Journal a&d ปีที่ 1

Page 43

การออกแบบภาพยนตรแอนิเมชันเพื่อแสดงอัตลักษณพื้นถิ่นเรื่อง พญาเม็งราย Film Animation Design to Show Endemic on Phaya Meng Rai

ชัยมงคล ธรรมทวีนันท1 วัฒนพันธุ ครุฑะเสน2 และ ธนาทร เจียรกุล3

Abstract

This qualitative research aimed to study design film animation that showed the Lanna identity. The study covered three forms of identity: 1.) Personal Identity 2.) Social Identity 3.) Cultural Identity. The result revealed these three forms of identity reflected the identity of each side clearly. The designed animation was presented to experts and examiners: 1.) Personal identity presented through the Phaya Meng Rai was 78 %recognized by the costumes; 2.) Social identity was 48 % recognized by picture of landscape that show the cold feeling. Another was 42 % a picture of mountain. 3.) The highest was 71% recognized by cultural identity presented through Kong Sa Bud Chai and next is the cultured of Paktung 66 %. This research would be useful to designers, especially in animation. It can be applied to produce further creative designs. Keywords : 1. Identify, 2. Local, 3. Animation, 4. Lanna, 5. Phaya Meng Rai

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการออกแบบภาพยนตรแอนิเมชันที่แสดงถึงอัตลักษณพื้นถิ่น ลานนา ศึกษารูปแบบของการแสดงถึงอัตลักษณ โดยใชปจจัยการนำเสนอถึง อัตลักษณ 3 ดานไดแก 1. การนำเสนออัตลักษณ ปจเจกบุคคล 2. การนำเสนออัตลักษณทางสังคม 3. การนำเสนออัตลักษณทางวัฒนธรรม ผลการวิจัยพบวา เกณฑทั้ง 3 ดานที่นำ มาใชในการวิเคราะห ทำใหมีแนวทางในการออกแบบงานที่สื่อถึงอัตลักษณใหเห็นในแตละดานอยางชัดเจน งานแอนิเมชันที่ผูวิจัยไดทำการออกแบบ ไดนำเสนอแกผูเชี่ยวชาญและบุคคลทั่วไปแสดงใหเห็นวา 1) อัตลักษณสวนบุคคลนำเสนอผานพญาเม็งราย รับรูไดจากเครื่องแตงกายรอยละ 78 2) อัตลักษณดานสังคมรับรูจาก ภูมิประเทศภาพบรรยากาศหมอกไอเย็น แสดงถึงความหนาวเย็น รอยละ48 รองลงมาคือภาพ ทิวเขาสลับซับซอน รอยละ 42 3) อัตลักษณทางวัฒนธรรม นำเสนอผานประเพณีการตีกลองสะบัดชัย ผูค นรับรูไ ดมากสุดรอยละ 71 รองลงมาคือประเพณีการ ปกตุงรอยละ 66 งานวิจยั นีจ้ ะเปนประโยชนแกนกั ออกแบบ โดยเฉพาะงานแอนิเมชันสามารถนำแนวคิดของการวิจยั ไปตอยอดในการคิดสรางสรรค งานออกแบบที่ไดอยางลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น คำสำคัญ : 1.

อัตลักษณ, 2. พื้นถิ่น, 3. แอนิเมชัน, 4. ลานนา, 5. พญาเม็งราย

1 2 3

นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2554 ผศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555

วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.