Rhythm-magazine-issue8

Page 1

live as your life

Volume 1

Issue 8

June 2012

MAGAZINE

FREE COPY

RHY THM

ASK EXPERT

นิสันต์ ยกสวัสดิ์

NEW WAVE

ALL THAILAND MARCHING BAND COMPETITION 2012

พงศกร เรืองโรจน์ แรงบันดาลใจน�ำมาซึ่งความส�ำเร็จ

www.Rhythm-Magazine.com




EDITOR ’ S RHYTHM

หลังจากเปิดเทอมได้เพียงครึ่งเดือน มหกรรม การแข่ ง ขั น วงโยธวาทิ ต ก็ ม าถึ ง อี ก แล้ ว !! โอ้ โ ห้ อะไรจะเร็วป่านนั้น ?? ก็เพราะฤดูกาลนี้ ต้องยก ให้ทาง ยามาฮ่า ไทยแลนด์ เขาน่ะซิครับ เพราะ เป็นการแข่งขัน “All Thailand Marching Band Competition 2012” เป็นการแข่งขันแบบ “แบ่ง ระดับชัน้ ” 3 ระดับชัน้ คือ ระดับชัน้ ไม่เกินมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ไม่เกินมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับประถมศึกษา โดยแบ่งประเภทเป็น 2 ประเภท คือ “Display” (แปรขบวน) และ “Marching” (เดินแถว) ยิ่งไปกว่า นั้น สถานที่แข่งขันก็คือ อิมแพคอารีน่า เมืองทอง ธานี ครับ นับเป็นการจัดการแข่งขันที่มีพัฒนาการ และได้มาตรฐานระดับนานาชาติได้เลยครับ สิ่งที่ผม ได้สัมผัสในงาน คือกลุ่มผู้ปกครอง ญาติพี่น้อง ของ นักดนตรี และกองเชียร์เพื่อนในสถาบันเดียวกันที่มา เชียร์ให้ก�ำลังใจกันอย่างล้นหลาม เป็นบรรยากาศ แห่งความสุขมากๆ ดูไปแล้วเหมือนเทศกาลการแสดง ดนตรีอย่างมาก รายละเอียดจะเป็นอย่างไร ไม่ยาก

ครับ เปิดอ่านได้เลยครับ !! ยังมีเนื้อหาที่น่าสนใจที่ ได้น�ำมาให้ได้ดื่มด�่ำกัน อาทิเช่น เยาวชนไทยที่ได้ไป สัมผัส DCI รวมถึงเรื่องราวของ พี่หยู หรือครูหยู แห่ง อรรถวิทย์ฯ ยังไม่หมดครับ ยังมีภาพบรรยากาศสวย ๆ จากการทัวร์การแสดงและการแสดงจริงของวง ดรัม คอร์ป วงแรกของประเทศอีกด้วยครับ

ท้ายนี้ขอให้ทุกคนมีความสุข สนุกกับเรื่องราว ในฉบับ และอย่าพลาดกับเรื่องราวต่อไปกับการเกาะ ติด The 8th Thailand Drumline & Color Guard Contest 2012 และ Marching Band International Contest 2012 นะครับ บรรณาธิการอ�ำนวยการ วสวัตติ์ วะดี editor-rhythm@hotmail.com

โรงเรียนวัดราชบพิธ กรุงเทพมหานคร

4 RHYTHM





ContentS Editor’s Rhythm.......................... 4 Calendar.................................10 Event News.............................12 YAMAHA.................................14

18

ALL THAILAND MARCHING BAND COMPETITION 2012

ถ้วยพระราชทาน.........................16 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โรงเรียนเมืองพัทยา

ถ้วยพระราชทาน.........................18 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย

ถ้วยพระราชทาน.........................20 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี โรงเรียนบ้านเวียงพาน

ถ้วยพระราชทาน.........................21 พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ โรงเรียนสุรนารีวิทยา

SIAMYTH DRUM & BUGLE CORPS...22

21

DID YOU KNOW........................24 Front Ensemble Auditions By The Blue Devils

Ask Expert...............................26 นิสันต์ ยกสวัสดิ์

New Wave..............................28 พงศกร เรืองโรจน์

Art & Acting............................30 THINKING DESIGN

Sectional.................................32 Leading instructors 8 RHYTHM

RHYTHM TEAM ที่ปรึกษา บรรณาธิการอ�ำนวยการ บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ Graphic Design ที่ปรึกษากฎหมาย

ภราดามีศกั ดิ์ ว่องประชานุกลู ดร.ชัยพฤกษ์ เมฆรา อ.สุรพล ธัญญวิบูลย์ อ.นิพัต กาญจนะหุต อ.กิตติ เครือมณี ณรงค์ คองประเสริฐ วสวัตติ์ วะดี ธวัชชัย ใจมุข จตุรภัทร อัสดรชัยกุล เกษม ด้วงสน ประมาณ จรูญวาณิชย์ ชนัญ บุญพุทธารักษา

บริษัท ริธมิคส์ จ�ำกัด

เลขที่ 106/126 หมู่ 7 หมู่บ้านชัยพฤกษ์ ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000 โทร.053-334556 โทรสาร.053-334557 E-mail: rhythmmagazine@hotmail.com www.Rhythm-Magazine.com



CALENDAR Shostakovich Gala

Piano soloist Eun Young Suh, chair of the Piano Department at Mahidol College of Music is featured with TPO in a performance of Shostakovich’s Piano Concerto No. 1. She is joined in the performance by TPO principal trumpet Surachet Chanoksakul and led by Maestro Gudni Emilsson. The program concludes with one of the most popular symphonies of all time – Shostakovich 5. Concerts: 15 June 2012 / 7.00 p.m. / MACM 16 June 2012 / 4.00 p.m. / MACM Conductor: Gudni A. Emilsson Soloist: Eun Young Suh, Piano Surasi Chanoksakul, Trumpet Program: Thai Traditional Music, Dmitri Shostakovich: Piano Concerto No.1 op.35 Dmitri Shostakovich: Symphony No.5 in D minor, op.47

HIROSHI MATSUSHIMA FLUTE RECITAL 2012

Solidarity Concert

JUNE 2012 คณะเศรษฐศาสตร์ มช. จัดการแสดง คอนเสิร์ตการกุศล “Solidarity Concert” สมทบทุนสร้างอาคารเรียนและเอนกประสงค์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่ ว มกั บ โรงละครกาดเธี ย เตอร์ ในเครื อ อุทยานการค้า พบวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิก แห่งประเทศไทย (Thailand Philharmonic Orchestra หรือ TPO) วาทยกรโดย พันตรี ประทีป สุพรรณโรจน์ และ Violin Solo ได้แก่ พิชญาภา เหลืองทวีกิจ และ Saxophone Solo ได้แก่ วิศุวัฒน์ พฤกษวานิช โดยจะเปิด การแสดงในวันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน 2555 เวลา 18.30 น.เป็นต้นไป ณ โรงละครกาด เธียเตอร์ ชั้น 5 อุทยานการค้ากาดสวนแก้ว ผูส้ นใจสามารถบริจาค – ส�ำรองบัตรทีน่ งั่ ได้ที่ คณะเศรษฐศาสตร์ มช. หมายเลขโทรศัพท์ 053-942235 , 053-952210

Satoshi Yagisawa เตรียมพบกับการกลับมาเยือนเมืองไทย อี ก ครั้ ง ของเขา Satoshi Yagisawa กับการแสดงคอนเสิร์ตของวง Nontri Orchestrawinds ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ส นใจ เข้ า ร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนี่ ง ในคอนเสริ์ ต นี้ รีบส่งในสมัครด่วนนะครับ เพื่อท่านจะได้ มาเป็นส่วนหนึง่ ในการร่วมซ้อมและแสดง ร่วมกับวง NOW โดย อาจารย์สุรพล และ Mr.Satoshi Yagisawa และเตรียมพบกับบทเพลง "Lum Pang" ที่แต่งเพื่อเมืองไทย และร่วมแสดงกับวงคนไทย 100% Workshop 23-24 June 2012 Concert NOW. Youth Orchestra Wind 24 June 2012 : Time 7 pm.Concert Nontri Orchestra Wind 25 June 2012 : Time 7 pm. All activities at Music Hall 2nd floors Chulabhornpisalsilp bld. Faculty of Humanities Kasetsart University more information tel. 084-084-8668, 086-997-1042

Satoshi Yagisawa Hiroshi Matsushima, Flute Instructor at Mahidol University College of Music and Principal Flute of the Thailand Philharmonic Orchestra will collaborate with the faculty Pianist, Wen-Hui Lily Lin, on the program consisting of masterpieces from different era. Tue, June 19, 2012 7.00 p.m. MAC Ticket Price: 200 / 100 (Students)

10 RHYTHM

การกลับมาอีกครั้งของเทศกาลดนตรีแจ็สชั้นน�ำ ระดับประเทศที่หลายคนรอคอย The River Jazz Festival 2012 : The most fascination Concert along Chaophaya River ดื่มด�่ำเสียงเพลงจาก ศิลปินแจ็สระดับโลก ท่ามกลางบรรยากาศริมแม่น�้ำ เจ้าพระยา ไม่ว่าจะเป็นสุดยอดต�ำนาน Big Band ที่ ได้รบั ความนิยมมากทีส่ ดุ ในโลก The Glenn Miller Orchestra เจ้าของรางวัล Oscar สาขา Best Sound Recording อย่าง Moonlight Serenade, In the mood, Tuxedo Jounction บัตรราคา 1,500 บาท / วัน และ 2,500 บาท / 2 วัน รายได้สว่ นหนึง่ สมทบทุน สถาบันการแพทย์สยามิทราธิราชคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ TTM Tel : 0-2262-3456


แผนการเรียนศิลป์-ดนตรี โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย เชียงใหม่

World Music Contest 2009, Kerkrade, Netherlands.

ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่

ฝ่ายวิชาการ (ศิลป์-ดนตรี)

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกมัธยม (053) 245572-5 ต่อ 421, 404, 406

Fax. (053) 245571 www.montfort.ac.th

โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ด�ำเนินงานด้านการศึกษาในสายสามัญโดยเฉพาะ แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์, แผนการเรียนศิลป์-ฝรัง่ เศสและภาษาจีน นอกจากนัน้ ยังมีกจิ กรรมทีส่ ร้างชือ่ เสียงให้กบั โรงเรียนเป็นอย่างยิง่ คือ กิจกรรมวง โยธวาทิต โดยโรงเรียนได้สง่ เสริมกิจกรรมด้านดนตรีสากล ให้กบั นักเรียนอย่างต่อ เนื่องในลักษณะนอกเวลาเรียน และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระศิลปะ แผนการเรียนศิลป์- ดนตรี เริ่มขึ้นในปีการศึกษา 2553 เพื่อรองรับความ ต้องการของนักเรียน ที่ต้องการเรียนวิชาดนตรีเป็นวิชาหลัก และสามารถน�ำไป สอบเพื่อศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยได้ ซึ่งผลงานด้านวงโยธวาฑิตและด้าน ดนตรีเป็นทีป่ ระจักษ์ตอ่ สาธารณชนอย่างชัดเจนเสมอมาตลอดระยะเวลากว่า 80 ปี


EVENT NEWS ฉลองสัมพันธไมตรีไทย-สวิส 1-2 มิถุนายน 2555 คอนเสิร์ตเฉลิมฉลองสัมพันธไมตรีไทย-สวิส โดยวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลไทย ในการดูแลของวิทยาลัย ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการแสดงสุดพิเศษ เพือ่ เฉลิมฉลอง สัมพันธไมตรีทางการทูตระหว่างประเทศไทยและสวิสเซอร์แลนด์ครบ รอบ 80 ปี โดยมีวาทยากรชาวสวิส Claude Villaret มาวาดลวดลาย บาตองในผลงานใหม่ “Sirimadi” ของ Fabian Müller คีตกวีรว่ มสมัย ชาวสวิส ซึง่ นับได้วา่ เป็นการแสดงสูส่ ายตาสาธารณชนครัง้ แรกของโลก นอกจากนั้น วง TPO ได้บรรเลงร่วมกับ Pi-Chin Chien นักเชลโลชาว ไต้หวัน ทีร่ ว่ มบันทึกเสียงในผลงานอัลบัม้ ของ Fabian Müller มาแล้ว

คอนเสิรต์ “Sounds of Poland” เมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม 2555 พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธาน องคมนตรีและรัฐบุรุษ ได้ให้เกียรติมาชมการแสดงของ วงดุริยางค์ฟีล ฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย (TPO) ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลไทย ในการดูแลของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในคอนเสิรต์ “Sounds of Poland” โดยมี Gudni Emilsson หัวหน้าวาทยกร ประจ�ำวง มาควบคุมวงในผลงานเพลงที่จัดแสดงเป็นครั้งแรกของโลก ในบทเพลง Violin Concerto No. 2 และได้ Marta Magdalena Lelek นักไวโอลินที่โดดเด่นและน่าสนใจที่สุดคนหนึ่งของโปแลนด์ มา เป็นศิลปินรับเชิญ

สานสัมพันธ์ทางการทูตไทย-คาซัคสถาน 26 พฤษภาคม 2555 ในวโรกาสครบรอบ 20 ปี สานสัมพันธ์ ทางการทูตไทย-คาซัคสถาน วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัย มหิดล ร่วมกับสถานทูตคาซัคสถาน ประจ�ำประเทศไทย ได้จัด คอนเสิร์ต Mart Bisengaliev’s concert in Thailand พบกับ Mart Bisengaliev นักไวโอลินที่นิตยสาร The Times ยกย่อง ว่าเป็น “นักโซโลไวโอลินอัจฉริยะ” และนิตยสารนิวยอร์กไทม์ กล่าวว่า "หัวใจและสไตล์การเล่นของเค้าเป็นจุดเด่นของไวโอลิน ฝีมอื พิเศษในช่วงต้นศตวรรษ” Mart Bisengaliev ได้มาโชว์ฝีมอื ไวโอลินให้ประจักษ์ในความยอดเยี่ยมด้วยหลากหลายบทเพลง จากหลากหลายนั ก ประพั น ธ์ อ าทิ เช่ น Kreisler, Jenkins, Wieniawski, Rachmaninov, Tarrega, Elgar, Jenkins, Sarikiz, Tulebayev, Elgar, Albeniz ด้วยการบรรเลงในรูปแบบ String Orchestra

คอนเสิรต์ Kizuna ขอบใจน�ำ้ ใจไมตรี

เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2555 วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่ง ประเทศไทย (TPO) ภายใต้การดูแลของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เดินทางไปแสดงคอนเสิร์ต Kizuna ที่ Sumida Triphony Hall กรุงโตเกียว ประเทศญีป่ นุ่ เพือ่ เป็นการ ขอบคุณชาวญีป่ นุ่ ในน�ำ้ ใจไมตรี และความช่วยเหลือประเทศไทย มาอยูเ่ สมอ จากการสนับสนุนภายใต้โครงการน�้ำใจไทย น�ำ้ ใจคลัง กระทรวงการคลัง 12 RHYTHM


Marcato Saxophone Pro Shop

ส�ำหรับผู้ที่รักแซกโซโฟน เรามีแซกโซโฟนให้ท่านเลือกมากมาย ตั้งแต่ระดับนักเรียนถึงระดับมืออาชีพ พร้อมทั้งอุปกรณ์และการรับประกัน

เชิญทดลอง

Yanagisawa Saxophone A-992 นวัตกรรมตัวเครื่องบรอนซ์ พร้อมการตอบสนองที่ชัดเจน ด้วยช่วงกว้างของไดนามิค ที่ให้เสียงอันอบอุ่นและไพเราะ

Marcato Music Co.,Ltd. บริษัท มาร์คาโต้ มิวสิค จ�ำกัด 3 ซอยรามค�ำแหง 12 หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-7173976-77, 086-7990077 แฟกซ์ 02-7173975 www.marcato.co.th Email: info@marcato.co.th

ตัวแทนจ�ำหน่าย Yamaha, kenneth, Yanagisawa, Hoffner String, Meyer Mouthpiece, Jody Jazz Mouthpiece, Otto Link Mouthpiece, Claude Lakey Mouthpiece, Best Brass, Sibelius Software, Bam Case


เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี ภาพ: YAMAHA Band & Orchestra Team,Thailand

YAMAHA ALL THAILAND MARCHING BAND COMPETITION

2012

14 RHYTHM


การประกวดวงโยธวาทิตแห่งประเทศไทย ( Yamaha All Thailand Marching Band Competition) ชิงถ้วยพระราชทานฯ ผนึกก�ำลังส่งเสริมความสามัคคี โดยบริษทั สยามดนตรี ยามาฮ่า จ�ำกัด และโครงการ Think Earth ตระหนักถึงความส�ำคัญของเยาวชน ร่วมผลัก ดันสนับสนุนและส่งเสริมเด็กไทย โชว์ความสามารถในกาบรรเลงดนตรีวงโยธวาทิตพัฒนาขีด ความสามารถเด็กไทยอย่างแท้จริง “Yamaha All Thailand Marching Band Competition” กิจกรรมดนตรีที่เปิดโอกาสเด็กไทยได้กล้าแสดงความสามารถต่อหน้าสาธารณชน ตลอด จนสร้างความภาคภูมิใจ และความส�ำเร็จกับสถาบันการศึกษา และครอบครัว ที่เป็นเสมือน บันไดในการเริ่มต้นและเป็นก้าวสู่เวทีดนตรีโยธวาทิตระดับโลก

RHYTHM 15


ถ้วยพระราชทาน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

ประเภท Display ระดับไม่เกินชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

โรงเรียนเมืองพ Pattaya City School

16 RHYTHM


โรงเรียนเมืองพัทยา (Pattaya City School)

ศาลาว่าการเมืองพัทยา ต.นาเกลือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 038-245220 Theme: The Lost World Music: Jurassic Park Director: นางจินตนา แม้นสุรินทร์ Band Director: นายนพสิทธิ์ชา ณ นคร Staff: นายสุรชัย ชูธงชาติ, นายอมร ดุลยะสิทธิ์, นายพิทักษ์ ศรีทัง, นายวินัย ก�ำจร นางสาวนิภารัตน์ บุญเพ็ชร นายกิตติชัย คลองน้อย Conductor: นายธีรพงษ์ โพธิเวส, นายภูริพันธ์ ห่อประทุม, นายอภิวุฒิ มินาลัย

พัทยา

RHYTHM 17


ถ้วยพระราชทาน

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ประเภท Display ระดับไม่เกินชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

โรงเรียนหัวหินวิท

Huahin Viithayalai

18 RHYTHM


ทยาลัย โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย (Huahin Viithayalai)

240 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77110 โทรศัพท์ 032-511233 โทรสาร 032-533771 www.hv.ac.th Theme: Founth Element Music: Founth Element Director: บาทหลวง สมิต แดงอ�ำพันธ์ Band Director: นางสาวศิริพร ดิษฐวงศ์ Staff: นายน�ำเกียรติ์ เสียงใส Conductor: นายน�ำเกียรติ์ เสียงใส

RHYTHM 19


ถ้วยพระราชทาน

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประเภท Display ระดับไม่เกินชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Wiangphan School

โรงเรียนบ้านเวียงพาน โรงเรียนบ้านเวียงพาน (Wiangphan School)

33 ม.3 ต.เวียงพานค�ำ อ.แม่สาย จ.เชียงราย โทรศัพท์ 053-731708 โทรสาร 053-733626 www.wps.rr.in.th Theme: Mulan Music: Mulan Act 1, 2 , 3 , 4 Director: นายปุณณวิช เทพสุรินทร์ Band Director: นายวรพจน์ อ่อนละเอียด Staff: นายวรพจน์ อ่อนละเอียด นายรชตะ จันทร์พิศ นายทรัพย์สมบูรณ์ มหาเมฆ นายทศพร วรรณงาม นางสาวจุฑาธิป สายทอง นายศักรนันท์ ชุ่มปาน นายจักรินทร์ อาภรณ์แก้ว Conductor: นายวรพจน์ อ่อนละเอียด นายรชตะ จันทร์พิศ นายทศพร วรรณงาม นางสาวจุฑาธิป สายทอง

20 RHYTHM


โรงเรียนสุรนารีวิทยา (Suranari Witthaya School)

248 ถนนมิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 044-255739 www.srnclms.com เพลงที่ใช้ประกวด มาร์ชเพื่อนคู่คิด, March “National Emblem” นายวิวัฒน์ชัย เศรษฐชัย ผู้อ�ำนวยการ ผู้ฝึกสอน นายอดุลย์ เปลื้องสันเทียะ นางสาวนาฏอนงค์ ประพิณ

ถ้วยพระราชทาน

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ

ประเภท Marching

โรงเรียนสุรนารีวิทยา

SURANAREE Witthaya School

RHYTHM 21


10th Anniversary

SIAMYTH DRUM

22 RHYTHM


SIAMYTH Live in CHIANGMAI

M &B & UGLE CORPS

Mayan,, The Tribal Effect

Photo:Diksha Fhon Whanta

RHYTHM 23


เรื่อง: จตุรภัทร อัสดรชัยกุล ภาพ: จิรัฏฐ์กร ชัยเบญจพล

DID YOU KNOW

The Blue Devils

ถ้าถามตัวเองและคนรอบตัวก่อนเลยว่าเล่นวงโยฯมาเนีย่ มีวงอะไรบ้างทีน่ กั วงโยฯทัว่ โลกมากกว่า ร้อยละ 90 ต้องรู้จักคงหนีไม่พ้นวงตัวพ่อตัวแม่ทางฟากอเมริกาโน้นแหละ ไม่ว่าจะเป็น Blue Devils Cavaliers หรือจะแชมป์ปลี า่ สุดอย่าง The Cadets เมือ่ รูอ้ ย่างนัน้ แล้วความฝันในการไปเข้าร่วมเป็น สมาชิกของวงเหล่านี้ ดูจะเป็นอีกหนึ่งความฝันของเด็กวงโยฯหลายๆคน วั น นี้ เ ราจะมาพู ด ถึ ง การสอบคั ด เลื อ กเข้ า เป็ น สมาชิ ก ในต� ำ แหน่ง Front Ensemble (หรื อ ที่ เ รารู ้ ๆ กั น ว่ า Pit Percussion) แบบค่อนข้างเจาะลึกลงมา หน่อย กับวงทีไ่ ด้รบั การยอมรับว่าเป็นเบอร์ 1 ของโลกจริงๆ The Blue Devils เรือ่ งอืน่ ๆ เราเคยได้พูดถึงไปตั้งแต่เล่มแรกแล้วว่าการ จะไปสอบคัดเลือกต้องเตรียมตัวอย่างไร บ้าง เล่มนี้เราจะมาบอกว่า ไปถึงที่โน่นแล้ว เราจะต้องเจอกับอะไรบ้าง การสอบคัด เลือกปีล่าสุดในต�ำแหน่ง Percussion ของ Blue devils แบ่งเป็น 2 แคมป์ นั่นคือวัน ที่ 3-4 ธันวาคม และวันที่ 10-11 ธันวาคม เราจะต้องเข้าสอบคัดเลือกในแคมป์ใดแคม ป์หนึ่งตามที่ทางวงก�ำหนดหรือจะ 2 แคมป์ เลยก็ได้ …ส�ำหรับการสอบจะแบ่งออกเป็น 24 RHYTHM

ส่วนๆ ไม่ต่างจากบ้านเราสักเท่าไหร่นัก แรกเริ่มเลยก็ให้เล่นแบบฝึกหัดหรือที่เรียก กันว่า Auditions Packet ทีท่ างวงจะให้เรา มาตอนทีเ่ ราสมัครเข้าสอบคัดเลือก หลังจาก นัน้ ตอนบ่ายก็ถงึ คิวสอบ Solo เขาจะให้เรา เล่นเพลงทีละคน ซึง่ จะให้เราเล่นเพลงทีเ่ รา เตรียมมาและก็ Sight Reading เหมือนการ สอบคัดเลือกทั่วไป ซึ่งกว่าจะครบทุกคนก็ คงหมดวันแรกพอดี ส�ำหรับวันที่ 2 หลักๆแล้วจะเป็นการ สอบ Ensemble หรือการสอบเล่นรวมกับ คนอื่นใน Section โดย ทดสอบไหวพริบ ในการฟัง การเล่นร่วมกับผู้อื่นว่าเราเป็น อย่างไรบ้าง ฟังเป็นไหม เล่นเข้ากับคนอื่น ได้ไหม รู้จักปรับจูนให้เข้ากันกับผู้อื่นได้

หรือไม่ ซึ่งถ้ามีผู้เข้าสอบคัดเลือกเยอะกว่า จะเวียนกันมาสอบจนครบก็หมดวันพอดิบ พอดี หลังจากผ่านขั้นตอนการสอบครบ ทุกอย่างแล้ว ทาง Staff จะเรียกเราไปพบ เป็นการส่วนตัว เพื่อพูดคุย แนะน�ำ หรือ ติชมเกี่ยวกับการสอบของเรา ดีตรงไหน ไม่ดีตรงไหน ต้องแก้ตรงไหน ควรปรับปรุง ตรงไหน ซึง่ นัน่ จะท�ำให้เราได้รแู้ บบละเอียด ว่าเรามีขอ้ บกพร่องอย่างไรบ้าง นีค่ อื สิง่ ทีจ่ ะ เกิดขึ้นทั้ง 2 วันส�ำหรับการสอบคัดเลือก ที่ใครๆก็จะต้องเจอ ส่วนเรื่องเทคนิคหรือ เคล็ดลับในการสอบนั้นก็ขึ้นอยู่กับทุกๆ คน ว่าเตรียมตัวเตรียมพร้อมมามากน้อยขนาด ไหน ซึ่งสุดท้ายแล้วผลดีก็เกิดอยู่กับเรา ถึง แม้จะสอบไม่ติด จริงไหม???


Amethyst

Mallet Instruments

ผลิตและจัดจ�ำหน่าย Marimba Vibraphone Xylophone โครงสนาม รับซ่อมเครื่อง Percussion ทุกประเภท Amethyst Mallet Instrument 54/3 หมู่ 4 ต.คลองจุกกระเฌอ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 โทร. 089-8923420 www.amethystmallets.com


เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี ภาพ: จตุรภัทร อัสดรชัยกุล

ASK EXPERT

นิสันต์ ยกสวัสดิ์ เฮี๊ยบ เนี๊ยบ เฉียบ ทุกวันนีผ้ มมีความสุข พร้อมและยินดีทจี่ ะ แบ่งปันในสิง่ ทีม่ คี นื ให้กบั สังคม ทุกอย่างทีม่ ถี อื เป็นก�ำไร จะมีประโยชน์ใดหากจะหวงไว้ ผมยัง คงเรียนรู้ตามอัตภาพในแบบของผม ทั้งจาก ผูท้ เี่ หนือและด้อยกว่า เพราะผมถือว่าเป็นครู ของผมทั้งสิ้น

1st Place Division I, 2012 26 RHYTHM

"เรียนรู้ตามอัตภาพ" ค�ำนี้ส�ำหรับหลายๆคน อาจจะฟัง แล้วรูส้ กึ เหมือนเรือ่ ยเปือ่ ย บางคนอาจคิดถึงอารมณ์ในเชิงตัดพ้อ เสียด้วยซ�้ำ แต่ส�ำหรับผมแล้ว ไม่เลย ผมตีความหมายค�ำค�ำนีว้ า่ หมายถึง "การเรียนรูอ้ ย่างเต็มที่ เท่าทีโ่ อกาสและปัจจัยเกือ้ ณ เวลานั้นจะอ�ำนวย" และชีวิตของผมตั้งแต่วัยเยาว์ ก็ใช้วิธีการ เรียนรู้แบบนั้นมาโดยตลอด ผมค่อนข้างโชคดีมากๆ ที่เกิดมา ในครอบครัวที่มีฐานะยากจนมากๆ ซึ่งท�ำให้ผมมีชีวิตที่ค่อน ข้าง แกร่ง และอดทนกับแรงเสียดทานมาตั้งแต่เล็ก และยัง โชคดีกว่านั้นอีกที่ผมมีคุณพ่อคุณแม่ซึ่งมีวิสัยทัศน์ก้าวหน้า ที่ เห็นความส�ำคัญของการศึกษาและกิจกรรม ผมเลยได้มโี อกาสเข้า เรียนโรงเรียนประจ�ำจังหวัด คือโรงเรียนจักรค�ำคณาทร จ.ล�ำพูน และเริ่มก้าวแรกบนถนนสายดนตรีที่นี่ ตั้งแต่ ม.1-ม.3 ผมได้เล่น ในต�ำแหน่ง Clarinet ด้วยความที่เป็นคนที่ค่อนข้างคิดต่างและมี ค่านิยมไม่คอ่ ยเหมือนชาวบ้านตัง้ แต่เด็ก ผมเลยไม่เลือกทีจ่ ะเล่น First แต่กลับชอบที่จะเล่น Second หรือไม่ก็เป็น Third มา ตลอด แม้วา่ จะมี Skill หรือทักษะการเรียนรูท้ พี่ อจะรูเ้ รือ่ ง กว่าเพื่อนในวงก็ตาม แต่เพราะผมมองว่า มันเป็นเสียง ประสานต่างหาก ที่ท�ำให้บทเพลงมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น ผมเลือกที่จะเอากระดาษโน้ตเพลงไปนั่งคัดลอกแทน การถ่ายเอกสารแบบคนอื่น เพียงเพราะอยากวิเคราะห์ ที่มาที่ไปของมันให้เข้าใจด้วยตนเอง ในยุคนั้นวิทยาการ การเรียนรู้ดนตรีในบ้านเราค่อนข้างล�ำบาก ไม่ค่อยมี สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเหมือนในยุคนี้เลย แต่ก็สนุก ไปกับมันมากๆ ปากกัดตีนถีบจนจบ ม.ต้น ก็มาถึงจุด เปลีย่ นส�ำคัญของชีวติ เมือ่ แอบได้ยนิ พ่อกับแม่คยุ กัน ว่าเห็นทีจะส่งเสียให้ผมกับน้องชายเรียนต่อไปพร้อมๆ


วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ กรุงเทพมหานคร กันไม่ไหวแน่ๆ ในหัวของผมตอนนั้นมีอยู่ 2 เรื่องคือ 1.ผมต้องไม่ต่อ ม.ปลาย เพื่อให้น้อง ได้เรียนต่อ และ 2.ผมต้องหาที่เรียนต่อที่ผมไม่ ล�ำบากพ่อแม่และได้เล่นดนตรีไปด้วย ซึ่งก็หนี ไม่พ้นที่ “โรงเรียนดุริยางค์ทหารบก” ชีวิตเด็กหนุ่มวัย16 ที่ต้องห่างบ้านมา อยู่เมืองกรุงตัวคนเดียว มันโหดร้ายมากเลย ตอนนั้น แต่ก็ผ่านมันมาได้โดยอาศัยดนตรี เป็ น เพื่ อ น จนจบชั้ น ปี ที่ 5 ก็ บ รรจุ เข้ า รั บ ราชการที่กองดุริยางค์ทหารบก ไม่ต้องออก ไปอยู่ต่างจังหวัดเหมือนเพื่อนบางคน ชีวิต ดนตรี ที่ นี่ ข องผมตั้ ง แต่ ป ี 1 เริ่ ม ด้ ว ยเครื่ อ ง หลักคือ Bassoon และแน่นอนเครื่องรอง ก็หนีไม่พ้นจ�ำพวกกลองแน่นอน แล้วอาศัย เรียนรู้เครื่องอื่น อาทิ Saxophone, Piano, Accordionฯลฯ แบบตามอัตภาพอย่างที่ผม บอกไว้ตอนต้น พอเราเริ่มรู้เรื่องก็เริ่มแบ่งปัน คนอื่น หมดแล้วก็แสวงหาเติมเอาใหม่ ก็คง เป็นการเรียนรู้ก้าวแรกๆของการเป็นครูดนตรี ของผมโดยไม่รู้ตัว เริ่มสอนจริงจังตอนราวๆ ปี 2536 กับวงโยธวาทิตโรงเรียนบุรรี มั ย์พทิ ยาคม เข้าร่วมประกวดวงโยธวาทิต นักเรียน นิสิต นักศึกษา (นนศ.) ได้รางวัลชนะเลิศประเภท ข. จากนั้นก็สอนมาเรื่อยๆอยู่หลายที่ แบบไม่ ค่อยจริงจังมากนัก เพราะวัยขณะนั้นก�ำลัง ระเริงกับหลายๆสิ่ง แต่มาเริ่มจริงจังอีกทีที่ โรงเรียนพระแม่มารีสาทร ก็ค่อนข้างประสบ ความส�ำเร็จในระดับหนึ่ง ช่วงนั้นผมชักเริ่ม คิดได้แล้วว่าการสอนดนตรีคือตัวตนที่แท้จริง ของเรา สอนที่นั่นอยู่ราวๆ 5 ปี จึงเปลี่ยนมา สอนที่ โรงเรียนอรรถวิทย์พณิชการ (ชื่อเดิม) หรือ วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ (ชื่อใหม่) ตอนปี 2543 จากวงเด็กอาชีวะ 35 ชีวิต ที่ค่อนข้าง ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมมากนัก ก็สู้กับ หลายๆแรงเสียดทานมาจนเป็นวงที่ค่อนข้าง ใหญ่ร้อยกว่าชีวิตอย่างในปัจจุบัน ผมได้เรียนรู้ วิธกี ารท�ำงานแบบมืออาชีพและทัศนคติดๆี จาก ที่นี่เยอะมาก กล้าเรียกตัวเองว่า "ครู" ได้อย่าง

เต็มปาก ไม่ใช่แค่ Staff ที่สอนเอามันส์เพื่อ ประกวดเหมือนเมือ่ ก่อน ตลอดระยะเวลา12ปี ที่นี่ ผมและน้องๆทีมงานให้ความส�ำคัญกับ คุณภาพของดนตรีและคุณภาพของชีวิตเป็น เรื่องแรก สอนทุกอย่างควบคู่ไปกับดนตรีเพื่อ ให้พวกเด็กๆเป็นคนมีคณ ุ ภาพ เพราะผมเชือ่ ว่า ทัศนคติดีๆและวินัยในชีวิต สามารถสร้างงาน ดนตรีที่มีคุณภาพได้ ที่นี่เรามีนโยบายที่จะเข้า ร่วมประกวดอย่างน้อยปีละ1รายการ เพือ่ สร้าง งานและน�ำผลงานออกสูส่ ายตาของสังคม เพือ่ เก็บเกี่ยวเอาสารพันความรู้และประสบการณ์ น�ำมาพัฒนาในปีต่อๆไป ผลแพ้ชนะก็ปล่อยให้ มันเป็นไปตามวิถีของการประกวด บางปีเราก็ แพ้อย่างยิง่ ใหญ่ ผมมักสอนเด็กๆเสมอว่าบางที ชัยชนะ ก็หาใช่ที่สุดของชีวิต การได้พิสูจน์ตน การได้เรียนรู้และจัดการกับปัญหา การได้ภาค ภู มิ ใจกั บ กิ จ กรรมและอิ่ ม เอมกั บ สุ น ทรี แ ห่ ง ดนตรีต่างหาก ที่เราควรค�ำนึงถึง ค่อนข้างมี ความสุขกับการท�ำงานที่นี่มาก อาจเป็นเพราะ ความลงตัวระหว่าง "โรงเรียน” “ครู” และ “เด็ก" จึงท�ำให้ไม่ค่อยมีอุปสรรคมากนัก เรา ท�ำงานกันอย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ งตลอดปี และพยายามสร้างโลกแห่งการเรียนรู้และแบ่ง ปันให้แก่สังคมอีกด้วย ผมจะมีสไตล์การสอน ที่ค่อนข้างบ้านๆ ออกแนวจะดุๆ เฮี๊ยบๆ แต่ เฉพาะในเวลาท�ำงานเท่านั้น !! จะเป็นที่รู้กัน ในระหว่างเราว่า ในเวลาทีเ่ ราท�ำงานเราจะเต็ม ที่ ห้ามเหยาะแหยะเด็ดขาด ไม่เช่นนั้นอาจถูก ธรรมชาติลงโทษเอาได้ ?? และธรรมชาติแถวนี่ ก็เป็นครูแก่ๆหัวเกรียนนัน่ แหละ ซึง่ ในช่วงแรก ก็ค่อนข้างยากล�ำบาก แต่พอระเบียบวินัยมัน เข้าที่เข้าทางก็ง่ายขึ้น ผลงานและความส�ำเร็จ ที่เป็นรูปธรรมของที่นี่ ล้วนเกิดจากการท�ำงาน ที่มุ่งเน้นคุณภาพและการท�ำงานที่จริงจังของ ทุกส่วนของที่นี่ และผมกล้าพูดอย่างมั่นใจว่า เราจะไม่มีทางวิ่งฉิวไปข้างหน้าแน่นอน หาก ปราศจากการเรียนรูท้ จี่ ะยืนทรงตัวและหัดก้าว เดินอย่างมั่นคงได้ ผมใช้”พื้นฐาน”ที่ดีและถูก ต้องในการ”สร้างมาตรฐาน”ที่ดี เด็กๆจะไม่ สนใจที่จะสร้างก�ำแพงเมืองจีนที่อลังการ แต่

จะสนใจแค่สร้างก้อนอิฐเล็กๆที่แข็งแรงเท่านั้น เราเลยค่อนข้างที่จะมีความสุขในการท�ำงาน แบบ “ตามอัตภาพ” จริงๆ ปัญหาเรื่องอายุ การใช้งานที่ค่อนข้างสั้นแค่3ปีของเด็กๆเอย ความหลากหลายของพื้นฐานสังคมและดนตรี เอย ไม่ใช่ปัญหาของผมเลย บางรายไม่เคย เล่นดนตรีมาก่อนเลย เราก็ยินดีทั้งๆที่รู้ว่ากว่า ที่เขาจะช�ำนาญก็จวนจบพอดี ผมถนัด เต็มใจ และสนุกกับ “งานซ่อม” ทีใ่ ครก็ปฏิเสธไม่ได้วา่ เหนื่อยกว่า “งานสร้าง”มากมาย พอเรามีอายุ มากขึ้น เวลาที่มีน้องๆรุ่นหลังๆมาปรึกษา ผม มักจะแนะน�ำให้พวกเขาให้ความส�ำคัญกับการ “Back To Basic” แทบทุกครั้ง อีกเรื่องหนึ่งที่ผมมักพูดถึงบ่อยๆก็คง เป็นเรื่อง การสอนให้เด็กๆฝึก Tuning ตลอด เวลา ด้วยหูมากกว่าตา และเล่นมันออกมา ด้วยใจและความรู้สึกมากกว่า และให้ศรัทธา วิ ช าชี พ ครู ใ ห้ ม าก นึ ก ถึ ง Education ให้ มากกว่า Competition เข้าไว้ การมีทัศนคติ ที่ดีต่อโลกก็เป็นเรื่องส�ำคัญ ผมมักไม่ค่อยพูด ถึงหลักวิชาการมากนัก เพราะใครๆก็เรียนรู้ กันได้ไม่ยากนักในยุคที่ “ครู”เริม่ มีปริมาณน้อย กว่า “อาจารย์” อย่างยุคนี้ ดนตรีกเ็ ป็นอีกหนึง่ ผลิตภัณฑ์ทคี่ ณ ุ ภาพในตัวของมันจะโฆษณาตัว ของมันเอง ทุกวันนี้ผมมีความสุข พร้อมและ ยินดีที่จะแบ่งปันในสิ่งที่มีคืนให้กับสังคม ทุก อย่างที่มีถือเป็นก�ำไร จะมีประโยชน์ใดหากจะ หวงไว้ ผมยังคงเรียนรู้ตามอัตภาพในแบบของ ผม ทั้งจากผู้ที่เหนือและด้อยกว่า เพราะผม ถือว่าเป็นครูของผมทั้งสิ้น

จ.ส.อ.นิสันติ์ ยกสวัสดิ์ (หยู)

ต� ำ แหน่ ง ผู ้ ช ่ ว ยประจ� ำ หมวดหั ส ดนตรี แผนกดนตรี กองดุ ริ ย างค์ ท หารบก, อาจารย์วิชาทฤษฎีดนตรี โสตประสาท และเรีย บเรี ยงเสีย งประสาน โรงเรีย น ดุ ริ ย างค์ ท หารบก, หั ว หน้ า ผู ้ ฝ ึ ก สอน และผู้อ�ำนวยเพลง วงโยธวาทิตวิทยาลัย เทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ RHYTHM 27


เรื่อง: วสวัตติ์ วะดี ภาพ: พงศกร เรืองโรจน์

NEW WAVE

แรงบันดาลใจน�ำมาซึ่งความส�ำเร็จ

พงศกร เรื อ งโรจน์ ยามที่เราท้อ คนที่จะอยู่กับเราตลอด คือตัวเราเอง ประวัติการเริ่มเล่นดนตรี ผมเริ่ ม เล่ น ดนตรี ข ณะเรี ย นอยู ่ ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ในต�ำแหน่งกลอง (Bass Drum) ที่ โรงเรี ย นเบญจมราชรั ง สฤษฎิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราครับ ตอนนั้นบอกตรง ๆ ว่าผมยังไม่รู้จักวงโยธวาทิตเลยครับว่า คืออะไร เพื่อนชวนก็เลยตามเข้ามา พอ ม. 3 ก็ได้มีโอกาสไปดูประกวดวงโยฯ ผมก็เลย เริ่มเข้าใจและเริ่มชอบมากขึ้นและสนุกทุก ครั้งที่ได้ชมการแสดง หลังจากนั้นก็มีพี่ๆ เอาวีดีโอ DCI มาให้ดู ผมจ�ำได้ว่าเป็นวีดีโอ ม้วนเก่า ๆ โดยวงที่ดูก็คือ SCV ปีที่เล่น The Phantom of the Opera ครับ ตอน นั้นผมประทับใจมาก และสงสัยว่าท�ำไมเขา เล่นดีจงั และก็อยากจะเล่นให้ได้เหมือนแบบ นัน้ ต่อมาได้มโี อกาสเข้าศึกษาต่อทีโ่ รงเรียน อรรถวิทย์พาณิชยการ ในระดับ ปวช. ใน

28 RHYTHM

ปี 2549 ที่นี่ผมก็ได้เปลี่ยนเครื่องมาเป็น Snare ก็ยิ่งท�ำให้ผมรักและเข้าใจดนตรี ประเภทนี้มากขึ้นครับ หลังจากนั้นก็ได้ร่วม เล่นกับวงดรัมคอร์ป วงแรกของประเทศ คือ วงสยามมิตร ดรัม แอนด์ บิวเกิ้ล คอร์ป ใน ปี 2548,2549,2551 ในต�ำแหน่ง Tenor Drum ในปี 2548 และ Snare Drum ในปี 2549 และ 2551 ครับ โดยในปี 2552 ได้ มีโอกาสร่วมแสดงกับวง Madison Scouts ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากนัน้ ได้รว่ ม เล่นวง Drumline Open Division คือ วง Citrus Family ในปี 2553 ในต�ำแหน่ง Snare และ Section Leader และเป็น ส่วนหนึ่งของทีม Staff Percussion ของ วงวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ จนถึงปัจจุบัน


บนเส้นทางการเป็นนักดนตรี ผมเป็นหนึ่งคนที่มีความอยากรู้ อยากเห็น อยากเป็น มากครับ เวลาเล่น หรือฝึกซ้อมทุกครัง้ ผมมักจะนึกว่าตัวเองนัน้ ก�ำลังเล่นกับวงชัน้ น�ำของโลกตลอด เวลา มันท�ำให้ผมสนุกและท้าทายมากครับ ช่วงแรกๆในการฝึกซ้อมผมว่ามัน เป็นเรื่องปกติครับ เช่นเวลาที่เราก�ำลังเรียนรู้หรือก�ำลังท�ำอะไรในสิ่งใหม่ๆ มัน มักจะยากและล�ำบากเสมอครับ ต้องใช้ทั้งเวลาและความอดทนเป็นอย่างมาก ทัง้ การคิด วิเคราะห์ หาเหตุและผลในสิง่ ทีท่ ำ� และฝึกซ้อม บางครัง้ ถึงกับเครียด ท้อและร้องไห้กม็ ี แต่พอเราท�ำมันได้สำ� เร็จเราจะมีความสุขและไม่รสู้ กึ เสียดาย เวลาทีเสียไปเลย ผมไม่มีความคาดหวังอะไรมากมายหรือพิเศษแต่อย่างใด เพราะที่ผมยังซ้อมและเล่นอยู่ในทุกวันนี้นั้น เพราะผมรักที่จะท�ำในสิ่งที่ผมรัก ก็แค่นั้น เช่นถ้าคุณรักในการอ่านหนังสือเป็นชีวิตจิตใจ แล้วสามารถอ่านมันได้ ทัง้ วัน ผมก็เช่นกันทีส่ ามารถซ้อมหรือเล่นในสิง่ ทีผ่ มรักได้ทงั้ วันเช่นกัน แค่เรามี ความสุขในสิ่งที่ท�ำผมว่ามันเพียงพอแล้ว

ผมเชื่อว่าถ้าเราได้ท�ำอะไรก็ตามที่ เราชอบหรือรัก เราจะไม่ท�ำให้มันแย่หรือไม่ ดี เราจะพยายามทุกวิธีเพื่อให้สิ่งที่เรารัก นั้นออกมาดีที่สุด ดนตรีไม่มีค�ำว่าถูกหรือ ผิด มีแต่ค�ำว่าชอบหรือไม่ชอบเท่านั้น ถ้า เรามี “ฝัน” จงอย่าเสียดายทีจ่ ะท�ำมันถึงแม้ มันจะมีโอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จน้อย หรือแทบจะไม่มีเลยก็ตามเพราะอย่างน้อย เราก็ได้ลงมือท�ำในสิ่งที่เราฝัน แค่นั้นเราก็ มีความสุขแล้วครับ

ตนเองกับวงดรัมคอร์ป DCI ส�ำหรับผมนัน้ จัดว่าเป็นความฝันอันสูงสุดในชีวติ ครับและก็เชือ่ ว่าคง เป็นฝันของใครหลายๆคนที่ชอบดนตรีประเภท Drum Corps การได้เล่นในวง ที่ชอบ เรียนกับคนที่เป็นต้นแบบ ผมว่ามันคุ้มค่ามาก ถ้าถามต่อว่าล�ำบากไหม ตอบได้เลยว่าล�ำบากมากครับ ไหนจะเรื่องเงินที่ใช้ วีซ่าที่ต้องขอ ยิ่งการเตรี ยมตัวเพื่อออดิชั่นอีก ล�ำบากมากครับ ส่วนตัวผมเองนั้นถือว่าโชคดีมากๆที่มี ทั้งครู เพื่อน พี่น้อง และครอบครัวที่ดี คอยให้ก�ำลังใจความช่วยเหลือมาโดย ตลอด ทั้งในเรื่องของการวางแผน การฝึกซ้อม รวมทั้งก�ำลังใจ จากกลุ่มคน เหล่านี้มาโดยตลอดครับ แต่สิ่งที่ลืมและมองข้ามไม่ได้นั้นก็คือตัวเราเอง ยาม ที่เราท้อหรือหาทางออกไม่ได้คนที่จะอยู่กับเราได้ตลอดเวลานั้นก็คือตัวเราเอง เพราะฉะนั้นผมจึงไม่เคยดูถูกตัวเองครับ เชื่อมั่นเสมอว่าเราท�ำได้ แม้จะท�ำผิด พลาดบ่อยก็ตาม การให้ก�ำลังใจตัวเองนั้นถือเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมากครับ แต่สิ่ง แรกๆที่เป็นแรงบัลดาลใจที่ทำ� ให้ผมอยากที่จะไปเล่นที่นั่นก็คือ พวกพี่ๆที่เคย ไปเล่นที่นั่นแล้วกลับมาครับ อาทิเช่น พี่เษม พี่จุม พี่หมู พี่เชียร์ พี่โซ่ หรือใคร อีกหลาย ๆ คนที่ไม่ได้กล่าวมานั้น พวกเขาเป็นทั้งต้นแบบ และแรงผลักดันที่ ท�ำให้ใครหลายๆคนทีส่ นใจและอยากทีจ่ ะไปยืนในสนามแบบพวกพีเ่ ขาครับ ใน ปีนนั้ ผมไปกับโจ เพือ่ นอีกคน เราไปด้วยกัน โจเป็นคนทีค่ อยช่วยเหลือผมในทุก ๆ เรื่องทั้งเรื่องการสื่อสาร การติดต่อ การฝึกซ้อม บอกตรง ๆ ถ้าไม่มีเพื่อนคน นี้ ผมคงไม่มีโอกาสที่จะได้ไปที่นั่นแน่ ๆ เราไปออดิชั่นที่แรกคือวง Bluecoats ในตอนนั้นบอกตรง ๆ ผมทั้งฟังและพูดไม่ได้เลย มันล�ำบากมากครับ ในวันนั้น มีคนที่มาออดิชั่น ในต�ำแหน่ง Snare ประมาณ 50 กว่าคน แล้วรับแค่ 9 คน ในตอนนั้นท�ำให้ผมรู้และเข้าใจว่าผมต้องซ้อมอะไรเพิ่ม ทั้งในเรื่องทักษะทาง

ดนตรีและก็ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ผลคือ “เราสองคน สอบไม่ตดิ ” หลังจากนัน้ ก็ทำ� การติดต่อไปยังวง Madison Scouts ต่อในเดือนถัดไป เราสองคนก็ติดที่นั่นครับ วัน ที่ทราบว่าติด ผมดีใจมากครับ การที่เราติดแล้วนั้นไม่ใช่ เรือ่ งยากครับ แต่การรักษาต�ำแหน่งนัน้ นีซ่ คิ รับเป็นเรือ่ งที่ ยากกว่า แต่สดุ ท้ายผมก็ได้รว่ มฝึกซ้อมและเดินทางแสดง กับวง Madison Scouts จนจบฤดูกาลในครั้งนั้น ผมว่า มันเป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้นของผมเท่านั้นผมรู้สึกว่าสิ่งที่ ส�ำคัญกว่าไปเล่นที่นั่นนั้นคือการถ่ายทอดประสบการณ์ บอกต่อ แนะน�ำ ในทุกๆเรื่องที่คนรุ่นต่อๆไปต้องท�ำ ใน การเตรียมตัว เตรียมความ พร้อม ในการที่จะได้ไปร่วม เล่นกับวงที่นั่นครับ RHYTHM 29


เรื่อง: จตุรภัทร อัสดรชัยกุล ภาพ: วสวัตติ์ วะดี

Art& Acting

THINKING D จะอ่านบทความนี้ … ถามตัวเอง ก่อนเลยว่าเคยดูการประกวดวงโยฯใน เมืองไทยมาแล้วกี่ครั้ง แต่ละครั้งเป็นยัง ไงบ้าง ได้สัมผัส รู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลง ไปยั ง ไงบ้ า ง ตอบเลยแล้ ว กั น วงโยธ วาทิตบ้านเราเกิดการพัฒนาที่ค่อนข้าง ถือว่า “ก้าวกระโดด” มากขึ้นทุกปีๆ มี การเปลี่ยนแปลงหลายๆอย่าง บางเรื่อง ถือว่ามาถูกทางแล้ว แต่กบั บางเรือ่ งถือว่า พัฒนามาจากการ “ลอกเลียนแบบ” ไม่ใช่ “กระบวนการคิด” ไม่ว่าจะด้วยเหตุผล อะไรก็ตาม เรายังคงลอกเลียนต่างชาติ อย่างเมามันส์ โดยเฉพาะวงการตัวพ่อ อย่าง Drum Corps International … คั ล เลอร์ ก าร์ ด หรื อ นั ก แสดง ประกอบ เมื่ อ ในอดี ต น่ า จะถู ก มองว่ า เป็นเพียงนักแสดง “ประกอบ” ค�ำว่า 30 RHYTHM

ประกอบก็ชัดเจนอยู่แล้วว่าไม่จ� ำเป็น ต้องมีก็ไม่ได้เสียหายอะไร แต่ในปัจจุบัน การขาด คัลเลอร์การ์ด เปรียบเสมือนกับ การขาดองค์ประกอบส�ำหรับการแสดง ไปอย่างหนึ่งเลยทีเดียว วงการคัลเลอร์ การ์ดบ้านเราก็เช่นเดียวกัน ช่วง 3-5 ปี หลังเรียกได้ว่าพัฒนาแบบก้าวกระโดด แบบเห็นได้ชัด เหตุผลหนึ่งน่าจะมาจาก การที่มีวิทยากรจากต่างประเทศทยอย เข้ามาฝึกอบรมให้ความรู้อยู่เรื่อยๆ จน ท�ำให้ทุกอย่างค่อยๆดีขึ้นเรื่อยมา แต่ผล สุดท้ายแล้ว คัลเลอร์การ์ดมันไม่ได้หมาย ถึงการพัฒนาด้านทักษะ ท่าทาง หรือการ ออกแบบท่าเต้นแค่นั้น หากแต่จะหมาย ถึงการออกแบบชุด ธง หรืออุปกรณ์ตา่ งๆ ทีม่ นั สามารถช่วยท�ำให้การแสดงของเรา มีสีสันมากขึ้นไม่มากก็น้อย

Mr.Andrew Toth ปัจจุบันเป็น Color Guard Designer ให้กับ Cavaliers Drum and Bugle Corps ซึ่งท�ำงานให้กับทีม Design ของ Cavaliers มาตั้งแต่ปี 1998 จนถึงทุกวันนี้ ไม่ว่า จะเป็น ธง ชุด หรือท่าทางต่างๆส�ำหรับประกอบ การแสดง อีกทั้งยังเคยเป็นผู้ฝึกสอนให้กับวง Pride Of Cincinnati วง Color Guard ระดับ Top 3 ของโลก … แอนดี้เล่าให้ฟังว่ากว่าจะออก มาเป็นธงที่เราเห็นว่าสวยๆให้เราเห็นเนี้ย ไม่ใช่ ง่ายเลย ยกตัวอย่างปี 2006 คาดว่าคงเป็นหนึ่ง ในปีทผี่ า่ นตาผูช้ มคนไทยเรามากทีส่ ดุ นึกไม่ออก ก็ Machine นั่นแหละ ธงส�ำหรับใช้ในการแสดง ปีนนั้ ลองไปตัง้ ใจดูให้ดดี ี แล้วจะพบว่าทีธ่ งมันไล่ สีนนั้ เกิดจากการเรียงกันของรูปสีเ่ หลีย่ มจนกลาย สีทไี่ ล่กนั สวยงาม สาเหตุทตี่ อ้ งท�ำแบบนัน้ แอนดี้ บอกว่าสีเ่ หลีย่ มต่างๆ หมายถึง Pixel การก�ำเนิด ของสีไม่ว่าจะเป็นในคอมพิวเตอร์หรือโทรทัศน์


DESIGN

เกิดจากการเรียงกันของเม็ด Pixel จนเกิดเป็นภาพ ดังนัน้ ธง เลยจ�ำเป็นต้องออกแบบให้เป็นแบบนี้ แล้วกว่าจะได้ธงแบบ นี้มาแสดง ไม่ใช่วาดๆ ไป โอเคสวยดี ตัดธงเลยดีกว่า ไม่ใช่ นะค่ะ เขาจ�ำเป็นต้องออกแบบไม่ต�่ำกว่า 50 แบบ เพื่อน�ำ ไปตัดให้เป็นของจริง แล้วลองน�ำมาเล่นในสนาม ผ้าชนิดนี้ ใช้ได้ไหม ? ผ้าชนิดนี้เบาไป !! ผ้าชนิดนี้โปร่งเกินไป !!! มอง สีไม่เห็น ? เรียกได้ว่าเลือกแล้วเลือกอีกไม่ต�่ำกว่า 20 หรือ 30 ครั้ง กว่าจะได้ธงที่ถูกใจและใช่ที่สุด ชุดคัลเลอร์การ์ดก็ ไม่ได้ต่างกันเท่าไหร่นัก ทั้งเลือก ทั้งตัด ทั้งลองเล่น ผ้ายืดไป ไหม จะขาดไหม ? เรียกได้ว่าพิถพี ิถนั กันแบบสุด ๆ ทุกอย่าง ที่ออกมาผ่านสายตาพวกเรา ล้วนผ่านกระบวนการคิดแบบ ละเอียด ผ่านกระบวนการออกแบบจากผูเ้ ชีย่ วชาญจริงๆ ทุก อย่างของคัลเลอร์จะต้องมีความสัมพันธ์หรือเกีย่ วของกันกับ การแสดงอย่างจริงจัง ไม่ใช่เหมือนบ้านเราทีเ่ อาสวยถูกใจเข้า ว่า ทุกอย่างมีความหมาย มีที่มานะคะ.

The Cavaliers Drum and Bugle Corps

Year: 2006 Place: 1st Score: 97.200 Theme: Machine Repertoire: Genesis, Wired, Premonition & The Machine Age by Richard Saucedo and James Casella RHYTHM 31


Provide practical tips

การดูแลรักษาเครื่อง:

A Horn Player’s Study Guide

โดย เสริมศักดิ์ แก้วกัน

โดย ชนากร แป้นเหมือน

Alto Saxophone

มีวิธีการปฏิบัติและดูแล บ�ำรุงรักษาตามขั้นตอนดังนี้ 1. การถอดประกอบ เครื่ อ งเครื่ อ งดนตรี ใ นตระ กู ล แซกโซโฟนจะมี วิ ธี ถ อด ประกอบที่ เ หมื อ นกั น โดย ในขณะที่ ถ อดหรื อ ประกอบ เครื่องพยายามอย่าออกแรงกดลงบนกลไกนิ้วเสียงหรือเดือย กลไกทั้งนี้เพื่อป้องกันการโค้งงอของน๊อตเดือยและกลไก นิ้ ว เสี ย งด้ า นข้ า งควรทาขี้ ผึ้ ง ที่ ส ่ ว นข้ อ ต่ อ ทุ ก ครั้ ง ก่ อ นเริ่ ม ประกอบเครื่ อ งและต้ อ งปรั บ สาย คล้องคอให้พอดีกับความต้องการ ตรวจสอบความมั่นคงและแน่นของ สกรู (Screw) ยึดข้อต่อและไม่ลืม คลายออกทุกครั้งที่ถอดเก็บ 2. การวางลิน้ ควรใส่ปลอกรัดลิน้ เข้าไปก่อนแล้วสอดลิน้ เข้าไปทีหลัง เพื่อป้องกันการบิ่นหรือฉีกขาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในขณะเดียวกันควร สวมปลอกก�ำพวดทุกครั้งที่วางเครื่องปกติ 3. การท�ำความสะอาดต้องท�ำความสะอาดก�ำพวดทุกครั้งที่ใช้งาน ด้วยน�้ำสะอาดหรือน�้ำยาล้างทุกครั้งที่ใช้งาน ถอดข้อต่อส่วนบน (Neck) ออกสะบัดน�้ำออกให้หมดแล้วใช้ผ้าใส่ปลายที่ใหญ่กว่าดึงกลับไป-มา ให้ แ ห้ ง สนิ ท สะบั ด ให้ น�้ ำ และความชื้ น ออกทางปลายด้ า นเล็ ก ใส่ ผ ้ า ท�ำ ความ สะอาดโดยเฉพาะโดยสอดตุ้มถ่วงทาง ด้านล�ำโพงแล้วหมุนตัวเครื่องให้ลูกตุ้ม ออกมาทางปลายด้านเล็กดึงผ้าท�ำความ สะอาดไป-มาหลายๆครั้งจนแห้งสนิท 4. ท� ำ ความสะอาดหลั ง เลิ ก ใช้ งาน โดยใช้กระดาษซับนวม ซับนวม ที่ชื้นออกให้แห้ง ถ้าไม่มีกระดาษซับ นวมอาจใช้กระดาษซับหน้ามันแทน ชั่วคราวก่อนได้ ที่มา: http://www.kongmusic.in.th/AltoSax7.php?M=3

เกี่ยวกับผู้เขียน เสริมศักดิ์ แก้วกัน ผู้เล่นและปฏิบัติเครื่องดนตรี Woodwind มา นานกว่า 20 ปี เป็นผูค้ วบคุมวง ผูอ้ �ำนวยเพลงและเป็นผูฝ้ กึ สอนให้กบั วง ดุรยิ างค์ชนั้ น�ำในประเทศไทยพร้อมรางวัลมากมายทัง้ ระดับประเทศและ นานาชาติ ปัจจุบนั เป็นอาจารย์ประจ�ำแผนการเรียนศิลป์ดนตรี และเป็น ผู้ฝึกสอนวงโยธวาทิตโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

32 RHYTHM

with the leading Instructors

BRASS

WOODWIND

SECTIONALS

ระดับที่ 4 กว่าจะมาถึงระดับที่ 4 นี้ ผู้เล่นจะต้องมีความตั้งใจและ มีความสามารถมากพอสมควร มี นั ก เรี ย นในระดั บ มั ธ ยมเป็ น จ�ำนวนน้อยที่จะอุทิศเวลาและ มีความสามารถเล่นได้ในระดับ นี้ ผู ้ เ ล่ น เหล่ า นี้ อ าจจะเป็ น หัวหน้ากลุ่มหรืออาจจะเป็นสมาชิกวงดุริยางค์หรือวงออร์เคสตร้า ผู้เล่น อาจจะขอทุนศึกษาต่อด้านดนตรีในระดับมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย ถ้าผู้เล่น ตั้งใจจะพัฒนาความสามารถในการเล่นฮอร์นให้มากขึ้น ผู้เล่นจ�ำเป็นต้อง ฝึกฝน และรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับวงการฮอร์นเสมอ ไม่ว่าจะเป็นนักเรียน มัธยม, ในมหาวิทยาลัยหรือไม่ได้เรียนในสถาบันศึกษาใดๆ ระดับที่ 4 นี้ ควรจะฝึกซ้อม 1 1/2 - 2 ชั่วโมง ทุกวันและเพิ่มการซ้อม Ensemble การ ฝึกซ้อมโดยปกติควรจะพัฒนาทางด้านเทคนิคเสียงสูงและเสียงต�่ำ, ความ ดังและความเบา, บันไดเสียงและอาร์เปจิโอ, Articulations และ Slur, Lip Trills และการตัดลิ้น ในระดับที่ 4 นี้ผู้เล่นควรจะ 1) พัฒนาความกว้างของช่วงเสียงอย่างน้อย 3 ออคเตฟ, และรู้ระบบ นิ้วกดแบบโครมาติกในช่วงเสียงน?? 2) รู้บันไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์ทั้งหมด และอาร์เปจิโอ 3) เริม่ ต้นใช้ Lip trills, Double and Triple tonguing, Transposition และ อ่านกุญแจฟา 4) เริ่มหัดบทเพลงจากวงออร์เคสตร้า (Orchestral excerpts) 5) เริ่มหัดเทคนิค Natural horn และ เข้าใจระบบ Harmonic series 6) เริ่มต้นที่จะมีเทปหรือซีดีของนักเล่นฮอร์นที่มีชื่อเสียงทั้งในอดีต และปัจจุบัน หนังสือและแบบฝึกหัดที่ควรมี • Farkas -- The Art of French Horn Playing • Kling -- 40 Characteristic Etudes • Pottag-Andraud -- 335 Selected Melodious and Progressive Technical Studies, Books I & II (เล่มสีฟ้า และเล่มสีแดง) • Mozart/Sansone -- Concerto No. 1, 2, 4 • Oldberg -- Serenade • Pessard -- In The Forest • Schumann/Bacon -- He, the Most Magnificent of All (from Selected Songs Vol.1) • Strauss, Franz -- Concerto, opus 8 • Telemann/Chidester -- Adagio and Presto

เกี่ยวกับผู้เขียน ชนากร แป้นเหมือน อตีตนักเล่นฮอร์นวง Bangkok Symphony Orchestra และวง Siam Philharmonic ปริญญาตรีสาขาดนตรีสากล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกียรตินิยมอันดับสอง ปริญญาโทการ จัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ (นิดา้ ) ปัจจุบันเป็นผู้บริหาร บริษัท มาร์คาโต้ มิวสิค จ�ำกัด


โดย อนุสรณ์ พรเนรมิตร

ในเล่มนี้นะครับเราจะมา พูดถึงกัน แบบฝึกหัดและวิธี การฝึกซ้อม Technique และ Rudiment เบือ้ งต้นต่างๆของ การเล่น Battery Percussion โดยที่ไม่ว่าเราจะเล่นเครื่อง ดนตรีประเภทใดๆต่างๆ เช่น Snare Drum, Tenor Drum, Bass Drum เราสามารถใช้วิธี การฝึกซ้อมต่างๆเหล่าๆนี้ เพราะแบบฝึกหัดและ Technique การเล่นต่างที่จะพูดถึงในเล่มนี้ เป็นพื้นฐานเบื้องต้นที่สำ� คัญ มากและจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีเ่ ราควรต้องฝึกฝนและท�ำความเข้าใจ การเล่นให้ได้อย่างถูกวิธี เพราะมันจะช่วยท�ำเรานั้นมีการเล่นที่ดีขึ้น Exercise 1 8th on Hand ส�ำหรับแบบฝึกหัดแรกที่เราจะมาพูดถึงกันคือแบบฝึกหัดที่ชื่อว่า 8th on Hand ก็คือการที่เราเล่นโน้ตเขบ็ดหนึ่งชั้นข้างละแปดทีที่เรา รู้จักกันนั่นเอง แบบฝึกหัดนี้เป็นแบบฝึกที่หัดพื้นฐานเบื้องที่ส�ำคัญและ จ�ำเป็นอย่างมากที่เราจะต้องเรียนรู้และท�ำความเข้าใจในการฝึกซ้อมให้ ได้อย่างถูกวิธี เพราะแบบฝึกหัดนีจ้ ะช่วยสามารถท�ำให้เรียนรูแ้ ละพัฒนา ในเรื่องวิธีการใช้ Stroke (วิธีการตี),Basic stroke (ลักษณะของการตี) สิง่ ส�ำคัญเวลาทีเ่ ราเล่นแบบฝึกหัด 8th on hand นัน้ ก็คอื เราจ�ำเป็นต้อง เรียนรูก้ ารใช้ขอ้ มือและวิธกี ารตีทถี่ กู ต้องอย่างทีเ่ ราได้เคยพูดในเล่มก่อน หน้านี้ก็คือให้ Relax ข้อมือห้ามเกร็งเวลาที่เราเล่นแบบฝึกหัดนี้ และให้ เราใช้ Basic Stroke (ลักษณะการตี) แบบ Full Stroke ในการที่เราจะ เล่นแบบฝึกหัดนี้ ก็คอื การทีเ่ ราตีลงไปแล้วให้เด้งกลับมาเองโดยธรรมชาติ หรือการ Rebound ของทุกๆตัวโน้ตที่เราตีลงไปในการตี ให้ลักษณะ การตีของเราเหมือนกับลักษณะการเด้งลูก Basketball และสิ่งส�ำคัญ อีกอย่างในการเล่นแบบฝึกหัดนี้คือเวลาที่เราตีลงไปเราต้องออกแรงตี ให้ทุกตัวโน้ตมีน�้ำหนักที่เท่ากัน เสียงของทุกตัวโน้ตดังเท่ากัน และเวลา เล่นจังหวะและสัดส่วนของโน้ตทุกตัวคงที่ อีกสิ่งนึงเวลาที่เราเล่นโน้ต ตัวสุดท้ายของแต่ละมือให้เราจะใช้ลักษณะการตีแบบ Down Stroke ในการเล่นโน้ตตัวสุดท้ายขอแต่ละมือ โดยที่เราจะต้องค�ำนึงถึงว่าเสียง ของโน้ตตัวสุดท้ายเหมือนกันกับโน๊ตก่อนหน้า อย่าให้ดังหรือกระแทก กว่าโน้ตก่อนหน้านั้น และประโยชน์ที่สำ� คัญอีกอย่างของแบบฝึกหัดก็ เราสามารถวอร์มก่อนที่เราเล่นหรือพัฒนาหรือสร้างกล้ามเนื้อได้จาก การเล่นแบบฝึกหัดนี้

เกี่ยวกับผู้เขียน ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษทางด้าน Percussion บ.สยามดนตรียามาฮ่า จ�ำกัด ผู้ควบคุมและฝึกสอนวง Max Percussion หัวหน้าผู้ฝึกสอนกลุ่มเครื่อง Percussion Siamyth Drum and Bugle Corps ผูฝ้ กึ สอน Percussion วงโยธวาทิต ร.ร.สตรีวิทยา 2 และสุรนารีวิทยา

GUARD

PERCUSSION

Basic Battery Percussion (1)

องค์ประกอบของ อุปกรณ์ (2) โดย ประพันธ์ศักดิ์ ปานเสียง

Elite Rifles ใช้ไม้เป็นวัสดุ ในการท�ำ มีขนาดความยาว 36 นิ้ว และ 39 นิ้ว สามารถแต่หัก ได้ แ ละน�้ ำ หนั ก อาจจะไม่ เ ท่ า กันในแต่ล่ะอัน แต่เวลาเล่น ผม รู้สึกว่า สามารถเล่นได้อย่างดี มี สมดุลถ่วงที่เป็นธรรมชาติ หนัก อยู่ที่ 1-1.5 กิโลกรัม ขึ้นอยู่กับ ความชื้อและเนื้อไม้ X-Factoy Rifle ส่ ว น ประกอบหลักของ Rifle ชนิดนี้ เป็น พลาสติก ที่ชื่อ Polyethylene Poly merสามารถแยกถ่วงน�้ำหนักหัวและท้ายได้ โดย การใช้น๊อต ตัวเล็กๆ เพื่อความเหมาะสมและความ ถนัดในการเล่น มีให้เลือกทั้งขนาด36นิ้วและ39นิ้ว น�้ำหนักอยู่ที่ 1-1.2 กิโลกรัมโดยที่ผู้ผลิตโฆษณาว่า ไม่มีวันหนัก จากประสบการณ์เมื่อมีการโยนและ หล่นลงบนพื้นปูนหลายๆครั้ง ก็มีอาการฉีกขาดของพลาสติกขึ้นเหมือนกัน เวลาเล่นให้ความรู้สึก เสถียรในการควงและโยนมาก สามารถเล่นท่ายากได้ โดยไม่ต้องกังวล ข้อเสียคือ เวลาเล่น จะค่อนข้างลื้น ไม่เกาะมือเหมือนเนื้อไม้ AirBlade เป็นอุปกรณ์ ชนิดใหม่ ที่คิดค้นขึ้นมา เพื่อหลีกหนีความจ�ำเจ ของอุปกรณ์เดิมๆ มีความยาว 39นิว้ น�้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม เวลาเล่นอาจ จะมีความล�ำบากหน่อยเพราะอุปกรณ์ออกแบบ มาเป็นรูปโค้ง ท�ำให้เวลาคิดท่าและเล่นท่า ค่อน ข้างยากที่จะควบคุม แต่เวลาเล่นเป็นแนวโค้ว แล้วจะให้เอฟเฟตที่สวยพอสมควร การเลือกขนาดและชนิดของRifleให้กับ Color Guard 1. Rifle ขนาด 36 นิ้ว เหมาะส�ำหรับ น้องๆ ที่อยู่ประถม หรือมัธยมต้น ที่เริ่มฝึกซ้อม หรือน้องๆผู้หญิง ที่แรงมีไม่มากนัก 2. Rifle ขนาด 39 นิ้ว เหมาะส�ำหรับ น้องๆที่เล่นColor Guard จนมี ประสบการณ์พอสมควร และน้องๆในระดับ มัธยมต้นขึ้นไป 3. Rifle ที่เป็น พลาสติก เหมาะกันทุกคนนะ เพราะมีน�้ำหนักเบา ยากต่อ การหนัก น้องๆทีต่ วั เล็กๆ อาจจะเล่นยากซักนิดหนึง่ แต่ผมว่าเรือ่ งการฝึกซ้อม ส�ำหรับ น้องๆ ทีเ่ ริม่ จับปืนใหม่ๆ มีการตกหล่นหลายครัง้ จะเหมาะมากส�ำหรับ รุน่ นี้ เพราะจะช่วยลดการหักได้ ส่วนส�ำหรับน้องๆทีเ่ ล่นจนมีประสบการณ์แล้ว การเล่นก็จะง่ายขึ้น มีรอบโยนและควงที่เสถียนขึ้น และไม่ต้องกังวลจากการ ตก ที่มาจากการฝึกซ้อมท่ายาก ฉบับต่อไปเราจะมาพูดถึงการเตรียมพร้อมร่างกายก่อนการฝึกซ้อมRifle นะครับ

เกี่ยวกับผู้เขียน ประพันธ์ศักดิ์ ปานเสียง ผู้ฝึกสอนและออกแบบการแสดงการ ใช้อุปกรณ์ Color Guard ให้กับวงดุริยางค์ชั้นน�ำของเมืองไทยทั้งใน ระดับประเทศและระดับนานาชาติอาทิเช่น รายการการแข่งขันดนตรี โลก และวงดรัมคอร์ปภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ RHYTHM 33


live as your life

November 2011 MAGAZINE

FREE COPY

Issue 1

Volume 1

Issue 3

Volume 1 Issue 4 February

MAGAZINE

January 2012

INE

Volume 1

Issue 5

Volume 1

March 2012

MAGAZINE

April 2012

Issue 6 Iss

MAGAZINE

live as your life

Volume 1

Issue 7

May 2012

MAGAZINE

FREE COPY

GAZ ber 2011 MA Issue 2 Decem

ZINE

FREE COPY

Volume 1

live as you r life

FREE COPY

HY THM

FREE COPY

R

HM

MAGA

RHY THM RHY THM RHY THM r life live as you

e your lif live as

2012

FREE COPY

live as your life

RHY THM Volume 1

RHY T

RHY THM

live as you r life

BRAS

BERR @I$_ETESS Y $

$S;CT$'ES

THAILAND INT WIND ENSEM ERNATIONAL BLE COMPETI $TE=ER$I6I*6ZEVDT*' TION 2011

NONTRI ORCH

I*OO_'L7E T IV;6

ESTRA WIND

Hawkes

I*9Wg 9 %O*aG$

hythm Maga zine.n

www.R hythmM agazine

9DTGSD 6ESC'OE =CMTIV J I*`E$%O*=ER_9

RT ASK EXPE7;T$TE

thmM www.Rhy

n et gazziiine.n agaz

ZEVDT*'

gaz ine

.ne t

ASK EXPER CZ9T$E a'7EES$ T

`7$7 T*`GRLE T*LEEKT ' <;*T;6;7EW`GR6Wc .6

cussion r edom Per Fre Fr F Ensemble

W

s oyal Cupnte st 2012 Maarching Band Co M

_IVh*;'E_$KC

@Yh;9Wg=ERIS7VJTL7 @ %OO**@ $TEES$KTMEYOEYhO9VE h 9WgEO ;Wg'YO_@G*%O *¼ _G ; _@G*9Wg_ET$lTTGGSG*S

<9_@G*`M *+V;

hyt hm Ma

Th ee ra

T

R O OR TO DIRECT O

ww w.R

.net

et

Z7 UM KORN DR PHRANA CORPS & BUGLE

C[G;V:VI*6

I*6ZEVDT*' %O*';OT-

ASK EXP PERT

_CYgO_LWD*MSIb+_7 ;_= = =; _LW …_@OE 'SLwww.R

9Vh*$S;

CIAL ATTAWIT COMMER D COLLEGE BAN

B &sey

9WgCWCTDTI;T;$I T 10 _'EYOg *GC =

< _ETcC _'D

www.R hythm

-Maga zine.c om

C*AOE 7IV9DTGSD

I*6ZEVDT*' ° `> ;6V;

Bangkok Soc iety Drumline (BK K)

ASK EXPERT

+V55IS7E CSg;9ES@D ';_%WD;_@G* <EE_G*LE T*';

6ESCcG; I*`E$%O*_CY

O*c9D

www.R hythm

T@ERDT

66EE

-Maga zine.c om

NEW WAVE

'C$EV- LZ;9E;;9 9lT_GD'ES< 8 T_ETES$9Wg+R9lTCS; www.Rhy thm-Mag azine.com

www.Rhythm-Magazine.com  สมัครสมาชิกนิตยสาร ตองการสมัครสมาชิกนิตยสาร Rhythm Magazine จํานวน 12 ฉบับ (12 เดือน) เริ่มตั้งแตเดือน....................................... โดยยินดีเสียคาใชจายในการจัดสงเปนจํานวนเงิน 450 บาท

ขอมูลผูสมัครสมาชิก ชื่อ........................................................นามสกุล............................................ เพศ

ชาย

หญิง

อายุ............ป อีเมล........................................................... โทรศัพทบาน.............................................................................................. โทรศัพทที่ทํางาน.............................................โทรสาร........................................โทรศัพทมือถือ..........................................................

ที่อยูในการจัดสง บริษัท/หนวยงาน.....................................................หมูบา น.........................................เลขที่................................ซอย............................ ถนน............................ตําบล/แขวง...........................อําเภอ/เขต...................................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย. .................

ที่อยูในการออกใบเสร็จ เหมือนที่อยูในการจัดสง บริษทั /หนวยงาน..................................................หมูบ า น.......................................... เลขที.่ ...............................ซอย.............................ถนน............................................... ตําบล/แขวง.................................................อําเภอ/เขต............................................ จังหวัด.........................................................รหัสไปรษณีย. ........................................

วิธีการชําระเงิน (ระยะเวลา 1 ป จํานวน 12 ฉบับ) เช็คสั่งจายนาม บริษัท ริธมิคส จํากัด โอนเงินเขาบัญชี ออมทรัพย ชื่อ บริษัท ริธมิคส จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาสันปาขอย เลขที่บัญชี 253-4-41407-9

สงใบสมัครสมาชิกพรอมสําเนาการโอนเงินมาที่ ฝายสมาชิก บริษัท ริธมิคส จํากัด เลขที่ 106/126 หมู 7 หมูบานชัยพฤกษ ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000 โทร.053-334556 โทรสาร.053-334557 E-mail:rhythmmagazine@hotmail.com สอบถามขอมูลเพิ่มเติม โทร.088-1380507

RHY THM MAGAZINE




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.