book3

Page 1

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง

การพัฒนาเทคนิคการนิเทศแบบกัลยาณมิตร เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนของครู โดยทาวิจัยในชั้นเรียน

โดย นางนิกุล ใจดี ผู้ฝึกประสบการณ์การนิเทศการศึกษา

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกประสบการณ์ การนิเทศการศึกษา เพื่อแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1


2 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา อาชี พทุ กอาชี พย่ อมมีค วามส าคัญต่อบุคคลและสังคมด้วยกั นทั้งสิ้น ยากที่จะกล่าวอ้างว่า อาชีพใดมีความสาคัญกว่ากัน แต่ถ้าเรามาพิจารณาเฉพาะวิชาชีพครูให้ลึกซึ้งแล้วจะเห็นว่า ผู้เป็นครู นั้นต้องรับภาระหน้าที่ต่อสังคมและชาติบ้านเมือง หากผู้เป็นครูปฏิบัติภาระที่ตนเองได้รับบกพร่อง ผลกระทบก็จะตกไปถึงความเสื่อมของสังคมและชาติบ้านเมือง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 4 วาด้วย แนวการจัดการศึกษา มาตรา 24 (5) มีใจความสาคัญดังนี้ “สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้ อม สื่อการเรียนและอานวยความสะดวกเพื่อให้ผูเรียนเกิดการเรียนรู้รวมทั้งสามารถใช้ การวิจัยเป็นส่วน หนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทตาง ๆ” ดังนั้น การวิจัยในชั้นเรียน จึงเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้ครู ผูสอนสามารถพัฒนาระบบการจัดการเรี ยนรู ของตนใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดแก ผูเรียนทาให้กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู มีความเป็นวิชาชีพและมีความเป็นศาสตร์ ในวิธีวิทยา ของการจัดการเรียนรู้มากขึ้น ดังที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ก็ไดกล่าวถึงเรื่อง ของการวิจัย เพื่ อพั ฒนาการเรีย นรู้ไ ว้ ส อดคล้องกั บ พระราชบั ญ ญัติก ารศึ ก ษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ความวา การจัดการเรี ยนรู้ ตามหลัก สูตรการศึก ษาขั้นพื้ นฐานมี รูปแบบและวิธีก ารที่ หลากหลาย เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความถนั ด ความสนใจ และความต องการของผู้ เ รี ย น โดยให ผู ส อนน า กระบวนการวิจัยมาผสมผสานหรือบูรณาการใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถใช้ กระบวนการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ โดยมี ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ เ ริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารวิ เ คราะห์ ปั ญ หา การวางแผนแกปญหาหรื อ พั ฒ นา การ ดาเนินการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเก็บรวบรวมข้อมูล การสรุปผลการแก้ปัญหาหรือการพัฒนาการ รายงานผลการเรียนรู้และนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ (กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 34) เป็นตน การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research) เป็นเครื่องมือในการค้นหาคาตอบให้กับคาถามที่ ครูสนใจด้วยวิธีการเชิงประจักษ์ ครูทุกคนสามารถทาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติงานสอนหรือเพื่อปรับปรุงและพัฒนางานของตนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ ซึ่งเป็นหน้าที่ สาคัญประการหนึ่งของครูที่ต้องจัดทาควบคู่กับการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็น ระบบที่ ค รู ต้ อ งใช้ ก ารบู ร ณาการความรู้ ทั้ ง ทฤษฎี และการปฏิ บั ติ ใ นการคิ ด ค้ น วิ ธี ส อน สิ่ ง หรื อ นวัตกรรมต่าง ๆ ผสานกับแนวคิดพื้นฐานของการวิจัยในการประยุกต์ใช้เพื่อการวางแผนและพัฒนา คุณภาพผู้เรียน หรือแก้ปัญหาที่พบในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียนเป็น ทักษะที่ครูต้องฝึกฝนให้เกิดความชานาญการอันเป็นองค์ประกอบสาคัญประการหนึ่งของความเป็น ครูมืออาชีพในยุคของการปฏิรูปการเรียนรู้ ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542


3 มาตรา 24(5) กาหนดให้ครูใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ (ยุ ทธนา ปฐมวรชาติ . 2544 : 59) ดังนั้นครูนักวิจัยควรจะได้รับการพัฒนา เพราะครูเป็นตัวจักรที่สาคัญในการพัฒนาการศึกษา ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ซึ่งหากครูมีความรู้ มีวิธีการสอนที่ดีและเลือกใช้วิธีการสอนให้ตรงกับ สภาพของผู้เรียนรู้ทางแก้ปัญหา และสามารถวิเคราะห์ปัญหาหาทางแก้ไขพร้อมกับนามาแก้ปัญหาใน ชั้นเรียนได้ ประโยชน์ก็จะส่งผลต่อผู้เรีย นโดยตรง ทาให้ผู้เรีย นเกิ ดการเรียนรู้อย่างถาวรมีระบบ สามารถนาความรู้ความสามารถดารงชีพตนในสังคมได้อย่างมีความสุขเป็นต้น จึงควรพัฒนาครูให้ เป็นนักวิจัย เพราะครูเป็นผู้อยู่ในปัญหา และรู้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนมากที่สุด (วัลลภ กันทรัพย์ . 2534 : 17) จึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนโดยตรงในการส่งเสริมสนับสนุนให้ ครูผู้สอนมีความสามารถในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ของนักเรียนตามมาตรา 30 ที่ให้สถานศึกษา พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่ มีประสิทธิภาพรวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัย เพื่ อ พัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา การส่งเสริมให้ครูทาวิจัยในชั้นเรียน ให้ได้นั้น ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องใช้เวลาและความพยายามพอสมควร โดยประการแรกผู้บริหาร โรงเรียนจะต้องทราบก่อนว่าอะไรคือปัญหาที่แท้จริงสาหรับครูที่ไม่ทาวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งอาจพบ ปัญหาได้แก่ ครูไม่มีความรู้เรื่องการทาวิจัยในชั้นเรียนครูไม่เห็นคุณค่าของการวิจัยในชั้นเรียน ครูเห็น ว่าการวิจัยในชั้นเรียนเป็นเรื่องยาก ขาดผู้ให้คาแนะนาในการทาวิจัยในชั้นเรียน ขาดเอกสารงานวิจัย ให้ครูดูเป็นแบบอย่าง และครูไม่มีเวลาที่จะทาวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งปัญหาดังกล่าวถือเป็นปัญหาสาคัญที่ ครูไม่ ท าวิจัยในชั้นเรีย น และโรงเรีย นนาโดยผู้บริหารสามารถแก้ ปัญหาดังกล่าวได้ด้วยวิธีการที่ หลากหลาย การพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนนั้น วิธีการหนึ่งที่ใช้ ได้ผลดีคือการจัดให้มีการฝึกอบรมซึ่งการฝึกอบรมเป็นกระบวนการและกิจกรรมที่จะเสริมสร้างให้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะหรือความชานาญในการทาวิ จัยในชั้นเรียน ตลอดจนมีเจตคติที่ดีและถูกต้องในเรื่องดังกล่าว สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม ทั้ง ยังเป็นการเพิ่มขวัญและกาลังใจให้กับครูในการจัดการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ซึ่งในการพัฒนาครู ก็ควรมีรูปแบบที่หลากหลายโดยนักวิชาการหลายท่านที่มีประสบการณ์ในการพัฒนาบุคลากรได้ให้ ความเห็นว่า การจัดฝึกอบรมภายในหน่วยงานจะประสบผลสาเร็จได้ดี เนื่องจากบุคลากรในหน่วยงาน สามารถกาหนดหลักสูตรการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความต้องการและเหมาะสมกับสภาพการ ดาเนินงานของหน่วยงานได้อย่างเต็มที่ ตลอดจนสามารถกาหนดเทคนิคที่ใช้ในการฝึ กอบรมได้อย่าง เหมาะสมกับผู้เข้ารับ การฝึก อบรม ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงาน ซึ่งการจัดการฝึกอบรมในโรงเรียนก็เป็นอีก แนวทางหนึ่งที่สาคัญที่จะช่วยในการพัฒนาครูในการปฏิบัติงานด้านการจัดการเรียนการสอนและด้าน อื่น ๆ ให้มีประสิทธิภาพ (ชูชัย สมิทธิไกร. 2540 : 8)


4 สภาพปัญหาดังกล่าวในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการทาวิจัยในชั้นเรียนที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน โดยใช้วิธีการจัดการฝึกอบรม หรือการจัดประชุมปฏิบัติการด้านการวิจัยในชั้นเรียนไม่สอดคล้องกับ วิถีชีวิตการปฏิบัติงานจริงของครู การจัดการฝึกอบรมเน้นการให้ความรู้ด้านการวิจัยที่เป็นการวิจัย เชิ ง วิ ช าการ (Academic Research) ผู้ ที่ เ ป็ น วิ ท ยากรในการฝึ ก อบรมก็ จ ะเป็ น กลุ่ ม คณาจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษา หรือนักวิชาการที่สาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทาให้การฝึก อบรมเรื่อง การวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นมี ก ารบรรจุ ส าระความรู้ ที่ เ ป็ น กระบวนการวิ จั ย แบบเป็ น ทางการ (Formal Research) ซึ่งเป็นการวิจัยที่นักวิชาการใช้ในการทาวิจัยของตน อันมีเป้าหมายหลักเพื่อพัฒนาหรือ ขยายองค์ความรู้ในศาสตร์ของตนเอง ทาให้ครูผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่สามารถพัฒนาความก้าวหน้า ในการทาวิจัยในชั้นเรียนได้เท่าที่ควร เนื่องจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่ ครูได้รับความรู้จาก การ อบรมไม่เพียงพอเพราะไม่มีพื้นฐานในการวิจัย จึงไม่สามารถทาการวิจัยแบบเป็นทางการได้ตามลาพัง ส่งผลให้ครูทาการวิจัยไม่ประสบความสาเร็จ และอีกสาเหตุหนึ่งคือ ในการทาวิจัยเป็ นเรื่อง ที่จะต้อง ได้รับการ ฝึกฝนและเรียนรู้จากผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญ แต่หลักสูตรการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นหลักสูตร แบบเร่ ง รั ด สาระในหลั ก สูต รเกี่ ย วข้ อ งกั บ หลั ก การของการท าวิ จั ย การเรี ย นรู้ ศัพ ท์ เ ทคนิ ค และ กระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้ในการทาวิจัยเป็นเรื่องที่ครูไม่คุ้นเคย เป็นเรื่องที่เข้าใจยาก และต้องอาศัยการ ฝึกปฏิบัติภายใต้ การดูแลของพี่เลี้ยงที่เข้าใจในวิธีการวิจัยอย่างสม่าเสมอ แต่ในสภาพจริงหลังการ ฝึกอบรมครูที่ทาวิจัยไม่ได้มีพี่เลี้ยงช่วยในการทาวิจัย ทาให้งานวิจัยมีข้อบกพร่อง ผิดพลาด ทาให้ครู เกิ ด ความท้ อ ถอยในการท าวิจั ย และท้า ยที่ สุด ก็ เ กิ ด ทั ศ นคติ ใ นทางลบต่ อการทาวิ จั ย ในชั้ นเรี ย น (สุภาภรณ์ มั่นเกตุวิทย์. 2544 : 3 - 4) อัศวิน อินทรปัญญา (2549 : 79 – 82) ได้ศึกษาการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัยในชั้นเรียน โรงเรียนบ้านหนองซา อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น พบว่า ครูผู้สอนในโรงเรียนบ้านหนองซา ไม่มีความรู้ความเข้าใจการทาวิจัยในชั้นเรียน ขาดทักษะในด้านการวิจัยในชั้นเรียน ขาดแรงจูงใจและ ความกระตือรือร้น ขาดการนิเทศติดตามแนะนา หลังจากได้ดาเนินการพัฒนาครูด้านการวิจัยในชั้น เรียนตามขั้นตอนการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยใช้กลยุทธ์การอบรมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศ ผลของ การพัฒนาทาให้ครูผู้สอนที่สมัครใจเข้าร่วมพัฒนาตนเองในด้านการวิจัยในชั้นเรียน มีความตระหนัก และเห็นความสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียน ทาให้มีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระในด้านการวิจัยใน ชั้นเรียนได้ถูกต้องตามขั้นตอนการวิจัย และสามารถทาการวิจัยในชั้นเรียนได้เป็นอย่างดี อวิรุทธ์ มูลเอก (2551 : 124 – 126) ได้ศึกษาการพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน โรงเรียนบ้านผาสิงห์ อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี พบว่า ก่อนการศึกษาค้นคว้าบุคลากรขาด ความรู้ความเข้าใจในการวิจัยในชั้นเรียน ขาดผู้แนะนาเอกสารในการวิจัย และคิดว่าการทาวิจัยในชั้น เรีย นเป็ นเรื่อ งยากจึง ไม่ ค่ อยสนใจที่จะทาการวิจัย ในชั้นเรี ย น โดยเฉพาะอย่ า งเรื่องการเขี ย นเค้ า โครงงานวิจัย ในชั้ นเรีย นเป็ นอั นดับแรก จากผลการดาเนินการโดยการใช้ก ลยุ ทธ์ก ารอบรมเชิ ง


5 ปฏิ บั ติ ก าร การนิ เ ทศภายใน พบว่ า บุ ค ลากรเห็ น ความส าคั ญ ของการวิ จั ย ในชั้ น เรี ย น มี ค วาม กระตือรือร้นในการทางานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน สามารถทาการวิจัยควบคู่ไปกับการจัดการ เรียนการสอน มีการประเมินการสอนของตนเอง มีความเข้าใจเกี่ยวกับการทาวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียน มาจากสภาพการปฏิบัติงานของครูผู้สอน เช่น สภาพการจัดการ เรียนการสอน การใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน วิธีสอนที่ใช้ในวิชาต่าง ๆ หรือพฤติกรรมของ นั ก เรี ย นที่ เ ป็ น ปั ญ หาการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน นอกจากนี้ อ าจมาจาก ผลสั ม ฤทธิ์ ต าม จุดประสงค์ในรายวิชา หรือจากบันทึกหลังการสอน หรือมาจากการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานของ สถานศึกษา ซึ่งโดยสรุปได้ว่า หากตราบใดที่ครูผู้สอนยังไม่ หยุดดาเนินการจัดกระบวนการเรียนการ สอน จะมีประเด็นปัญหาที่ให้ครูดาเนินการวิจัยในชั้นเรียนอย่างไม่มีที่สิ้นสุด และการวิจัยในชั้นเรียน เป็นงานที่ครูผู้สอนควรทาและเมื่อได้ผลการแก้ปัญหา ควรที่จะเผยแพร่ให้เพื่อนร่วมงานได้นาไป ประยุกต์ใช้ โดยจัดทาเป็นเอกสารที่เรียบเรียงไว้อย่างเป็นขั้นตอนและมีภาษาที่เข้าใจได้ง่าย ซึ่งการ เขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนนี้ยังเป็นปัญหาสาหรับครูอยู่ โรงเรียนวัดพิกุลทอง ได้จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล – ประถมศึกษาศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียน 550 คน มีครูทั้งหมด 24 คน และมีการจัดการเรียนการสอนแบบครูสอนได้ทุกรายวิชา ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนยังมีคณะครูบางท่านที่ไม่สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนได้ ทั้ ง ด้า นวิช าการและด้า นพฤติก รรม ครู ไ ม่ ไ ด้ วิเ คราะห์ ข้อ มูล นัก เรีย นรายบุ คคล แต่ คณะครู มีค วาม ประสงค์ ที่ จะแก้ ปั ญหาโดยใช้ วิธีก ารหรือนวัตกรรมในการแก้ ปัญหาที่เกิ ดขึ้น ดังนั้น ผู้ศึก ษาจึง มองเห็นความสาคัญและอยากมีส่วนร่วมในการช่วยแก้ปัญหาจึงหาแนวทางที่จะประชุมเชิงปฏิบั ติการ เกี่ยวกับการทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อให้ความรู้และหานวัตกรรมในการทาวิจัยชั้นเรียนขึ้น ดังนั้นผู้วิจัย จึงมองเห็นปัญหาและเห็นว่าควรมีการพัฒนาการเขียนงานวิจัยในชั้นเรียนขึ้น

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อได้พัฒนารูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตร เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนของครู โดยทาวิจัยในชั้นเรียน 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจและความคิดเห็นรูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการ พัฒนาคุณภาพการสอนของครู โดยทาวิจัยในชั้นเรียน

ขอบเขตของการศึกษา การประเมินครั้งนี้ เป็นการศึกษารูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ประเมินความพึงใจ และความคิดเห็นของครูในการพัฒนาคุณภาพการสอนของครูโดยใช้กระบวนการนิเทศแบบ กัลยาณมิตร และได้กาหนดขอบเขตไว้ ดังนี้


6 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ครูโรงเรียนวัดพิกุลทอง จานวน 24 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ ครูที่สอนวิชา คอมพิวเตอร์ จานวน 2 คน

คานิยามศัพท์ 1. การวิ จัยในชั้นเรียน หมายถึง การวิจัย ที่ ทาโดยครู ใ นชั้น เรีย นโดยมีจุดประสงค์เพื่ อ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน มีการดาเนินการที่มีแผนชัดเจน กระทาอย่างรวดเร็วสามารถนาผลมา ใช้ได้ทันที โดยมีจุดเน้นที่เป็นประโยชน์ต่อตัวนักเรียนมากที่สุด 2. การนิเทศภายในแบบกัลยาณมิตร หมายถึง ระบบการนิเทศการสอน การชี้แนะช่วยเหลือ ด้านการเรียนการสอนในกลุ่มเพื่อนครูด้วยกัน โดยให้ครูที่มีความชานาญในการสอนผลัดกันนิเทศนั้น เป็นการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างครูและเสริมสร้างกัลยาณมิตร

ประโยชนที่ได้รับ 1. ได้พัฒนารูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตร เพื่อพัฒนาพัฒนาคุณภาพการสอนของครู โดยทาวิจัยในชั้นเรียน 2. ครูมีความพึงพอใจและความคิดเห็นรูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการพัฒนา คุณภาพการสอนของครู โดยทาวิจัยในชั้นเรียน

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการพัฒนา คุณภาพการสอนของครู โดยท าวิจัยในชั้นเรีย นและเพื่อประเมินความพึ งพอใจในการนิเทศแบบ กัลยาณมิตรในการทาวิจัยชั้นเรียนของครูโรงเรียนวัดพิกุลทอง ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารตามหัวข้อ ต่อไปนี้ 1. การวิจัยในชั้นเรียน 2. กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน 3. กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร

1. การวิจัยในชั้นเรียน ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน การเรียนการสอนในชั้นเรียน คือ กิจกรรมที่เกิดขึ้นระหว่าง ผู้สอนกับผู้เรียน บทบาทของ ผู้สอน คือการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรให้กับผู้ เรียนทั้งชั้น การสอนคงไม่ใช่เรื่องยาก เลย ถ้าผู้เรียนทั้งหมดมีพื้นฐานความรู้เหมือนกัน มีความสามารถทัดเทียมกัน และพร้อมจะเรียนรู้ได้ จากวิธีการสอนของผู้สอนคนเดียวได้ทุกเวลา แต่ในความเป็นจริงผู้เรียนทั้งชั้นมีความรู้ความสามารถ


7 พื้นฐานแตกต่างกัน จึงมักเกิดปัญหาในการเรียนการสอนกับผู้สอน ผู้สอนจึงควรเลือกวิธีการสอนที่ เหมาะสมกับผู้เรียนโดยส่วนรวม ผู้สอนต้องพยายามคิดค้นวิธีสอน สื่อ ตลอดจนเครื่องมือใหม่ๆ มา ช่วยในการเรียนการสอน เพื่อแก้ปัญหาและเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน การสอนในชั้นเรียนไม่ใช่การบอกหนังสืออย่างเดียว การสอนในห้องเรียนซึ่งผู้สอนต้องจัด ประสบการณ์ก ารเรีย นรู้ ให้กั บ ผู้เรีย นทั้งชั้นซึ่งมีความสามารถพื้ นฐานแตกต่างกั นออกไปทาให้ บางครั้งเกิดปัญหากับ ผู้สอนที่ ต้องจัดกิ จกรรมหลากหลายสนองตอบต่อผู้เรีย นแต่ล ะคนการสอน ควบคู่กับการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล ผู้เรียนในชั้นมาวิ เคราะห์ ศึกษาสภาพ จึงเป็นสิ่งจาเป็นต้อง ดาเนินการตลอดเวลา การวิจัยในชั้นเรียนจะเริ่มขึ้นหลังจากผู้สอนสรุปได้ว่าปัญหาคืออะไร เกิดที่ ไหน และมีแนวทางจะแก้ปัญหานั้นได้อย่างไร กล่าวคือผู้สอน คิดหาวิธีแก้ปัญหาทดลองใช้จนได้ผล แล้วพัฒนาเป็นนวัตกรรม สามารถนาไปเผยแพร่ได้ต่อไป การวิจัย ในชั้นเรียน คื อ การพัฒนาทางเลือกในการแก้ปัญหาหรือพั ฒนาคุณภาพได้อย่ าง เหมาะสม เกิดประสิทธิผล มีประสิทธิภาพที่สุดในชั้นเรียน เพราะการวิจัยในชั้นเรียนไม่เพียงแต่เป็น กระบวนการค้นหาคาตอบอย่างเป็นระบบ หรือเป็นแต่ศึกษาหาคาตอบโดยอาศัยวิธีที่น่าเชื่ อถือได้ เท่านั้น แต่ยังเน้นที่การแก้ปัญหาในชั้นเรียนอีกด้วย กล่าวโดยสรุป การวิจัยในชั้นเรียนควรมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ 1.เป็นการวิจัยจากปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. ทาการวิจัยเพื่อนาผลวิจัยไปพัฒนาการเรียนการสอน 3. ทาการวิจัยควบคู่กับการเรียนการสอน คือ สอนไปวิจัยไป แล้วนาผลการวิจัยไปใช้ แก้ปัญหาในชั้นเรียน และทาการเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่น การวิจัยในชั้นเรียน คือ กิจกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างครูและนักเรียน และบทบาทครู คือ การจัด ประสบการณ์ ก ารเรีย นรู้ต ามหลั ก สูต รให้กั บนั ก เรีย นทั้งชั้ น การสอนในชั้น เรีย นไม่ใ ช่ก ารบอก หนังสือ หรือการบอกให้จดหนังสืออย่างเดียว การสอนในชั้นเรียนครูจะต้องจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ให้กับนักเรียนทั้งชั้นซึ่งมีความสามารถพื้นฐานแตกต่างกันออกไป ทาให้บางครั้งเกิดปัญหากับ ผู้สอนที่ต้องจัดกิจกรรมหลากหลายสนองตอบต่อผู้เรียนแต่ละคน การสอนควบคู่กับการสังเกต เก็บ รวบรวมข้อมูลนักเรียนในชั้นมาวิเคราะห์ ศึกษาสภาพ จึงเป็นสิ่งจาเป็นต้องดาเนินการตลอดเวลา การ วิจัยในชั้นเรียนจะเกิดขึ้นหลังจากครูสรุปได้ว่าปัญหาคืออะไร เกิดที่ไหนและมีแนวทางจะแก้ปัญหา นั้นได้อย่ างไร กล่าวคือ ครูคิ ดหาวิธีการแก้ปัญหาแล้วได้นาไปทดลองใช้จ นได้ ผลแล้วพั ฒนาเป็น นวัตกรรม สามารถนาไปเผยแพร่ได้ต่อไป


8 2. กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน การทาวิจัยในชั้นเรียนมีการดาเนินการเป็นขั้นตอน โดยยึดหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และ ได้นามาขยายให้เป็นขั้นตอนที่ละเอีย ดต่อเนื่อง เพื่อสะดวกในการปฏิบัติ ผู้สอน จึงสามารถวางแผน ดาเนินงานไว้ล่วงหน้าได้ ขั้นตอนของการทาวิจัยในชั้นเรียนมีดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสารวจ และวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน การวิจัยในชั้นเรียนเรื่องใดๆ ก็ตาม จะต้องเริ่มต้นด้วยการมองปัญหาของเรื่องที่จ ะวิจัยอย่าง ชัดเจน เพราะการมองเห็นปัญหานาไปสู่ความต้องการในการแก้ไขปรับปรุงหรือการพัฒนาได้และ ความต้องการนี้จะนามากาหนดเป็นวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยจะสามารถมองปัญหาการเรียน การสอนในรายวิชาที่ตนรับผิดชอบได้อย่างชัดเจน โดยทาการสารวจข้อบกพร่อง และวิเคราะห์ ปัญหา กล่าวคือ จะต้องค้นหาว่า ผู้เรียนมีความบกพร่องจุดใดเนื่องจากสาเหตุอะไร ซึ่งอาจได้จากการระดม พลั ง สมอง ตรวจสมุ ด แบบฝึ ก หั ด จากผลการสอบปลายภาค หรื อ จากผลการวิ จั ย เมื่ อ ส ารวจ ข้อบกพร่องได้แล้ว นามาวิเคราะห์หาสาเหตุและความต้องการในการแก้ปัญหาให้ตรงกับสาเหตุนั้ นๆ แล้วเขียนออกมาในรูปวัตถุประสงค์ของการวิจัย สิ่งที่ผู้สอน จะได้จากการดาเนินการในขั้นตอนที่หนึ่งนี้ คือ กาหนดปัญหาการเรียนการสอน ได้อย่างเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เพื่อนาเสนอเขียนสภาพปัญหาของผู้เรียนและนอกจากนี้ ผู้สอน สามารถเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ด้วย ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เมื่อได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยแล้วก็ควรที่จะศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับเรื่องที่ จะทาการวิจัยนั้นว่ามีอยู่ก่อนแล้วบ้างอย่างไร งานวิจัยที่จะทานั้นมีความเชื่อมโยงกับทฤษฎีอย่างไร ทั้งนี้เพื่อแสดงความต่อเนื่องทางวิชาการที่ต้องการที่จะมีส่วนสร้างเสริมให้เจริญก้าวหน้าให้มีความ สมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป การศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ช่วยผู้สอน ในเรื่องต่อไปนี้ 1. มองปัญหาที่จะวิจัยได้ชัดเจนขึ้น 2. ได้แนวคิดความรู้พื้นฐานตลอดจนทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็น (ตัวแปร) ที่จะศึกษา 3. เห็นแนวทางในการศึกษาปัญหา 4. สามารถอธิบายปัญหา โดยเฉพาะการกาหนดขอบเขตของการวิจัย และสามารถอธิบาย ตัวแปรที่จะศึกษา 5. สามารถตั้งสมมติฐานได้อย่างสมเหตุสมผล 6. เลือกเทคนิคการสุ่มตัวอย่างได้เหมาะสม 7. เลือกเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้ถูกต้อง 8. เลือกวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม


9 สิ่งที่ผู้สอนจะได้จากการดาเนินการในขั้นตอนนี้ คือ ได้เทคนิคในการแก้ปัญหาที่สอดคล้อง กับหลักการ ทฤษฎี หรืองานวิจัยที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว ซึ่งทาให้แนวคิดของ ผู้สอนน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมเป็นรูปแบบ หรือวิธีการแก้ปัญหาที่ผู้สอนสร้างขึ้นมาเอง หรือนาเอารูปแบบ หรือ วิธีการที่ผู้อื่นทาไว้แล้วมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาที่ต้องการแก้ไข เช่น - บทเรียนสาเร็จรูป เหมาะสมกับ ผู้เรียนเรียนช้า - ชุดการสอน เหมาะสมกับ ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ต่า - คู่มือการสอน เหมาะสมกับ ปัญหาการขาดคู่มือการสอน สิ่ ง ที่ ผู้ ส อน จะได้ จ ากการด าเนิ น การในขั้ น ตอนนี้ คื อ ได้ น วั ต กรรมที่ ค าดว่ า มี คุ ณ ภาพ เหมาะสมที่จะนาไปใช้ในการแก้ปัญหา ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบการทดลอง การทดลองทาได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะของนวัตกรรม จานวนกลุ่มผู้เรียนที่ทดลองและ จานวนครั้งของการวัดตัวแปรที่ศึกษา แต่ละแบบมีการดาเนินงานที่แตกต่างกันฉะนั้นผู้สอน จะต้อง ออกแบบการทดลองให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ และสมมติฐาน การวิจัย โดยคานึงถึงกลุ่มตัวอย่าง และตัวแปรที่วัด สิ่ ง ที่ ผู้ ส อน จะได้ จ ากการด าเนิ น การในขั้ น ตอนนี้ คื อ ได้ น วั ต กรรมที่ ค าดว่ า มี คุ ณ ภาพ เหมาะสมที่จะนาไปใช้ในการแก้ปัญหาได้หรือไม่ ขั้นตอนที่ 5 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัด ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อการวิจัยในชั้นเรียนนั้นจะใช้เครื่องมือชนิดใดย่อมขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ข องการวิจัยและตัวแปรที่จะวัด เช่น ถ้าต้องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เครื่องมือวัด คือ แบบทดสอบ ถ้าต้องการวัดความคิดเห็น เครื่องมือวัด คือแบบสอบถามความคิดเห็น ถ้าต้องการวัดเจตคติ เครื่องมือวัด คือ แบบวัดเจตคติ เป็นต้น เครื่องมือวัดแบ่งออกได้หลายชนิด แต่ละ ชนิดเหมาะกั บข้ อมู ลแต่ละลัก ษณะจึงจาเป็นต้องศึก ษาเครื่องมือแต่ละชนิด ทั้งในแง่ลักษณะของ เครื่องมือวัด วิธีการสร้าง และข้อดี ข้อจากัด เพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสม เมื่อผู้สอน ได้สร้างเครื่องมือวัด หรือปรับปรุงเครื่องมือวัดที่ผู้อื่นสร้างไว้แล้วจะต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือก่อนที่จะ นาไปใช้จริง โดยนาไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มใด กลุ่มหนึ่ง ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับประชากรที่ เราศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดเช่น ความตรง (Validity) และความเที่ยง (Reliability) ถ้า หากมี คุ ณภาพต่ากว่า เกณฑ์ จะต้ องมีก ารปรับ ปรุงพั ฒนาให้ มีคุณภาพก่ อนนาไปใช้ใ นการเก็ บ รวบรวมข้อมูลจริง


10 ขั้นตอนที่ 6 การทดลอง การรวบรวม การวิเคราะห์ และสรุปผล เมื่อผู้สอน สร้างนวัตกรรม และเครื่องมือวัดเสร็จแล้ว ขั้นต่อไป คือ นาเอานวัตกรรมนั้นไป ทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง และเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ตามแนวทางที่กาหนดไว้ การทดลอง การรวบรวม การวิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล ถ้าจะให้เป็นไปตามแนวทางที่ ถูกต้อง จะต้องมีปฏิทินปฏิบัติงานแสดงเวลา และระยะเวลาของการดาเนินงานแต่ละขั้นตอนด้วย สิ่งที่ผู้สอน จะได้จากการดาเนินการในขั้นตอนนี้ คือ ได้ปฏิทินปฏิบัติงานได้นานวัตกรรมไป ทดลอง ได้เก็บรวบรวมข้อมูล นาข้อมูลไปวิเคราะห์ และสรุปผลการทดลอง ขั้นตอนที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัยเป็นขั้นสุดท้ายของการทาวิจัย เป็นการรายงาน งานวิจัยตั้งแต่เริ่มต้น วิเคราะห์ และสารวจปัญหา การพัฒนารูปแบบ การทดลองใช้รู ปแบบ เพื่อแก้ปัญหาจนกระทั่งถึงการ วิเคราะห์ผล สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ การเขียนรายงานมีประโยชน์อย่างมากทั้งตัวผู้สอน และผู้อื่น เพราะการเขียนรายงานการวิจัย เป็นการเสนอสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบให้ผู้อื่น ทราบ เพื่อจะได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนาไปใช้ประโยชน์อ้างอิงได้ สิ่ง ที่ ผู้ส อน จะได้จ ากการด าเนินการในขั้นตอนนี้ คือ ได้รายงานวิจัย ที่เขีย นถู ก ต้องตาม รูปแบบ


11 กระบวนการทาวิจัยในชั้นเรียน กระบวนการ 7 ขั้น

การสารวจและวิเคราะห์ปญ ั หา การเรียนการสอน (1) การศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (2)

กรณีตัวอย่าง ปัญหาการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ ผู้เรียน มีพื้นความรูต้ ่า ผู้เรียน ไม่สนใจทา แบบฝึกหัด ครูสอนไม่มีสื่อการสอน ผู้สอนคิดค้นทางเลือกในการแก้ปัญหา

การกาหนดรูปแบบ หรือวิธีการที่ใช้ ในการแก้ปัญหา (3) (การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ) การออกแบบการทดลอง (4)

ผู้สอนกาหนดวิธีการแก้ปญ ั หา แล้วพัฒนา ทดลองในกลุ่มประมาณ 1 ปี ปรับปรุงจนได้มาตรฐาน

การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัด (5)

สร้างเครือ่ งมือประเมินผลการทดลอง

การทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผล (6)

ผู้สอนใช้กับผูเ้ รียน รุ่นที่ 2 ของปีถัดไป แล้วมีการประเมินสรุปผลความก้าวหน้า

การเขียนรายงานการวิจัย (7)

ทารายงานประเมินผลวิจัยในชั้นเรียน


12 3. กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร กัลยาณมิตรนิเทศสาหรับศึกษานิเทศก์เน้น 5 กระบวนการสาคัญดังนี้ 1. กัลยาณมิตรนิเทศเน้นการนิเทศคนไม่ใช่นิเทศกระดาษการนิเทศครูในโรงเรียนของเราเป็น การนิเทศคนไม่ใช่การนิเทศกระดาษและอุปกรณ์เพราะฉะนั้น การนิเทศแบบกัลยาณมิตรจะเกิดขึ้น ไม่ได้ถ้าศึกษานิเทศก์ไม่สนใจครู สนใจนักเรียน หรือหาวิธีในการจัดเพื่อให้ศึกษานิเทศก์พบกับครูคุย กับครูในลักษณะที่ไม่เป็นทางการ และเป็นทางการ คือนั่งประชุมตัวตรงอย่างเป็นทางการก็ทา หรือ นั่ง คุ ย กั นไปกิ นขนมครกกั บ กาแฟตอนเช้าไปก็ ไ ด้ เป็นการนิเทศคนแล้วเราจะได้ปัญญาจะได้ แนวทางแก้ไขมากกว่านิเทศกระดาษ 2. กัลยาณมิตรนิเทศ เป็นกระบวนการ "ให้ใจ" และ"ร่วมใจ" การนิเทศคน เราจะนิเทศไม่ได้ ถ้า ไม่ ไ ด้ใ จของเขา เพราะถ้า จ าใจแล้วจาเจ มัน น่าเบื่อ อะไรก็ ตามที่ จาใจทาแล้ว ไม่เกิ ดฉันทะ เพราะฉะนั้นหน้าที่ของศึกษานิเทศก์คือทาอย่างไรจะให้ครูในโรงเรียนของเรามีใจ ไม่มาโรงเรียนแต่ กาย เพราะฉะนั้นสิ่งแรกคือ ทาอย่างไรจึงจะได้ใจเขามาแล้วครูในโรงเรียนของเราทางานสาเร็จเป็น ความสาเร็จจากการร่วมใจของทุกคน 3. กัลยาณมิตรเริ่มต้นที่ "ศรัทธา" การที่จะได้ใจต้องสร้างศรัทธาเราไหว้พระมานานเพราะ ความศรัทธาเลื่อมใสศรัทธาสาหรับคนไทยสร้างไม่ยากพอเริ่มยิ้ มให้กันศรัทธาจะเกิดขึ้นใช้ผัสสะทั้ง 6 ให้ได้เห็น ให้ได้ยิน ให้ได้สัมผัสด้วยกาย วาจาใจ คือเป็นการสร้างรอยยิ้มให้เกิดขึ้น ขอให้ยิ้มแม้ว่า เราจะหนักใจอย่างไรก็ตาม เอาน้าขุ่นไว้ใน น้าใสไว้นอก ไม่ได้หมายความว่าหน้าไหว้หลังหลอกแต่ ขอให้สร้างศรัทธาทันทีที่เราออกไปสู่สังคมภายนอกนั่นก็คือทาให้งานเป็นกระบวนการทางบวกไม่ว่า จะเกิดอะไรขึ้นงานที่เราทาต้องเป็นกระบวนการทางบวกยอมรับกัน สนับสนุนกัน เกื้อกูลกัน ขอให้ เราถามไถ่สารทุกข์สุกดิบกัน วันนี้เป็นอย่างไร ดูหน้าซีดเป็นอะไรหรือเปล่า ทานยาหรือยัง คือ แสดง ความเอาใจใส่ แต่อย่ามากเกินไป ต้องรู้หลักมัชฌิมาปฏิปทา สร้างความไว้วางใจสร้างความเชื่อมั่น ในทางเสริมแรงกัน 4. กระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศเน้นการสร้างสังคมการเรียนรู้ ในประเทศไทยเรานี้ที่เรายัง ไปไม่ถึงไหน เพราะเราไม่ใช่สังคมความรู้ แต่เป็นสังคมความเห็น ถ้าท่านอ่านหนังสือพิมพ์แล้วดูหน้า การศึกษา จะไม่ค่อยมีใครออกมาให้ความรู้แก่คนในวงการศึกษา หรือให้ความรู้แก่ครูมีแต่การแสดง ความเห็น จึงเป็นหน้าที่ของสภาการศึกษาอย่างหนึ่ง ที่จะทาให้เกิดสังคม ความรู้ขึ้นในบรรดาคนที่ สภาการศึกษาไปเกี่ยวข้อง ธรรม คือฐานความรู้


13 การนิเทศแบบกัลยาณมิตร เป็นหน้าที่ของศึกษานิเทศก์ที่จะต้องดาเนินการ ดังนี้ - การสร้างศรัทธา ได้แก่ การสร้างความตระหนักและเห็นความสาคัญ การให้ ความรู้ความเข้าใจว่าการวิจัยในชั้นเรียนไม่ใช่เรื่องยุ่งยาก - สาธิตรูปแบบการทาวิจัยในชั้นเรียน ให้เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า การวิจัยในชั้นเรียน สามารถปฏิบัติและทาได้จริง - ร่วมคิดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติไปควบคู่กับการร่วมคิด แก้ไข ปัญหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการวิจัยในชั้นเรียน - ติดตามประเมินผล นาผลงานวิจัยของครูไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ศึกษานิเทศก์จะมัวพูดว่าผมไม่รู้อยู่ตลอดเวลาไม่ได้ จริงอยู่ไม่มีใครที่รู้ทั้งหมด เพราะเรา ไม่ใช่สัพพัญญู แต่โรงเรียนของเราจะต้องตื่นตัว ในการที่จะแสวงหาความรู้ มีป้ายกระดานข่าวให้ ความรู้ครู มีค วามสะดวกในการค้นหาความรู้ข่าวสารจากอินเทอร์เน็ตหรือแต่ละท่านมีวิธีก ารให้ ความรู้แก่ครูต่างๆกัน สิ่งที่เราทามันเกิดเป็นฐานความรู้ขึ้นมา แล้วครูของเราก็จะเป็นครูที่มีความรู้ เกิดขึ้นเพราะฉะนั้นฐานความรู้จึงเป็นฐานที่สาคัญ


14 Flow Chart การนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร ประชุมวางแผน

คู่กัลยาณมิตรทาปฏิทินการนิเทศ

สังเกต / นิเทศการสอน

ประเมินผลการนิเทศ ไม่ผ่าน บรรลุผลหรือไม่

ปรับปรุง / แก้ไข ผ่าน

สรุปรายงานผลการนิเทศ

พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง


15 วิธีดาเนินการวิจัย ในการศึกษาการทาวิจัยในชั้นเรียนที่ใช้การนิเทศแบบกัลยาณมิตรในครั้งนี้ ซึ่งใช้เวลาใน การศึกษาเพียงระยะเวลาสั้น ๆ และกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ศึกษาเป็น กลุ่มเล็กๆ และการวิจัยการพัฒนา กระบวนการนิเ ทศแบบกั ล ยาณมิ ต รในการท าวิ จั ย ชั้ นเรีย น ของครู โ รงเรี ย นวั ดพิ กุ ล ทอง สั ง กั ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 1 มีขั้นตอนในการดาเนินงาน ดังนี้ ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ครูโรงเรียนวัดพิกุลทอง จานวน 24 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนวัดพิกุลทองที่สอนวิชา คอมพิวเตอร์ จานวน 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการและชุดฝึกปฏิบัติการ การทาวิจัยในชั้นเรียน จานวน 1 ชุด 2 . แผนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร

แผนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร วันที่ กระบวนการนิเทศ 1 การสร้างศรัทธา สร้างความ ตระหนักและเห็นความสาคัญ

เรื่อง การวิจัยในชั้นเรียน - สนทนาซักถามความรู้พื้นฐาน/ความเข้าใจ เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน - ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน - จุดประสงค์ของการวิจัยในชั้นเรียน - ลักษณะสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียน - ประเภทของการวิจัยในชั้นเรียน - ประโยชน์ของการวิจัยในชั้นเรียน - ขั้นตอนหรือกระบวนการวิจัยในชั้นเรียน - สรุป ทบทวนความเข้าใจการวิจัยในชั้น เรียน

หมายเหตุ


16 วันที่

กระบวนการนิเทศ สาธิตรูปแบบการวิจัยในชั้น เรียน

2-3 ร่วมคิดแลกเปลี่ยนเรียนรู้

เรื่อง - นาตัวอย่างผลงานวิจัยในชั้นเรียนแบบต่าง ๆ มานาเสนอให้ครูได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน - อธิบายเพิ่มเติม/ซักถาม/ตอบปัญหาข้อข้องใจ ต่าง ๆ ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดปัญหาและสาเหตุปัญหา - ใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหาการ เรียนการสอนในชั้นเรียน ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดวิธีการแก้ปัญหา/แนว ทางการแก้ปัญหา - ใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 2 เลือกสาเหตุของปัญหา และกาหนดวิธีการแก้ - ใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 3 การกาหนดหัวข้อ หรือ ชื่อปัญหาการวิจัย - ทบทวนความรู้/สรุปการวิจัยที่เรียนรู้มา แก้ปัญหา/แนวทางการแก้ปัญหา - ใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 4 ระบุเหตุผล/ ความสาคัญของปัญหางานวิจัย - ใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 5 การเขียนวัตถุประสงค์ การวิจัย ขั้นตอนที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย/การดาเนินการ แก้ปัญหา - ใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 6 วิธีดาเนินการวิจัย/การ ดาเนินการแก้ปัญหา - ทบทวนการใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 6 วิธีดาเนินการแก้ปัญหา/การดาเนินการแก้ปัญหา - ใช้แบบฝึกปฏิบัติที่ 7 การเขียนโครงร่างการ วิจัย - ทบทวน/สรุปการเรียนรู้การทาวิจัยในชั้นเรียน ที่เรียนรู้มาทั้งหมด

หมายเหตุ


17 วันที่ กระบวนการนิเทศ 4 ติดตามประเมินผล

เรื่อง หมายเหตุ - นาผลงานวิจัยในชั้นเรียนมานาเสนอต่อที่ ประชุมให้เพื่อนครูวิพากษ์เพื่อสรุปข้อดีและสิ่งที่ ควรจะแก้ไขปรับปรุงเป็นรายบุคคล -นาผลงานวิจัยมานาเสนอต่อที่ประชุมเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน -รวบรวมผลงานวิจัยของครูส่งให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจและวิพากษ์ 1. แบบประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัยใน

ชั้นเรียน 2.

แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อขั้นตอนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัย ใน

ชั้นเรียน

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองโดยใช้แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ ในการทาวิจัยชั้นเรียน โดยใช้การนิเทศแบบกัลยาณมิตรและแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อขั้นตอน การนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัยชั้นเรียน กับกลุ่มเป้าหมายมีผลงานที่เกิดขึ้นจริงแบบง่ายๆ เพื่อเป็นการวัดความรู้ที่ ได้รับจากการบรรยาย และตัวอย่างการทาวิจัยชั้นเรียน เก็บรวบรวมจากครู โรงเรียนวัดพิกุลทอง ที่สอนวิชา คอมพิวเตอร์ จานวน 2 คน ที่เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการการ ทาวิจัยในชั้นเรียน

สถิติที่ใช้และวิธีการวิเคราะห์ เมื่อเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามความพึงพอใจต่อรูปแบบกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ในการทาวิจัยในชั้นเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อขั้นตอนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรใน การทาวิจัยชั้นเรียน กับกลุ่มเป้าหมายแล้วนามาหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ คือ ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)โดยกาหนดให้ค่าน้าหนักหรือคะแนนเป็น 5 ระดับ ซึ่งกาหนดค่าคะแนน (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 100) ดังนี้ ระดับคะแนน 5 หมายถึง อยู่ในระดับมากที่สุด ระดับคะแนน 4 หมายถึง อยู่ในระดับมาก ระดับคะแนน 3 หมายถึง อยู่ในระดับปานกลาง ระดับคะแนน 2 หมายถึง อยู่ในระดับน้อย ระดับคะแนน 1 หมายถึง อยู่ในระดับน้อยที่สุด


18 การแปลความหมายค่าคะแนนเฉลี่ย ความพึงพอใจและความคิดเห็นของคณะครูกลุ่มตัวอย่าง ต่อการใช้รูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อการทาวิจัยในชั้นเรียน ผู้ศึกษาได้แปลความหมายของ ค่าคะแนนเฉลี่ยในแต่ละด้าน ดังนี้ 1.00 - 1.49 หมายถึงระดับน้อยที่สุด 1.50 – 2.49 หมายถึงระดับน้อย 2.50 – 3.49 หมายถึงระดับปานกลาง 3.50 – 4.49 หมายถึงระดับมาก 4.50 – 5.00 หมายถึงระดับมากที่สุด

ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการวิจัย ผู้ศึกษาใช้เวลาในการวิจัยในครั้งนี้ เริ่ม 21 พฤษภาคม 2555 ถึง 6 มิถุนายน 2555 โดยใช้เวลาประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 วัน ครูดาเนินการทาวิจั ยชั้นเรียนและนิเทศ 11 วัน ตั้งแต่การ ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน ศึกษาแนวคิดทฤษฏีที่เกี่ ยวข้อง พัฒนานวัตกรรม เพื่อแก้ ปัญหา สร้า งและพั ฒนาเครื่องมือวิจัยในชั้นเรียน ดาเนินการวิจัย แก้ปัญหา เก็บรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเขียนรายงานการวิจัย ในรูปแบบของวิจัยหน้าเดียว และ ผู้วิจัยได้นิเทศ ติดตามแบบกัลยาณมิตร 2 วัน โดยเว้นช่วงระยะ และได้ศึกษาติดตาม ประเมินผลด้วยตนเอง

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. นาข้อมูลจากแบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ได้แก่ ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการโดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อ พัฒนาการทาวิจัยในชั้นเรียน ตรวจให้คะแนนแบบสอบถาม โดยกาหนดให้ค่าน้าหนักหรือคะแนน เป็น 5 ระดับ ซึ่งกาหนดค่าคะแนน (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 100) จากที่ ข้ า พเจ้ า ผู้ ศึ ก ษาการท าวิ จั ย ชั้ น เรี ย น โดยการนิ เ ทศแบบกั ล ยาณมิ ต ร โดยมี กลุ่มเป้าหมายเป็นครูโรงเรียนวัดพิกุลทอง จานวน 2 คน ผู้ศึกษาได้ให้ความรู้แก่คณะครูเป็นเวลา 1 วัน พร้อมเอกสารประกอบการและใช้วิธีประชุมเชิงปฏิบัติการ การนาเสนอแบบบรรยาย เรื่ อง การ วิจัยชั้นเรียน นวัตกรรมที่จะนามาใช้ในการทาวิจัยชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอน นวัตกรรมที่ เป็ นวิธีการและนวัตกรรมที่เป็นในรูปแบบของเอกสาร ซึ่งผู้ศึกษาจะไม่ระบุก ารใช้ นวั ต กรรมในการท าวิ จั ย ชั้ น เรี ย น และจะใช้ วิ ธี ก ารนิ เ ทศแบบกั ล ยาณมิ ต รโดยการเข้ า พบปะ กลุ่มเป้าหมายแบบเพื่อน พี่ น้อง ที่ไม่เป็นทางการ จะเข้าไปพูดคุย ปรึกษา หาแนวทางร่วมกันในการ นาไปสู่ก ารท าวิจัย ชั้ นเรีย น จากนั้นให้ครูก ลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามความพึ งพอใจในการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ นามาหาค่าเฉลี่ยเพื่อประเมินผลการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ผลการสรุปดังนี้


19 ตารางที่ 1 แสดงความพึงพอใจของครูผู้สอนโรงเรียนวัดพิกุลทอง สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 1 ที่ได้รับการประชุมเชิงปฏิบัติการโดยใช้รูปแบบกระบวนการนิเทศแบบ กัลยาณมิตรเพื่อการทาวิจัยในชั้นเรียน ความพึงพอใจที่มีต่อการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ข้อ

ระดับความคิดเห็น

รายการ X

SD

แปลความ

1 วิธีการกาหนดกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างในการนิเทศ 2 การกาหนดหลักสูตร เนื้อหาสาระและกิจกรรมการนิเทศ

3.4

1.07

3.7

0.82

ปานกลาง มาก

3 การกาหนดวัน เวลาและสถานที่ ที่ใช้ในการนิเทศ

3.8

0.79

มาก

4 การกาหนดให้ศึกษานิเทศก์ทาหน้าที่เป็นผู้นิเทศ

4.1

0.74

มาก

5 การจัดบุคลากรที่เกี่ยวข้องมาช่วยปฏิบัติงาน

3.4

0.66

ปานกลาง

6 การนาสื่อและเครื่องมือนิเทศ มาใช้จริงในการนิเทศ

3.8 4.4

0.66 0.7

มาก

4.8 4.3

0.42 0.67

มากที่สุด

10 ความเชี่ยวชาญและความมั่นใจในเทคนิควิธีการนิเทศและ เรื่องที่นิเทศของผู้นิเทศ

4.3

0.67

มาก

11 การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการนิเทศให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี

4 4.5

0.82 0.71

มาก มากที่สุด

13 การจัดทารายงานการนิเทศเพื่อสรุปผลการนิเทศ

4.3

0.67

มาก

ความพึงพอใจต่อผลการนิเทศที่เกิดขึ้นกับผู้รับการนิเทศ 14 การเสริมแรงให้ผู้รับการนิเทศมีขวัญกาลังใจในการมุมานะ ปฏิบัติงานที่รับการนิเทศให้สาเร็จ

4.7

0.48

มากที่สุด

ความพึงพอใจต่อการดาเนินการนิเทศ

7 การปฏิบัติการนิเทศโดยใช้กิจกรรมและวิธีการที่กาหนดไว้ใน แผนนิเทศ 8 ความเป็นกันเองระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ 9 การให้คาปรึกษา แนะนาเป็นรายบุคคลที่มุ่งเจาะลึกถึงปัญหา และความต้องการของผู้รับการนิเทศแต่ละคน

12 การให้ผู้รับการนิเทศเป็นผู้ประเมินผลการนิเทศหลังเสร็จสิ้น การนิเทศ

มาก

มาก


20

ข้อ

ระดับความคิดเห็น

รายการ X

SD

แปลความ

15 ผลสาเร็จจากการทาวิจัยชั้นเรียนตามแนวทางที่ได้รับการ นิเทศหลังเสร็จสิ้นการรับการนิเทศ

4.3

0.67

มาก

16 ความประทับใจที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศ ตลอดระยะเวลาของการเข้ารับการนิเทศ

4.6

0.52

มากที่สุด

17 ความรู้ ทักษะและประสบการณ์เกี่ยวกับการทาวิจัยชั้นเรียนที่ ได้รับจากการเข้ารับการนิเทศ

4.5

0.53

มากที่สุด

18 รูปแบบและแนวทางการทาวิจัยชั้นเรียนที่ได้รับจากการนิเทศ

4.2

0.79

มาก

ความพึงพอใจต่อผลการนิเทศที่ส่งผลต่อนักเรียน 19 การทาวิจัยชั้นเรียนไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการ สอนได้ตรงจุด

4.2

0.63

มาก

4.1

0.74

4.17

0.14

มาก มาก

20 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น เฉลี่ยรวม

จากตารางที่ 1 ความพึงพอใจของครูผู้สอนโรงเรียนวัดพิกุลทอง จานวน 2 คน สังกัด ส านั กงานเขตพื้ นที่ การศึ กษาราชบุ รี เขต 1 ที่ ได้ รั บการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารโดยใช้ รู ป แบบ กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อการทาวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับ มาก ( X =4.17) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าโดยรวม พบว่า ครูมีความคิดเห็นต่อการใช้รูปแบบการนิเทศแบบ กัลยาณมิตรเพื่อการทาวิจัยชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด 5 รายการ ได้แก่ ความเป็นกันเองระหว่างผู้ นิเทศกับผู้รับการนิเทศ การให้ผู้รับการนิเทศเป็นผู้ประเมินผลการนิเทศหลังเสร็จสิ้นการนิเทศ การ เสริม แรงให้ผู้รับ การนิเทศมี ข วัญก าลังใจในการมุมานะปฏิบัติงานที่รับการนิเทศให้ส าเร็จความ ประทั บ ใจที่ ได้รับ จากการปฏิบั ติกิ จกรรมการนิเทศตลอดระยะเวลาของการเข้ารับการนิเทศและ ความรู้ ทักษะและประสบการณ์เกี่ยวกับการทาวิจัยชั้นเรียนที่ได้รับจากการเข้ารับการนิเทศ ส่วน รายการอื่นๆ อยู่ในระดับมาก


21 ตารางที่ 2 แสดงความคิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนวัดพิกุลทอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาราชบุรี เขต1 ที่มีความคิดเห็นต่อขั้นตอนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัยชั้นในเรียน ความคิดเห็นที่มีต่อขั้นตอนการนิเทศเพื่อพัฒนาครูผู้สอน ข้อ

ระดับความคิดเห็น

รายการ X

SD

แปลความ

1 การสารวจความต้องการรับการพัฒนาของครูผู้สอนทุกคนทุก โรงเรียนก่อนการนิเทศ

3.7

0.7

มาก

2 การรับสมัครเฉพาะครูผู้สอนที่สนใจและต้องการพัฒนา ตนเองเข้ารับการนิเทศ

3.8

0.6

มาก

3 การกาหนดให้ครูผู้สมัครเข้ารับการนิเทศทุกคนเป็น กลุ่มเป้าหมายของการนิเทศ

3.6

0.5

มาก

4 การกาหนดกลุ่มตัวอย่างในการนิเทศโดยใช้สมรรถภาพของ ครูนักวิจัยและมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมการนิเทศโดยตลอดทุก ครั้งเป็นเกณฑ์พิจารณา

4.3

0.7

มาก

4.5

0.5

มากที่สุด

6 การกาหนดขอบข่ายและเนื้อหาสาระของการนิเทศโดยบูรณา การเนื้อหาการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนกับการวิจัย ในชั้นเรียนเข้าด้วยกัน

4.4

0.8

มาก

7 การกาหนดรายละเอียดภาพตลอดแนวของการนิเทศเป็นการ วางแผนที่ช่วยให้ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศสามารถกาหนด บทบาทได้ชัดเจน

3.7

0.8

มาก

8 การกาหนดให้ใช้ห้องประชุมเป็นสถานที่ที่ใช้ในการนิเทศ

4.6

0.5

มากที่สุด

9 การกาหนดให้ศึกษานิเทศก์ ทาหน้าที่เป็นวิทยากรการนิเทศ

4.5

0.5

มากที่สุด

ขั้นที่ 1 : การศึกษาความต้องการรับการพัฒนาของผู้รับการนิเทศ

5 การแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างทราบเพื่อเตรียมตัว เข้ารับการนิเทศตามกาหนด ขั้นที่ 2 : การวางแผนนิเทศ


22

ข้อ

ระดับความคิดเห็น

รายการ X

SD

แปลความ

3.5

0.6

มาก

4.3

0.5

มาก

3.7

0.5

มาก

4

0.7

มาก

3.7

0.7

มาก

3.7

0.7

มาก

4

0.6

มาก

17 การนิเทศเป็นรายบุคคลที่มุ่งเจาะลึกถึงปัญหาและความ ต้องการของครูผู้รับการนิเทศแต่ละคน

4.3

0.5

มาก

18 การนิเทศเป็นกลุ่มใหญ่ในเรื่องที่ครูผู้รับการนิเทศทุกคนต้อง ได้รับการนิเทศเหมือนกัน

3.6

0.5

มาก

4.1

0.6

มาก

10 การจัดให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบช่วย ขั้นที่ 3 : การสร้างสื่อและเครื่องมือนิเทศ 11 การใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือศึกษาความคิดเห็นและ ความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศ ที่มีต่อการนิเทศตามรูปแบบ ที่กาหนด 12 การสร้างเอกสารการนิเทศเรื่องการพัฒนานวัตกรรมการเรียน การสอนด้วยกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อให้ผู้รับการ นิเทศศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้เพิ่มด้วยตนเอง ขั้นที่ 4 : การปฏิบัติการนิเทศ 13 การปฏิบัติการนิเทศ ยึดตารางการนิเทศตามแผนนิเทศที่ กาหนดและมีการยืดหยุ่นเป็นบางกรณีเพื่อให้การนิเทศบรรลุ วัตถุประสงค์ 14 การปฏิบัติการนิเทศใช้กิจกรรมและวิธีการนิเทศที่กาหนดใน ภาพตลอดแนวของการนิเทศเพื่อให้ผู้รับการนิเทศเกิดการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของการนิเทศ 15 การบูรณาการกิจกรรมและวิธีการนิเทศที่กาหนดให้เหมาะสม เพื่อสื่อให้ผู้รับการนิเทศเรียนรู้เรื่องที่นิเทศได้รวดเร็วและมี ประสิทธิภาพเป็นบทบาทสาคัญของผู้นิเทศ 16 การนิเทศเป็นกลุ่มใหญ่ในเรื่องที่ครูผู้รับการนิเทศทุกคนต้อง ได้รับการนิเทศเหมือนกัน

19 การนิเทศเป็นรายบุคคลที่มุ่งเจาะลึกถึงปัญหาและความ ต้องการของครูผู้รับการนิเทศแต่ละคน


23

ข้อ

ระดับความคิดเห็น

รายการ

20 การนิเทศเป็นกลุ่มใหญ่ในเรื่องที่ครูผู้รับการนิเทศทุกคนต้อง ได้รับการนิเทศเหมือนกัน 21 การนิเทศเป็นรายบุคคลที่มุ่งเจาะลึกถึงปัญหาและความ ต้องการของครูผู้รับการนิเทศแต่ละคน เฉลี่ยรวม

X

SD

แปลความ

4.1

0.7

มาก

4.3

0.5

มาก

4.00

0.1

มาก

จากตารางที่ 2 ความคิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนวัดพิกุลทอง ที่สอนวิชา คอมพิวเตอร์ จานวน 2 คน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 1 ที่มีต่อขั้นตอนการนิเทศการประชุม เชิงปฏิบัติการโดยใช้รูปแบบกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับ มาก ( X =4.00) 2. ครูมีความรู้ความเข้าใจและสามารถทาวิจัยในชั้ นเรียนได้ โดยการสังเกตจากการที่ไป นิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผล ซึ่งครูสามารถปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ทักษะ การปฏิบัติและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ผลจากการใช้ ชุ ด ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารการเขี ย นรายงานการวิ จั ย ชั้ น เรี ย น ของ ครู ผู้ ส อนวิ ช า คอมพิวเตอร์ ในช่วงระยะเวลาที่สั้นนี้ 12 วัน จานวนครู 2 คน เป็นกลุ่มตัวอย่าง จากการประชุมเชิง ปฏิบัติการ 1 วัน โดยการติดตาม นิเทศ ประเมินผล 2 ระยะ ครูเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียนได้ถูกต้อง และมีการพัฒนาขึ้นจากเดิม เนื่องจากวันที่มีการประชุมเชิงปฏิ บัติการได้พบกับปัญหามากมาย และ ทางผู้ฝึกประสบการณ์การนิเทศการศึกษาได้นิเทศ ติดตาม เป็นระยะทาให้ได้พบกับปัญหาการเขียน เริ่ ม แต่ ก ารเขี ย นความส าคั ญ และความเป็ น มา การเขี ย นเอกสารงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง การเขี ย น บรรณานุกรม การเขียนสรุปผล อภิปรายผล ซึ่งได้ให้คาแนะนาแก่ครูไป ปรับปรุงแก้ไขงานวิจัยในชั้น เรียนได้ดีขึ้นและเพิ่มทักษะการเขียนงานวิจัยเรียนได้เป็นอย่างดี การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อติดตามความพึงพอใจรูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ในการทาวิจัยชั้นเรียน เพื่อติดตามความคิดเห็นของครูที่มีต่อการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัย ชั้นเรียน ของครูโรงเรียนวัดพิกุลทอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม เพื่อตอบวัตถุประสงค์ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลได้ ความพึงพอใจของครูผู้สอนโรงเรียนวัดพิกุลทอง ที่มีต่อการ ประชุมเชิงปฏิบัติการโดยใช้รูปแบบกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัยในชั้นเรียนอยู่


24 ในระดับ มาก ( X =4.17) ความคิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนวัดพิกุ ลทอง ที่สอนวิชา คอมพิวเตอร์ จานวน 2 คน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 1 ที่มีต่อขั้นตอนการนิเทศการประชุม เชิงปฏิบัติการโดยใช้รูปแบบกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการทาวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับ มาก ( X =4.00)

การนาไปพัฒนางานและเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ จากการที่ข้าพเจ้าผู้ศึก ษาการพัฒนากระบวนการทาวิจัยชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการนิเทศ แบบกัลยาณมิตร ของครูกลุ่มเป้าหมายคือ คณะครูโรงเรียนวัดพิกุลทอง ที่สอนวิชา คอมพิวเตอร์ จานวน 2 คน ในการพัฒนาการท าวิจัยชั้นเรีย นโดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร และ สอบถามความพึงพอใจ ความคิดเห็นของกลุ่ม เป้าหมาย และได้ผลสรุปเป็นที่น่าพอใจมาก ทาให้ ข้าพเจ้าได้รับทราบความต้องการของครูผู้สอนคอมพิวเตอร์ ซึ่งนอกจากสอนโปรแกรมสาเร็จรูปแล้ว ความต้องการของครูที่ จะบริการชุ มชนในการนาความรู้จากการคลุก คลีอยู่ กับคอมพิ วเตอร์ทาให้ สามารถซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์และลงโปรแกรมได้ จึงจัดบริการสังคมในชุมชนหมู่บ้านใกล้โรงเรียน ที่เครื่องคอมพิวเตอร์เสีย ก็สามารถนามาให้ครูที่โรงเรียนวัดพิกุลทองซ่อมให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่ เป็นการบริการชุมชน และใช้ความรู้อย่างคุ้มค่า ทาให้ทราบความต้องการของครูที่เป็นมืออาชีพใน การที่เสนอให้ศึกษานิเทศก์ จัดเครือข่ายครูคอมพิวเตอร์ในการบริการซ่อมกับคณะครูในสังกัด สพป. ราชบุรี เขต 1 นอกจากนี้ยังได้รับประสบการณ์ในการฝึกการนิเทศ การพบปะพูดคุยกับคณะครูที่เป็น กลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการทางานได้อย่างดียิ่ง เริ่มตั้งแต่การมี มนุษย์สัมพันธ์ การวางแผนการทางาน การเตรียมเอกสารการประชุม การนาเสนอ บรรยาย ความรู้ ให้คณะครู เพื่อการนาไปสู่การทาวิจัยในชั้นเรียนได้ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการวางแผน งานที่เกี่ยวข้องต่อไป


25 บรรณานุกรม เจริญ บางเสน. การวิจัยในชั้นเรียน. อัดสาเนา.ศูนย์นิเทศอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 2544. พิธพร ธนะสมบัติ.การศึกษาผลการนิเทศครูผู้สอนโดยการใช้ชุดนิเทศฝึกปฏิบัติการวิจัย ในชั้น เรียน สังกัดสานักงานการประถมศึกษา อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. มนสิช สิทธิสมบูรณ์.ชุดฝึกปฏิบัติการเหนือตารา การทาวิจัยในชั้นเรียน.คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยนเรศวร2548 วิชาการ, กรม. การวิจัยเชิงพัฒนาระดับโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2535. ศึกษาธิการ, กระทรวง. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร : โรง พิมพ์คุรุสภา, 2542. http://www.thaiedresearch.org/result/ http://www.suphet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=88616&Ntype=5 www.moe.go.th/wijai/currilurum%20classroom กัลยาณมิตรนิเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.sskedu4.go.th/bd/index.php?action=printpage;topic=231.0 . (วันที่ค้นข้อมูล : 15 พฤษภาคม 2555). ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. การจัดและการบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง , 2550. สุมน อมรวิวัฒน์. กัลยาณมิตรนิเทศสาหรับผู้บริหาร กลยุทธ์ในการนิเทศเพื่อสร้างโรงเรียนให้ เข้มแข็ง. กรุงเทพฯ : สานักนโยบายและแผนการศึกษา สกศ., 2547 สุวารี สอนจรูญ. กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :http://www.srb1.go.th/KMC/KMC_DATA/kmc_jarueg/supervision1.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 15 พฤษภาคม 2555).


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.