสังข์-บางเสาธง

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c o v e r S T OR y / Pa k n a m

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 55

Paknam

The City of Rowers from Generation to Generation

ปากน� ำ ้ เมืองแห่งนักกีฬาเรือพาย ที่ส่งไม้ต่อจากรุ่นสู่รุ่น

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ตราบใดที่ ทุ ก ศาสตร์ แ ห่ ง ศิ ล ปะและ วัฒนธรรมมีการส่งไม้ต่อ ตราบนั้นไม่ว่า โลกจะหมุ น เร็ ว จนแม้ ม นุ ษ ย์ ไ อที ก็ ยั ง วิ่งตามไม่ทันแค่ไหน ความสวยงามของ เอกลักษณ์แห่งไทยก็จะไม่มีวันสูญหาย

ทุกวันนี้โรงเรียนในจังหวัดสมุทรปราการ หลายแห่ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การส่ ง เสริ ม กี ฬ าแข่ ง เรื อ เช่ น ครู ป ั ญ จโชติ ที่ ดู แ ล ส่ ง เสริ ม นั ก กี ฬ าเรื อ ยาวมั ง กรและเรื อ ยาว ๕ ฝีพายชาย ให้กบั โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษา คุ ย กั บ ผู ้ เ ฒ่ า ผู ้ แ ก่ ใ นเมื อ งปากน�้ ำ ที ไร พัฒนาการ ก็ เ น้ น เรื อ ยาว ๕ ฝี พาย และ ก็มักจะได้ยินเรื่องราวของชีวิตที่ผูกพันกับ เรือยาวมังกรหญิง ทั้งรายการแข่งขันใหญ่ๆ สายน�้ำ ซึ่งแม้ปัจจุบันมนุษย์โลกจะสะดวก ที่ผ่านมาจังหวัดสมุทรปราการยังได้เหรียญ สบายมากขึ้ น มี แ ค่ โ ทรศั พ ท์ เ ครื่ อ งเดี ย ว ก็ท�ำได้ทุกอย่างแล้ว อาชีพชาวเรือทุกวันนี้ หายไปมากมาย แต่ ข ณะเดี ย วกั น การส่ ง ไม้ต่อก็ยังด�ำเนินไปแบบไม่ขาดช่วง ซึ่งเมื่อ พูดถึงเรื่องของการสนับสนุนในเรื่องนักกีฬา เรือพายประเภทต่างๆ แล้ว นับว่าทุกคนต้อง ยกนิว้ กดไลก์ให้กบั จังหวัดสมุทรปราการ ที่คลองส�ำโรง ด้านหลังโรงเรียนบางบ่อ วิทยาคม ต�ำบลบางบ่อ เรามีโอกาสได้คยุ กับ คุณครูปัญจโชติ บุญเขียว ผู้ฝึกสอนนักกีฬา เรือพายโรงเรียนบางบ่อวิทยาคม ครูปญ ั จโชติ ผูกพันกับกีฬาทางน�ำ้ ประเภทนีม้ า ๑๕ ปีแล้ว ถือเป็นนักกีฬาเรือพายรุ่นที่ ๒ ของโรงเรียน บางบ่อวิทยาคม และในรุน่ เดียวกับคุณครูเอง ก็มีเพื่อนที่ติดทีมชาติกีฬาประเภทเรือพาย อยูห่ ลายคน

E

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE

verytime we have a conversation with the elders in Paknam City, we always hear stories of life closely connected to the stream. Regardless of how fast the world may evolve, aslong as arts and cultures are continuously passed down generations, the beauty of Thai uniqueness lives on. This includes an admirable example in Samutprakan where its full support for all forms of rowing athletes are nationally acknowledged.


Travel

@samutprakan 57

At the back of Bangbo Witthayakhom School near Samrong canal in Bangbo Sub-District, we had an opportunity to inter view Teacher Panjachote Bunkheo, the rowing coach of Bangbo Witthayakhom School. During 15 years of close knit bond with this watersport, he was one of the school's second generation's rowing crew, and had many classmates that made it to national rowing athlete crew. Nowadays, many schools in Samutprakan place more importance on promoting rowing sports. Teacher Panjachote, for instance, coaches male athletes of Dragon Boat and Five-Crew Boat Rowing Crew for Bangbo Witthayakhom School as well as handpicks the best qualified candidates for the female Dragon Boat Rowing Crew of Navamindarajudis Triam Udom Suksa School. As a result, in large rowing competitions, Samutprakan province has won the largest amount of medals and once achieved upto 14 gold medals along with numerous silver and copper medals.

ทุกเช้าก่อนเข้าเรียนและหลังเลิกเรียน คือเวลาฝึกเรือพายที่คลองหลังโรงเรียนของนักกีฬาชั้นมัธยม ต้นและชั้นมัธยมปลายโรงเรียนบางบ่อวิทยาคม Every morning before class and every evening after class, young student athletes attend their training on the canal at the back of Bang Bo Witthayakhom School.

จากเรื อ พายมากที่ สุ ด และเคยได้ ม ากถึ ง ๑๔ เหรี ย ญทอง ไม่ นั บ เหรี ย ญเงิ น และ เหรียญทองแดง ครู ป ั ญ จโชติ เ ล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า สมั ย แรกเริ่ ม ที่ ค รู ยั ง เป็ น นั ก เรี ย นของโรงเรี ย นบางบ่ อ วิทยาคมนัน้ ครูของครูซงึ่ มีเชือ้ สายจีน เป็นคน ที่ ช อบพายเรื อ มาก แต่ มั ก จะถู ก ดู ถู ก อยู ่ เป็นประจ�ำว่า “ลูกเจ๊กจะพายเรือเป็นเหรอ” ซึ่งแทนที่ครูท่านนั้นจะโกรธ กลับยิ่งฝึกพาย และท� ำ ได้ ดี เ ยี่ ย มเสี ย ด้ ว ย โดยท่ า นเอา รูปแบบของคอร์สการฝึกกรีฑามาประยุกต์ ใช้ กั บ การฝึ ก เรื อ พาย จนมาถึ ง สมั ย ของ ครูปัญจโชติเองที่เป็นผู้ควบคุมการฝึกสอน ให้ กั บ นั ก กี ฬ าเรื อ พาย ในทุ ก วั น ช่ ว งเวลา ๗ โมงเช้าก่อนเข้าเรียน และช่วง ๔ โมงเย็น หลั ง เลิ ก เรี ย น ครู จ ะประจ� ำ อยู ่ ที่ ค ลอง หลั ง โรงเรี ย นเพื่ อ ฝึ ก เรื อ พายให้กับ นักกีฬา จากชั้ น มั ธ ยมต้ น และชั้ น มั ธ ยมปลาย JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


When Teacher Panjachote was merely a student at Bangbo Witthayakhom School, he loved rowing a lot but was always insulted, "Does a Chinese boy even know how to row?" Instead of getting upset, he practiced even harder and eventually mastered at it. After becoming a teacher, he was, later, in charge of rowing athlete coaching. At 7 a.m. before class and at 4 p.m. after class, he would station by the canal at the back of the school training rowing skills and techniques to a group of junior high school and high school student athletes. "Most rowers on my crew are troublemaking kids but with potential to improve. Front-row students with excellent grades rarely play this type of sport because even if he or she has a marvelous chance of being listed on a national crew in the future, it is absolutely exhausting, takes a great deal of time and devotion." The current crew under Teacher Panjachote's supervision can row Dragon Boat, Five-Crew Boat, and Ruea Mat (a lumber dugout boat). The Dragon Boat Rowing Competition, however, is often held at an international level

จ�ำนวนหนึ่ง ที่น่าสนใจคือเด็กที่มาเล่นกีฬา ประเภทนี้มักไม่ใช่เด็กเรียนเก่งท�ำคะแนนดี “ส่ ว นใหญ่ เ ด็ ก ของผมเป็ น เด็ ก เกเร หมดเลยครั บ แต่ เ ป็ น พวกเกเรแบบดั ด ได้ ไม่ค่อยมีเด็กที่เรียนเก่งมาเล่นกีฬาเรือพาย เพราะถึ ง อนาคตเขาอาจจะมี โ อกาสไปติ ด ทีมชาติได้ก็เถอะ แต่กีฬาชนิดนี้มันเหนื่อย มากนะ ต้องอุทิศเวลากับตรงนี้เยอะ” กลุ ่ ม นั ก กี ฬ าที่ ค รู ป ั ญ จโชติ ฝ ึ ก สอนให้ อยู่นั้น เป็นกลุ่มเด็กที่พายได้ทั้งเรือยาวมังกร เรือยาว ๕ ฝีพาย และเรือมาด โดยเรือยาว มังกรจัดเป็นเรือระดับสากล มีการแข่งขัน กันในระดับโลก ใช้ผู้พายจ�ำนวน ๑๒ คน ๑๐ คน มี ห น้ า ที่ พ าย อี ก คนมี ห น้ า ที่ คัดท้ายเรือ และอีกคนคอยตีกลองให้จังหวะ ส� ำ หรั บ การพาย โดยกลองนี้ จ ะมี ลั ก ษณะ เดียวกันกับของจีน คือวางประกบที่หัวเรือ มีพื้นที่นั่งส�ำหรับมือกลอง

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 59

อ่ า นมาถึ ง ตรงนี้ แ ล้ ว หลายคนอาจ นึกภาพตามว่าคนตีกลองซึ่งมีหน้าที่ควบคุม จังหวะการพายเรือของสมาชิกทั้งล�ำจะต้อง เป็นคนมีร่างใหญ่ก�ำย�ำ กล้ามเป็นมัดๆ แน่ แต่เปล่าเลย เพราะคนตีกลองเรือยาวมังกร นั้ น ต้ อ งเป็ น คนตั ว เล็ ก ที่ สุ ด ยิ่ ง เล็ ก ยิ่ ง เบา ยิ่ ง ดี เพราะถ้ า เราเอาคนตั ว ใหญ่ ไ ปนั่ ง ที่ ต� ำ แหน่ ง หั ว เรื อ เรื อ ก็ อ าจจะจมได้ และ คนตี ก ลองนี้ ก็ ต ้ อ งผ่ า นการฝึ ก พายเรื อ ทุกประเภทมาด้วย เพือ่ ให้รจู้ งั หวะของฝีพาย ส� ำ หรั บ ลั ก ษณะของการตี ก ลองนั้ น คนตี จะตีเพื่อน�ำจังหวะพาย ช่วงไหนต้องการให้

ที ม พายเร็ ว ขึ้ น เพื่ อ แซงคู ่ แข่ ง คนตี ก ลอง ก็จะตีด้วยจังหวะที่เร็วขึ้น ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งการเล่ น กี ฬ าทุ ก ประเภท แน่ น อนว่ า ผู ้ ฝ ึ ก เองได้ ทั้ ง เรื่ อ งของน�้ ำ ใจ นั ก กี ฬ า ฝึ ก วิ นั ย และความอดทน แต่ ส� ำ หรั บ ผู ้ ฝ ึ ก เรื อ พายแล้ ว สิ่ ง ที่ ไ ด้ ม ากไป กว่ า นั้ น คื อ การสื บ สานประเพณี จ ากรุ ่ น สู่รุ่น ก่อนและหลังการฝึกเรือพายทุกครั้ง ครู ป ั ญ จโชติ จ ะฝึ ก ความคุ ้ น เคยให้ นั ก กี ฬ า ไหว้แม่ย่านางทุกครั้งเพื่อเป็นการท�ำความ เคารพเรือ ซึ่งแต่เดิม เรือพายบางบ่อ หรือ ที่เรียกว่า เรือประเภท ๕ ฝีพายนั้น มีจุด

around the world. Usually, there are 12 persons on a crew: ten in charge of rowing, one steerer at the back-end and one beating the drum suggesting the rhythmic striking of paddles at the front-end. All paddlers are assumed to have a muscular athletic body. The drummer sitting at the front-end of a Dragon Boat, on the contrary, must be the smallest, the lighter the better, to prevent the boat from sinking. This same drummer must have undergone all types of boat rowing trainings to masterly control the rhythm of paddling. For example, to accelerate the pace and surpass other competitors, the drum beat becomes faster.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


Together with enhanced sportsmanship, self-discipline, and perseverance, rowing trainees are instilled to preserve traditions passed down generations including paying respect to the guardian goddess of boats before and after every rowing. On previous days, the story of Bangbo Row Boat or Five-Crew Boat began with the simple Ruea Mat Traditional Boat Race at Luang Phor Toh Temple. When the Rowing & Canoeing Association of Thailand (RCAT) was established, the front end of traditional Chinese Dragon Boat was modified with a hint of Thai art while the rest of boat maintained its Chinese senses. The paddling techniques of a Chinese Dragon Boat are similar to those of Thai long boats. Only the oars are different. On the other hand, the appearance of a Five-Crew Boat is identical with a smaller scale of long boat. Since the seats for rowers are raised five centimeters above the ground, it takes five rowers with genuine expertise to row this ultra slim boat or else the boat may flip. The story of the boats and students are not limited to training period or during the race. After the end of National Youth Rowing Tournament, many students earn extra income from their rowing skills. During their school breaks, some

เริ่ ม ต้ น มาจากเรื อ มาดซึ่ ง เป็ น เรื อ ประเพณี สมั ย ก่ อ นมั ก จะมี ก ารจั ด แข่ ง ขั น เรื อ มาดนี้ ตามวัดหลวงพ่อโต จนต่อมาจึงได้มกี ารก่อตัง้ สมาคมเรือพายแห่งประเทศไทยขึ้น โดยเอา เรือมังกรของจีนมาท�ำเป็นเรือคชสีห์ในแบบ ของไทย วิ ธี ก ารคื อ ปล่ อ ยให้ ลั ก ษณะของ ตัวเรือเป็นแบบจีน แต่ใส่หวั ให้มคี วามเป็นไทย เรือมังกรของจีนมีความสอดคล้องกับเรือยาว ของบ้านเรา คือลักษณะการพายเหมือนกัน แต่จะต่างกันทีร่ ปู ลักษณ์ของใบพาย ส�ำหรับเรือยาว ๕ ฝีพาย จะมีลักษณะ เหมือนกับเรือยาวในขนาดสัดส่วนที่ถูกย่อ ลงมา มี ที่ นั่ ง ส� ำ หรั บ ผู ้ พ ายยกขึ้ น จากพื้ น แค่ประมาณ ๕ เซนติเมตรเท่านั้น เรียกว่า เป็นเรือที่บางเฉียบ ต้องอาศัยผู้พายจ�ำนวน ๕ คน ทีม่ คี วามช�ำนาญจริงๆ ไม่เช่นนัน้ พายไป เรืออาจจะคว�ำ่ ได้ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

หัวมังกร คือองค์ประกอบจากการผสมผสานระหว่างเรือมังกรของจีนและคชสีหข์ องไทย Dragon head is the combination between traditional Chinese and Thai Dragon Boats.

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

61

หนึง่ ต�ำแหน่งส�ำคัญของเรือยาวมังกร คือ คนตีกลอง ในการให้จงั หวะทีมส�ำหรับการพายช้าหรือพายเร็ว One of the most important position on a Dragon Boat is the drummer who controls the rhythm of paddling with his drum-beating.

are sponsored to race at Tha Luang in Pichit or Ayutthaya and some are paid to compete in Ruea Mat Races in different villages. These children also know how to take good care of their boats including caulking techniques. Boat races can be seen at several provincial traditional boat races. The fun part is not the competition itself but rather how age is not the limit, thus, young faces are seen racing against the elders in some races. When asked how he could stay bonded with this sport for over 15 years and what made him fall for the art of rowing, Teacher Panjachote replied, "I guess it is the social pattern of the rowing athletes and I, myself, am deeply bonded with the boats. A day without practice and I feel as if a piece of my life is missing."

เรื่ อ งของเรื อ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย นยั ง ไม่ จ บ แค่ในช่วงการซ้อมหรือการออกไปแข่งขัน เท่านัน้ เพราะทุกวันนีเ้ มือ่ หมดฤดูการแข่งขัน กีฬาเรือพายเยาวชนแห่งชาติ เด็กหลายคน จะออกไปรั บ งานพิ เ ศษพายเรื อ ในช่ ว ง ปิ ด เทอมด้ ว ย เช่ น รั บ พายเรื อ ยาวตาม งานแข่ ง ต่ า งๆ ที่ ท ่ า หลวงในจั ง หวั ด พิ จิ ต ร บ้าง อยุธยาบ้าง หรือบางคนก็ไปรับงานแข่ง พายเรื อ มาดตามหมู ่ บ ้ า น และเวลาที่ เรื อ ประเภทนี้ เ กิ ด ช� ำ รุ ด ขึ้ น มาเมื่ อ ไหร่ เด็ ก ๆ จะช่วยกันซ่อมแซมในทักษะที่ตัวเองท�ำได้ เช่น การตอกหมัน (เจาะรูเรือและเอาสลัก ที่เป็นไม้พันผสมกับน�้ำมัน ใช้ตอกอุดเข้าไป เพื่ อ แก้ ไขเรื่ อ งรู รั่ ว ) เรี ย กว่ า รั ก จะใช้ ชี วิ ต

กั บ เรื อ ก็ ต ้ อ งรู ้ จั ก วิ ธี ดู แ ลเรื อ ด้ ว ย ใครที่ สนใจอยากดู ก ารแข่ ง ขั น เรื อ สามารถไปดู ได้ ต ามงานแข่ ง เรื อ ประเพณี ข องจั ง หวั ด ซึง่ ความสนุกไม่ใช่เรือ่ งของการแข่งขัน แต่อยู่ ที่ ก ารแข่ ง เรื อ ประเพณี นั้ น ไม่ มี วั ย หรื อ อายุ เป็นตัวก�ำหนด บางครั้งรุ่นเด็กพายแข่งกับ รุ่นพ่อรุ่นปู่ก็มี เมื่ อ ถามครู ป ั ญ จโชติ ว ่ า ท� ำ ไมถึ ง อยู ่ กั บ กี ฬ าประเภทนี้ ม าได้ ถึ ง ๑๕ ปี ท� ำ ไมจึ ง ติดใจศาสตร์ของการพายเรือนัก ครูปัญจโชติ ว่ า “คงเพราะรู ป แบบสั ง คมของนั ก กี ฬ า เรือพายละมัง ครับ และเราเองก็ผูกพันกับ เรือ วันไหนไม่ได้ซ้อม จะรู้สึกชีวิตขาดหาย อะไรไปบางอย่าง” JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c o v e r S T OR y / F i g h t i n g F i s h e s

A Kingdom in a Glass Jar

A Garden House of Fighting Fishes

อาณาจักรในขวดโหล

บ้านสวนของปลากัด สัตว์เลี้ยงที่ใช้พื้นที่น้อยที่สุด ต้องการความเอาใจใส่บ้างแต่ไม่ต้องมาก ไม่เปลืองเรื่องข้าวปลาอาหาร และรวมไปถึงอากาศก็ไม่ต้องเพิ่มให้ ทั้งยัง สามารถมี ค วามสุ ข กาย สบายกั บ การเคลื่ อ นไหว แถมสร้ า งรอยยิ้ ม ให้คนเลี้ยงหายเหนื่อย หายล้า หายโกรธจากสิ่งใดๆ ได้เป็นปลิดทิ้ง เพียงแค่ได้จ้องหน้าของเจ้าสัตว์เลี้ยงตัวน้อย ที่เคลื่อนไหวไปมา มุด ลอด หมุนตัวในสวนเขียวกราฟิกใต้น�้ำ...ในนามปลากัด The pet that requires the least space, some but never too much attention, minimum food investment without any additional air pump installation but still manages to put a smile on the keeper’s face, relieve all exhaustion and anger with just a glance at the tiny creature’s natural movement going high above and down below twirling round in the green graphic garden beneath the water...is known as “Fighting Fish.”

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 63

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ปีนี้ “ปลากัด” หรือ Siamese Fighting Fish เพิ่งจะได้รับ การประกาศให้เป็นสัตว์น�้ำประจ�ำชาติไทย เพราะปลากั ด มี ค วามอึ ด ในการต่ อ สู ้ กั น ได้ เป็นเวลานาน นอกจากนัน้ ยังเคลือ่ นไหวว่องไว และแข็งแรง นอกเหนือไปจากลักษณะทาง ธรรมชาติที่ความสวยงาม ความพลิ้วไหวของ ล�ำตัว ครีบ และหางซึ่งมีลีลาน่ามอง แต่ เ หตุ ผ ลของการเลี้ ย งปลากั ด ของ คุณเนม หรือ สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ เจ้าของ สวนกราฟิกใต้น�้ำ มาจากความรู้สึกหลงใหล ในความสวยของสัตว์น�้ำที่เป็นปลา โดยไม่ จ�ำเป็นเลยว่าจะเป็นปลากัดหรือปลาเลี้ยง เพื่อความสวยงามชนิดไหน ไม่จ�ำเป็นต้อง เป็ น ปลาที่ มี ชื่ อ หรื อ มี ร าคาทางเศรษฐกิ จ แต่เป็นสิ่งที่ชอบ แม้ในปัจจุบันตัวเลขการ ส่งออกปลากัดไทยมีจ�ำนวน ๒๐.๘๕ ล้านตัว และส่ ง ออกไปทั่ ว โลกถึ ง ๙๕ ประเทศ เป็ น มู ล ค่ า ไม่ ต�่ ำ กว่ า ๑๑๕.๔๕ ล้ า นบาท ต่อปี เขาก็ไม่ได้เปลี่ยนความตั้งใจในการเลี้ยง ปลากัดให้เป็นธุรกิจ เพราะส�ำหรับเขาแล้ว เขามองเป็นเรื่องศิลปะ

Earlier this February, “Pla Kat” or Siamese Fighting Fish (also known as Betta Fish) was declared Thailand’s national aquatic animal. Besides its long endurance in a fight and its swift yet powerful movement, Pla Kat has long been known for its naturally mesmerizing features whenever it gracefully wavers its body, fin and tail. However, the reason Name-Sirilak Taphaohiran, the owner of Underwater Graphic Garden, keeps Siamese Fighting Fishes started out with his pure love and fascination for aquarium fishes regardless of their species, their reputation background or economic value. At the present, although over 20.85 million Siamese Fighting Fishes are exported to 95 countries worldwide generating an ever-soaring income of no less than 115.45 million Baht a year, he has no intention to transform his fighting fish farming into business because, to him, it is all about art.

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 65

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


การเป็ น นั ก เลี้ ย งปลากั ด และจั ด สวน ในน�้ ำ ให้ ป ลากั ด คนนี้ เกิ ด จากความเอ็ น ดู ในปลาเงินปลาทองก่อน แต่เมือ่ ท�ำการอนุบาล ลู ก ปลาน้ อ ยจนมี ลู ก มากมาย ท� ำ ให้ พื้ น ที่ ในบ้ า นไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะวางตู ้ ป ลา หรื อ หา ที่เสียบปลั๊กสายไฟสายออกซิเจนในบ้านได้ คุณเนมจึงเริ่มคิดหาวิธีการอยู่กับปลาชนิดอื่น ที่ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ไฟฟ้ามากเกินไป ซึ่งอาจ เสี่ยงต่อการใช้ไฟฟ้าเกินปริมาณได้ ปลากัด จึ ง เป็ น สั ต ว์ เ ลี้ ย งใหม่ ที่ ต อบโจทย์ ชี วิ ต ในแบบที่ต้องการ ด้วยความที่ปลากัดเป็น ปลาสวยงาม อดทน และไม่ต้องให้ออกซิเจน มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ส่ว นการเริ่ มต้ น เลี้ ย งปลากั ด ที่ มาจาก ความรักในการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม จนกลายเป็ น ขยายพั น ธุ ์ แ บ่ ง ขายด้ ว ยนั้ น เป็ น เพราะหลงรั ก ปลาสายพั น ธุ ์ ไ ทยเข้ า อย่างจริงจัง และความธรรมดาสามัญของ ปลากั ด ที่ พ บได้ ต ามแหล่ ง น�้ ำ ธรรมชาติ ทั่ ว ไป หรื อ ตามท้ อ งนาและบึ ง ต่ า งๆ นั้ น ได้ จุ ด ประกายความคิ ด ของคุ ณ เนมให้ ออกแบบและจั ด สวนในน�้ ำ เพื่ อ ให้ บ ้ า น ตามแบบธรรมชาติ ข องปลาได้ เข้ า มาอยู ่ ในขวดโหลด้วย

When this fighting fish breeder and an aquarium designer was first fond of goldfishes, his fish breeding became so successful that he grew out of space for either fish tanks or plugs for more oxygen pumping machines. Seeking to cohabit with other types of fishes that do not excessively require electricity, fighting fishes became the impeccable choice that answers to all aspects of his lifestyle with all its beauty, endurance without the necessity of additional oxygen. Although it started out with his love of keeping these fighting fishes for pleasure of their brilliant features, it gradually

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 67

เพราะงานประจ�ำที่ถนัดคืองานออกแบบ กราฟิกสิ่งพิมพ์ ซึ่งคุณเนมท�ำให้กับนิตยสาร หลายเล่ม รวมถึงออกแบบปกหนังสือ และ ออกแบบภาพประกอบให้กับบทความต่างๆ ทางเว็ บ ไซต์ เขาจึ ง เกิ ด ความคิ ด ที่ จ ะพา ศิลปะในการออกแบบเข้ามาอยู่ด้วยกันกับ งานอดิเรกที่ชอบด้วย ปลาน�้ำจืดพื้นเมือง ทีอ่ ยูก่ บั วิถคี นไทยมาช้านาน จึงมีบา้ นหลังใหม่ ที่จ�ำลองสภาพแวดล้อมขึ้นอย่างสร้างสรรค์ “พอได้เลี้ยงปลากัดจริงๆ แล้วก็ผูกพัน มาก ปลากัดมีเสน่หท์ คี่ วามสวย แต่ละตัวจะมี สีสวยแปลกแตกต่างและมีลายทีไ่ ม่เหมือนกัน ดูแลง่ายมากเพราะไม่ต้องใช้ออกซิเจน และ ยังอดอาหารได้นานถึง ๗ วัน เหมาะกับชีวิต ของคนในปัจจุบันที่ไม่ค่อยมีเวลาดูแลสัตว์ ที่เลี้ยง” ส่ ว นค� ำ ถามที่ ห ลายคนสงสั ย และเรา ไม่พลาดที่จะหาค�ำตอบจากเขา กับความเชื่อ ที่ว่าปลากัดจ้องตากันแล้วจะท้องนั้นจริงไหม คุณเนมเล่าให้ฟังได้อย่างน่ารักว่า การจ้อง ตากั น ของปลากั ด เป็ น การยั่ ว ยวนกั น ของ ปลาตัวผู้และตัวเมีย “เวลาที่มีขวดโหลวาง ใกล้กัน ต้องเอากระดาษกั้นเพื่อไม่ให้ปลา

ยั่ ว กั น จนเหนื่ อ ย จนกระทั่ ง เราสั ง เกตว่ า เขามีการเตรียมก่อหวอดพร้อมแล้ว ถึงจะ เปิดก�ำแพงกั้นกลางให้เห็นกันเพื่อให้จีบกัน ก่ อ นจะจั บ เขามาเจอกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด การ ผสมพันธุ์” ในระยะนี้เองที่ความสนุกและสร้างสรรค์ ของคุณเนมบังเกิดขึ้น ศาสตร์ของธรรมชาติ และศิลปะของงานออกแบบถูกดึงมาสูจ่ ดุ ร่วม เดี ย วกั น “เราต้ อ งสร้ า งเรื อ นหอรอก่ อ น ที่ จ ะให้ ๒ ตั ว มาอยู ่ ด ้ ว ยกั น ด้ ว ยการเอา ใบหูกวางและสาหร่ายมาสร้างภูมทิ ศั น์ให้เป็น สวนที่มีที่แหวกว่าย ให้เขาได้มีพื้นที่ว่ายน�้ำ จีบกันตามซอกหลืบ จากนั้นเอาตัวผู้ลงก่อน แล้วค่อยให้เขามาว่ายวนกัน จีบกัน บางที ก็หลายวัน” ทุกอย่างที่ถูกน�ำมาสร้างบ้านให้ปลานั้น ล้ ว นมี เ หตุ ผ ล คุ ณ เนมใช้ ใ บหู ก วางในการ จัดสวนเรือนหอให้ปลากัดในน�้ำ เพราะว่า ธรรมชาติของใบไม้หรือกิง่ ไม้แห้ง และยอดอ่อน ที่ มี สี แ ดงจะมี ส ารแทนนิ น ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ในการลดเชื้อโรค สารพิษ และแอมโมเนีย ที่ ขั บ ออกมาทางเหงื อ กปลา นิ ย มใช้ เ ลี้ ย ง ทั้งลูกอ่อนปลากัด และปลากัดตัวโต

extends to fish breeding and selling some separately. Moreover, the simplicity of these Siamese Fighting Fishes that can be found in natural water resources including rice paddies and marshes has also inspired Name in his aquascape design breathing their natural home environment into the fish jar. With his excellent printing graphic design skills as evidenced in various issues of magazines, book covers and illustrations for numerous online articles, Name integrates the art of designing into his beloved hobby. Hence, the local freshwater fishes with a long history in Thai people’s way of life eventually have a new home with creatively simulated environment.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


“Once I actually get my hands on raising fighting fishes, the bond grows immensely. The charm of Siamese Fighting Fishes is their beauty as each carries its own unique colors and patterns. Also, the facts that they are extremely easy to take care of even without extra oxygen pumping machine and that they can easily survive upto seven days without food make them a perfect fit for today’s lifestyle that always hustles against the clock.” Now, regarding the myth that many have been curious of whether it is true that fighting fishes get pregnant after staring into each other's eyes, Name explained to us that the stare is how male and female fighting fishes tease each other. "When their glass jars are next to one another, I need to slip a piece of paper in between to prevent them from getting too exhausted from the tease. However, once the male fighting fish clusters the surface with small bubbles, it is time to remove the wall to let them start courting before pairing them up in the same jar for further mating." It is at this stage that Name was sparked with fun and creativity to forge the science of nature and the art of designing. "Before letting the two of them meet, we must first prepare a bridal house, an aquascape with a mixed use of Indian Almond leaves and seaweed as an underwater garden so they can leisurely swim through and court around. Then, sit the male in and let them tease and court around which can take days." Every details in the fish home was chosen for a reason. Name uses Indian Almond leaves to build an underwater bridal house for the fighting fishes because red dried leaves, twigs and young treetops naturally contains tannins, a substance that helps reduce germs, toxins and ammonia expelled from the gill. They are popularly used in raising both the fry and adult fighting fishes.

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 69

The travel distance between his house in Samutprakan and his downtown office may be significant but it has never occurred to him as an obstacle in preparing an aquatic garden in the fish jar or arranging a fish pick-up appointment with his customers at his house. Instead, it fulfills his heart to a greater extent being able to share his dear happiness both the fighting fishes and the aquascape design in a glass jar with any interested person to take home. "Anyone can sell a product but we do believe in attentive after-sales services. It is not the prices but the value of what we offer that truly matters." It seems to us that Name has found the right job and the right love.

แม้ ร ะยะการเดิ น ทางระหว่ า งบ้ า นที่ สมุทรปราการ และที่ท�ำงานในเมืองจะอยู่ ห่างกัน แต่นั่นไม่ใช่อุปสรรคที่จะท�ำให้การ เตรียมสวนในขวดโหลปลากัด กับนัดรับปลา กับลูกค้าที่บ้านของเขาสะดุดเลย หากยิ่งกลับ ท�ำให้คุณเนมอิ่มใจที่จะได้แบ่งปันความสุข ที่ตัวเองรักทั้งปลากัดและการออกแบบสวน ในขวดโหลให้คนที่อยากได้เอากลับไปบ้าน “สิ น ค้ า หรื อ ของขาย ใครๆ ก็ ข ายได้ แต่ ค วามใส่ ใจในการขายของไปแล้ ว ก็ ยั ง ดูแลกันต่อไป ไม่ใช่เรื่องของราคา แต่เป็น คุณค่าของสิ่งที่เรามี” ทุกวันนี้คุณเนมเหมือนได้เจองานที่ชอบ และความรักที่ใช่แล้ว

ติ ด ตามเพิ่ ม เติ ม การเลี้ ย งปลากั ด ในสวน ขวดโหลที่ Instagram: ponyo_thesea For more information on raising fighting fishes in a glass jar, follow Instagram: ponyo_thesea.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c o v e r S T OR y / Tatt o o

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

71

Tattoo

The Body Canvas.

รอยสั ก ศิลปะบนร่างกาย

ปรากฏการณ์ความนิยมลายสักมีระยะขึ้นและระยะลงเหมือนแฟชั่น หรือเหมือนสิ่งที่อยู่ในความนิยมเช่นกัน ในสมุทรปราการมีจ�ำนวน ของร้านสักลายมากมายหลายร้าน จนเหมือนกับเป็นหัวล�ำโพง รถไฟของร้านสัก ช่างสักที่เปิดร้านมานานกว่าสิบปีคนหนึ่งเล่า ให้เราฟังว่า ที่เลือกมาเปิดที่สมุทรปราการเพราะความคุ้มค่าของ ค่าครองชีพ ที่ไม่สูงเหมือนอยู่ในย่านกลางเมือง มีความกดดัน ในการท�ำงานน้อยกว่า และลูกค้าที่มารับการสักลายเป็นลูกค้า ชั้นดีที่มีทัศนคติเปิดกว้าง เพราะเลือกมาหาช่างและสตูดิโอที่ถูกใจ ในราคาที่ไม่กดดัน hrough the rises and falls of the tattoo phenomena, T a great number of tattoo shops stand their ground in Samutprakan. An artist who has been in the neighborhood

for more than a decade told us he chose to open his shop in Samutprakan because of the sensible cost of living, the less amount of pressure at work and the fine-class customers with open-minded attitudes who come searching for the right tattoo artist and studio at affordable prices. JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 73

In the past having a "tattoo" was undeniably the symbol of troublemakers and criminals. As time evolves, it gradually becomes an expression of fashion and an artistic beauty with embedded values. There are many competitions, tattoo artist associations, tattoo lover groups as well as tattoo photo books to encourage and exchange tattoo patterns and techniques. Unlike traditional sacred tattooing blessed by a monk or a master, these days, tattoo artists translate their talents, years of expertise and pure indulgence in art into each marking for artistic purposes.

เราปฏิเสธไม่ได้ว่าในอดีต “รอยสัก” เป็น เหมือนสัญลักษณ์ของคนเกเรไปจนถึงนักโทษ ค่ า นิ ย มในการมี ล ายสั ก และสั ก ลาย ในปัจจุบันนี้ ได้เปลี่ยนไปตามกาลเวลาและ กลายเป็นแฟชั่นที่มีคุณค่าในความเป็นงาน ศิลปะ มีการจัดประกวด มีการตั้งกลุ่มช่างสัก และคนรักการสักลาย มีหนังสือภาพเฉพาะ เรื่องรอยสัก มีการแลกเปลี่ยนลวดลายและ เทคนิคการสร้างงานหลากหลาย ผู้ที่สักลาย ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ มี ค าถาอาคมซึ่ ง สั ก ลายโบราณ และเป็นยันต์คุ้มครอง หรือเพื่อความหมาย ทางจิ ต วิ ญ ญาณเท่ า นั้ น แต่ ค วามนิ ย มนี้ เกิ ด ขึ้ น ในหมู ่ ค นที่ เ สพศิ ล ปะหลายรสนิ ย ม และช่ า งสั ก กลายเป็ น บุ ค คลที่ มี บ ทบาท เพราะฝี มื อ การวาดลงหมึ ก ลงสี นั้ น ต้ อ งมา พร้ อ มกั บ ประสบการณ์ ข องพรแสวงและ พรสวรรค์ JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


การสักลายไม่ใช่แค่เรื่องความสวยของ ลาย หรื อ ความหลงใหลต่ อ ลายสั ก ที่ ช อบ บนร่างกายเท่านั้น และการสักลายก็ไม่ได้ แปลว่าจะต้องรับการสักจากช่างที่เก่งที่สุด หรื อ ดั ง ที่ สุ ด แต่ ก ารสั ก ลายเป็ น เสมื อ น การวางใจซึ่งกันและกันของทั้งผู้รับการสัก และช่ า ง ที่ ต ้ อ งประสานความคิ ด จริ ต และสไตล์ที่พึงพอใจซึ่งกันและกัน นอกเหนือจากนั้น สิ่งส�ำคัญที่ขาดไม่ได้ และจ�ำเป็นต้องค�ำนึง คือเรื่องความสะอาด และความปลอดภั ย ของอุ ป กรณ์ ที่ จ ะใช้ ใ น การลงรอยสั ก ที่ ต ้ อ งผ่ า นการฆ่ า เชื้ อ และ สะอาดราวกับเข้าห้องผ่าตัด รวมไปถึงหมึก ที่ ใช้ ใ นการสั ก ต้ อ งมี คุ ณ ภาพดี และไม่ ป น กั บ น�้ ำ หมึ ก ซึ่ ง เหลื อ จากเข็ ม สั ก ของคนอื่ น เพราะเมื่อทั้งผู้อยากสักและช่างตกลงกระท�ำ งานศิลป์บนผิวร่วมกันแล้ว สิ่งนั้นจะอยู่ไป กับผู้รับ ช่ า งสั ก ก็ เ หมื อ นศิ ล ปิ น ที่ บ างคนมี ประกาศนี ย บั ต รจากสถาบั น แต่ บ างคนก็ มากด้วยประสบการณ์และฝีมือ งานศิลปะไม่มีผิดถูก สวยมาก สวยน้อย อยู่ที่ต้นทุนทางความชอบที่จะถูกใจมากน้อย ต่างกันไป อย่างร้าน “สักทางศิลป์” ช่างโจ As much as tattooing is not all about the beautiful patterns or the passion towards the body canvas, the marking of the tattoo does not necessarily have to be done by the best or the most famous tattoo artist as it all comes down to the trust between the artist and the customer and the ability to synchronize their thoughts, styles and preferences. The sanitary and safety of all tattoo appliances are always placed first and foremost. All marking instruments must be thoroughly sterilized and the tattoo ink of the best quality without the slightest contamination of leftover ink from previous customers. Tattooists are like artists: some are certified by certain institutions and some are highly experienced and skilled. There is no right or wrong. The beauty depends on the the person's preferences. At "Sak Thang Silp" Tattoo Shop, for example, Artist Joe-Thassanu Mongkhonkul began his tattoo career because of his love of drawing. He was once a jewelry designer before he started training มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 75 himself various techniques. His art combines modern techniques with traditional Thai elements. Photsarut Sonsrikhra or Artist Not of "Samutprakan Phraeksa Tattoo Shop" said his journey started during his monkhood. "I met a tattoo artist who worked at the temple. The fact that he had nothing but a motor and color inks inspired me that I could do it, too." Not practiced during his free time after completing Buddhist monk disciplines and after leaving the monkhood, he fought for more experiences by himself and through working for tattoo studios in Krabi, Chiang rai, Koh Chang, and Bangkok before returning to open his own studio in Samutprakan crafting tattoo arts alongside his son Toh-Krissana Tuankham. Having met customers with various tastes and preferences, his experiences grew tremendously that his juniors asked for a tattoo lesson from him. "I do have students but then again I guess I'm the only artist in Thailand that teaches without a certified trophy. I see kids with passion but no one's willing to teach them and I can't let them mess around." There are two courses: the small one focuses on shadowing techniques and the large one teaches drawing, coloring, and hand-on practice on artificial and actual skin. "My studio is close to a fresh market so I order pig skin for students to practice and they like it." To Artist Not, tattooing is an art deeply rooted in the heart that genuinely loves tattooing not the money it makes. "When the artist realizes this true value, his tattoo is enriched with more details. With exceptional skills, the prices multiply."

หรือ คุณทัสนุ มงคลกุล เริ่มอาชีพการเป็น ช่างสักเพราะรักในการวาดรูป จากที่เคยเป็น นักออกแบบเครื่องประดับมาก่อน เขาผัน ตั ว เองมาเป็ น ช่ า งสั ก ด้ ว ยการเริ่ ม ต้ น ฝึ ก เทคนิคด้วยตัวเอง สไตล์งานสักของช่างโจ เป็ น งานประยุ ก ต์ ที่ มี ค วามสมั ย ใหม่ ผ สาน กับลายไทยที่เขาถนัด คุณพจช์ศรุทธิ์ ศรศรีคร้าม หรือ ช่างน๊อต แห่ ง “ร้ า นสั ก สมุ ท รปราการ แพรกษา” เล่าให้ฟังถึงเส้นทางของการเป็นช่างสักว่า เขาเรี ย นรู ้ ก ารสั ก มาจากช่ ว งที่ บ วชเรี ย น “ตอนนั้ น เจอช่ า งที่ ม าสั ก ตามวั ด เขามี แ ค่ มอเตอร์ ตั ว หนึ่ ง และสี เ ท่ า นั้ น นั่ น เป็ น แรง บันดาลใจที่ท�ำให้เรารู้สึกว่าเราน่าจะท�ำได้”

ช่างน๊อตเริ่มฝึกมือตั้งแต่ตอนที่ยังบวช เป็นพระโดยใช้เวลาทีว่ า่ งจากกิจสงฆ์ หลังจาก ที่สึกออกมาแล้ว ก็เริ่มต้นการเรียนรู้การสัก ล้มลุกคลุกคลานหาประสบการณ์ทั้งท�ำเอง และเป็นลูกน้องในร้านสัก เขาเดินทางไป ท� ำ งานตั้ ง แต่ ก ระบี่ เชี ย งราย เกาะช้ า ง กรุงเทพฯ และกลับมาที่สมุทรปราการ เปิด สตูดิโอเล็กๆ ในบ้านของตัวเอง ที่ใช้สร้าง งานสักไปพร้อมๆ กับลูกชาย คุณโต๋ว หรือ กฤษณะ ตวนค�ำ จากประสบการณ์ ก ารเดิ น ทางท� ำ งาน จากหลายที่ พบลูกค้าที่มีรสนิยมในการสัก แตกต่ า งกั น หลายคน ท� ำ ให้ ชั่ ว โมงบิ น ใน การสักของช่างน๊อตเข้าที่ จนมีรุ่นน้องมา JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ขอให้สอนการสักให้ “ผมเป็นคนที่มีลูกศิษย์ แต่ผมว่าคงเป็นช่างสักที่สอนด้วยคนเดียว ในประเทศไทยละมั้ ง ที่ ไ ม่ มี ถ ้ ว ยรางวั ล การันตี ผมเห็นว่าเด็กมีความสนใจอยากท�ำ แต่ไม่มีใครสอน ไม่อยากปล่อยให้เขาไปฝึก เละเทะ” การเปิดสอนของเขาแบ่งเป็นคอร์สเล็ก สอนงานลงเงา กับคอร์สใหญ่ซึ่งสอนเรื่อง งานวาดและงานสี หัดมือกับหนังเทียมและ หนังแท้ “สตูดิโอของผมอยู่ใกล้ตลาด ผมเลย สั่ ง หนั ง หมู ม าให้ ค นเรี ย นฝึ ก คนที่ ม าเรี ย น ก็ชอบเพราะพื้นผิวดีกว่า” อย่างไรก็ดี งานสักส�ำหรับเขาคืองานศิลป์ ที่ต้องมีพื้นฐานจากใจที่รักอยากเป็นช่างสัก ไม่ ใช่ ใจรั ก จากรายได้ “คนเป็ น ช่ า งต้ อ ง เห็นคุณค่าของงาน งานสักที่มีรายละเอียด จะให้ ค วามสวยต่ า งกั น มากในรู ป เดี ย วกั น อาศัยฝีมือที่ถึง ท�ำให้ได้ราคาที่ดี” ถึ ง แม้ ง านสั ก จะไม่ ใ ช่ ก ารออกแบบ ร้ อ ยเปอร์ เซ็ น ต์ ข องช่ า งสั ก แต่ เ ป็ น การ ออกความคิดร่วมกันของช่างสักที่จะแนะน�ำ แบบ สี ให้เหมาะสมกับลูกค้าได้ ช่างเล็ก หรือ คุณศิริชัย เบี้ยวบังเกิด ร้าน “Lektattoo” เล่าให้ฟังว่า ความท้าทายในการสักคือการ สักแก้ลายที่มีอยู่เดิม “หลายคนเดินเข้ามา กั บรอยสั ก เละเทะ และเขาอยากสักแก้ไข ขั้นตอนนี้เราต้องคิดร่วมกันว่าเขาอยากได้ ลายแบบไหน สีอะไร ถึงจะเหมาะสมและ กลบรอยเดิมได้” งานสั ก ศิ ล ปะร่ ว มสมั ย มี อิ ส รภาพที่ จะออกแบบและใส่ความคิดสร้างสรรค์ลง ไปได้ ที่ส�ำคัญต้องขึ้นอยู่กับความพึงพอใจ ของทั้ ง คนมารั บ การสั ก และช่ า งด้ ว ย เพราะลายสักนั้นจะติดอยู่กับเราไปอีกนาน เปลี่ ย นไม่ ไ ด้ บ่ อ ยๆ เหมื อ นเปลี่ยนทรงผม ในการเลือกช่างสักให้วาดลายถาวรติดบน ร่างกายแต่ละครั้ง จึงต้องดูที่ประสบการณ์ ชั่วโมงบิน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่สะอาด และสื่อสารถูกใจกัน มากกว่าจะมองหาช่าง ที่มีแต่ประกาศนียบัตร เพราะการสักหมึก ลงไปบนผิว คือการประทับรอยสมานลาย บนร่ า งกาย ที่ เ ปรี ย บเหมื อ นเป็ น ผื น ผ้ า ใบ ทีไ่ ด้รบั กับการลงเส้น ใส่ลาย ป้ายสี จากศิลปิน ที่เราตัดสินใจท�ำงานร่วมกัน มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 77

Lektattoo อิมพีเรียลเวิลด์ ส�ำโรง ชั้น ๔ โซนคลองถม ต�ำบลส�ำโรงเหนือ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ติดต่อล่วงหน้าที่ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๒๓๑ ๖๒๖๓ หรือ ๐๘ ๑๙๒๑ ๕๐๐๖ www.Lektattoo.com ร้านสักสมุทรปราการ แพรกษา หมู่บ้านสวัสดี ซอย ๖A แพรกษาซอย ๑๐ ต�ำบลแพรกษา อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ติดต่อล่วงหน้าที่ โทรศัพท์ ๐๘ ๔๐๑๓ ๘๓๙๓ ร้านสักทางศิลป์ หมู่บ้านนครทองซิตี้ ซอยคลองอาเสี่ย ต�ำบลแพรกษาใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๒๒๒๘ ๙๙๘๔ ติดต่อขอดูรูปงานได้ทาง Facebook : สักทางศิลป์ Laktatoo Imperial World Samrong, 4th Floor. Khlong Thom Zone, Samrong-Nuea Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Phone: 08 9231 6263 or 08 1921 5006 Website: www.Lektattoo.com Samutprakan Phraeksa Tattoo Shop Mooban Sawasdee. Soi 6A, Phraeksa Soi 10, Phraeksa Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Phone: 08 4013 8393 Sak Thang Silp Tattoo Shop Mooban Nakornthong City. Soi Khlong Asia, Phraeksa Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Phone: 08 2228 9984 For samples on previous works, please check out Facebook: สักทางศิลป์

Artist Lek-Sirichai Beawbangkerd of "Lektattoo" added that an interesting challenge of tattooing was when a customer dropped in with his messy tattoo wanting to fix it badly. “At that point, I had to work closely with him to figure out a more suitable pattern and colors that could best replace such previous mess."

Contemporary art tattoo is freely opened to all possible creativity. It should be noted, however, that unlike changing hairstyle, tattoo stays on. Therefore, when deciding on a tattoo artist or a permanent design on the body, remember to first look for the artist who can communicate well with you, the artist's skills, experiences, and hygienic equipments rather than trusting on a piece of certificate.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


a r t a l o n g t h e way

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 79

Samutprakan City

เมืองสมุทรปราการ

เทคนิค : สีอะคริลิก Technique : Acrylic Painting ศิลปิน : วัฒนา พูลเจริญ Artist : WATTANA POOLCHAROEN

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


a r o u n d tow n / T h e M o n V i l l ag e “ V e k h a r ao ”

The Trees, The Breeze, The Canal And The Sunshine in The Mon Village

“Vekharao”

ต้นไม้ สายลม ล�ำคลอง และแสงส่องในหมู่บ้านมอญ

“เว่ขะราว”

การพั ฒ นาของเมื อ งที่ ทั น สมั ย และก้ า วหน้ า จะมี ค วาม ก้าวหน้ายิ่งกว่าในเรื่องของวัตถุ สิ่งก่อสร้างหรือสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก ก็ ต ่ อ เมื่ อ เราสามารถเก็ บ เสน่ ห ์ โ บราณ และเรื่ อ งราวของประวั ติ ศ าสตร์ ที่ เ คยมี ม าในวั น เก่ า ให้ ไ ด้ มากที่ สุ ด ด้ ว ย หนึ่ ง ในชุ ม ชนที่ เ ป็ น ดั่ ง หมู ่ บ ้ า นโบราณของ สมุทรปราการ ที่ยังเก็บบรรยากาศความเงียบสงบของสังคม หมู่บ้านมอญอันร่มเย็นและร่มรื่นมีอยู่ที่พระประแดงนี่เอง ity development has brought about modernity, C infrastructural advances, and innumerable smart facilities. It is also important to preserve the olden charm and stories as best as we possibly could. In Samutprakan, an ancient Mon village manages to maintain its peaceful way of life in its cool and shady settings.

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

81

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


การอพยพของคนมอญที่เกี่ยวเนื่องกับ ชาวมอญพระประแดงนี้ เกิ ด ขึ้ น ในสมั ย รัชกาลที่ ๒ ในช่วง พ.ศ. ๒๓๕๘ เหตุจากการที่ ชาวมอญไม่ พ อใจในพระเจ้ า ปดุ ง ของพม่ า ที่มีการเกณฑ์แรงงานก่อสร้างพระเจดีย์ใหญ่ จึงมีการก่อกบฏขึ้นที่เมืองเมาะตะมะ แต่ถูก ปราบปรามโต้ ก ลั บ อย่ า งรุ น แรง จนท� ำ ให้ ต้องหนีอพยพเข้ามายังแผ่นดินไทย และนับ เป็นการอพยพครัง้ ใหญ่ทสี่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ เพราะมีคนเข้ามาเป็นจ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ คน และในหลวงรั ช กาลที่ ๒ ได้ พ ระราชทาน ที่ ดิ น ในอ� ำ เภอปากเกร็ ด นนทบุ รี อ� ำ เภอ สามโคก ปทุมธานี และอ�ำเภอพระประแดง สมุทรปราการ ให้อยูอ่ าศัย ครั้งนั้นมีคนมอญอพยพมาอยู่เมืองไทย ทัง้ หมด ๑๗ หมูบ่ า้ น และทีห่ มูบ่ า้ นเว่ขะราว เป็ น หมู ่ บ ้ า นที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในกลุ ่ ม ผู ้ อ พยพ จากเมื อ งพม่ า ทั้ ง หมด ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ มอญพระประแดงหมู่บ้านนี้ มีเอกลักษณ์ที่ ไม่เปลีย่ นแปลง เมื่ อ เดิ น เข้ า วั ด แค พระประแดง จาก ประตู ห น้ า นอกจากจะเห็ น เจดี ย ์ ที่ ส ร้ า ง ตามแบบมอญ และเสาหงส์ที่เป็นสัญลักษณ์ ตามความเชื่อที่ว่า หงส์เกี่ยวข้องกับต�ำนาน การเกิ ด เมื อ งหงสาวดี เมื อ งหลวงที่ เจริ ญ รุ่งเรืองของอดีตอาณาจักรมอญก่อนล่มสลาย เราจะมองเห็ น คลองและต้ น โพใหญ่ ท ะลุ ผ่านช่องประตูของด้านหลังวัด ทีม่ ผี า้ สีสดพัน รอบต้น ส่งสีสดสว่างเข้าตา ใบรูปหัวใจของ ใบโพหมุนปลิวไหวๆ เหมือนกวักเรียกให้เรา เดินตามออกไปตากลมห่มแดดของเวลาบ่าย แก่ๆ ที่ริมคลองลัดหลวง ความโล่งเงียบของ ทางเดินเลียบล�ำคลอง มีจดุ น�ำสายตาให้หยุดที่ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 83

The Mon migration related to the Mon in Phra Pradaeng can be traced back to 1815 during the reign of King Rama II. Displeased by Phra Chao Padung (King Bodawpaya) forcefully laboring people into the construction of his massive pagoda, the Mon rose in rebellion but were violently suppressed and eventually fled to Siam Kingdom. With 40,000 people flocking in, it was the biggest migration in history. At the time, King Rama II kindly bestowed plots of land in Pakkret District, Nonthaburi, Sam Khok District, Pathumthani and Phra Pradaeng District, Samutprakan.

สะพานโค้ ง น้ อ ยๆ ข้ า มคลอง ที่ ป ลายอี ก ด้านหนึ่งมีพุ่มต้นดอกเฟื่องฟ้าสีม่วงชมพูเข้ม กระเพือ่ มตามลมพัด ปล่อยให้แสงแดดสีทอง ผ่านลงมาเป็นล�ำแสงทีข่ ยับได้ ทีน่ คี่ อื หมูบ่ า้ น เว่ขะราว ทีเ่ ขียนป้ายชือ่ หมูบ่ า้ นเป็นภาษามอญ ว่า “กวานเว่ขะราว” หรือ “หมูบ่ า้ นเว่ขะราว” เป็นชื่อหมู่บ้านเดิมในพม่าที่คนมอญในสมัย ก่อนอพยพมา ซึง่ ชาวบ้านขอคงใช้ชอื่ หมูบ่ า้ น แบบเดิมแทนการเปลีย่ นเป็นชือ่ ไทย หากนึ ก ถึ ง หมู ่ บ้ า นมอญที่ พ ระประแดง

หลายคนคงนึกภาพผู้คนใส่เสื้อผ้าหลากสีสัน หรื อ เกล้ า มวยผมติ ด เครื่ อ งประดับ ห่ ม ผ้ า เหมื อ นภาพการท่ อ งเที่ ย วและภาพงาน ประเพณี แต่ในวันธรรมดาแบบนี้เราไม่ได้ มี ค วามแตกต่ า งกั น เลยทั้ ง ในเรื่ อ งหน้ า ตา ผิวพรรณ ความคล้ายคลึงกันของคนมอญ และไทยนั้นยากที่จะบอกถึงความแตกต่าง หากแต่บอกได้ด้วยการใช้ค�ำบางค�ำในภาษา พูดและภาษาเขียน และการได้เข้าไปสัมผัสวิถี ชีวติ ในหมูบ่ า้ น ท�ำให้เราได้เรียนรูก้ ารสืบทอด

In Phra Pradaeng District, Mon migrants from Myanmar lived in 17 villages. Vekharao was the largest Phra Pradaeng Mon village that has managed to keep its traditions and cultural identity alive. At the front entrance of Wat Khae in Phra Pradaeng, we were greeted by a Mon pagoda and swan pillars, which are regarded as the symbol of Hongsawadee, the prosperous capital city of Mon Kingdom before its fall. Looking out the back gate of the temple, heart-shaped leaves of an enormous Bhodi tree wrapped in bright color clothes were waving gently at us inviting us out for a late-afternoon walk. Down the walkway along Lat Laung Canal, over a small arched bridge, bushes of magenta bougainvillea flowers in full

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


bloom were swaying in summer breeze allowing golden evening ray of light down the space between branches and leaves. Then, right before our eyes was Vekharao Village (or "Kwan Vekharao" in Mon), which was named after the Mons' former home in Myanmar before their migration to Thailand.

วัฒนธรรมและประเพณีที่แตกต่าง ทั้งทรง บ้ า นไม้ เรื อ นมอญโบราณ ศาลศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทีเ่ ป็นทีเ่ คารพของคนในหมูบ่ า้ น ป้ายชือ่ ซอย และสัญลักษณ์เล็กๆ น้อยๆ ทีห่ ากไม่สงั เกต หรือไม่รู้มาก่อนก็จะหลุดสายตาไปอย่าง น่าเสียดาย ความจริงการเดินเล่นในหมูบ่ า้ นนี้ ใครก็ สามารถเข้ามาเดินเล่นได้ เว่ขะราวเป็น หมูบ่ า้ นทีม่ บี า้ นทัง้ สองฝัง่ ทางเดิน ด้านหนึง่ ติดคลอง อีกด้านหนึ่งมีบ้านที่มีซอยแยก ออกไป ชาวมอญชอบอยูก่ นั เป็นกลุม่ นิยม สร้างที่อยู่อาศัยในบริเวณที่ราบลุ่ม ติดน�้ำ ตามที่เคยปฏิบัติกันมา เพื่อความสะดวก ในการสัญจร และการท�ำอาชีพท�ำไร่ท�ำนา ที่ ต ้ อ งใช้ ก ารเดิ น ทางทางน�้ ำ เป็ น หลั ก รวมถึ ง การเปิ ด รั บ ลมจากฝั ่ ง น�้ ำ เพื่ อ พั ด เข้าบ้านให้รม่ เย็น บ้านหลังหนึ่งที่เราก�ำลังเดินผ่าน ท�ำให้ เราผ่านไปเฉยๆ ไม่ได้ เพราะพื้นที่สนาม และต้นไม้ใหญ่หน้าบ้านน่าหยุดจ้องมอง ดู เ หลื อ เกิ น แล้ ว ยั ง มี คุ ณ ป้ า ขายหมู ป ิ ้ ง มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ย่างไฟถ่าน ต้อนรับคนทีห่ วิ มาจากการเดินทาง คุณป้าอีด๊ เดินเข็นรถหมูปง้ิ ไปเรือ่ ยๆ จะหยุดขาย เป็นจุดๆ ยามทีม่ รี ม่ ไม้ลมเย็น “ติดมันหน่อยๆ อร่อยดี” คุณป้ายิ้มและยื่นหมูไม้ใหญ่ให้ด้วย ความมั่นใจในความอร่อย เยื้องๆ กันเป็นร้าน

Speaking of Mon village in Phra Pradaeng, many probably think of people wearing colorful flowery outfits, updo hairstyles with delicate ornaments as often shown in tourism photographs and local festivals. However, these days, we can hardly tell a difference between a Thai and a Mon from our appearance but rather from certain word choices. Through a close-up experience at the village, we were able to observe and learn the various culture and tradition inheritance including traditional wooden Mon style houses, local sacred shrines, alley names on signboards among many other tiny symbols and details that may easily be overlooked.

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 85 In fact, anyone can have a walk around the village. Vekharao is a village with houses lining on both sides of the walkway: one side is next to the canal, the other has smaller sub-alleys. Since Mon people love living as a group, most mon communities are usually settled along the river for a better convenience in water transportation and agricultural farming and to welcome the wind from the river that keeps their houses cool. During our tour, our eyes stumbled upon Aunty Eed and her charcoal-grilled pork. To welcome hungry visitors, she pushed her cart around the village and made a few stops in the tree shade selling grilled pork. "With a little fat, it's more delicious." smiled Aunty Eed as she handed us the pork. Diagonal to Aunty Eed's cart was a small made-toorder food shop locally known as "Aharn Tam Sang Pa Daeng." Here, customers can try tasty and aromatic dishes like stir-fried meat with holy basil leaves at friendly prices by a peaceful canal. Our paces became naturally slower to appreciate the greenery along the way ranging from large tall trees, seasonal plants, ornamental plants to flower plants including the cascading white fragrant Nodding Clerodendron. Hoping to delight his fellow villagers every day, Brother At, a local cafĂŠ and a grocery store owner, has been seeding, planting and nursing beautiful flowers and hanging plants in the neighborhood for years. He told us, "You have to come in the morning. Our moss roses in full bloom are very photogenic." With all the beautiful greenery and friendly chit-chats with the locals as if we were friends for a long time, it took us such a long time to reach our key destination, Uncle Lek's house, that he started to worry if we got lost somewhere. "I am crazy for traditions," said Uncle Lek or Pheera Kapkaew as he welcomed us inside to see centipede flags he had just finished. Centipede flags play a vital role in Mon merit-making traditions and cultures to pay respect to Lord Buddha. With embedded religious implications and beliefs, handcrafting Mon patterns on centipede flags using chasing or engraving techniques can take up a lot of time and effort. Today, computermade centipede flags are widely available yet Uncle Lek remains one of a few craftsmen left that carries on with the traditional techniques.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


Before flag chasing or engraving, a pattern must first be drawn. Then, dotted outlines are chased and punched on each piece of paper to create an embossed pattern. Next, these papers with bolded patterns are layered allowing colors to peek through. Uncle Lek wholeheartedly wants to give a free how-to tutorial to young generations to pass on this traditional craftsmanship that they can literally make a living on. The only thing that worries Uncle Lek in Centipede flag making is time. "I'm afraid my time is running out as we speak. I'm worried the tradition might come to an end."

อาหารตามสั่ง ชาวบ้านเรียกกันว่า “อาหาร ตามสั่งป้าแดง” ที่หอมกลิ่นผัดกะเพราโชย มาตามลม ทีน่ งั่ เล็กๆ ติดริมน�ำ้ ราคาประหยัด แบบไม่หวงวิวริมน�ำ ้ แสงสวย ลมเย็น กับบ้าน ที่ ป ลู ก สองข้ า งทาง ชวนให้ เ พลิ น ในการ เดินเล่น และท�ำให้เราอยากเดินช้าๆ เพราะมี ต้นไม้นานาชนิดที่ไม่ใช่เพียงแค่ไม้ประดับ ล้ ม ลุ ก แต่ เ ป็ น ต้ น ไม้ ใ หญ่ ที่ มี ด อกเป็ น สายสร้ อยย้ อ ย กลิ่ น หอมระรื่น ใจ ราวกับ ดิ น ที่ ห มู ่ บ ้ า นเป็ น ดิ น ที่ แ ตกต่ า งจากที่ อื่ น ที่โยนอะไรลงดินต้นไม้ก็ขึ้นได้หมด ก่อนจะเดินถึงสามแยกเล็กๆ ทางด้าน ขวามื อ มี ไ ม้ แ ขวนและไม้ ด อกที่ ไ ด้ มื อ พี่ แ อต เจ้ า ของร้ า นกาแฟและร้ า นของช� ำ ประจ�ำหมู่บ้านเป็นคนปลูก ปัก และรักษา ให้คนในหมูบ่ า้ นมีดอกไม้ระหว่างทางเป็นสีสนั ให้สายตา “ต้องมาตอนเช้า ดอกแพรเซีย่ งไฮ้ จะบาน มาถ่ายรูปสวยมาก” พีแ่ อตไม่ได้แค่พดู ชวนไปเรือ่ ย แต่มคี นแถวนีม้ าเทีย่ วเดินถ่ายรูป เป็นเรือ่ งเป็นราวกันยามเช้าจริงๆ กว่าจะถึงซอยบ้านปลายทางของลุงเล็ก ที่เรานัดกันพาเดินชมหมู่บ้านและฟังเรื่องเล่า ก็ท�ำเอาลุงกังวลว่าเราหลงไปที่หมู่บ้านไหน กันแน่ เพราะมัวแต่แวะคุยทักและชมต้นไม้ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ระหว่างทางราวกับรูจ้ กั กันมาก่อน “ผมเป็นคนบ้าประเพณี” ลุงเล็ก หรือ คุณพีระ กาบแก้ว ออกมารับและพาเราเข้าไป ดูธงตะขาบที่เพิ่งท�ำเสร็จ ธงตะขาบมีความ ส� ำ คั ญ ในงานบุ ญ และวั ฒ นธรรมมอญมาก เพราะเป็นธงบูชาพระพุทธเจ้า มีความหมาย ในเรื่ อ งศาสนาและความเชื่ อ เกี่ ย วเนื่ อ ง เชื่อมโยงเอาไว้ในธงเดียว การท�ำธงตอกลาย แบบมอญนี้ เป็นงานฝีมือที่ต้องใช้เวลาและ ความพยายามมาก ความจริงก็มีธงตะขาบ ส� ำ เร็ จ รู ป ขาย หรื อ ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ท� ำ ก็ ตอกลายได้แล้ว แต่การตอกลายของธงตะขาบ ด้วยมือแบบทีล่ งุ เล็กท�ำนี้ มีคนทีท่ ำ� ได้ทำ� เป็น เหลืออยู่ไม่กี่คนเท่านั้น เพราะเป็นงานฝีมือ ทีต่ อ้ งใช้เวลาและความรักทีจ่ ะท�ำ การตอกลายของธงนั้นต้องมีการเขียน ลายก่อน แล้วตอกลายไข่ปลาละเอียดบน กระดาษให้เป็นลายและได้ความนูน ลายแต่ละ ลายเมือ่ ตัดลายแล้วจะมีการซ้อนกระดาษไว้อกี เป็นหลายชัน้ ท�ำให้เห็นเป็นสีสอดโผล่เหลือบ ขึ้นมา ถ้าไม่ดูใกล้ๆ จะไม่เห็นเลยว่าเป็นการ ซ้อนกันไว้ของกระดาษ และมีลายตอกละเอียด เป็นไข่ปลาให้เป็นรอย ลุงเล็กอยากสอนให้ เด็กท�ำฟรีๆ อยากให้สืบทอดวิชา และเอาไป

Afterward, Uncle Lek took us out to explore different alleys and back streets of the village. Everywhere we turned, there were evergreen large shrubs and trees grown by the locals for cool shade and fruits including Matat (elephant apple), a rare fruit popular among the Mon. According to Uncle Lek, traditional Mon houses usually consist of three large rooms with a "Khyu" (Mon for a front balcony). Generally, the floor of the innermost section of the house usually raised a level higher than the rest of the house is reserved for the elders. Instead of permanent walls, closets are used as room partitions, which can be moved around to create larger room for event organization or as a guest resting area. Not too far away, San Chao Mae Vekharao is a small two-story shrine that houses two wooden simulated images of Chao Mae Vekharao, the two goddesses deeply respected among the Mon. The elder sister goddess is portrayed with a low bun updo and the younger sister

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 87

goddess with a slightly higher bun updo. Traditional Mon art and its simplicity are also reflected in all the shapes and details of the shrine including the worshipping altar. The amount of ancient looking dolls offered to goddesses are pieces of evidence of faithful believers and their fulfilled wishes. Heading on with our journey, we spotted a gigantic cork tree by the canal. On its bark and branches, fireflies laid their eggs, which, later, fell into the canal below and hatched. Unlike many manmade reservoirs, the free-flowing natural stream helps maintain the balance of the local ecological system. To many, traveling to Vekharao Village is a blissful discovery but to some, it is of great difficulty as it is accessible only by bicycles and motorcycles. Uncle Lek told us about the complete turnabouts in Phra Pradaeng after the arrival of road construction in 1956, "Indeed, it has brought a lot of benefits but this change has also caused the disappearance of Mon traditions and the local ways of life including Saba courts. These days, festivals and tradition conservation do not only rely on financial support but also an open heart that understands and appreciates."

ท�ำเป็นอาชีพจริงๆ ได้ ความกังวลอย่างเดียว ที่ลุงเล็กมีในการท�ำธงตะขาบคือเรื่องเวลา “ผมห่วงว่าเวลาผมมีนอ้ ยลงทุกที ห่วงประเพณี จะขาดตอน” ในแต่ ล ะซอยมี ค วามร่ ม รื่ น ด้ ว ยบ้ า น แต่ละหลังจะปลูกต้นไม้สูงใหญ่ให้ร่มเงาและ ให้พืชผล อย่างเช่นผลไม้หายากที่คนมอญ ชอบกินอย่างต้นมะตาด ลุงเล็กพาเราออกเดิน เลาะไปตามซอยของหมูบ่ า้ น ชีบ้ า้ นโบราณเป็น ทรงมอญทีอ่ ยูใ่ กล้ๆ ศาลให้ดู พลางอธิบายว่า จะมีเรือนใหญ่ ๓ ห้อง มี “ขยู”้ ทีภ่ าษามอญ แปลว่า เฉลียงบ้านด้านหน้า ภายในสุดของ บ้านทีม่ รี ะดับสูงกว่าระดับอืน่ เป็นทีพ่ กั ส�ำหรับ ผูอ้ าวุโส ไม่มกี ารกัน้ ห้อง แต่การกัน้ ห้องจะใช้ ตูเ้ สือ้ ผ้าเป็นตัวแบ่ง และเมือ่ เวลามีงานทีบ่ า้ น ก็ ข ยายพื้ น ที่ โ ดยการเลื่ อ นตู ้ เ สื้ อ ผ้ า ออกไป ด้านข้าง ท�ำให้บา้ นกว้างขึน้ และยังใช้เป็นห้อง ให้แขกพักในส่วนหน้าของบ้านได้ดว้ ย

หมู ่ บ ้ า นนี้ มี ศ าลศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ช าวมอญ น�ำมาเมืองไทยด้วยพร้อมกับการอพยพใหญ่ ในครั้งนั้น รูปเคารพอันเป็นของคู่เมืองมอญ ยังอยูค่ หู่ มูบ่ า้ นมอญในแผ่นดินไทย อีกศาลหนึง่ ทีอ่ ยูด่ า้ นใน คือ ศาลเจ้าแม่เว่ขะราว เป็นเรือน ๒ ชัน้ หลังเล็กๆ มีหงิ้ และตูก้ ระจก มองจาก ด้ า นหลั ง จะเห็ น ว่ า เป็ น ไม้ แ กะสลั ก ของ สองเจ้าแม่ องค์หนึ่งนั่งพับเพียบเอามือซ้าย เท้ า แขนข้ า งล� ำ ตั ว และมื อ ขวาวางบนเข่ า องค์พี่เกล้าผมมวยต�่ำบริเวณต้นคอ องค์น้อง เกล้ า มวยสู ง บริ เวณท้ า ยทอย และยั ง มี รู ป แกะสลั ก ไม้ ที่ เ ป็ น ทหารและนางสนมด้ ว ย ความสวยคือฝีมือที่ถ่ายทอดความเป็นศิลปะ แบบพื้นเมือง ที่มีความเรียบง่ายของรูปทรง และรายละเอียดบนโต๊ะหมู่บูชา จะเห็นว่า มีตุ๊กตาเสียกบาลโบราณที่เป็นตุ๊กตาแก้บน วางอยูเ่ ต็มโต๊ะ ปนอยูก่ บั ตุก๊ ตาแก้บนปัจจุบนั เพราะแรงอธิษฐานที่เป็นจริงของคนที่นับถือ

This old village is already full of wonderful charms, especially when strolling around with a walking dictionary like Uncle Lek who enthusiastically shared with us stories about Vekharao Village not listed on textbooks.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


เราเดินเลียบริมน�้ำ มองเห็นต้นล�ำพูใหญ่ ที่อยู่ริมน�้ำ เมื่อพินิจดูผิวต้นล�ำพูใกล้ๆ เห็น รายละเอียดของผิวไม้ที่หิ่งห้อยจะมาวางไข่ บนเปลื อ กไม้ แล้ ว ไข่ ก็ จ ะตกลงไปฟั ก ตั ว ในน�้ ำ น�้ ำ ที่ ไ หลเวี ย นขึ้ น ลงตามธรรมชาติ ช่วยให้ระบบนิเวศสมบูรณ์ ผิดกับการกัน้ เขือ่ น ทีท่ ำ� ให้เกิดน�ำ้ เน่าและกระทบความเป็นอยูข่ อง ทัง้ คนและสัตว์ การเดินทางมาหมู่บ้านเว่ขะราว บางคน บอกว่าเป็นการค้นพบ บางคนบอกว่าเป็น ความล�ำบาก เพราะรถผ่านเข้ามาในหมู่บ้าน ไม่ ไ ด้ จะมี พ าหนะก็ เ พี ย งแต่ จั ก รยานและ มอเตอร์ไซค์เท่านัน้ ลุงเล็กเล่าว่าพระประแดง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเกิ ด ขึ้ น อย่ า งหน้ า มื อ เป็นหลังมือ ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ที่มีการ มาถึงของถนน “ยอมรับว่ามีข้อดี แต่การ เปลี่ยนแปลงนี้ก็ท�ำให้ประเพณีและวิถีชีวิต เดิ ม ๆ หายไปมาก อย่ า งที่ เ คยมี ล านเล่ น สะบ้าหลายแห่งก็หายไป งานประเพณี และ การอนุรักษ์ คือเรื่องของการสนับสนุนทั้งทุน และความเข้าใจ” หมู่บ้านนี้เป็นชุมชนเก่าที่มีเสน่ห์อยู่แล้ว แบบไม่ ต ้ อ งเติ ม แต่ ง อะไร โดยเฉพาะเมื่ อ ได้เดินกับผู้ใหญ่อย่างลุงเล็ก ที่เป็นเหมือน พจนานุกรมเคลื่อนที่ ที่จะเล่าเรื่องราวของ หมูบ่ า้ นเว่ขะราวให้ฟงั ในมิตทิ อี่ ยูน่ อกต�ำรา เราข้ า มสะพานคลองลั ด หลวงกลั บ มา อีกฝั่ง และเลาะตามทางเดินเลียบคลองไป อีกด้าน เข้าสู่ชุมชนบ้านดัง กลิ่นดอกไม้ของ ยามเย็นปรุงอากาศยามพระอาทิตย์ตกดิน

ให้นา่ หลงรัก และต้อง “รักสุดหัวใจ”เมือ่ มาถึง ร้ า นกาแฟชาน อ๊ อ ว์ ด ที่ เ ป็ น ภาษามอญ แปลว่าตกหลุมรักนัน่ เอง ร้านกาแฟในบ้านเก่า ยามเย็นมีเสียงดนตรีอะคูสติกจากคนกันเอง มากล่อมให้พระอาทิตย์ลบั ฟ้าไปอย่างน่าจดจ�ำ ก่ อ นที่ เราจะออกไปเดิ น ตลาดค�่ ำ บนถนน เส้ น ศาลเจ้ า พ่ อ หลั ก เมื อ ง จะมี ร ้ า นขาย เมี่ยงค�ำกับสูตรน�ำ้ เมี่ยงค�ำที่หอมหวานเปรี้ยว สมดุ ล อร่ อ ยมาก และที่ ส� ำ คั ญ ต้ อ งซื้ อ เพิ่ ม เพราะมะพร้าวอบของที่ร้านกรอบหอมอร่อย เหลือเกิน

We crossed Khlong Lat Luang Bridge back to other side and took a canalside walkway to Baan Dang Community. As the sweet fragrance of flowers filled the evening air, we arrived at Shan Ord Café, which, in Mon, means falling in love. At this vintage house, we freshened up ourselves with mellow live acoustic songs before heading out to the night market on San Chao Phor Lak Mueang Road and bought the mouthwatering Miang Kham (Betel Leaf Wrap) back home. Entering Soi San Chao Phor Lak Mueang, since we could not pay our homage as the shrine closed at night, we turned to the bright neon light coming from Bang Toi's beef noodle cart. The aromatic soup and braised beef were perfect touches to our stomach and trip to Phra Pradaeng Community. Sometimes in life, we do not need proper planning or formality. Sometimes, the fun in traveling that we crave for lies in the pleasure of simplicity with no rules or regulations where we can freely stop, walk, talk or eat whenever we want to. Samutprakan has so many more secret corners and vibrancy in the way we never imagined of..

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 89

ถั ด เข้ า ไปในซอยศาลเจ้ า พ่ อ หลั ก เมื อ ง เป็นยามค�่ำที่ศาลปิดให้เข้าไปเคารพบูชาแล้ว แสงไฟจากตู้นีออนที่สว่างเรืองรองจากร้าน ก๋วยเตี๋ยวเนื้อรถเข็น ท�ำให้เรามีหวังในการ หาของอร่อยกินยามเย็น ก่อนจะนั่งเรือข้าม กลั บ ไปฝั ่ ง ส� ำ โรงซึ่ ง อยู ่ อี ก ฟาก ความหอม จากน�้ ำ ซุ ปของก๋ ว ยเตี่ ย วเนื้ อ กั บเครื่ อ งเทศ จากเนื้ อ ตุ ๋ น เป็ น สั ญ ญาณที่ ท� ำ ให้ รู ้ เ ลยว่ า ความอิ่มและความสุขของการมาเดินชุมชน พระประแดงค�ำ่ นี้ จะต้องมีรสชาติอร่อยทีย่ าก จะลืมรสได้

สนใจอยากรู้จักและเดินเล่นที่หมู่บ้านเว่ขะราว จะไปเองตามค�ำอธิบาย หรือจะติดต่อลุงเล็กล่วงหน้าให้ช่วยพาเดิน ให้ลุงสอนวิชาการสร้าง ธงตะขาบ การตัดกระดาษ หรือจะแค่เดินไปคุยไปกับลุงเล็ก ก็สามารถ ท�ำได้ ติดต่อ ลุงเล็ก โทรศัพท์ ๐๘ ๑๖๘๙ ๑๘๘๑ ร้านกาแฟชาน อ๊อว์ด อยู่ในชุมชนบ้านดัง เปิดบริการเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐-๒๑.๐๐ นาฬิกา ร้านเมี่ยงค�ำ เปิดบริการทุกวัน จนถึงเวลาประมาณ ๒๐.๐๐ นาฬิกา หรือจนกว่าของหมด ร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อบังต๋อย เปิดบริการ เวลา ๑๖.๐๐-๒๒.๐๐ นาฬิกา

เพราะบางครั้งเราก็ไม่ได้ต้องการอะไรที่ ต้องเป็นพิธรี ตี อง แต่เป็นความธรรมดาทีไ่ ม่มี กฎกติกาใดๆ ทัง้ สิน้ แบบทีเ่ รานึกจะหยุดก็หยุด นึกจะเดินก็เดิน นึกจะกินก็กิน ความสนุก ที่เราแอบโหยหาอยู่ในความธรรมดาใกล้ตัว ทีเ่ ราอาจมองข้ามไป สมุ ท รปราการยั ง มี ห ลื บ ลั บ ของชุ ม ชน และย่ า นที่ มี สี สั น อี ก มากมายในแบบที่ เรา ก็คิดไม่ถึง ไม่ว่าความเป็นหมู่บ้านในเมือง หรือความเป็นเมืองแบบบ้านๆ

To learn more or take a walk around Vekharao Village, either follow the instruction above or contact Uncle Lek in advance. To ask him as your tour guide, to learn centipede flag making processes or to have a talk with him, please contact Uncle Lek at 08 1689 1881. Shan Ord Café (located in Baan Dang Community) Opens only on Saturday and Sunday from 09.00-21.00. Miang Kham Shop Opens daily until 20.00 or sold out. Bang Toi Beef Noodle Shop Opens from 16.00-22.00

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


green trip

green trip

g r e e n S pac e | n at u r e J o u r n e y

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan

91

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


g r e e n s pa c e / R e i n v e n t e d P l a n t

Reinvented Plant Farewell waste incineration

โรงงานยุคใหม่ ใครเขาเผาขยะกัน

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 93

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


เรามีนดั กับ คุณกิตติพนั ธ์ ลีศ้ ตั รูพา่ ย หรือ นัท ที่ “พรสว่างกลาส" โรงงานรีไซเคิลแก้ว ซึ่ ง เป็ น โรงงานของรุ ่ น พ่ อ ที่ เ ปิ ด กิ จ การ มาประมาณ ๒๐ ปีแล้ว โดยเริ่มจากการ เป็นธุรกิจรับซื้อของเก่าในย่านเทพารักษ์ กระทั่ ง เมื่ อ ๔ ปี ก ่ อ น ชายหนุ ่ ม ในชุ ด เสื้ อ ผ้ า หล่ อ เหลาที่ ไ ม่ รู ้ ว ่ า ตั ว เองก� ำ ลั ง จะต้องขึ้นไปขับรถตักเพื่อให้เราได้ถ่ายภาพ ในโรงงานของเขา ก็ ป รั บ เปลี่ ย นกลยุ ท ธ์ ทางการตลาดให้เข้ากับยุคสมัย ด้วยรูปแบบ ของโรงงานรีไซเคิลขวดแก้ว โรงงานซึ่งมี ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม และโรงงาน แห่งนี้ยังมีวิธีกระจายรายได้ให้กับพนักงาน อันนอกเหนือไปจากเงินเดือน แวบแรกที่ ไ ด้ เ จอคุ ณ นั ท เราสงสั ย เหลื อ เกิ น ว่ า อะไรท� ำ ให้ นั ก ร้ อ งน� ำ วงอโศก ซึ่งมีความเป็นศิลปินในตัวสูง สนใจการท�ำ ธุรกิจประเภทรีไซเคิล เพราะแต่ไหนแต่ไรมา ตัวเขาเองก็ใช้ชีวิตวนเวียนอยู่ในแวดวงดนตรี เป็ น ส่ ว นใหญ่ เมื่ อ นั่ ง คุ ย กั น จึ ง ได้ ท ราบว่ า นอกจากคุ ณ นั ท จะเรี ย นจบทางการตลาด มาแล้ว เขายังเติบโตมาในบ้านซึ่งพ่อท�ำธุรกิจ รับซื้อของเก่า เรียกว่าตัวเขาเองคุ้นเคยกับ เศษเหล็กมาตั้งแต่เด็กเลยก็ว่าได้ สมัยพ่อรับซื้อของเก่า สมัยลูกแปรสภาพ ขยะให้กลายเป็นของใหม่ “ตอนเด็ ก ๆ พ่ อ ผมท� ำ โรงงานรั บ ซื้ อ ของเก่าที่ถนนเทพารักษ์ ตอนหลังเขามาซื้อ ที่ดินตรงอ�ำเภอบางบ่อเพื่อท�ำโรงงานที่ใหม่ แต่ยังคงเป็นธุรกิจรับซื้อของเก่า จนพอท�ำ ไปได้ ๒ ปี ผมก็รู้สึกว่าการท�ำธุรกิจประเภทนี้ ต่ อ ไปเดี๋ ย วมั น ก็ ตั น และก็ เ ริ่ ม มองว่ า พวกขยะอย่ า งเศษแก้ ว ไม่ ค ่ อ ยมี โรงงาน ประเภทรี ไซเคิ ล ที่ ไ หนอยากท� ำ เพราะมัน จุกจิก รายละเอียดเยอะ เลยปรึกษากับพ่อ และญาติๆ โดยตัวเราเองเริ่มลองศึกษาว่า เขาเอาแก้วไปรีไซเคิลกันแบบไหน กรรมวิธี เป็นยังไง ไปศึกษาจากที่ที่เขามีเครื่องจักร บดแก้ว และก็เริ่มคิดว่า เอ๊ะ ! เราน่าจะท�ำ ได้นะ ก็ศึกษาเรื่องการตลาด เรื่องเครื่องจักร ซึง่ ราคาเครือ่ งจักรจากต่างประเทศในเวลานัน้

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 95 e had an appointment with W Kittiphan Leesattruphai (Nat) at "Phonsawang Glass," a glass

recycling plant since his father generation. Two decades ago, the plant started out as a recycling business in Thepharak area until four years ago when our man in a handsome outfit adapted his marketing strategies to fit the changing era. This glass bottle rec ycling plant places a great emphasis on environmental responsibility and has alternatives to distribute income to staffs asides from their monthly salary. At our first glance, we were so curious what could have sparked the interest of the lead singer of a musical band called Asoke in recycling business after all these years in the musical industry. Nat told us he graduated with a degree in marketing and grew up in a house where his father ran a recycling business. Therefore, he has always been familiar with metal leftovers since he was young. The Father bought used goods. The Son transforms wastes into new goods.

"When I was young, my dad ran a recycling business on Thepharak Raod and later bought another piece of land in Bangbo district to start a new plant although for the same old business. After two years, I felt an upcoming dead-end for the business and started to realize that no recycling plant wanted to deal with glass waste because it

โหดมาก เราไม่ ไ หวแน่ ๆ ก็ เ ลยใช้ วิ ธี เ อา เครื่ อ งจั ก รที่ เ รามี อ ยู ่ แ ล้ ว มาดั ด แปลง ที่ นี่ เราท� ำ ทุ ก อย่ า งกั น เองหมดเลยนะครั บ ไม่มีเครื่องจักรตัวไหนที่ซื้อแบบส�ำเร็จรูปเลย ไม่มีวิศวกร ไม่มีแบบแผนอะไรเลย เราใช้วิธี สังเกตกลไกของแต่ละโรงงาน และหยิบเอา ข้อดีข้อเสียที่เห็นมาผสมผสาน ทดลองท�ำ ในรูปแบบของเรา สร้างเครื่องของเราเอง ที่ แ น่ ๆ ต้ อ งมี เ ครื่ อ งปั ่ น ขยะประกอบด้ ว ย ตะแกรงเพื่อกรองแก้วกับขยะออกมา ซึ่งเรา ก็วาดมือนี่ละ แล้วให้โรงกลึงท�ำให้ เครื่องบด ก็ไปซือ้ เครือ่ งบดพลาสติกมือสองมาแปลงเอา”

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ความยากของขยะประเภทแก้ว “เราต้ อ งศึ ก ษาเยอะครั บ ถึ ง วิ ธี แ ยก สิ่งที่ติดมากับขวด เพราะพวกขยะที่มาจาก ขวดแก้ ว ต่ า งๆ มั น จะมี แ หวนอะลู มิ เ นี ย ม จ� ำ นวนเยอะมากติ ด มาด้ ว ย คื อ คนเก็ บ อย่ า งเดี ย วไม่ มี ท างหมดแน่ ๆ มั น ต้ อ งมี ตัวช่วย แต่ในช่วงเริ่มต้นธุรกิจรีไซเคิลตอนนั้น ไอ้การจะให้ไปซือ้ เครือ่ งราคา ๑๐ ล้าน ๒๐ ล้าน ก็คงไม่ไหว เราก็เลยสร้างเอง ใช้กลไกเรื่อง ทิศทางลมเข้ามาช่วยในกระบวนการจัดการขยะ และแหวนอะลูมิเนียม”

เครื่องบดก่อน โดยขยะทุกอย่างจะรวมไป อยู่ในนั้นด้วยกันหมด จากนั้นมันจะไปผ่าน ยั ง เครื่ อ งกรองซึ่ ง มี ต ะแกรงเพื่ อ กรองแก้ ว ให้ ต กลงมาพร้ อ มขยะ ผ่ า นช่ อ งลมของ เครื่องที่เป่าดันขยะออก จากนั้นผ่านส่วน ของแม่เหล็ก และสุดท้ายคือต้องใช้แรงงาน คนในการเก็ บ ขยะให้ ล ะเอี ย ดอี ก ครั้ ง เพราะตัวเครือ่ งกรองจะกรองได้กแ็ ค่ประมาณ ๗๐-๘๐ เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่เหลือต้องใช้คน เท่ า นั้ น พอจบกระบวนการครบถ้ ว นแล้ ว เราก็ส่งเศษแก้วทั้งหมดที่สะอาดแล้วไปให้ โรงหลอม ซึ่งนอกจากการหลอมกลับไปเป็น รู้จักกับระบบการรีไซเคิลขวดแก้วอย่างย่อ ขวดใหม่แล้ว ก็จะมีบ้างที่ผมหลอมแก้วไปท�ำ “พวกขวดแก้ ว ขวดเบี ย ร์ จ ะมี พ ลาสติ ก เฟอร์นิเจอร์ตกแต่งที่โรงแรมซึ่งเป็นอีกธุรกิจ และกระดาษอะลูมิเนียมประกอบอยู่บนขวด ของตัวเอง” แต่ละขวด เราก็ต้องก�ำจัดมันออกโดยผ่าน

was full of intricate details. So, as I consulted with my dad and cousins, I also learned glass-recycling processes from actual plants with these glass grinding machines. Believing we could pull it off, too, I dug deeper into marketing and potential machines but back then imported machines were painfully expensive that we had to modify the machines that we already had. Here, we do everything ourselves: no ready-made machine, no engineer, no plan or whatsoever. We learned the advantages and disadvantages of various mechanisms from different plants, made several experiments and finally came up with our own machines. Knowing there definitely had to be a waste spinning machine with some strainers to sort glass cutlets from other waste, we drew the design with our own hands and ask a machine-making shop to create one accordingly. For a glass

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 97 grinding machine, we bought a used plastic grinding machine and made our own modification." The challenges of glass waste

"We studied a lot on the removal of contaminants like aluminum rings often attached to glass bottles. At an early stage, we couldn't afford a 10-20 million baht machine so we built one ourselves employing wind direction adjusting mechanism to help ease up the waste and aluminum ring sorting processes. A brief introduction on glass bottle recycling system

"Each glass and beer bottle usually comes with plastic or aluminum paper, we have to get rid of them by grinding every type of waste together. Then, at the strainer, as glass and waste are dropped, the wind from the blowing machine pushes out irrelevant waste. Next, undesired aluminum particles are filtered out by a magnetic field before a thorough check and a manual pick-out by our staffs. Once all processes are complete, cleaned and furnaceready glasses are sent to the glass manufac-turing processor. Some are remolded into glass bottles but some into ornamental furniture at the hotel, which happens to be my other business." The plant owner's morality on no-waste incineration

"Things we can't sell like plastic waste attached to glass bottles must go to waste but many recycling plants take an easy way out by choosing incineration. However, at our plant, we have to deliver them to a specialized waste management plant. We always tell our staffs if we go for waste incineration, the staffs' health will all be at risk and the polluted smoke and dust from the incineration will keep spreading to other areas. So, waste incineration is totally forbidden." The only glass recycling plant that opens 7 days a week

"We are the only glass recycling plant in Bang Bo. I mean it is full of tiny details, unlike paper, plastic or metal waste. The metal waste, in particular, is super easy - just cut and sell." Our suffocating planet earth would be so delighted if more recycling business owners in Thailand would pay as much attention to incineration-free waste management as this recycling plant..

จรรยาบรรณของเจ้าของธุรกิจโรงงานกับ การไม่เผาขยะ “ขยะของเราทุ ก วั น นี้ จะมี ข องที่ เรา ไม่สามารถขายได้อย่างพวกพลาสติกที่ติดมา กับขวด ซึ่งต้องทิ้งอย่างเดียว ปัจจุบันก็อาจมี โรงงานทีเ่ ลือกใช้วธิ เี ผาเพราะเขาคิดว่ามันง่าย ไม่ตอ้ งไปเสียเวลาก�ำจัด แต่ของทีน่ เี่ ราต้องขน ไปให้โรงก�ำจัดขยะเฉพาะทาง เราบอกคนงาน ของเราเสมอว่าถ้าเราใช้วิธีเผา ข้อหนึ่งเลยคือ คนงานเองก็เสียสุขภาพ ฝุ่นควันจากการเผา ทีเ่ กิดขึน้ ก็ขยายวงกว้างออกไปทีอ่ นื่ ก็เลยบอก เขาว่าห้ามใช้วิธีเผาเด็ดขาด”

โรงงานรีไซเคิลแก้วแห่งเดียวที่เปิดตลอด ๗ วัน “ถ้าเป็นโรงงานรีไซเคิลแก้วโดยเฉพาะ ในบางบ่อก็มีเรานี่ละครับเจ้าเดียว เพราะ งานแก้วมีรายละเอียดเยอะ ไม่เหมือนงาน กระดาษ พลาสติก หรืองานเหล็ก อย่างพวก งานเหล็กยิ่งง่าย เพราะมันก็แค่ตัดๆ แล้วก็ ขายออกไป” โลกของเราก�ำลังอาการหนัก คงจะดีถ้า เจ้าของธุรกิจโรงงานทุกคนในประเทศไทย ให้ ค วามใส่ ใ จในเรื่ อ งของการก� ำ จั ด ขยะ โดยไม่ใช้วิธีเผาอย่างเช่นโรงงานแห่งนี้ JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


n at u r e j o u r n e y / E n c l o s e y o u r s e l f w i t h N at u r e Fe a r n o s i c k n e s s

Enclose yourself with Nature Fear no sickness

ดึงธรรมชาติเข้ามาใกล้ตัว ไม่ต้องกลัวโรคภัย “พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว” มี ค วามส� ำ คั ญ มากต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของคน ในสังคม ไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องกับคนที่อยู่ ในสังคมเมือง แต่รวมถึงทุกคนในทุกบริบท ของโลก เพราะความส�ำคัญของธรรมชาติ อย่ า งพื้ น ที่ สี เขี ยว มี ส่ ว นเกี่ย วข้อ งลึกซึ้ง กับสุขภาพกายและใจของมนุษย์ ทั้งเรื่อง การช่วยกรองสิง่ ปนเปือ้ นและฝุน่ ผง ช่วยให้ ความร่ มเย็น ช่วยลดอุ ณหภู มิความร้อน เพื่อให้ได้อากาศเย็นตามมา และมีผลต่อ การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้นของมนุษย์ด้วย

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 99

"

Green Spaces" are prime benefits to both environment and people's way of life. They are closely related to our physical and mental health as they help filter pollutants and dusts in the air, provide shade, lower temperature, and improve the lifespan of human beings.

A research from the Netherlands reported an experiment where participants were requested to complete stressful and difficult tasks. The participants were, then, divided into two groups: one study in a room and the other in an outdoor garden. After 30 minutes, the former group became increasingly depressed while the latter working on gardening in an open space do not only contain the lowest level of stress hormones but also felt their body recovered and, as a result, in an absolutely amazing mood. In Australia, researchers followed up on a sixty year-old male and female sample group. The group that constantly did their gardening outside had 36% lower risk rate of amnesia than the group that did not. Similarly, numerous evidences support the belief that people who carry their gardening activities outdoor outlive those who do not by 14 years. Researches above indicate that living among green surroundings alone is not enough but it is as vital to "co-live" with the nature. Dan Buettner, the author of National Geographic Magazine, wrote "the Secrets of A Long Life" in 1957 that people in the Blue Zones lived a longer life than average lifespan. Dan made a visit to five Blue Zones: Okinawa (Japan), Sardinia (Italy), Nicoya (Costa Rica), Ikaria (Greece)

หนึ่ ง ในงานวิ จั ย ศึ ก ษาชิ้ น หนึ่ ง จาก เนเธอร์ แ ลนด์ ซึ่ ง ท� ำ การทดสอบโดยให้ ผู้เข้าร่วมทดลองท�ำในสิ่งที่เครียดและยาก ให้ ส� ำ เร็ จ จากนั้ น แบ่ ง กลุ ่ ม ผู ้ เข้ า ท� ำ การ ทดลองออกเป็น ๒ กลุ่ม กลุ่มหนึ่งให้อ่าน หนังสืออยู่ในห้อง และอีกกลุ่มให้ออกไปที่ สวนกลางแจ้งและอยู่ในสวนนาน ๓๐ นาที ผลการทดสอบพบว่ า กลุ ่ ม ที่ อ ่ า นหนั ง สื อ อยู ่ ใ นห้ อ งมี อ ารมณ์ ขุ ่ น มั ว มากขึ้ น ขณะที่ กลุ่มที่ท�ำสวนอยู่กลางแจ้งนั้น ไม่เพียงแต่ มีปริมาณฮอร์โมนความเครียดอยู่ในระดับ ต�่ำที่สุด และหลังจากนั้นพวกเขายังรู้สึกว่า ร่ า งกายได้ รั บ การซ่ อ มแซมให้ มี อ ารมณ์ ดี เต็มร้อย ส่ ว นในออสเตรเลี ย นั ก วิ จั ย ได้ มี ก าร ติ ด ตามผลจากกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งชายและหญิ ง ช่วงอายุ ๖๐ ปี พบว่ากลุ่มที่มีการท�ำสวน

กลางแจ้ ง เป็ น ประจ� ำ มี อั ต ราความเสี่ ย ง ในการเกิ ด โรคความจ� ำ เสื่ อมน้อยกว่า กลุ่ม ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี เ วลาท� ำ สวนกลางแจ้ ง มากถึ ง ๓๖ เปอร์ เ ซ็ น ต์ และยั ง มี ห ลั ก ฐานอี ก หลายอย่ า งที่ ส นั บ สนุ น การวิ จั ย ในการใช้ ชีวิตเกี่ยวข้องกับการท�ำสวนกลางแจ้งเป็น กิจกรรมว่า สามารถท�ำให้มีอายุยืนยาวกว่า คนที่ไม่ได้ท�ำสวนเลยถึง ๑๔ ปี ผลการวิ จั ย ข้ า งต้ น แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การ มีชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมธรรมชาติสีเขียว อย่ า งเดี ย วไม่ พ อ แต่ ต ้ อ งมี ก ารใช้ ชี วิ ต ที่ “อยู่ร่วม” กับธรรมชาติด้วย เช่นเดียวกับ ที่ Dan Buettner นักเขียนจากนิตยสาร National Geographic เขียนเรื่อง “ความลับ ในการมีชีวิตยืนยาว” ไว้ในปี ๒๕๐๐ ว่า ผู้คน ที่อาศัยอยู่ในบลูโซน (Blue Zone) จะมี ชีวิตยืนยาวกว่าอายุเฉลี่ยทั่วๆ ไป ซึ่งบลูโซน ทั้ ง ๕ พื้ น ที่ ที่ เขาได้ เ ดิ น ทางไปสั ม ผั ส คื อ เมืองโอกินาวา (ญี่ปุ่น) ซาร์ดิเนีย (อิตาลี) นิโคยา (คอสตาริกา) อิคาเรีย (กรีซ) และ โลมา ลินดา (สหรัฐอเมริกา) แดนท�ำการ ศึกษาคนเหล่านั้น และพบสิ่งที่ไม่คาดคิดว่า เรื่องง่ายๆ ในชีวิตอย่างการท�ำสวน คือปัจจัย ที่ท�ำให้พวกเขามีอายุยืนยาว สมุ ท รปราการเป็ น จั ง หวั ด ที่ น อกจาก จะมีปอดเป็นของตัวเอง และเผื่อแผ่ไปถึง กรุ ง เทพฯ ด้ ว ยพื้ น ที่ สี เขี ย วของต้ น ไม้ แ ละ สวนสาธารณะแล้ ว เรายั ง สามารถสร้ า ง ความเป็นบลูโซนเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของ ตัวเองได้ง่ายกว่าจังหวัดอื่น เพียงแค่การพา ธรรมชาติของการท�ำสวนมาใส่ลงในชีวิตได้ JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ด้วยพรรณไม้จากร้านขายต้นไม้ซึ่งกระจาย อยู่ทั่วไปในจังหวัด ทั้งต้นไม้เล็ก ต้นไม้ใหญ่ ไม้ดอก ไม้พุ่ม หรือไม้ประดับ การเดิ น ทางเข้ า สู ่ ธ รรมชาติ ข องเราใน คราวนี้ จึงไม่ใช่การเดินทางไปหาธรรมชาติ แต่เราจะพาธรรมชาตินั้นกลับมาอยู่กับเรา ตั้ ง แต่ ตื่ น เช้ า จนถึ ง เข้ า นอน เราเริ่ ม ต้ น กั น ที่ร้านต้นไม้ลานงามตา บนถนนศรีนครินทร์ ถึ ง แม้ ว ่ า ร้ า นนี้ จ ะไม่ ใ ช่ ร ้ า นขนาดใหญ่ แต่เมื่อไปถึงก็ท�ำเราตื่นเต้นและตื่นตาด้วย พรรณไม้หายาก อย่างเช่นสร้อยสายเพชร ที่ช่อดอกงามๆ นั้นห้อยย้อยลงจากปลายกิ่ง มีไม้หอมไทยโบราณและไม้ดอกหลากหลาย ชนิด ที่ท�ำให้เราอยากสร้างสวนดอกไม้เพิ่ม ทั้ ง เที ย นหอม ดอกเกาลั ด พวงคราม พนมสวรรค์ จ�ำปีแขก และในความที่เป็นร้าน ไม่ใหญ่เกินไป ก็เป็นข้อดีที่ท�ำให้เราสามารถ ได้พูดคุยกับเจ้าของร้านได้สะดวก และใช้ เวลาในการเลือกได้ตามสบาย ร้ า นต้ น ไม้ ดิ น ทองดี ก ารเกษตร สาขา แพรกษา อยู่ติดหมู่บ้านศุภาลัย ร้านต้นไม้ ร้านนี้มีความเขียวที่เบียดตัวรอรับผู้มาเยือน กันมากมาย โดยเฉพาะต้นไม้ส�ำหรับท�ำรั้ว ต้ น ไม้ ที่ ช อบแดด ต้ น ไม้ ใ หญ่ โดยเฉพาะ ต้ น ไม้ อ ย่ า งไทรเกาหลี น้ั น เป็ น ที่ รู ้ กั น ในหมู ่ ค นรั ก การจั ด สวนว่ า ถ้ า อยากได้ ต้ น ไม้ ช นิ ด นี้ ต ้ อ งมาที่ นี่ แ ล้ ว จะไม่ ผิ ด หวั ง นอกจากนั้ น ยั ง มี เ ฟิ ร ์ น ที่ แ ขวนรอให้ เ รา สอยเอากลับบ้านไปด้วย แถมยังมีปุ๋ยอินทรีย์ จากมูลค้างคาว กับอุปกรณ์ตกแต่งสวนให้เรา เลือกได้ตามใจชอบ

อี ก ร้ า นหนึ่ ง ที่ ถึ ง แม้ จ ะมี เวลาเปิ ด ปิ ด เพียงแค่วันละ ๒ ชั่วโมง คือช่วงระหว่าง บ่าย ๔ โมง ถึง ๖ โมงเย็น แต่รับรองว่า การเดินทางมาถึงร้านต้นไม้พอเพียง จะท�ำให้ คุณได้ต้นไม้ที่พอใจ การเดินทางมาที่ร้าน พอเพียงนี้ ต้องนัดล่วงหน้ากันก่อนว่ามีต้นไม้ ที่ต้องการรออยู่ไหม ด้วยท�ำเลที่เป็นที่โล่ง เจ้าของร้านจึงคิดว่าจะท�ำอย่างไรให้รา้ นต้นไม้ กลายเป็นสวนของทีบ่ า้ นด้วย เขาจึงสร้างบ้าน เอาไว้ในพื้นที่ของสวนต้นไม้ โดยให้สวนเป็น พื้นที่หลักมากกว่าตัวบ้าน รอบบริเวณนั้น ร่มรื่นไปด้วยต้นไม้หลากหลายที่หายากอย่าง ยี่หุบ บัวสวรรค์ แสงตะวันแอฟริกา แต่ที่ให้ ความสนุกและสวยงามไม่แพ้ดอกไม้ คือการ ได้พูดคุยและค�ำแนะน�ำจากเจ้าของร้าน เช่น ต้นไม้ที่มีความสวยใกล้เคียงกัน แทนที่จะ เลือกต้นดอกเข็มขาว เขาจะแนะน�ำให้รจู้ กั กับ ดอกเศรษฐีก้านยาวที่ดอกหอมกว่า มีขนาด ของดอกและใบใหญ่กว่า ซึ่งน่าสนใจและเป็น ความรู้เพิ่มเติมให้กับลูกค้าได้ด้วย แถมร้านนี้ ยังสามารถสั่งต้นไม้ออนไลน์ได้ด้วย

and Loma Linda (US) to study their people and discovered an unexpected truth that simple activity like gardening was the crucial factor to their long lives. With all its green spaces, trees and public parks, Samutprakan's lungs do not only function for itself but also for Bangkok. However, Bangkokians can help promote our life quality with more Blue-zones by simply inviting the nature of gardening into our lives with our favorite trees of choice. In this issue, we are bringing the nature back to stay with us. Our journey started off with Lan Ngamta Tree Shop on Sri Nakharin Road. Although it was not very spacious, we were excited at the sight of all the rare species of delicate flowering plants and thai traditional scented plants such as Soi Sai Phet (Nodding Clerodendron), Henna Trees, Chestnut Flowers, Queen's Wreath, Pagoda Flowers, and Port Wine Magnolia. The compact size of the shop allowed us to comfortably converse with the owner and take our time choosing the plant Next, Din Thong Dee Kankaset Tree Shop (Praeksa Branch) is located next to Suphalai Village. The shop is widely recognized among gardening fans for its never-failing supply of fencing plants, sun-loving plants, tree-ferns and particularly large and tall trees like Korean Banyan trees. Here, customers can also find organic bat guano fertilizer and lovely garden ornaments. Our next stop, Phor-Phiang (Sufficiency) Tree Shop only operates two hours a day from 4pm to 6pm. Thus, it is highly advised to make an appointment with the owner prior to your visit. Hoping to include the tree shop to the house, the owner deliberately built a house inside a cool, shady green garden surrounded with rare plant species including Coconut Magnolia,

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 101

Gustavia Flower and Thailand Powder Puff. Another fun and interestingly beautiful aspect of this shop is talking and receiving knowledgeable advice from the owners. For example, instead of an ordinary Siamese White Ixora, the owner would warmly introduce Long-stemmed Set-Thee plant that offers superior fragrance, larger flowers and leaves. For more convenience, online tree ordering is also available. In addition to all the joy tree-picking has to offer, an obvious advantage of routine gardening is how it helps our body produce natural Vitamin D preventing the occurrence of cancer or heart disease. As unhygienic as regular soil-touching with our bare hands may seem, the density of bacteria, mineral and small natural livings in the soil help boost up our overall immune systems whereas walking barefoot in the garden for 20 minutes relieves stress, re-balances hormones, freshens up our body and mind which significantly reduces risks to health problems and help increase our life expectancy. Surround yourself with green garden and Blue Zones. Simply start with picking your favorite trees and the nature is already a lot closer to you.

ความสนุกในการเดินทางเพือ่ น�ำธรรมชาติ กลับไปอยู่กับตัว ไม่เพียงอยู่ที่การเลือกซื้อ ต้ น ไม้ เพราะกิ จ กรรมนี้ น� ำ พาความสุ ข ให้ เกิ ด ขึ้ น ระยะยาว ผลดี ข องการท� ำ สวนที่ บ้ า นให้ เ ป็ น กิ จ วั ต ร จะท� ำ ให้ ร ่ า งกายผลิ ต วิตามินดีตามธรรมชาติ ซึ่งวิตามินดีนั้นช่วย ป้องกันความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งและ โรคหัวใจ หรือการใช้มือสัมผัสดินอาจเป็น เรือ่ งทีด่ เู ลอะเทอะไม่สะอาด แต่ความจริงแล้ว การสั ม ผั ส กั บ ดิ น นั้ น มี ผ ลดี ก ว่ า การล้ า งมื อ ด้ ว ยของเหลวปนสารเคมี เ สี ย อี ก เพราะ ในดินมีสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติที่ท�ำให้ร่างกาย สร้างภูมิคุ้มกันในการต่อต้านโรค ดินเป็นที่ รวมความเข้มข้นของแบคทีเรีย แร่ธาตุ และ

สิ่ ง มี ชี วิ ต เล็ ก ๆ การสั ม ผั ส กั บ ดิ น สม�่ ำเสมอ จึงเป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน และการสัมผัสดินด้วยการเดินย�่ำเท้าเปล่า ไปบนดิ น ในสวนสั ก ๒๐ นาที จะช่ ว ยลด ความเครี ย ดที่ มี ผ ลกระทบกั บ ฮอร์ โ มน ในร่ า งกาย ซึ่ ง เป็ น สาเหตุ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความ ไม่สมดุลและโรคภัยต่างๆ ตามมา เมือ่ ร่างกาย อยู ่ ใ นภาวะสมดุ ล จิ ต ใจแจ่ ม ใส ก็ จ ะช่ ว ย ลดความเสีย่ งของปัญหาสุขภาพ และท�ำให้เรา สามารถมีอายุยืนยาวกว่าปกติได้ ท�ำรอบบ้านให้มีสวนสีเขียว และสร้าง บลู โซนให้ ตั ว เอง ด้ ว ยการเลื อ กหาต้ น ไม้ ที่ ช อบ แล้ ว จะพบว่ า ธรรมชาติ อ ยู ่ ใ กล้ ตั ว กว่าที่คิด

ร้านต้นไม้ดนิ ทองดีการเกษตร สาขาแพรกษา อยูต่ ดิ หมูบ่ า้ นศุภาลัย ต�ำบลแพรกษา อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา (วันศุกร์-อาทิตย์ จะมีหญ้าสนามขาย) โทรศัพท์ ๐๘ ๑๑๓๙ ๔๕๐๘

Din Thong Dee Kankaset Tree Shop (Praeksa Branch) Next to Suphalai Village, Praeksa Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan. Opens Daily from 08.00 - 19.00, Fri-Sun: Lawn grass is also available. Phone: 08 1139 4508

ร้านต้นไม้ลานงามตา อยูข่ า้ งโฮมโปรศรีนครินทร์ ถนนศรีนครินทร์ ต�ำบลเทพารักษ์ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๘ ๔๙๒๒ ๖๐๕๙

Lan Ngamta Tree Shop Next to Home Pro (Sri Nakharin Branch), Sri Nakharin Road, Thepharak Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Opens Daily from 08.00-19.00 Phone: 08 4922 6059

ร้านต้นไม้พอเพียง อยูใ่ นซอยสะพานอุน่ อารีย์ ๔๑/๒๗ (ซอยคุม้ ราษฎร์) ต�ำบลท้ายบ้านใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการทุกวัน เวลา ๑๖.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ นัดหมายล่วงหน้าเพือ่ ถาม วิธกี ารเดินทางและต้นไม้ทตี่ อ้ งการก่อนที่ ๐๙ ๙๔๙๔ ๙๔๖๒ (คุณณัช)

Phor-Phiang (Sufficiency) Tree Shop Soi Saphan Un Aree 41/27 (Soi Khum Rat), Thai Ban Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Opens Daily from 16.00-18.00 Please call to make a prior appointment, check on the direction or preferred trees at 09 9494 9462 (Contact Khun Nat)

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


lifestyle

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 103

inspired trip

good recipe | craftsmanship | oto p s h o p p i n g | e at & d r i n k | m a k e a r e s e r vat i o n | sAmutprakan hot shot | calendar

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


good recipe / Khanom Thian Yuan

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 105

Khanom Thian Yuan

ขนมเทียนญวน เมื่อเอ่ยถึงขนมเทียนแล้ว หลายๆ คนคงจะนึกไปถึงเทศกาลตรุษจีน ที่จะขาดขนมเข่ง และขนมเที ย นไปไม่ ไ ด้ ความรู ้ สึ ก ที่ นึ ก ถึ ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น แค่ รู ป ทรง แต่ เ ป็ น รสชาติ แ ละ เนื้อสัมผัสตามมาด้วย ยิ่งเฉพาะเป็นขนมเทียนไหว้เจ้าแล้ว บางคนอาจมีความทรงจ�ำว่า ชอบไส้เค็มเผ็ดๆ หรือชอบไส้หวาน hen talking about Khanom Thian (or stuffed dough pyramidal dessert), W many would think of Chinese New Year Festival, a festival where Khanom Kheng and Khanom Thian are parts of essential offerings to Chinese Gods. Khanom Thian, in particular, comes in a unique shape, chewy texture, and taste either sweet or peppery hot and salted.

“ดิฉันเคยเห็นว่าขนมเทียนที่คล้ายขนม ที่ บ ้ า น ก็ คื อ ขนมเที ย นสลั ด งาที่ แ ม่ ก ลอง แต่เขาใช้การนึง่ ไม่ได้นวดแป้งแบบทีบ่ า้ นเรา” คุณชอุ่ม อ่วมเจริญ เกริ่นถึงสูตรขนมเทียน ในแบบครอบครัวของเธอ คือ “ขนมเทียนญวน” ที่น้อยคนนักจะได้เคยลิ้มรสและรู้จัก

บ้านสีม่วงในซอยไม่พลุกพล่าน อบอุ่นและ อบอวลไปด้ ว ยกลิ่ น หอมของเที ย นอบขนม ที่หอมละมุนชวนให้น�้ำลายไหล เป็นกลิ่นที่ ท�ำให้เราตามเข้าไปถึงต้นตอ ขนมเทียนญวน ของตระกู ล ห่ อ นี้ ไ ม่ มี เ รื่ อ งเล่ า แน่ ชั ด ว่ า มาจากไหน และท� ำ ไมถึ ง เรี ย กชื่ อ ตามนี้ คุ ณ ชอุ ่ ม เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ตั้ ง แต่เกิดมา ๖๖ ปี ก็ รู ้ จั ก รสชาติ แ ละขนมเที ย นญวนนี้ แ ล้ ว จ� ำ ได้ เ พี ย งแค่ ว ่ า คุ ณ แม่ สื บ ทอดสู ต รขนมนี้ มาจากคุณชวดที่เสียไปเมื่อ ๖๖ ปี ซึ่งเท่ากับ อายุคุณชอุ่มพอดี มองจากภายนอก ขนมที่ห่อด้วยใบตอง เป็นทรงสามเหลี่ยมนั้นดูเหมือนกับขนมเทียน ทั่วไป แต่สีของใบตองที่ห่อขนมเทียนญวน จะห่อด้วยใบตองสดสีเขียวตองอ่อน ไม่ว่าจะ ห่ อ ด้ ว ยใบตองกล้ ว ยตานี ห รือใบตองกล้วย น�้ ำ ว้ า สิ่ ง ที่ แ ตกต่ า งเมื่ อ แกะห่ อ ออก คื อ สี และก้ อ นขนมที่ เ ป็ น ทรงกลมขนาดพอดี ค� ำ สีขาวเนียนและระยิบไปด้วยสีทองอ่อนของงา คุณชอุม่ เล่าให้ฟงั ว่า การท�ำขนมเทียนญวน ไม่ ใช่ เรื่ อ งยุ ่ ง ยาก ส่ ว นผสมไม่ ไ ด้ ซั บ ซ้ อ น แต่ ต ้ อ งใช้ ค วามละเอี ย ดและความอดทน ในการท�ำ “เคยพลาดครั้งหนึ่งค่ะ ที่นวดแป้ง ไม่ นิ่ ม พอ ผิ ว สั ม ผั ส ไม่ ไ ด้ ไม่ ใ ห้ ใ ครกิ น เลย ทีเดียว” การท� ำ ขนมเที ย นญวนมี ๒ ส่ ว น คื อ ส่ ว นไส้ แ ละส่ ว นแป้ ง คุ ณ ชอุ ่ ม เริ่ ม ต้ น ด้ ว ย ส่วนไส้กอ่ น โดยมีสว่ นผสมของมะพร้าวน�ำ้ หอม ทึนทึก คือไม่อ่อนไม่แก่ น�ำมาขูดละเอียด

"I've seen Khanom Thian similar to the one in my hometown, Khanom Thian Salat Nga (coated with sesame), in Mae Klong area although they use steaming technique instead of flour kneading." said Cha-um Uamcharoen as she introduced her family's recipe, "Khanom Thian Yuan" that not many have tasted or heard of. JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


Inside a peaceful alley, the fragrance of scented candles often used in Thai dessert preparation that filled the air led us to a purple house. Since Cha-um was born, she was acquainted with the dessert although there never was a historical record of where Khanom Thian Yuan came from or why it was called so. She only recalled her mother inheriting the recipe from her late great-grandmother who passed away 66 years ago.

และน�ำ้ ตาลทรายขาว ทีไ่ ม่ใช้นำ�้ ตาลทรายแดง หรือน�ำ้ ตาลอืน่ เป็นเพราะสีทไี่ ด้จะไม่นวลสวย และออกเหลืองมากกว่าขาว เธอเอามะพร้าว ขูดคลุกกับน�้ำตาลทรายขาว นวดเบาๆ ให้ เข้ากัน ก่อนเอาลงไปกวนให้แห้ง แล้วปั้น เป็ น เม็ ด ขนาดพอดี ค� ำ เสร็ จ แล้ ว น� ำ ไปอบ ในโหลอบควันเทียน “จะให้ดีต้องอบ ๒ วัน เพราะกลิน่ ควันหอมจะหอมเข้าไปถึงข้างในไส้ ทุกส่วน”

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

เมื่ อ ถึ ง วั น ที่ ท� ำ ตั ว แป้ ง ซึ่ ง เป็ น วั น ที่ เรา ท�ำขนม คุณชอุ่มใช้แป้งข้าวเหนียวนวดกับ น�้ ำ กะทิ คั้ น สด “นวดแป้ ง นี่ ส� ำ คั ญ มาก เพราะเราจะต้องนวดไปเรือ่ ยๆ จากแป้งแห้งๆ ให้กลายเป็นแป้งนุ่มเหลวเลย” เมื่อเข้ากันดี และเนื้อละเอียดเนียนน่าพอใจแล้ว ก็จะเท แป้งเหลวที่ได้ในถาดให้มีความหนาประมาณ ๑ นิ้วไม้บรรทัด แล้วเอาถาดไปนึ่ง รอจนสุก และพักให้แป้งเย็นลงเสียก่อน ก่อนที่จะเริ่ม ปั้นแป้งและไส้ให้มาอยู่ในตัวเดียวกัน

In general, this pyramidal dessert may appear similar to ordinary Khanom Thian, however, Kanom Thian Yuan must be wrapped with fresh chartreuse banana leaves. Another difference after removing the wrap is the white, round, bite-sized dessert coated in light gold sesame seeds. Cha-um said that neither the making or the ingredients of Khanom Thian Yuan was complicated but it could take a lot of attention to details and patience. "I made a mistake once with the kneading so the dough turned out not soft enough and the texture was practically inedible." The preparation of Khanom Thian Yuan is divided into two parts: the filling and the dough. For the filling, Cha-um finely

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 107 grated mature Nam Hom coconut meat and massage it lightly with refined sugar as other colored sugar would result in unevenly yellowish color. After continuously stirring over heat until sticky, she molded it into bite-sized balls and baked them with scented candle in a glass jar. "For a better result, it should be baked for two days to let the scent penetrate every bit of the filling." On the dough preparing day, Cha-um kneaded glutinous rice flour with freshly squeezed coconut milk. "The kneading is really important. You have to keep kneading until dry flour turns liquidy soft and smooth." Then, she poured the mixture into the tray to one inch thick, steamed till the flour was cooked, and let it sit until cool before molding the dough and stuffing it with filling. A tip to prevent the dough from sticking to hands when molding them into bite-sized balls, it is recommended to roll a few balls of filling with both palms as the oil from coconut inside the filling helps keep away dryness from the hands and, as a result, the dough. "Simply place the filling in the middle of the dough. Now, all we need to do is gently fold the dough around the filling with our hands." Since Khanom Thian Yuan is never whole without white sesame, roasted white sesame was poured into a large tray. As Cha-um rolled stuffed balls of Khanom Thian on it, each velvety white, soft and sticky dough was soon coated with light golden brown sesame before it was wrapped with a fresh banana leaf. "It tastes and smells even richer a night after the preparation because the dough will slowly absorb the sugar as well as the sweetness and creaminess of coconut inside the filling." The world of deliciousness derived from Cha-um's family recipe of Khanom Thian Yuan is wrapped in ever y bite. Undoubtedly, on many special occasions and celebrations, neighbors would always think of Cha-um's Khanom Thian Yuan, the community's indispensable dessert .

การปั ้ น มี เ คล็ ด ลั บ อยู ่ ต รงที่ ก ารจั บ แป้ ง ไม่ให้ติดมือ ก่อนจะหยิบแป้งมาเพื่อห่อไส้นั้น ให้เราเริ่มจากการหยิบไส้สักสองสามลูกมา คลึ ง ไปมาให้ ทั่ ว ฝ่ า มื อ ทั้ ง สองข้ า งเสี ย ก่ อ น น�้ ำ มั น จากมะพร้ า วที่ อ ยู ่ ใ นไส้ นั้ น จะท� ำ ให้ มื อ ลื่ น ไม่ แ ห้ ง และแป้ ง ก็ จ ะไม่ ติ ด มื อ เวลา ที่เราปั้นเป็นขนมแต่ละค�ำ “เวลาเอาไส้วางในแป้งแล้ว แป้งก็จะกอด ไส้เอง เราแค่เอามือตะล่อมๆ เท่านั้นเอง” ความจริงแค่แป้งห่อไส้กส็ ามารถกินได้แล้ว แต่จะยังไม่ครบเครื่องเรื่องขนมเทียนญวน ถ้าขาดงาขาว ขั้นตอนนี้ให้เอางาขาวที่คั่วไฟ เรียบร้อยแล้วออกมาเทใส่ถาดใหญ่ เพื่อที่จะ ให้ขนมเทียนใส่ไส้ได้กลิ้งตัวลงไปบนงาขาว เมล็ดงาเกาะบนผิวแป้งเหนียวๆ เคลือบห่ม ขนมสีขาวนวลเนื้อนุ่มให้มีสีน�้ำตาลทองอ่อน

ท�ำให้เอกลักษณ์หน้าตาของขนมเทียนญวนนี้ แตกต่างจากขนมเทียนทั่วไป จากนั้นน�ำมา ห่อใส่ใบตองสดที่เตรียมไว้ “ถ้ า จะให้ ดี กิ น ข้ า มคื น จะอร่ อ ยกว่ า เพราะน�ำ้ ตาลจากไส้ทอี่ ยูข่ า้ งในแป้งจะซึมเข้า เนือ้ แป้งนิดๆ เวลาเคีย้ วจะได้ทงั้ ความหวานมัน ของกะทิ และหวานหอมจากไส้ เข้มข้นกว่า การกินสดทันทีเมื่อท�ำเสร็จใหม่ๆ” โลกแห่งความอร่อยจากขนมเทียนญวน สูตรตระกูลคุณชอุ่มนั้นมีอยู่ครบถ้วนภายใน หนึ่งค�ำ และไม่ว่าจะมีงานส�ำคัญของเพื่อน ในหมู่บ้าน หรือเทศกาลใด ทุกคนมักนึกถึง ขนมเทียนญวนฝีมือคุณชอุ่มเสมอ เพราะเป็น ขนมของตระกูลและเป็นขนมคู่ชุมชนจนเป็น สิ่งที่ขาดไม่ได้

สูตรอาหารจากครอบครัวของคุณชอุ่ม นอกจากจะมีขนมเทียนญวนแล้ว ยังท�ำขนมหยกมณี และขนมจีนน�้ำพริก ซึ่งเป็นที่ติดใจของคนในหมู่บ้านอีกด้วย ติดต่อคุณชอุ่มในการท�ำอาหาร พิเศษ ต้องเผื่อเวลาล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน เลขที่ ๓ หมู่ ๖ ซอยเพชรหึงษ์ ๓๓ ต�ำบลบางกะเจ้า อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๗๕ ๓๖๕๓ Beside Khanom Thian Yuan, other Cha-um's family recipes including Yok Manee and Khanom Jeen Nam-phrik are no less popular among villagers. For special dishes, please contact Cha-um at least three days in advance. 3 Moo 6, Soi Phetchahueng 33, Bang Kachao Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Phone: 08 1875 3653

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c r a f t s m a n s h i p / H o r s e ta i l M o s q u i t o W h i s k

ipa palm is a miraculously N miscelleneous tree. Its stems are used to make containers, food wrap

pins and broomsticks while its young leaves to wrap traditional dessert or tobacco, and its older leaves to make medicines or as thatching materials. Meanwhile, its clusters can be used as an eco-friendly fuel, eaten fresh or cooked to various recipes, its stem's base above the ground to build freshwater animal nursery whereas its spadixes to make paper, nipa-palm sugar or horsetail mosquito whisks. A big round of applaud to villagers living nearby a mangrove forest who first invented a horsetail mosquito whisk from nipa palm's spadixes to brush them away without damaging ecosystems. At first, these whisks were made and sold in Phra Pradaeng District, Bang Bo District, and Phra Samutchedi District but, nowadays, they can only be found at Wat Nai and Wat Nang Kreng communities. As time passes, certain values gradually subside. Flood and aggressive currents from other provinces above Samutprakan have caused land corrosion and swept a great amount of nipa palm clumps off the area, and, as a result, a significant

Horsetail Mosquito Whisk Eco-friendly mosquito control

แส้ปัดยุง

จัดการยุงแบบไม่ท�ำลายนิเวศ ต้นจากคือต้นไม้มหัศจรรย์ ก้านจากใช้ท�ำภาชนะของใช้ ไม้กลัดห่ออาหาร ไม้กวาด ยอดจากอ่อนเอาไปใช้ห่อขนมหรือมวนยาสูบ ใบจากแก่เอาไปเป็นยารักษาโรคหรือ มุงหลังคาโรงเรือน ทะลายจากเอาไปท�ำเชื้อเพลิง หรือจะกินสดก็ได้ บางบ้านก็น�ำ ไปท�ำอาหารคาวหวาน สะโพกจากเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น�้ำในที่อนุบาลสัตว์น�้ำ ส่วนงวงจากอ่อนเอาไปท�ำกระดาษ ท�ำน�้ำตาลจาก หรือแส้ปัดยุง มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ต้องปรบมือให้คนในสมัยก่อนซึ่งมีวิถีชีวิต ในการอาศัยอยู่ใกล้กับป่าชายเลน ที่สามารถ คิ ด สร้ า งสรรค์ แ ส้ ป ั ด ยุ ง ขึ้ น มาจากงวงจาก เพื่อใช้ในการไล่ยุงได้โดยไม่ต้องท�ำลายระบบ นิเวศ สมัยแรกนัน้ ๆ ชาวบ้านนิยมท�ำแส้ปดั ยุง เพือ่ จ�ำหน่ายโดยชุมชนในอ�ำเภอพระประแดง อ�ำเภอบางบ่อ และอ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ แต่ปัจจุบันเราจะพบเห็นได้แค่ที่ชุมชนวัดใน และชุ ม ชนวั ด บางนางเกรงเท่ า นั้ น เพราะ ยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นไป คุณค่าในเรือ่ งราวบางอย่าง Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 109 reduction of nipa palm trees. Together with how people are spending more time in an air-conditioned room and spraying insecticide are becoming more common, the once popular handmade horsetail mosquito whisks of Samutprakan a decade ago is fading away. Later, the horsetail mosquito whisk was brought back to live by students and teachers of Wat Nai School in Paknam Sub-District. Soon after they discovered that Uncle Daeng-Thongchai Yurasong, who still lived and made these whisks for sale at Wat Nai Community, the children asked him for lessons and training on the making processes and formed Horsetail Mosquito Whisk Club at their own school. The making process starts by sailing into the wood to collect nipa-palm's spadixes (or whisk threads) before smashing the base of these spadixes with a round metal hammer until broken. Next, continue to finely smash these whisk threads, noting that the length of the whisk depends on the length of its handle. Then, tighten a rope where the handle and the threads are connected. Vertically place the handle on a board and spread the threads into a mushroom shape and use a wooden hammer to pound on the connected area allowing the threads to spread more evenly. Carve the connected wooden part with a small pruning knife and comb the threads until beautifully untangled. Now, wash the rubber off the threads by soaking them in a bowl of vinegar and dry them out in strong sunlight. To finish off, rub the dried whisk on a cement floor to smooth out the threads and carve the end of the handle into a round shape. The making processes of a horsetail mosquito whisk is not as easy as we had imagined. On the contrary, it could be a wonderful activity to practice meditation and perserverance. Thus, it takes a tough artisan to create one.

ก็ถูกลดทอนความส�ำคัญลงไปด้วย รวมไปถึง ผลกระทบจากอุทกภัย เช่น ความรุนแรงของ กระแสน�ำ้ จากจังหวัดอืน่ ๆ ทีอ่ ยูท่ างตอนเหนือ ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งมีส่วนกัดเซาะ พากอจากหลุดออกไปพร้อมกระแสน�้ำ ส่งผล ให้ต้นจากค่อยๆ มีปริมาณลดลง หรือแม้แต่ รู ป แบบการใช้ ชี วิ ต ของคนยุ ค ใหม่ เ องที่ ใช้ เวลาในห้องแอร์มากขึ้น ใช้ยาฆ่าแมลงในการ ฉีดยุง ท�ำให้ชว่ งเวลาหนึง่ ของเมือ่ สิบกว่าปีกอ่ น หัตถกรรมแส้ปัดยุงในจังหวัดสมุทรปราการ จึงค่อยๆ หายไป ต่ อ มาในภายหลั ง แส้ ป ั ด ยุ ง ถู ก ฟื ้ น ชี วิ ต กลั บ ขึ้ น มาอี ก ครั้ ง โดยนั ก เรี ย นและคุ ณ ครู จากโรงเรี ย นโรงเรี ย นเทศบาล ๒ (วั ด ใน) ต�ำบลปากน�้ำ ที่ได้ออกไปท�ำการส�ำรวจลง พื้นที่จนได้พบว่า บ้านของลุงแดง หรือ ธงชัย ยูรสง ซึ่งอาศัยอยู่ในชุมชนวัดใน ยังท�ำแส้ ปัดยุงขายอยู่ ทราบดังนั้นแล้ว เด็กๆ จึงไปขอ วิชาฝึกท�ำแส้ปัดยุงจากลุงแดง กระทั่งน�ำมา เปิดเป็นชมรมแส้ปัดยุงในโรงเรียน

การท� ำ แส้ ป ั ด ยุ ง นั้ น เริ่ ม จากการน� ำ เรื อ แล่นออกไปตามป่าเพือ่ ตามหางวงจาก (หรือที่ เรียกว่าแส้) จากนั้นใช้เหล็กกลมทุบส่วนโคน ของงวงจากซึ่งเป็นส่วนที่อ่อนจนแตก มาสู่ ขั้นตอนการร่น คือการทุบเส้นแส้ให้ละเอียด โดยความยาวของเส้ น แส้ นั้ น จะขึ้ น อยู ่ กั บ ความยาวของด้ามจับ แล้วจึงใช้เชือกมัดตรง ช่วงรอยต่อระหว่างด้ามจับกับเส้นแส้เพื่อกัน ข้อแส้แตก แล้วน�ำปลายของด้ามแส้ไปวางลง บนเขี ย งในแนวตั้ ง คลี่ เ ส้ น แส้ ใ ห้ ก ระจาย เหมือนดอกเห็ด ใช้ท่อนไม้ทุบลงไปที่คอแส้ ให้เส้นกระจายเท่ากัน เอามีดควัน่ ปอกเปลือก รอบคอแส้ แล้วจึงใช้หวีไม้สางแส้ ต่อด้วย การซักแส้ ซึ่งก็คือการเอาแส้ไปแช่ในสารส้ม เพื่อล้างยางออก น�ำไปตากแดดจัด จากนั้น จึ ง มาถึ ง ขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ย คื อ การน� ำ แส้ ที่ ตากแห้ ง แล้ ว ไปขั ด บนพื้ น ซี เ มนต์ เ พื่ อ ให้ เส้ น แส้ เรี ย บตรง ควั่ น จุ ก ที่ ป ลายด้ า มให้ สวยงาม การท� ำ แส้ ป ั ด ยุ ง นั้ น ไม่ ง ่ า ยอย่ า งที่ คิ ด ถื อ เป็ น กิ จ กรรมฝึ ก สมาธิ แ ละความอดทน เสี ย ด้ ว ยซ�้ ำ เพราะกว่ า จะได้ ม าแต่ ล ะชิ้ น คนท�ำต้องอึดมาก

ขอขอบคุณ : ข้อมูลจากโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดใน) ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ติดต่อชมรมแส้ปัดยุง โทรศัพท์ ๐ ๒๓๙๕ ๑๑๖๑ Horsetail Mosquito Whisk Club Thetsaban 2 School, Paknam Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Phone: 0 2395 1161

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


OTOP SHOPPING / Good Mushrooms

Good Mushrooms Good Blessings to Health

เห็ดดีเป็นศรีแก่สุขภาพ เคยได้ยินไหมที่เขาบอกว่า อย่ากินวิตามิน ยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่งติดต่อกันเป็นระยะเวลา นานๆ เพราะจะมี ส ารสะสมในร่ า งกาย อันก่อให้เกิดโทษแทนทีจ่ ะเป็นประโยชน์

ave you ever heard of the warning H not to keep taking certain vitamins or dietary supplements for too long

OTOP คราวนีเ้ รามากันทีว่ สิ าหกิจชุมชน ศูนย์การเรียนรูก้ ารเพาะเห็ดแบบครบวงจร ใน อ�ำเภอบางพลี ที่นี่คือศูนย์การเรียนรู้ซึ่งเป็น แหล่งรองรับวัตถุดบิ จากการเพาะเห็ดในกรณี ที่เห็ดล้นตลาด เป็นพื้นที่เรียนรู้การแปรรูป เห็ดแบบครบวงจร และส�ำคัญที่สุดคือเป็น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ส� ำ หรั บ เกษตรกรที่ คิ ด จะท� ำ ธุรกิจเกี่ยวกับเห็ดแต่ไม่รู้จะเริ่มยังไง ซึ่งที่นี่

In this issue, we made a visit to the Mushroom Cultivation Community Enterprise and Knowledge Center in Bang Phli. The Center welcomes over supplied raw materials from mushroom cultivation and provides a comprehensive learning experience on mushroom processing. Local farmers who wish to start a mushroom business but do not know where to star t are invited to develop a profound understanding from the

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

or they could leave accumulated toxin in the body instead of good benefits?

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 111

upstream to the downstream through a six-step mushroom cultivation program by Ajarn Boonler t Thai Thattakul, a local philosopher and a Dabos volunteer from Samutprakan Luk Phra Dabos Royal Development Project. Years ago, as a consultant of a royal initiative project for the three southern border provinces, Ajarn Boonlert stationed in Pattani military camp. During his stay, he learned that local farmers greatly suffered from not being able to sell collected mushrooms outside the Thai-Buddhist area. Therefore, he developed various mushroom processing techniques and let farmers from ten villages in Pattani under the Royal Initiative Project fo c u s i n g o n O ys te r M u s h ro o m Cultivation bring in their havest that they could not sell, for further processing at the wisdom learning center in Samutprakan. Hence, processed p ro d u c t s a re d i s p l a ye d a t t h e Mushroom Cultivation Community Enterprise and Knowledge Center. “The curriculum that I created for Luk Phra Dabos Project was inspired by a part of King Rama XI’s royal speech in 1997, 'Being a tiger is not important. What matters is for us to have a sufficienc y economy.' The word sufficiency means making a living in a way that suits your capability. It is important to always choose to do what you love first even if it only makes little money. The more frequent you practice, the more you observe, the more you learn a more proper way to nurture it, protect it from certain types of bugs. With consistent and continuous repetition and improvement as a part of your daily routine, your self-learning forges your specialization which gradually makes you an expert.”

สามารถให้ ค วามรู ้ แ ก่ เ กษตรกรได้ ตั้ ง แต่ ต้นน�ำ้ ยันปลายน�ำ ้ ด้วยหลักสูตรกระบวนการ ปลูกเห็ด ๖ ขั้นตอนของ อาจารย์บุญเลิศ ไทยทัตกุล ปราชญ์ชาวบ้านและดาบสอาสา จากโครงการลู ก พระดาบสสมุ ท รปราการ ตามพระราชด�ำริ ย้อนกลับไปเมื่อหลายปีก่อน อาจารย์ บุญเลิศเป็นที่ปรึกษาในโครงการพระราชด�ำริ ให้กบั ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึง่ อาจารย์ ต้ อ งไปประจ� ำ อยู ่ ที่ ค ่ า ยในจั ง หวั ด ปั ต ตานี ในครั้ ง นั้ น อาจารย์ บุ ญ เลิ ศ พบปั ญ หาว่ า ผู้ปลูกเห็ดทาง ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เหล่ า นั้ น มี ป ั ญ หาเป็ น อย่ า งมากจากการที่ ไม่ ส ามารถเอาเห็ ด ไปขายนอกเขตพื้ น ที่ ไทยพุทธได้ อาจารย์จงึ ช่วยเกษตรกรด้วยการ คิดค้นวิธีการแปรรูปเห็ด โดยให้เกษตรกร จาก ๑๐ หมู่บ้านของจังหวัดปัตตานีซึ่งอยู่ ในโครงการพระราชด� ำ ริ ป ลู ก เห็ ด นางฟ้ า และน�ำผลผลิตส่วนที่จ�ำหน่ายไม่ได้มาแปรรูป ที่ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ภู มิ ป ั ญ ญาไทยในจั ง หวั ด

สมุทรปราการ โดยตัวสินค้าถูกน�ำมาวางไว้ที่ วิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้การเพาะเห็ด แบบครบวงจร “หลั ก สู ต รที่ ผ มเคยเขี ย นไว้ ที่ โ ครงการ ลู ก พระดาบสฯ เกิ ด มาจากการได้ รั บ พระราชด� ำ รั ส ของในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ในปี ๒๕๔๐ ว่า ‘การจะเป็นเสือนัน้ ไม่สำ� คัญ ส�ำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน’ ค�ำว่า พอเพียง คือการเอาธุรกิจมาประยุกต์ ให้พอเหมาะกับก�ำลังของตัวเอง และอย่าลืม ว่าจงเลือกท�ำในสิ่งที่คุณรู้สึกรักก่อน เพราะ ธุรกิจทุกรูปแบบในโลกนี้ ถ้าคุณเริ่มท�ำมัน แบบไม่ได้รักมัน คุณจะอยู่กับมันไม่ได้นาน เพราะคุณเอาเงินเป็นตัวตัง้ แต่ถา้ ท�ำด้วยใจรัก คุณจะอยู่กับมันได้นาน แม้รายได้ที่คุณได้ จากมันอาจจะเป็นเพียงแค่น้อยนิด จนเมื่อ คุ ณ ท� ำ สิ่ ง นั้ น บ่ อ ยๆ เข้ า คุ ณ คอยสั ง เกต คอยเฝ้าระวังมัน เลีย้ งแบบไหน ป้องกันแมลง แบบไหน สิ่ ง ที่ คุ ณ ท� ำ เป็ น ประจ� ำ เหล่ า นั้ น ก็ คื อ การเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยตั ว เอง จนเกิ ด ทั ก ษะ

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


Ajarn Boonlert’s six steps to mushroom cultivation include PDA (Potato Dextrose Agar) preparation, spawn preparation using sorghum grains, s u b s t ra te a n d i n o c u l a t i n g b a g preparation, mushroom harvesting, mushroom processing, and recycling processes. Each step comes with detailed processes. Simply follow the program and farmers can reassure to “shut the door to marginal losses in an instance.”

ความช�ำนาญเฉพาะตัว แล้วคุณจะกลายเป็น ผูร้ ใู้ นทีส่ ดุ ” หลั ก สู ต รในกระบวนการปลู ก เห็ ด ๖ ขั้นตอน ที่อาจารย์บุญเลิศออกแบบไว้นั้น ประกอบด้วย ขั้นตอนการท�ำวุ้น PDA ท�ำ หัวเชื้อข้าวฟ่าง ท�ำก้อนเห็ด เปิดดอกเห็ด การแปรรูปเห็ด ขั้นตอนรีไซเคิล ซึ่งในแต่ละ ขั้นตอนจะมีเนื้อหาแยกย่อยออกไป อาจารย์ บอกว่า ท�ำตามหลักสูตรของอาจารย์ รับรอง ว่าเกษตรกร “ปิดประตูการขาดทุนได้ทนั ที” ปั จุ บั น เห็ ด ไทยแบ่ ง เป็ น ๒ ส่ ว น คื อ เห็ ด เศรษฐกิ จ และเห็ ด ยา เห็ ด เศรษฐกิ จ ก็เช่นพวกเห็ดนางฟ้า เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดหูหนู อี ก ประเภทคื อ เห็ ด ยา โดยปั จ จุ บั น มี ก าร แปรรูปเห็ดยากันมาก เพราะสมัยนี้ผู้สูงอายุ หันมาดูแลสุขภาพตัวเองมากกว่าเมื่อก่อน จึ ง มี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ห็ ด ยาขึ้ น แต่ ขณะเดียวกันทางศูนย์การเรียนรู้ฯ ก็ไม่ได้ ทิ้งตลาดของเห็ดเศรษฐกิจไป “อย่ า งที่ บ อกที แรกแล้ ว ว่ า ผมไปช่ ว ย ส่งเสริมการปลูกเห็ดที่ปัตตานี ฉะนั้น ผมก็ ให้ เ ขาปลู ก เห็ ด หลิ น จื อ ส่ ว นทางเราที่

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

สมุทรปราการก็ปลูกเห็ดถั่งเช่า และเราก็เอา ๒ ตัวมารวมกัน กลายเป็นเห็ดหลินจือถัง่ เช่า ซึ่ ง เราเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต รายแรกของประเทศไทย ที่คิดค้นออกมา ตอนนี้ในตลาดที่มีเป็นร้อย เป็นพันยี่ห้อก็ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ จากเราไป เรามีการเปิดอบรมเรื่องเห็ดถั่งเช่า สอนตั้ ง แต่ ต ้ น น�้ ำ ยั น ปลายน�้ ำ ตั้ ง แต่ วิ ธี การผลิต การดูแลรักษา การแปรรูปวิธีการ ขาย ด้วยยุคเศรษฐกิจแบบนี้เราไม่เน้นการ ผลิตเป็นหลัก ถ้าใครเน้นการผลิตจะไม่เติบโต เพราะคิ ด ดู ว ่ า กว่ า จะลงทุ น เรื่ อ งห้ อ งแล็ บ ห้ อ งปลอดเชื้ อ ต่ า งๆ มั น หลายแสนนะ แต่คอร์สการอบรมของผมจะเน้นเรื่องตลาด อย่างยั่งยืนเป็นหลัก เราจะสอนให้เกษตรกร แปรรูปเห็ดถั่งเช่าให้เป็นตัวแคปซูล จากนั้น ก็ ฝ ึ ก ให้ เขาลองไปท� ำ ตลาด ซึ่ ง การตลาด แบบยั่งยืนต้องเริ่มจากการปลูกเห็ดถั่งเช่า เพื่ อ ดู แ ลคนในครอบครั ว ก่ อ น จากนั้ น ก็ แ จกให้ ญ าติ ไ ด้ ไ ปทดลองใช้ กั บ สุ ข ภาพ ร่างกายตัวเอง เชื่อเถอะว่าการได้ผลของมัน จะท�ำให้คนกลับมาหาคุณเอง มาขอซื้อ”

In Thailand, there are two groups of mushroom: economic and medicinal mushrooms. Some examples of the former are oyster mushrooms, abalone mushrooms, and wood ear mushrooms. A l t h o u g h p ro c e s s e d m e d i c i n a l mushroom products are increasingly popular among Thai elders, the Center never leaves any group behind. "As I previously promoted Lingzhi mushroom cultivation in Pattani and cordyceps cultivation in Samutprakan, our center was the first in Thailand to combine the two ingredients and have transferred a complete set of knowledge and training to thousands of brands. Considering today's economic situations, investment in production can be too costly. That is why my training highlights more on sustainable marketing. We teach farmers to transform cordyceps into capsules and let them try marketing. Our sustainable marketing starts with cordyceps growing to take care of their family members before letting their relatives try the products themselves. Trust me its effectiveness will bring them back as your customers."

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 113 At the Center, we were amazed at the variety of mushroom product development ranging from crispy mushroom with mixed herbs, mushroom chilli paste, mushroom crackers to mushroom jelly. For those who suffer from headache, migraine, allergy, diabetes or hangover, Ajarn Boonlert recommended trying mushroom capsules with Lingzhi mushroom and cordyceps for a faster recovery. "Lingzhi mushrooms take care of the digestive system, respiratory system, blood circulatory system, restore balance to white blood cell production and activity and improve airway constriction whereas Cordyceps improve the performance of liver, kidney, lungs, spleen, air sacs, hormones, enhance oxygen and blood flow, as well as prevent blood viscosity. Like Yin and Yang, when these two are combined, the consumer's health improves much better. Taking this product after chemotherapy, the maximum duration of sun sensitivity is reduced to one day and the body is less worn-out.” Ajarn continued “Many brands that follow our capsule formula hire manufacturers. The unfortunate part is that many of these manufacturers cut their cost by impor ting raw materials noone knows if they are of good quality or cerified by any institute. At the Center, however, we grow and grind our own Lingzhi and, likewise,

Cordyceps are grown at the back of our neighboring Bang Chalong-Nok Temple." To learn more about mushrooms and their processing, please contact the Mushroom Cultivation Community Enterprise prior to your visit.

ที่ นี่ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ห็ ด ให้ เ ลื อ กเยอะจน อดสงสัยไม่ได้วา่ เห็ดสามารถแปรรูปเป็นอะไร ได้มากขนาดนี้เลยหรือ ไม่ว่าจะเห็ดกรอบสมุ น ไพร น�้ ำ พริ ก เผาเห็ ด ข้ า วเกรี ย บเห็ ด เยลลี่ เ ห็ ด ฯลฯ และที่ เ หมาะกั บ คนยุ ค นี้ ซึ่ ง ต้ อ งการความรวดเร็ ว คื อ แคปซู ล เห็ ด เพราะหากพูดถึงปัญหาสุขภาพพื้นฐานของ คนไทยโดยทั่ ว ไปก็ ไ ม่ พ ้ น เรื่ อ งปวดหั ว ไมเกรน ภูมแิ พ้ เบาหวาน หรือบางรายเมือ่ คืน ดืม่ แอลกอฮอล์มากไปหน่อย ตืน่ เช้ามาก็แฮงก์ ปวดหัว ซึง่ อาจารย์บญ ุ เลิศแนะน�ำว่า ให้ลอง กินแคปซูลเห็ดซึ่งมีส่วนผสมของเห็ดหลินจือ กั บ เห็ ด ถั่ ง เช่ า ดู รั บ รองว่ า หายจากอาการ เหล่านี้ “เห็ ด หลิ น จื อ มั น ท� ำ หน้ า ที่ ดู แ ลระบบ ทางเดินอาหาร ระบบหายใจ ระบบทางเดิน โลหิต กระตุ้นเม็ดเลือดขาว ขยายหลอดลม ส่วนเห็ดถัง่ เช่าจะดูแลตับ ไต ปอด ม้าม ถุงลม เพิ่ ม อั ต ราออกซิ เจนให้ ร ะบบหมุ น เวี ย นดี และท�ำให้เลือดไม่หนืด ดูแลฮอร์โมน การเอา เห็ด ๒ ตัวมารวมกัน มันเหมือนหยินกับหยาง มั น ท� ำ หน้ า ที่ ค ล้ า ยกั น พอมาเจอกั น แล้ ว ก็ ยิ่ ง ไปเสริ ม ซึ่ ง กั น และกั น ผู ้ บ ริ โ ภคก็ มี สุขภาพที่ดีมากขึ้น กรณีผู้ป่วยที่ไปให้คีโมมา

ถ้ากินผลิตภัณฑ์นี้เข้าไป หลังการฉายแสง คุณจะแพ้เต็มทีแ่ ค่วนั เดียวและร่างกายไม่โทรม แคปซูลของเรามีคนท�ำตามเยอะ แต่วิธีการ ของเขาคือไปจ้างโรงงานผลิต ซึ่งโรงงานผลิต เขาจะไม่ ย อมให้ ผู ้ จ ้ า งส่ ง วั ต ถุ ดิ บ เข้ า ไปสู ่ ตั ว โรงงาน และด้ ว ยการหวั ง ผลก� ำ ไร ที่สูงสุด โรงงานก็มักจะใช้วิธีไปซื้อผลิตภัณฑ์ จากต่ า งประเทศมาผสมขาย โดยไม่ มี ใ คร รู ้ ว ่ า คุ ณ สมบั ติ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นั้ น มันดีจริงไหม หรือผ่านการรับรองอะไรมาบ้าง ส่วนคนที่ซื้อไปกินก็กินได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้าง ขณะทีศ่ นู ย์การเรียนรูฯ้ ของเรา เราปลูกและ บดเห็ดหลินจือเอง เห็ดถั่งเช่าเราก็ปลูกกัน ที่วัดบางโฉลงนอก” และจากประโยคแรกของบทความ นี่ คื อ เหตุ ผ ลว่ า ท� ำ ไมเขาถึ ง บอกว่ า อย่ า กิ น วิ ต ามิ น ใดๆ ก็ ต ามติ ด ต่ อ กั น เป็ น เวลานาน เพราะมั น จะเกิ ด การสะสมของสารบางตัว ในร่างกาย ก่อให้เกิดเป็นผลเสียแทนที่จะ เป็นผลดี นั่นก็เพราะถ้าวิตามินที่ผ่านการ แปรรู ป เหล่ า นั้ น เป็ น การผลิ ต จากโรงงาน เราคงไม่สามารถเดินเข้าไปขอเขาดูทกุ ขัน้ ตอน ในการผลิ ต ได้ แต่ ที่ แ ปลงเพาะเห็ ด หลั ง วั ด บางโฉลงนอกนี้ เราสามารถติ ด ต่ อ

วิสาหกิจชุมชนศูนย์การเรียนรู้การเพาะเห็ดแบบครบวงจร เลขที่ ๔๘/๑๖ หมู่ ๑ ต�ำบลบางโฉลง อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๑๑๓ ๖๓๘๙ (อาจารย์บุญเลิศ ไทยทัตกุล) Mushroom Cultivation Community Enterprise 48/16 Moo 1 Bang Chalong Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Phone: 08 9113 6389 (Contact Ajarn Boonlert Thaithattakul) JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


e at & d r i n k / B o u g a i n C a f e & C r a f t s

Bougain Cafe & Crafts

“Bougain” มาจาก “Bougainvillea” ซึ่งแปลว่า เฟื่องฟ้า แต่ ตั ด เหลื อ เพี ย ง ๒ พยางค์ ว ่ า “บู เ กน” เพื่ อ ให้ ค นไทย เรียกได้ง่าย บ้านหลังนี้เคยเป็นบ้านที่ว่างเปล่าทรุดโทรม มาก่อน และที่หน้าบ้านนั้นมีดอกเฟื่องฟ้า

Bougain Cafe & Crafts

ความโชคดีที่สุดของมนุษย์เงินเดือนคือการมีรายได้หลัก ชี วิ ต ไม่ ต ้ อ งอยู ่ บนความเสี่ ย ง แต่ ก็ มีมนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ นจ�ำนวน มหาศาลเช่นกันที่รู้สึกเบื่อหน่ายกับงานประจ�ำ เพราะตื่นเช้า ขึ้นมาทุกอย่างก็เหมือนหนังม้วนเดิมฉายซ�้ำๆ สุดท้ายมนุษย์ เงิ น เดื อ นเหล่ า นั้ น เลยตั ด สิ น ใจลาออกจากงาน และเริ่ ม ต้ น กับช่วงชีวิตใหม่ด้วยธุรกิจขนาดเล็กๆ ที่มาจากความรักและ หลงใหลส่วนตัว

The lively bougainvillea cafe beyond a coffee shop

คาเฟ่เฟื่องฟ้ามีชีวิต ที่เป็นมากกว่าร้านกาแฟ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 115

T

hename"Bougain"derivesfromthe word "Bougainvillea" shortened to make it more friendly to Thai people. The house was once left in a deteriorated condition but its front was covered with bougainvillea. While the perk of being a salaryman is the steady income without living on a risk, many are fed up with their routine job waking up every morning and seeing their life movie repeatedly replaying, eventually decide to hand in their resignation and start a new chapter of life with a small business full of love and passion. In the past,Yo-Chomnapat Bhuddhasuwan, the owner of Bougain Cafe & Crafts in Soi Bearing 14, enjoyed visiting uniquely interesting cafés or as known as a café hopper. One day when Yo decided to leave her routine job as a marketer, she asked herself what she truly wanted in life, and the answer was coffee. Growing up in Bearing neighborhood, Yo realized the growing potential of Soi Bearing which could soon become a new community for new generations in the future in a similar fashion to Soi Ari in Bangkok. Upon her discovery of an antique house from 1960's with a

อย่าแปลกใจถ้าเดินเข้ามาร้านนี้จะได้กลิ่นหอมคลุ้งของขนมปัง เพราะร้านนี้ขนมเขาเป็นโฮมเมดทั้งหมด ใช้วัตถุดิบจากต่างประเทศ Don't be surprised by the beautiful bread aroma when you walk into the café as all the bakery products are homemade and made of imported ingredients.

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


สมัยก่อน คุณโย หรือ ชมนภัส พุทธสุวรรณ เจ้าของร้าน Bougain Cafe & Crafts ใน ซอยแบริ่ง ๑๔ ก็เป็นคนหนึ่งที่ชอบตระเวน นั่งตามร้านกาแฟต่างๆ ที่มีความน่าสนใจ ในตั ว เองแตกต่ า งกั น ไป หรื อ อย่ า งที่ เขา เรี ย กกั น ว่ า Cafe Hopper จนวั น หนึ่ ง เมื่ อ คุ ณ โยตั ด สิ น ใจลาออกจากงานประจ� ำ ในสายการตลาด เธอก็เริ่มถามตัวเองว่าอะไร กันแน่ที่เธอต้องการ ซึ่งกาแฟคือค�ำตอบ ความที่ ตั ว คุ ณ โยเองก็ อ าศั ย อยู ่ ใ นย่ า น แบริ่งมาตั้งแต่เกิด จึงมองว่ามีความเป็นไปได้ ที่ ใ นอนาคตซอยแบริ่ ง ซึ่ ง ค่ อ ยๆ เจริ ญ ขึ้ น เรื่ อ ยๆ อาจจะสามารถเป็ น คอมมู นิ ตี้ ข อง คนรุ ่ น ใหม่ ไ ด้ แ บบซอยอารี ย ์ ใ นกรุ ง เทพฯ จนวันหนึ่งคุณโยไปเจอบ้านเก่ายุคทศวรรษ ที่ ๑๙๖๐ พร้อมสวนหลังบ้านที่ดูเป็นส่วนตัว มาก คุณโยเลยตัดสินใจแน่วแน่ว่าจะเปิดร้าน กาแฟ โดยภายหลังที่ลาออกจากงาน คุณโย ใช้ เวลาในการหาความรู ้ ทั้ ง เชิ ง ทฤษฎี แ ละ เชิงปฏิบัติเพิ่มในเรื่องของกาแฟ อันรวมไปถึง การท�ำขนมและอาหาร

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

“เอาเข้ า จริ ง ตอนตั ด สิ น ใจเราก็ ไ ม่ ไ ด้ คาดหวังเรื่องลูกค้านะคะ เราแค่ถามตัวเอง และท� ำ ตามใจตั ว เองว่ า เราอยากมี ร ้ า น แบบนี้นะ เป็นโอเอซิส มีที่นั่งพักผ่อน นั่งนิ่งๆ ใช้เวลาอยู่ในร้านทั้งวันได้” ขณะจอดรถที่หน้าร้าน Bougain Cafe & Crafts เราสะดุดกับประโยคหนึ่งบนป้าย หน้าร้านที่มีค�ำว่า “Lunch Well” (อาหาร กลางวันดี) เขียนก�ำกับเอาไว้ มันท�ำให้เรา นึกถามตัวเองในฐานะผู้บริโภคว่า “นั่นสินะ

private backyard. After resigning from her job Yo was determined to open a cafe and learning both theories and practices not only about coffee but also food and dessert preparation. "I wasn't expecting much on the customers. I basically followed my heart that I wanted to have an oasis-like shop to comfortably sit back and relax all day long." To this cafe, good food is not all about how all its raw ingredients for the

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 117

bakery are imported from France or how all the nutritions are embedded in each menu but rather how ThaiWestern fusion food that also nourish local community are creatively invented. Some examples include Cappellini Samutprakan, a dish of pasta with crispy gourami fish, or Penne Nakornpathom, another pasta dish that features the famous local produce and menu like Thai-styled spicy pomelo salad.

แพ็กเกจจิ้ง คือสิ่งที่บอกตัวตนของแบรนด์ ขวดเหล่านี้บอกได้ถึงความเอาใจใส่ในรายละเอียดของแบรนด์ที่ชื่อ Bougain

Setting aside main dishes and bakeries, the word "Craft" at the end of Bougain Cafe & Crafts comes from the open space on the second floor. Yo deliberately reserve this room both as a craft studio for various types of art and a rental co-working space for those who prefer to work in a cozy home environment and able to enjoy delicious food, coffee or desserts any time.

As packaging design reflects the brand identity, these bottles exhibit how the brand Bougain is deeply detail-oriented.

อาหารแบบไหนกันที่จะเรียกได้ว่าเป็นอาหารที่ดี การกิ น ที่ ดี ” ใครจะมี ค� ำ ตอบแบบไหนเราไม่ รู ้ แต่ค�ำตอบของร้านนี้เขาน่าสนใจ เพราะมันไม่ใช่ แค่เรื่องของวัตถุดิบในส่วนของขนมปัง ขนมอบ ทีใ่ ช้สว่ นผสมน�ำเข้ามาจากประเทศฝรัง่ เศสทัง้ หมด จึงท�ำให้ราคาค่อนข้างสูงไปตามระดับของวัตถุดิบ หรื อ เรื่ อ งของโภชนาการในอาหารแต่ ล ะจาน แต่มันคือการคิดค้นเมนูอาหารลูกผสมระหว่าง ไทยกับตะวันตกที่สัมพันธ์กับชุมชนอย่างชัดเจน เช่น เมนูปลาสลิดทอดกินกับเส้นพาสต้า ที่คุณโย ตั้ ง ชื่ อ ว่ า Cappellini Samutprakan หรื อ อย่าง Penne Nakornpathom ที่ใช้วิธีเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุดิบกับชุมชน ด้วยการ หยิบเมนูบา้ นๆ แบบย�ำส้มโอมาประยุกต์ สร้างเป็น เมนูใหม่กินกับเส้นเพนเน นอกจากเป็ น ร้ า นกาแฟที่ ข ายอาหารและ ขนมเค้กขนมอบแล้ว ค�ำว่า Craft ที่ต่อท้ายชื่อ ของร้าน Bougain Cafe & Crafts ยังมาจาก พื้นที่ว่างชั้น ๒ ซึ่งคุณโยตั้งใจให้เป็นห้องเวิร์กช็อป งานคราฟต์ งานศิ ล ปะในศาสตร์ ต ่ า งๆ ไม่ ว ่ า จะงานเย็ บ ปั ก ถั ก ร้ อ ย งานออกแบบตั ว อั ก ษร งานปักผ้า รวมทั้งยังเป็น Co-working Space ให้เช่าส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการโต๊ะท�ำงานในบรรยากาศ ของความเป็ น บ้ า น หิ ว เมื่ อ ไหร่ ก็ ส บายเมื่ อ นั้ น เพราะที่นี่ กาแฟ อาหาร ขนมมีครบ

Bougain Cafe & Crafts เลขที่ ๔๕๖ ซอยแบริ่ง ๑๔ ถนนสุขุมวิท ๑๐๙ ต�ำบลส�ำโรงเหนือ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐๙ ๕๖๔๑ ๖๙๒๔ วันจันทร์-ศุกร์ เปิดบริการ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ นาฬิกา วันเสาร์-อาทิตย์ เปิดบริการ เวลา ๐๘.๐๐-๒๑.๐๐ นาฬิกา Bougain Cafe & Crafts Bougain Cafe & Crafts 456 Soi Bearing 14, Sukhumvit 109 Road, Samrong Nuea Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan 10270 Phone: 09 5641 6924 Mon-Fri: Open from 08:00 am - 08:00 pm Sat-Sun: Open from 08:00 am - 09.00 pm Bougain Cafe & Crafts

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


e at & d r i n k /

P l ay Fa r m & P l ay C a f é

few hundred meters into Soi A Thepha 3, Play Farm Restaurant and Play Cafe are located next to each other down Thepharak District on the canalside of Khlong Samrong, a traditional dug canal mentioned in one of Sunthorn Phu's poetry.

Considering colorful wall paintings in the parking lots, retro arcade games, motorcycles, bicycles and ancient watches displayed in the welcoming area, many would assume this place an antique shop or a small kingdom of retro toys and collectibles. However, with a step further inside, "Play Farm" is actually filled with fun and authentic farm atmosphere. The chicken logo, for instance, was designed to represent the activeness. Inspired by Amphawa, Mai-Sermkij Thammawong began working on the concept of the restaurant that could introduce Samutprakan's first restaurant in a natural farmhouse environment and reveal his true self through his collectibles.

บรรยากาศใน Play Farm กับอารมณ์ แบบของสะสม ผสมกับความเป็นฟาร์ม

The atmosphere inside Playfarm among retro collectibles and farm décor

Play Farm & Play Café Eat-Drink in a farm

Play Farm & Play Café กิน-ดื่ม ในฟาร์ม

ในหลายๆ ครั้ ง สิ่ ง แวดล้ อ มของสถานที่ ก็ส�ำคัญมากกว่าที่ตั้ง อย่างเช่นร้าน Play Farm และ Play Café ร้ า นอาหาร และร้านกาแฟที่อยู่ติดกันในย่านเทพารักษ์ เพี ย งแค่ เ ลี้ ย วเข้ า ซอยเทวา ๓ เข้ า ไป ๒๐๐-๓๐๐ เมตรเท่านัน้ จะพบความตืน่ เต้น อย่างไม่คาดคิด นอกเหนือไปจากความลึก ของซอยที่ มี ร ้ า นซ่ อ นอยู ่ ที่ ป ลายสุ ด ของ ทางแล้ว ยังมีคลองส�ำโรง คลองขุดดั้งเดิม ซึ่ ง ได้ รั บ การเอ่ ย ถึ ง ในบทประพั น ธ์ ข อง สุนทรภู่วางตัวอยู่อีกด้านของร้านด้วย

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

It has been six years since a deserted piece of land next to a papyrus forest was transformed into Play Farm. "In the first years, we wanted families to experience living in an open farm where animals including ostriches, chicken, geese, ducks, black swans, and fish could wander around freely among visitors." Later, to better answer customer needs, he made several changes in the following year. The animals were reduced to mandarin ducks, chicken and fishes in more defined zoning, while customers could still enjoy hanging out on a net bed tightened over the water feeding fishes and ducks without getting too close.

จากภาพวาดฝาก�ำแพงของลานจอดรถ และข้ า วของเก่ า ที่ ตั้ ง ไว้ เ หมื อ นต้ อ นรั บ บริเวณเข้าร้าน ท�ำให้บางคนอาจจะคิดว่าที่น่ี เหมือนเป็นร้านขายของเก่า ขณะที่บางคน ก็ อ าจจะบอกว่ า เป็ น อาณาจั ก รของเล่ น ของสะสมย้อนยุค ตูเ้ กม มอเตอร์ไซค์ จักรยาน ไปถึงนาฬิกาเก่า แต่การคาดเดาสีสัน รสนิยม อารมณ์ของร้าน จะเปลี่ยนไปทันทีเมื่อเดิน เข้ า สู ่ พื้ น ที่ ข องร้ า น และท� ำ ให้ เข้ า ใจได้ ว ่ า “Play Farm” คือความเป็นร้านที่สนุก และ มีความเป็นฟาร์มตามชื่อจริงๆ อย่างที่โลโก้ ร้านรูปไก่ที่ออกแบบ ซึ่งซ่อนความหมายถึง ความขยัน Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 119

เนือ้ นกกระจอกเทศพริกไทยด�ำกระทะร้อน

Grilled Ostrich meat with black pepper on sizzling pan

คุ ณ ใหม่ หรื อ เสริ ม กิ จ ธรรมมาวงษ์ เริ่ ม ฟู ม ฟั ก สร้ า งร้ า นนี้ ด ้ ว ยแรงบั น ดาลใจ จากการเห็ น ร้ า นที่ อั ม พวา ท� ำ ให้ เขาได้ ความคิ ด ว่ า สมุ ท รปราการยั ง ไม่ มี ร ้ า นที่ มี อารมณ์เป็นธรรมชาติ ผสานกับความเป็น บ้านฟาร์มที่บอกตัวตนจากข้าวของที่สะสม ที่ ดิ น ว่ า งเปล่ า ที่ เ ป็ น ป่ า กกติ ด กั บ พื้ น ที่ ของที่บ้าน กลายเป็นผืนดินที่คุณใหม่บุกเบิก เปิดเป็น Play Farm มาเป็นปีที่ ๖ แล้ว “ในปีแรกๆ มีสตั ว์เลีย้ งวิง่ เล่นในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน กับคนที่มาเที่ยวเลย เหมือนการมีชีวิตอยู่ใน ฟาร์มที่เปิดให้ทุกครอบครัวได้มาเที่ยวกันได้ ไม่ว่าจะเป็นนกกระจอกเทศ ไก่สวยงาม ห่าน เป็ด หงส์ด�ำ และปลา” จากนั้นเขาค่อยๆ ปรับฟาร์มให้เข้ากับลูกค้ามากขึ้น ด้วยการ ลดจ�ำนวนสัตว์เลี้ยงลงจากปีแรก แต่ยังคงมี เป็ดเทศ ไก่ และปลา ที่อยู่ในพื้นที่ส่วนหนึ่ง ของร้ า นเท่ า นั้ น ลู ก ค้ า ที่ ม ายั ง คงนอนบน หมอนใบยักษ์ บนเตียงตาข่ายขึงเหนือน�้ำ ได้ท�ำกิจกรรมโปรยอาหารให้ปลาและเป็ด โดยที่สัตว์เหล่านั้นไม่ขึ้นมาเดินเพ่นพ่านจน ท�ำให้คนทีไ่ ม่ชอบสัตว์บางอย่างเสียอารมณ์ไป จากประสบการณ์ที่เคยเปิด ผับ มาก่อน หลังจากนัน้ ได้เว้นวรรคไปเรียนต่อปริญญาโท

ด้ า นรั ฐ ศาสตร์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย รามค� ำ แหง และลองท� ำ ธุ ร กิ จ งานปั ๊ ม โลหะของที่ บ ้ า น ถึงวันหนึ่งคุณใหม่กลับเลือกสิ่งที่ใช่ให้ตัวเอง ด้วยการเลี้ยงเป็ดเลี้ยงไก่ “ความชอบของเรา คือการท� ำ งานที่ ไ ม่ ต ้ อ งเหนื่ อ ยแบบเครี ย ด ผมท� ำ งานหนั ก กั บ การท� ำ ฟาร์ ม และร้ า นนี้ ตั้งแต่ลงเสากับช่างอีก ๔ คน ท�ำด้วยกัน ทุกอย่าง และมีความสุขมาก เพราะเป็นโจทย์ ที่ชอบที่ต้องผ่านด่านให้ได้ ถ้ามีความสุขได้ ก็เหมือนไม่ได้ท�ำเป็นงาน” ไม่ใช่มีเพียงแค่สไตล์ท่ีน่าตื่นเต้นเท่านั้น หัวใจส�ำคัญของ Play Farm ที่ส�ำคัญไม่แพ้ การฟู ม ฟั ก รู ป ลั ก ษณ์ ข องร้ า น คื อ อาหาร ที่เต็มไปด้วยเมนูของอร่อย หนึ่งในนั้นคือ นกกระจอกเทศพริ ก ไทยด� ำ กระทะร้ อ น ที่ สื บ เนื่ อ งมาจากตอนที่ ท� ำ ฟาร์ ม นก กระจอกเทศ และท� ำ ให้ ไ ด้ รู ้ จั ก กั บ เนื้ อ นกกระจอกเทศที่มีรสชาติคล้ายกับเนื้อวัว แต่ นุ ่ ม และไม่ นิ่ ม จนเป็ น เนื้ อ ไก่ แกงคั่ ว เห็ ด ถอบใส่ ใ บชะพลู เป็ น แกงที่ เ ป็ น ได้ ทั้ ง กั บ แกล้ ม และกั บ ข้ า ว เพราะรสชาติ เข้ ม หวานเผ็ด ทั้งยังมีความมันจากการขบเห็ด ให้แตกในปาก จบท้ายด้วยความหอมของ ใบชะพลู

ย�ำทูนา่ ซากุ เข้มข้นหยุดไม่ได้

Yam Tuna Saku, the unstoppable deliciousness

After a pub business, Mai completed a master degree in Political Sciences at Ramkhamhaeng University and gave his family metal industry a try until, one day, he decided to choose the right thing for himself. "I've always liked stress-free works. I was really happy even though I worked really hard on every detail of this farm and restaurant with four other constructors including driving piles into the right positions. As long as it makes you happy, it never feels like work."

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ภายในร้านกาแฟ Play Café Inside Play Café

แกงเหลืองปลากะพงหม้อไฟ ให้รสอร่อย แบบแกงเหลืองภาคใต้ แต่ลดความเผ็ดร้อน ให้เป็นรสชาติแบบภาคกลาง จานเด็ดอีกจาน ที่ จ ะขาดไม่ ไ ด้ คื อ ย� ำ ทู น ่ า ซากุ ย� ำ ไทยใส่ ตะไคร้ ซ อยผสมวาซาบิ ที่ ร สปรี๊ ด ขึ้ น จมู ก และหอมตะไคร้ ไ ปพร้ อ มๆ กั น หรื อ หาก อยากกินอาหารญี่ปุ่นที่มีรสชาติและคุณภาพ ดี “Play Sushi” ที่ เ พิ่ ง เปิ ด บริ ก ารใน ส่ ว นด้ า นหน้ าของร้ านได้ไ ม่ถึง ๖ เดือนนี้ ก็อร่อยมาก เพราะมาจากความชอบในการ กิ น อาหารญี่ ปุ ่ น ของ คุ ณ เจ หรื อ กิ ต ติ ก ร ธรรมมาวงษ์ พี่ ช ายของคุ ณ ใหม่ ที่ ผั น ตั ว ไปเรี ย นเป็ น เชฟซู ชิ มาสร้ า งสรรค์ มุ ม ซู ชิ ที่ทั้งอร่อยและมีความฮิปปี้ในอารมณ์ด้วย ความอร่ อ ยของอาหาร ความตื่ น เต้ น ในการจัดร้านที่ไม่น่าเบื่อ เต็มไปด้วยเรื่องราว ที่อยู่ในบรรยากาศซึ่งเชื่อมติดกับธรรมชาติ ที่นั่งริมน�้ำติดคลองส�ำโรง ท�ำให้การมาเยือน Play Farm นั้นถอนตัวกลับบ้านได้ล�ำบาก และเพราะความรู ้ สึ ก สบายของที่ ตั้ ง และ สิ่งแวดล้อมนี่เอง ที่ท�ำให้ส่วนหนึ่งของบ้าน ที่อยู่แปลงร่างเป็นร้านกาแฟ “Play Café” ด้วย

ร้านกาแฟกับของสะสมแต่งร้านในอารมณ์ เดียวกัน ตั้งใจท�ำให้เหมือนกระท่อมในยุโรป เล็กๆ มีเก้าอี้ เตาผิง รูปเก่า แจกัน เครื่องใช้ ดูอบอุ่นเหมือนเป็นกระท่อมชายป่า และยังมี ทีน่ งั่ เป็นเคาน์เตอร์อยูด่ า้ นนอก ซึง่ เป็นระเบียง ให้ เราได้ นั่ ง หั น หน้ า ไปสบตาที่ ว ่ า งของน�้ ำ ในคลอง พระอาทิ ต ย์ ต กดิ น ต้ น ไม้ ร อบๆ แวดล้ อ มด้ ว ยตะบองเพชรในกระถาง อี ก หนึ่งโปรเจกต์ที่คุณใหม่ก�ำลังเริ่มเพาะพันธุ์ เพื่อจะแบ่งปันให้เจ้าของใหม่ซื้อกลับไปเลี้ยง ที่บ้านได้

Another crucial element of Play Farm is a list of exciting menus. Grilled ostrich meat with black pepper served on a sizzling tray, for example, was created after the discovery from our ostrich farming experience that their meat tasted similar to beef but more tender although not as soft as chicken. Perfect as an appetizer or served with rice, Kaeng Khua Hed Thop Bai Cha-phlu is a beautiful feature of the sweet yet spicy pan-roasted coconut curry, the crunchiness of basa mushroom and the aroma of betel leaves. At Farm Play, Kaeng Lueang Pla Kraphong Mor Fai preserves the authentic southern deliciousness of yellow curry but with less spiciness. Yam Tuna Saku is fresh Tuna dices in Thai-styled spicy salad dressing with finely sliced lemongrasses and wasabi. Meanwhile, fine quality Japanese food is also available at "Play Sushi." This recent addition in front of the restaurant

เคาท์เตอร์ทน่ี งั่ ด้านนอก ริมคลอง

Counter seats on the terreace by the canal

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 121

With all its delicious menus, refreshing interior decoration, cool and relaxing vibe by Samrong canal, it is difficult for visitors to leave. It was the comfort offered by the location and its s u r ro u n d i n g e nv i ro n m e n t t h a t transformed a small corner of the house into a cafe named "Play Cafe."

เมนู ใ นร้ า นกาแฟเป็ น เมนู ข องหวานที่ คุ ณ แนน หรื อ นฤมล ประเสริ ฐ ศั ก ดิ์ เลือกความอร่อยมาเคล้าบรรยากาศที่ร้าน ทั้ ง กาแฟร้ อ น กาแฟเย็น เค้ก ช็อกโกแลต ลาวา และวาฟเฟิลไอศกรีม ส่วนชั้น ๒ ของ ร้านกาแฟ แต่งร้านด้วยคอนเซปต์ของชอบที่ เป็นของสะสม ได้ความรู้สึกเหมือนนั่งอยู่ใน ห้องนั่งเล่น ห้องซ้อมดนตรี หรือห้องนอน ของเพื่อนสักคนที่เรารู้จัก แต่เราจะใช้ห้องนี้ เป็นห้องอะไรก็ได้ ไม่ว่าจะเป็น Co-working Space ห้องประชุมจริงจัง ห้องส่วนตัวส�ำหรับ เลีย้ งวันเกิด ปาร์ตเี้ พือ่ น จับกลุม่ ร้องไห้อกหัก หรื อ ชวนเพื่ อ นเก่ า มาจั บ เข่ า หั ว เราะกั น เสียงดังๆ แต่ขอให้จองก่อนล่วงหน้า มา Play Café จิบกาแฟ อ่านหนังสือ คุ ย งาน รั บ ลม ชมฟ้ า ที่ ร ะเบี ย งยามเย็ น แล้วเดินมานั่งกินอาหาร ฟังเพลงโฟล์กเบาๆ เคล้าลมเย็นต่อที่ Play Farm จะกลับบ้าน ด้ ว ยการขั บ รถ หรื อ ใช้ ร ถไฟฟ้ า บี ที เ อส ก็ ส ะดวกสบาย จนท� ำ ให้ ก ลายเป็ น ลู ก ค้ า ประจ�ำไปอย่างง่ายๆ

The warm interior design of Play Cafe is a simulation of small cabins in Europe with comfortable chairs, a fireplace, antique pictures, classic vases, and appliances. Counter seats are placed by the terrace allowing visitors to leisurely enjoy the canal view, the sunset, the surrounding trees, and baby cactuses in clay pots, which Mai plans to sell some of them in the future. Coffee and dessert menus selected by Nan-Naruemol Prasertsak are varied from hot and cold coffee menus to chocolate lava cake, waffle, and ice-cream. The second floor of the cafe is furnished with her favorite collectibles, hence, it gives a vibe of a cozy living room, music rehearsal room or a friend's bedroom. This multi-purpose space, however, could be used as a co-working space, a proper meeting room, a private room for parties or get-togethers upon prior reservation

ช็อคโกแลตลาวา (ลาวาเค้ก) Chocolate Lava

is a result of the personal preference for Japanese food of Jay-Kittikorn Thammawong, the elder brother of Mai, who switched his career path to become a Sushi Chef crafting delightful Sushi with a touch of creativity.

If you have a chance to visit Play Cafe whether to sip some coffee, read some books, discuss businesses or embrace the evening sky at the terrace, make sure to walk a little further to Play Farm to explore new dinner dishes with live folk songs in the background, too. Traveling to and back from Play Farm & Play Cafe by car or BTS Sky Train can be so convenient that many have become a regular.

Play Farm & Play Café เลขที่ ๘๘๒ ซอยเทวา ๓ ถนนเทพารักษ์ ต�ำบลเทพารักษ์ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ Play Farm เปิดบริการทุกวัน เวลา ๑๔.๐๐-๒๔.๐๐ นาฬิกา ชมดนตรีสด เวลา ๑๙.๓๐-๒๑.๐๐ นาฬิกา และ ๒๒.๐๐-๒๓.๐๐ นาฬิกา (หยุดทุกวันพระใหญ่) Play Café เปิดบริการเวลา ๑๐.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา 10.00 – 19.00 นาฬิกา เป็นส่วนที่ติดกับร้านอาหาร เดินเลาะด้านคลองก็ต่อกัน โทรศัพท์ ๐๙ ๒๙๕๑ ๔๑๙๔

Play Farm & Play Café 882 Soi Thewa 3, Thepharak Road, Thepharak Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Play Farm Opens daily from 14.00-24.00, live music from 19.30-21.00 and 22.00-23.00 Closed on every major Buddhist holiday Play Cafe Opens from 10.00-19.00 Phone: 09 2951 4194

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


m a k e a r e s e r vat i o n / 8 8 H o m e s tay N a B a n g K a c h a o

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 123

88 Homestay Na Bang Kachao Thai Living Homestay

๘๘ Homestay ณ บางกะเจ้า บ้านพักแบบวิถีไทย

อยากรู้จักพื้นที่ใดในโลกให้ได้ถึงตัวตนจริงๆ มากกว่า เช็กอิน ก็ต้องเอาตัวเข้าไปสัมผัส ไปเรียนรู้ และถ้าจะให้ดี ก็ต้องเข้าไปขลุกกับคนพื้นที่ เช่นที่นี่ ๘๘ Homestay ณ บางกะเจ้า คือทีท่ จี่ ะท�ำให้การพักผ่อนของคุณสมบูรณ์แบบ มันไม่ใช่ในเรื่องของเครื่องอ�ำนวยความสะดวกสบาย หรือมีพนักงานคอยบริการตลอด ๒๔ ชั่วโมง แต่เราก�ำลัง หมายถึงบรรยากาศของบ้านพักแบบบ้านๆ ที่โอบล้อม ด้วยสวนป่าขนาดย่อม โดยเจ้าของบ้านซึ่งเป็นคนพื้นที่ ไม่ได้ต้อนรับผู้มาเยือนในสถานะลูกค้า แต่ต้อนรับทุกคน ด้วยสถานะของค�ำว่าเพื่อน ...เพื่อนมานอนบ้านเพื่อน...

T

o access the true essence of any place in the world beyond checking-in, you must gravitate yourself experiencing, learning and mingling with the local. 88 Homestay Na Bang Kachao offers an impeccable stay for your vacation neither because of its innovative facilities or 24-hour service attendants but rather because of its down-to-earth coziness enclosed with a small forest garden where the local host does not welcome his visitor as a customer but as a friend. ...A friend staying over at a friend's house… JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ว่ า ด้ ว ยวิ ถี ค วามเป็ น อยู ่ ข องคนไทยมา ตั้งแต่สมัยอดีต ก็คือสถาปัตยกรรมในแบบ บ้านไทยหรือเรือนไทย คนไทยเราผูกพันกับ การอยู่อาศัยของบ้านที่ใช้วัสดุจากไม้มานาน เพราะไม้เป็นวัสดุทสี่ ร้างความอบอุน่ ปลอดภัย และเป็ น กั น เองได้ อ ย่ า งน่ า เหลื อ เชื่ อ และ นั่นเองจึงท�ำให้ทันทีที่เราได้เดินเข้ามาในรั้ว ของโฮมสเตย์ แ ห่ ง นี้ ซึ่ ง ใช้ วั ส ดุ ไ ม้ เ ป็ น หลั ก ในการก่ อ สร้ า ง เราจึ ง รู ้ สึ ก ถึ ง ความร่ ม รื่ น ที่สามารถสูดอากาศหายใจได้ลึกที่สุด กระทั่ง เมื่ อ เจ้ าบ้ านพาไปส่ งยังห้องพัก เราจึงพบ ความน่ า แปลกใจที่ ต ้ อ งปรบมื อ ให้ เพราะ ๘๘ Homestay ณ บางกะเจ้า มีวธิ ผี สมผสาน เรื่องราวของวิถีไทยกับเฟอร์นิเจอร์ตกแต่ง ได้อย่างน่าสนใจ เช่น บนผนังหัวเตียงของ ห้องพัก ตกแต่งด้วยภาพจิตรกรรมลายเสือ ที่ก�ำลังเดินออกมาจากโพรงหญ้า หรือผลงาน หัตถกรรมนกเงือกอยู่บนฝาผนังด้านหัวนอน ในห้ อ งพั ก คุ ม โทนของการพั ก ผ่ อ นให้ ไ ด้ ความนิ่งที่สุด แต่ก็ไม่ทิ้งรายละเอียดความ เป็นไทยผ่านอุปกรณ์ตกแต่งประเภทงานผ้า ลวดลายไทยที่จัดวางไว้บนเตียง Since earlier days,Thai house architecture or traditional Thai house has always been a part of the Thai way of living. We are bonded with living in a wooden house as they provide an indescribable warmth, safety, and amicability. Thus, when we stepped into this homestay mainly built of wood, we immediately felt the cool and shadiness while taking a deep breath of fresh air. After the owner escorted us to the guest room, we ran into another pleasant surprise seeing how 88 Homestay Na Bang Kachao interestingly infuses Thai ways of living with the decor furniture, for instance, the painting of a tiger sneaking out of a thick bush on the headboard or the handcrafted hornbill decorated on the wall behind the bed. The interior design reserves its best calming atmosphere without leaving out the details of Thainess through traditional Thai pattern on the cloth placed upon the bed.

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 125

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


ระหว่างการพักผ่อนเพียง ๒ คืนของเรา ที่ โ ฮมสเตย์ แ ห่ ง นี้ อั น มาจากสาเหตุ ห ลั ก คือการหนีค่าฝุ่นละอองจากกรุงเทพฯ แล้ว อีกเหตุผลของการเลือกไปพัก ณ ที่แห่งนี้ ก็เพราะเราได้ยินเรื่องของ ๘๘ Homestay ณ บางกะเจ้ า มาจากเพื่ อ นชาวต่ า งชาติ ที่เดินทางมาเที่ยวเมืองไทยกันทั้งครอบครัว เพื่ อ นของเราเล่ า ว่ า พวกเขาใช้ เวลาอยู ่ ที่ โฮมสเตย์แห่งนี้อยู่หลายวัน สิ่งที่พวกเขาได้ มันไม่ใช่แค่การพักผ่อน แต่มันคือการใช้เวลา ที่มีค่ากับครอบครัว ในที่ที่พวกเขาไม่ต้อง กลั ว ว่ า จะมี พ นั ก งานมาคอยตามวุ ่ น วาย หรือเปล่า พวกเขารูส้ กึ ถึงค�ำว่า “อยูแ่ บบไทย” ในการมาพั ก ที่ แ ห่ ง นี้ ซึ่ ง พอเราถามกลั บ ว่ า อยู ่ แ บบไทยในความหมายของพวกเขา คืออะไร เพื่อนเราบอกว่า “มันคือวิถีของ การใช้ชีวิตแบบไม่มีพิธีรีตอง เป็นการได้รับ การดู แ ลเอาใจใส่ เ ป็ น อย่ า งดี จ ากเจ้ า บ้ า น รูส้ กึ ถึงความเป็นกันเองและปลอดภัย คล้ายว่า ที่นี่คือบ้านหลังที่ ๒” ระหว่ า งเรานั่ ง จิ บ กาแฟห้ อ ยขาอยู ่ ที่ ระเบียงหน้าห้องพักในยามเช้า เราได้พบกับ คู่รักชาวอเมริกันคู่หนึ่งซึ่งเพิ่งแต่งงานเมื่อ ไม่นานมานี้ พวกเขาเล่าว่าเมือ่ สามีถามภรรยา ว่าอยากจะไปฮันนีมูนที่ไหน เธอตอบทันทีว่า ที่ “บางกะเจ้า” แล้วคู่รักก็ช่วยกันเสิร์ชหา มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

The reasons for our two-night stays at this homestay was mainly to escape from the dust pollution in Bangkok and because we heard about the wonderful experience at 88 Homestay Na Bang Kachao from our foreign friends who recently visited Thailand with his family. After days of staying over, they felt their time was preciously spent with their family without getting all tensed up worrying if staffs would follow them everywhere. Throughout their stay, they could literally sense the "Thai way of life." We asked what he meant and he explained, "It's a way of living free from formality where visitors are so warmly taken care of by

the owner that they feel comfortably relaxed and safe as if the place was their second home." One morning, while we were taking a sip on our coffee with our legs dangling out at the edge of the terrace, we met a recently wedded American couple. They told us when the husband asked his wife where she wanted to go on their honeymoon vacation, she instantly said "Bang Kachao." Then, they started to search online for a place to stay, found 88 Homestay Na Bang Kachao and clicked to confirm the reservation in less than two minutes.

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 127 For us, despite all our frequent hotel experiences abroad ranging from five-star hotels, guesthouses to Airbnb accommodation, we find renting a place with a local host the most exceptional. Here, we got to know new friends in the settings with authentic Thai way of living, exploring interesting activities including drinking refreshingly sweet and fragrant Nam Hom coconut juice, tasting different organically grown fruits by local farmers, witnessing rare and gigantic sacred plants, jumping and floating in the canal, cycling around the island dubbed as the Best Urban Oasis of Asia by Time Magazine back in 2006. The fascinating charms of this homestay go beyond what the eyes could see. To find out more, we highly recommend you to come and experience them yourself.

ทีพ่ กั จนพบกับ ๘๘ Homestay ณ บางกะเจ้า และใช้เวลาเพียงไม่ถงึ ๒ นาที ในการตัดสินใจ คลิกจองห้องพักออนไลน์ทันที ส�ำหรับเราแล้ว แม้จะมีโอกาสได้ไปพักผ่อน ตามโรงแรมในต่างประเทศอยู่บ่อยๆ ก็ตาม เคยนอนมาทั้งโรงแรม ๕ ดาว เกสต์เฮาส์ ที่พักแบบ Airbnb แต่เรากลับพบว่าการเช่า ที่พักแบบมีเจ้าบ้านต้อนรับนั้นยอดเยี่ยมที่สุด มันเป็นเรื่องของการท�ำความรู้จักเพื่อนใหม่ ผ่ า นบรรยากาศของที่ พั ก ในแบบวิ ถี ไ ทย รวมไปถึงการท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจ ไม่ ว ่ า จะดื่ ม มะพร้ า วน�้ ำ หอม กิ น ผลไม้ ปลอดสารจากชาวสวน ดูไม้มงคลต้นใหญ่ หายาก โดดน�้ำลงคลองตีโป่ง ปั่นจักรยาน ชมเกาะที่ ไ ด้ รั บ การยกให้ เ ป็ น The Best Urban Oasis of Asia โดย TIME แมกกาซีน ในปี ๒๕๔๙ เสน่หข์ องทีพ่ กั หลังนีย้ งั มีมากกว่าทีต่ าเห็น แต่จะเป็นอะไรอีกนั้นอยากให้มาสัมผัสด้วย ตัวเองมากกว่า

๘๘ Homestay ณ บางกะเจ้า เลขที่ ๘๘ หมู่ ๑๐ ต�ำบลบางกอบัว อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๖๘๘๙ ๒๐๙๘

88 Homestay Na Bang Kachao 88 Moo 10, Bang Ko Bua Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan. Phone: 08 6889 2098

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


samutprakan hot shot

A temple fair

เทศกาลงานวัด

เทศกาลงานวัด / มานะ สุขนิยม A temple fair / Mana Sukniyom

เทศกาลงานวัด / สุจินดา ชุ่มลาภ A temple fair / Sujinda Chumraap

มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZI NE


Travel

@samutprakan 129

เทศกาลงานวัด / กุศล ฟ้าธนาธร A temple fair / Kusol Fahthanathorn

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


c a l e n da r / S a m u t p r a k a n 2 0 1 9 E v e n t

Event

Calendar

ปฏิทินท่องเที่ยว

จังหวัดสมุทรปราการ

Swan-Centipede Flag Procession

April 13, 2019 The procession to begin at Phra Pradaeng Cultural Center and visit several places in Phra Pradaeng Market, Samutprakan มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

งานประเพณี แห่หงส์ธงตะขาบ

วันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ขบวนแห่เริ่มต้นที่ศูนย์วัฒนธรรมอ�ำเภอพระประแดง ไปยังจุดต่างๆ ของตลาดพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ Sa mu tpr a ka n Tr avel mag A ZINE


Travel

@samutprakan 131

Phra Pradaeng Songkran Festival

April 20 - 22, 2019 The City Hall, Phra Pradaeng District, Samutprakan

งานประเพณีสงกรานต์ พระประแดง

ระหว่างวันที่ ๒๐-๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

JA N UA RY - FEB RUA RY 2019


องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ

Samutprakan Provincial Administrative Organization samutprakan.pao@gmail.com

www.samutprakan-pao.go.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.