จิตสัมผัส ไหว้ครูดนตรีไทย-นาฏศิลไทย

Page 100

โดยมีความยาวเพียงครึ่งจังหวะหน้าทับ และโดย ปรกติมีแทรกอยู่ในเพลงประเภทหน้าทับปรบไก่

เนื้อ

ใช้เรียกบทประพันธ์ซึ่งเป็นถ้อยคำ�ที่ใช้ขับ ร้อง หรือเรียกว่า “เนื้อร้อง”

แนว

๑. ขนาดหรื อ กำ � ลั ง ความช้ า เร็ ว ของการ ดำ�เนินจังหวะ ที่พูดกันว่า แนวดี ก็คือ ในขณะ บรรเลงหรือขับร้องได้รกั ษาขนาดหรือกำ�ลังความช้า เร็วของจังหวะไว้ได้โดยเรียบร้อยสม่ำ�เสมอ และ เหมาะสมกับทำ�นองเพลงนั้นๆ เพลงใด ตรงไหน ควรช้าเร็วเพียงใด ก็ปฏิบัติอย่างนั้น ๒. การดำ�เนินทำ�นองของเครือ่ งดนตรีแต่ละ อย่างหรือการขับร้อง ซึ่งตรงกับคำ�ว่าทาง เช่น แนว ปี่ แนวระนาดและแนวร้อง เป็นต้น

ปรบไก่

เป็ น ชื่ อ ของหน้ า ทั บ ประเภทหนึ่ ง ซึ่ ง มี สัดส่วนค่อนข้างยาว สำ�หรับตีประกอบกับเพลงที่มี ทำ�นองดำ�เนินประโยค วรรคตอนเป็นระเบียบ

ประ

เป็ น วิ ธี ป ฏิ บั ติ อ ย่ า งหนึ่ ง ของเครื่ อ งดนตรี ประเภทที่ใช้นิ้วบังคับเสียงสูงต่ำ� (เช่นซอ) ในเมื่อ ทำ�นองเพลงตอนนั้นเป็นเสียงยาวจึงใช้ กลางนิ้ว แตะเร็วๆ ก็จะบังเกิดเป็นเสียงที่สูงขึ้นไปสลับกับ เสียงเดิมถี่ๆ

ประคบ

หมายถึง การบรรเลงทีท่ �ำ ให้เสียงดนตรีนน้ั ดัง ชัดเจนถูกต้องตามความเหมาะสมของทำ�นองเพลง การบรรเลงดนตรีไม่วา่ จะเป็นประเภท ดีด สี 98 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม

ตี หรือ เป่า นอกจากทำ�เสียงสูงต่ำ�ถูกทำ�นองแล้ว จะต้องให้เสียงดังเหมาะสมกับทำ�นองด้วย เช่น ตี ฆ้องวงใหญ่ แม้เป็นฆ้องลูกเดียวกัน บางครั้งก็ต้อง ตีให้ดัง “หนอด” บางครั้งก็ต้องตีให้ดัง “หน่ง” การสี ซอบางครัง้ ก็ตอ้ งการให้หวานให้เพราะให้ดดุ นั ซึง่ จะ ชัดเจนได้ก็ด้วยการประคบทั้งนั้น และเครื่องดนตรี ชนิดอื่นๆ ก็เป็นเช่นเดียวกัน เปรียบให้เห็นง่ายๆ ก็ เหมือนกับการพูดอักษร ร. และ ล. ก็ต้องกำ�หนดให้ รู้ว่าคำ�ไหนควรทำ�ปากอย่างไร และลิ้นจดตรงไหน อย่างไร ซึ่งในภาษาของดนตรีเรียกว่าประคบทั้งสิ้น

ประสาน

เป็นการบรรเลงหรือร้องคนละทางในเพลง เดียวกันและพร้อมๆ กัน อาจเป็นเครื่องดนตรีกับ เครื่องดนตรี หรือร้องกับร้อง หรือดนตรีกับร้องก็ได้ เสียงของดนตรีหรือร้องทีแ่ ยกกันเป็นคนละทางย่อม มีเสียงทีต่ กจังหวะเป็นคนละเสียงบ้าง รวมเป็นเสียง เดียวกันบ้าง เช่นเดียวกับหลักการประสานเสียง ของ ดนตรีสากล

ปริบ

เป็ น วิ ธี ก ารบรรเลงอย่ า งหนึ่ ง ที่ ทำ � ให้ เ กิ ด เสียงเต้นระริกไปในตัวเล็กน้อย เครื่องดนตรีจำ�พวก ที่ใช้นิ้ว (เช่นปี่หรือซอ) ก็ขยับนิ้วให้สั่นสะเทือนขึ้น คล้ายกับทำ�ให้เสียงนั้นรั่วปริบออกมา ส่วนเครื่อง ดนตรีประเภทตี (เช่น ฆ้องวง) ก็ตีลงไปโดยทำ�ให้ไม้ ตีสั่นสะเทือนสะท้อนขึ้นมานิดหน่อย

พรม

เป็ น วิ ธี ป ฏิ บั ติ อ ย่ า งหนึ่ ง ของเครื่ อ งดนตรี ประเภทที่ใช้นิ้วบังคับเสียงสูงต่ำ� (เช่นซอ) ในเมื่อ ทำ�นองเพลงตอนนั้นมีเสียงยาวพอควร จึงใช้ปลาย นิ้วแตะเร็วๆ ก็จะบังเกิดเป็นเสียงที่สูงขึ้นไปสลับกับ เสียงเดิมถี่ๆ ความประสงค์ของ “พรม” นีก้ เ็ ป็นอย่างเดียว


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.