วรพ ภูเก็ต อาจารย์ รณชัย

Page 1

รายงานวิจัย เรื่อง

ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา The factors effecting the selection of the vocational students in Phuket and Pang-nga provinces to the higher education.

โดย

นายรณชัย คงกะพันธ์

การวิจยั ครั้งนี้ได้รับเงินทุนการวิจยั จากวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปี การศึกษา 2553


รายงานวิจัย เรื่อง

ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา The factors effecting the selection of the vocational students in Phuket and Pang-nga provinces to the higher education.

โดย

นายรณชัย คงกะพันธ์

การวิจยั ครั้งนี้ได้รับเงินทุนการวิจยั จากวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปี ที่ทาํ สําเร็ จ 2554


ชื่อโครงการวิจัย ชื่ อผู้วจิ ัย ปี ทีท่ าํ การวิจัย

ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา นายรณชัย คงกะพันธ์ Mr.Ronnachai kongkaphan 2553 บทคัดย่ อ

การศึ ก ษาครั้ งนี้ มี ว ัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ 1) ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจัดหวัดภูเก็ตและพังงา และ 2) เปรี ยบเทียบปั จจัย ที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา จําแนกตามปั จจัยส่ วนบุคคล ของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา โดยมีสมมติฐานของการวิจยั คือ เพศ ระดับ การศึกษาในปัจจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม และรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อ เดือน ที่แตกต่างกัน ส่ งผลต่อปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน กําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามหลักการของทาโร ยามา เน่ (Taro Yamane) ได้ก ลุ่ ม ตัวอย่า งจํา นวน 385 คน สุ่ ม ตัวอย่า งด้วยวิธี แบ่ง ชั้น (Stratified Sampling) โดยกําหนดกลุ่มตัวอย่างสถาบันละ 40 คน จากนั้นใช้วิธีสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ต่อไป เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการหาค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D) ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติ t-test (Independent - Samples T Test) และวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance ) และการ ทดสอบรายคู่ดว้ ยวิธี Least Square Difference (LSD) จากการศึกษาข้อมูล พบว่า เป็ นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ซึ่ งส่ วนใหญ่ระดับการศึกษาปั จ จุ ด บัน ปวส.1 ต้อ งการศึ ก ษาต่ อ ระดับ ปริ ญ ญาตรี เกรดเฉลี่ ย สะสม 2.01-2.50 และมี ร ายได้ ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 15,001-30,000 บาท ปั จจัยที่มี ผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ด้านผลผลิ ตและคุ ณภาพของนักเรี ยน ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่ นักเรี ยน ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา ด้านส่ งเสริ มการตลาด ด้านหลักฐานที่ เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา และด้านราคา ส่ งผลต่อปั จจัย ที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยู่


ในระดับ มาก ส่ วนด้า นบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้องกับ นัก เรี ย น ส่ ง ผลต่ อ ปั จจัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย น สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยูใ่ นระดับปานกลาง โดย เรี ยงตามค่าเฉลี่ย จากการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ที่ต้ งั ไว้ว่า ข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ เพศ ระดับ การศึกษาในปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม และรายได้ครอบครัวเฉลี่ย ต่อเดือน ที่แตกต่างกัน ส่ งผลต่อปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน พบว่า เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษา ต่ อ ระดับ ปริ ญญาตรี และเกรดเฉลี่ ย สะสม ที่ ต่ า งกัน ทํา ให้ ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ไม่แตกต่างกันในทุกเรื่ อง ส่ วนรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนที่ต่างกันมีปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของ นักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ในด้านการส่ งเสริ มการตลาด และ ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ 0.05 คําสํ าคัญ: ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยน นักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจัดหวัดภูเก็ตและพังงา การ เลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา


Thesis Title Researcher Department Academic Year

The factors effecting the selection of the vocational students in Phuket and Pang-nga provinces to the higher education. Mr. Ronnachai Kongkaphan Marketing 2010 ABSTRACT

The main purpose of this research is to study the factors effecting the selection of the vocational students in Phuket and Phang-nga to the higher education and to compare the factors effecting to the vocation students’ selection in Phuket and Phang-nga by distinguishing the personal factors of the vocational students in Phuket and Phang-nga. The hypotheses of this research were gender, current education level, the bacherlor degree, grade point average and the average household monthly income which were variable and affected to the vocational students’ selection of the higher education differently. The researcher determined the sample size by following the Mr. Taro Yamane’s principle. The sample consisted of 385 people and was randomed to 40 students from each institution by Stratified Sampling method. Later the Accidental Sampling was further conducted. The materials for collecting the data were questionnaires and the data statistics analysis. The data was analyzed by frequency, percentage, mean and standard deviation. The researcher examined the differences by t-test (Indepent – Samples T Test) and One-way analysis of variance and experimented the pair by Least Suare Diffeence (LSD) The findings were revealed that: More female with the present education in higher certificate vocational students’ requied to graduate in bachelor degree level than male. Those female had grade point average of 2.012.50 and the average household monthly income approximately of 15,001-30,000 baht. The factors were highly effective to the selection of the vocational students in Phuket and Pang-nga to the higher education were the productivity and quality of the students, the learning process to students, the building and school location, the promotion, the education material, the school


elements and the fee. The people involved with the students were the affecting factor at a moderate level toward the vocational students’ selection of higher education in Phuket and Phang-nga by averaging data respectively. The results from hypotheses experiment of this research were found that: The difference of personal factors such as gender, current education level, the bacherlor degree, grade point average and the average household monthly income affected variably to the vocation students’ selection to higher education in Phuket and Phang-nga. The diversity of gender, the current education level, the bachelor degree and grade point average not much affected to the difference of the vocational students’ selection to the higher education. The different average household monthly income highly affected to the vocation students’ selection to the higher education in Phuket and Phang-nga especially to the school promotion and learning process to students at the 0.05 level. KEYWORDS: The factors effecting the selection, The vocational students in Phuket and Phang-nga, The selection of the higher education


กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจยั เรื่ อง ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยน สายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา เป็ นงานวิจยั กลุ่มสาขามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ซ่ ึ ง ได้รับทุนการวิจยั จากวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปี การศึกษา 2553 ขอขอบพระคุณ คุณวิสิษฐ์ จงจิตเจริ ญพร อดีตนักวิจยั อาวุโส บริ ษทั ศูนย์วิจยั ไทยพานิ ชย์ จํากัด และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยจํากัด เป็ นผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษา ให้ความรู ้ และคําแนะนํา ตลอดงานวิจยั ขอขอบพระคุ ณ คณาจารย์ คณะผูบ้ ริ ห ารวิ ท ยาลัย ราชพฤกษ์ ศู น ย์ก ารศึ ก ษานอกที่ ต้ ัง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ตที่คอยให้การสนับสนุนและเอื้ออํานวยในเรื่ องข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั ในครั้งนี้ สุ ดท้าย ขอขอบพระคุณวิทยาลัยราชพฤกษ์ ที่ต้งั หลัก ในการให้เงินทุนสนับสนุ นในการทํา วิจยั ครั้งนี้

รณชัย คงกะพันธ์


สารบัญ หน้ า บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ

ก ค จ ซ ญ

บทที่ 1. บทนํา ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา วัตถุประสงค์ของการวิจยั สมมติฐานการวิจยั ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตในการศึกษา นิยามศัพท์เฉพาะ 2. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง แนวคิดในการศึกษาต่อหรื อไม่ศึกษาต่อ ทฤษฎีของมาสโลว์ ทฤษฎีการตัดสิ นใจ ทฤษฎีเกี่ยวกับส่ วนประสมการตลาดสําหรับธุ รกิจบริ การ งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง กรอบแนวคิดของการวิจยั

1 1 4 4 5 5 7 10 10 10 11 18 21 24


สารบัญ (ต่ อ) หน้ า 3. วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่ องมือในการวิจยั . การเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 4 . การวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล ข้อมูลส่ วนบุคคล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา ผลการทดสอบสมมติฐาน 5. สรุ ปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการวิจยั อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ ส่ วนอ้ างอิง บรรณานุกรม ภาคผนวก แบบสอบถาม ตารางสําเร็ จรู ป Taro Yamane ประวัติผ้ วู จิ ัย

26 26 26 27 28 29 29 30 31 40 48 50 53 57 59 62 67 68


สารบัญตาราง

ตารางที่ 1. จํานวนและร้อยละจําแนกตามข้อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา 3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านราคา 5. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้งั ของสถานศึกษา 6. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านการส่ งเสริ มการตลาด 7. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านการจัดการกระบวนการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน 8. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน 9. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน 10. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา 11. เพศที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยน สายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน 12. ระดับการศึกษาในปั จจุบนั ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบัน อุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน

หน้ า

30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41


สารบัญตาราง (ต่ อ)

ตารางที่ 13. การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบัน อุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน 14. เกรดเฉลี่ยสะสมที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา ของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน 15. รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบัน อุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน 16. เปรี ยบเทียบรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบัน อุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงารายคู่ ด้านการส่ งเสริ มการตลาด 17. เปรี ยบเทียบรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบัน อุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงารายคู่ ด้านกระบวนการเรี ยน/การสอนนักเรี ยน

หน้ า

42 43 45

47

48


สารบัญภาพ หน้ า

ภาพที่ 1. แสดงขั้นตอนในการตัดสิ นใจ 2. กรอบแนวคิดในการวิจยั

17 24


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปั ญหา การศึ ก ษาเป็ นกลไกที่ สํ า คัญในการพัฒนาคนให้มี คุ ณภาพ ประเทศใดก็ ต ามถ้า มี ค นที่ มี คุณภาพมากประเทศนั้นย่อมพัฒนาได้ก้าวไกลกว่าประเทศอื่นๆ ด้วยเหตุน้ ี การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาจึงเป็ นรากฐานที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ (กัญนิกา พราหมณ์พิทกั ษ์, 2542 : 1 อ้างถึงใน กัญกมญ เถื่อนเหมือน, 2551) ซึ่ งในช่วงที่ผา่ นมาทางสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้มีการตื่นตัวเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาเป็ นอย่างมาก เนื่องจากกระแสที่เปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิ จและสัง คมอย่างรวดเร็ วการปรั บตัวทางการศึกษาจําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องให้สอดคล้องกับ โครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและเกิดกระบวนการสร้างผูม้ ีความรู้ ความเชี่ยวชาญอย่าง แท้จริ ง โดยสามารถก้าวให้ทนั เทคโนโลยีในกระแสโลกาภิวตั น์ ซึ่ งนับเป็ นสิ่ งสําคัญที่สุดในศตวรรษ แห่ งการแข่งขันนี้ ดังนั้นจึ งต้องมี การวางนโยบายและปรับเปลี่ ยนกลยุทธ์ใ นการจัดการศึ กษาอย่า ง เร่ งด่วนเพื่อให้ได้รับประโยชน์อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย จากการศึกษาที่ตรงตามกระแสการพัฒนา ประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว (วารสารพัฒนาสังคม ตุลาคม : 2550, 157-174) ดังพระบรม ราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวที่พระราชทานแก่คณะครู นักเรี ยน ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อ วันที่ 27 กรกฏาคม 2524 ความว่า “การศึกษาเป็ นปั จจัยสําคัญในการสร้างและพัฒนาความรู้ ความคิด ความ ประพฤติดี และคุณธรรมของบุคคล สังคมและบ้านเมืองใดให้การศึกษาที่ดีแก่เยาวชนได้อย่างครบถ้วน ล้วนพอเหมาะกันทุกๆ ด้าน สังคมและบ้านเมืองนั้น ก็จะมีพลเมืองที่มีคุณภาพ ซึ่ งสามารถธํารงรักษา ความเจริ ญมัน่ คงของประเทศชาติไว้และพัฒนาต่อไปได้โดยตลอด” จากพระบรมราโชวาทดังกล่าว การศึ ก ษาจึ ง เป็ นเครื่ องมื อที่ สํา คัญสํา หรับ การพัฒนาประเทศ และทําให้สังคมน่ าอยู่ คนมี อาชี พ ที่ หลากหลาย โดยเฉพาะการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ซึ่ งประเทศไทยได้ตระหนักถึงความจําเป็ นดังกล่าว จึงได้ตราเป็ นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542


2

ในการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึกษาธิ การ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 8-9) หมวด 3 ระบบการศึกษาในมาตรา 15 ได้กาํ หนดการจัดการศึกษามีสามรู ปแบบ คือ การจัดการศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และมาตรา 16 กําหนดให้การศึกษาในระบบมี สองระดับ คือการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุ ดมศึกษา โดยการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ น การศึกษาซึ่ งจัดไม่นอ้ ยกว่าสิ บสองปี ก่อนระดับอุดมศึกษา ส่ วนการศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ่งเป็ นสอง ระดับคือ ระดับตํ่ากว่าปริ ญญาและระดับปริ ญญา โดยการจัดการศึกษาด้านการอาชี วศึกษาในปั จจุบนั จัด อยูใ่ นระดับอุดมศึกษาตํ่ากว่าปริ ญญา มีการจัดการศึกษาทั้งในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน ในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) รับนักเรี ยนที่จบการศึกษาจากชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) เข้าศึกษาต่อ หลักสู ตร 3 ปี ซึ่งการจัดการศึกษาด้านการอาชีวศึกษานั้น เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนเลือกเรี ยนตามความถนัด และสนใจ โดยเมื่อผูเ้ รี ยนจบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) แล้วจะเลือกศึกษาต่อทางด้าน มัธยมศึกษาปี ที่ 4 หรื อเลือกศึกษาต่อด้านอาชีวศึกษา หรื อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) การจัดการศึกษาทางอาชีวศึกษา เป็ นการจัดการศึกษาที่เน้นการฝึ กอาชี พและทักษะรวมทั้งให้ ความรู ้ ที่ เ หมาะสมกับ การประกอบอาชี พ ซึ่ ง การจัดการศึ ก ษาสายอาชี วศึ ก ษาในปั จจุ บ นั ยัง ขาด ศักยภาพในการดําเนิ นงาน มีความซํ้าซ้อนในการให้บริ การ ส่ วนใหญ่เป็ นการจัดการศึกษาตามความ พร้อมของสถานศึกษา และไม่สอดคล้องกับความต้องการของบุคคล และประเทศชาติ (บรรเลง ศรนิล และคณะ, 2548 : 1) นอกจากนี้ การจัดฝึ กอบรมทักษะแรงงานให้กบั แรงงานในระดับต่าง ๆ ก็ยงั ดําเนิ นการได้ไม่มากนัก รวมทั้งไม่สามารถจัดการศึกษา และอบรมความรู้และทักษะหลายด้านให้แก่ ผูเ้ รี ยน เพื่อสร้ างความสามารถในการทํางานได้หลายอย่างหรื อปรับเปลี่ ยนไปตามความต้องการของ ตลาดแรงงาน และเทคโนโลยีที่มี การเปลี่ ยนแปลงให้ทนั สมัยขึ้ นอยู่ตลอดเวลา การศึก ษาจึง เป็ น กระบวนการที่สําคัญในการพัฒนาคนให้เป็ นมนุษย์ที่มีปัญญา มีคุณธรรม มีความสามารถที่จะพัฒนา ตนเองและสังคม ให้มีความสามารถในการประกอบอาชีพอันเป็ นแรงงานสําหรับประเทศชาติ ในการ จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ผูเ้ รี ยนมีโอกาสที่จะเลือกเรี ยนในมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัย เอกชน กระบวนการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของรัฐต้องมีการสอบคัดเลือกและอาจเลือกได้ในคณะ หรื อสาขาวิชาที่มีความพอใจไม่มากนัก แต่การเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน นักศึกษาไม่จาํ เป็ น จะต้องผ่านขั้นตอนทุกขั้นตอนเหมือนมหาวิทยาลัยของรัฐ ดังนั้น แรงจูงใจที่จะทําให้ผเู้ รี ยนมาศึกษาต่อ


3

ในมหาวิทยาลัยเอกชน จึงน่าจะมีความแตกต่างไปจากการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของรัฐ (เปรม จิตร ศิริสานต์. 2542 : 2) การจัดการเรี ยนการสอนสายอาชี วศึกษาของจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดพังงา มีสถานศึกษาที่ จัดการเรี ยนการสอนสายอาชี วศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จํานวนมาก ในการเปิ ดสอนทางด้านพาณิ ช ยกรรม และช่ างอุตสาหกรรมในช่วงที่ผ่านมามีการแข่งขันกันสู งมาก เนื่ องจากจํานวนนักเรี ยนที่จบ การศึกษาระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชี พในจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดพังงามีนักเรี ยนจํานวนมากที่ให้ ความสนใจ และต้องการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะจะเลือกเรี ยนสาขาตามความสนใจของ ตนเอง วิท ยาลัย ราชพฤกษ์ เริ่ ม เปิ ดดํา เนิ น การเมื่ อ วัน ที่ 15 มิ ถุ น ายน 2549 ในระดับ ปริ ญ ญาตรี หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต 4 สาขา คือ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิ จ สาขาวิชา การตลาดและสาขาวิชาการจัดการ ทั้งในหลักสู ตร 4 ปี และหลักสู ตรต่อเนื่ อง และขยายหลักสู ตร เพิ่ ม เติ ม จนปั จจุ บ ัน ประกอบด้วย หลัก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ บัณฑิ ต 4 สาขาวิช า ได้แ ก่ สาขาวิ ช า คอมพิ วเตอร์ ธุ รกิ จ สาขาวิช าการตลาด สาขาวิช าการจัดการ สาขาวิช าการจัดการโรงแรมและการ ท่องเที่ยว หลักสู ตรบัญชี บณ ั ฑิต 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี หลักสู ตรนิ ติศาสตร์ บณ ั ฑิต 1 สาขาวิช า ได้แ ก่ สาขาวิ ช านิ ติ ศ าสตร์ (เปิ ดเฉพาะหลัก สู ต ร ปี 4) หลัก สู ต รนิ เ ทศศาตร์ บ ัณ ฑิ ต 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ และหลักสู ตรวิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิ ต 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาคอมพิวเตอร์ กราฟฟิ กและแอนิ เมชัน นอกจากนั้นยังเปิ ดรับระดับบัณฑิตศึกษา 2 หลักสู ตร คือ หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต (M.B.A) และหลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพ ครู ด้วยศักยภาพและความพร้อมในการบริ หารจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐาน สอดคล้องกับ ความต้องการของสังคมและชุมชน ทําให้วทิ ยาลัยจําเป็ นต้องจัดตั้งศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั ขึ้นที่วิทยาลัย เทคโนโลยีภูเก็ต ตามความต้องการของชุมชนในจังหวัดภูเก็ต วิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต เริ่ มทําการสอนเมื่อปี 2552 โดยเปิ ดสอนระดับปริ ญญาตรี หลักสู ตรบริ หารธุ รกิ จบัณฑิ ต 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชา การตลาด สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว และหลักสู ตรบัญชี บณ ั ฑิต 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี ปั จจุบนั มีนักศึกษาทั้งหมด ประมาณ 500 คน (จากเอกสารการลงทะเบียนของ นักศึกษา, ปี การศึกษา 2554) วิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ยังคง


4

มุ่งมัน่ พัฒนาหลักสู ตร ระบบการเรี ยนการสอน คณาจารย์ บุคลากร ตลอดจนปั จจัยแวดล้อมต่างๆที่ เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ปัจจุบนั เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสู่ สังคมให้เป็ นที่ยอมรับ แก่ สัง คมภายนอกต่ อไป ควบคู่ไ ปกับ มุ่ง การประชาสั มพันธ์เพื่อสร้ า งการรั บ รู้ ใ ห้แก่ กลุ่ มนัก เรี ย น นักศึกษาและผูป้ กครอง เพื่อให้เป็ นที่รู้จกั ในวงกว้างทัว่ ทั้งจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดใกล้เคียง ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะมีผลต่อการที่นกั เรี ยนนักศึกษาทั้งในจังหวัดภูเก็ตและใกล้เคียงตัดสิ นใจ เลือกเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ผูว้ ิจยั ซึ่ งเป็ น อาจารย์ผสู ้ อนอยูใ่ นวิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ตจึงสนใจศึกษา ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ซึ่ งผลการวิจยั ในครั้งนี้ จะช่วยให้วิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ได้ทราบปั จจัยต่างๆ ของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดพังงา ในการเลื อกเรี ยน สถาบันระดับปริ ญญาตรี เพื่อนําไปสู่ การพัฒนาในประเด็นด้านต่างๆ ทั้งในด้านหลักสู ตรการเรี ยนการ สอน สภาพแวดล้อมและกระบวนการการเรี ยนการสอน คุณภาพของอาจารย์ผสู้ อนและบุคลากร ให้มี ประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น เป็ นสถาบันที่รองรับความต้องการของชุมชนและผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสู่ ชุมชน และสังคมต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา 2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อการเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา จําแนกตามข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล 1.3 สมมติฐานการวิจัย ปั จจัยส่ วนบุคคล (เพศ ระดับการศึ กษาปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ ย สะสม และรายได้ ค รอบครั ว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น) ต่ า งกัน ทํา ให้ ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาแตกต่างกัน


5

1.4 ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ทําให้ทราบความต้องการที่แท้จริ งในด้านต่างๆ ของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงาในการเลื อกเรี ยนกับสถาบันอุดมศึกษาระดับปริ ญญาตรี รวมถึ งปั จจัยต่างๆ ที่ ตอ้ งรี บ ปรับปรุ งเร่ งด่วนเพื่อตอบสนองความต้องการการศึกษาของนักเรี ยนให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 2. ข้อ มู ล จากงานวิ จ ัย ครั้ งนี้ จะเป็ นประโยชน์ ต่ อ การนํา ผลการศึ ก ษาที่ ไ ด้ ไ ปใช้ เ พื่ อ ประกอบการตัดสิ นใจในการกําหนดแผนยุทธศาสตร์ ท้ งั ระยะสั้น ระยะยาว และการแปลงยุทธศาสตร์ เป็ นเชิ งปฎิ บตั ิเพื่อให้เป็ นไปในทิ ศทางที่สอดคล้องกับความต้องการกําลังคนของสถานประกอบการ อุตสาหกรรมและบริ การมากยิง่ ขึ้น 3. จากการที่ได้นาํ ผลจากการวิจยั ดังกล่าว ไปปรับปรุ งพัฒนาในด้านต่างๆ คาดว่าในอนาคต อันใกล้จะช่วยส่ งผลให้วิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต เป็ นที่รู้จกั ในวงกว้างของธุ รกิ จการศึกษาและสถานประกอบการอุตสาหกรรมและบริ การในจังหวัดภูเก็ตมาก ยิง่ ขึ้น 1.5 ขอบเขตในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ เป็ นการศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา ของนักเรี ยน สายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ซึ่ งมีขอบเขตการวิจยั ดังต่อไปนี้ ขอบเขตด้านประชากร ประชากร ที่ทาํ การศึกษาในครั้งนี้ได้แก่ นักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ต ทั้งหมด 6 สถาบัน ได้แ ก่ วิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ภูเ ก็ ต วิท ยาลัย อาชี ว ศึ ก ษาภู เ ก็ ต วิท ยาลัย สารพัดช่ า งภู เ ก็ ต วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต วิทยาลัยเทคนิ คถลาง และโรงเรี ยนบริ หารธุ รกิจภาคใต้ (SBAC) และจังหวัดพังงา 4 สถาบันได้แก่ วิทยาลัยเทคนิ คพังงา วิทยาลัยการอาชี พท้ายเหมือง วิทยาลัยการอาชีพตะกัว่ ป่ า และ วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยีพงั งา ทั้งนี้จะทําการศึกษาประชากรเฉพาะกลุ่มนักศึกษาในระดับ ประกาศนี ยบัตรวิชาชี พชั้นสู ง (ปวส.1 และ ปวส. 2) จํานวน 10,000 คน กําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ หลักการของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่ระดับนัยสําคัญ .05 ความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 ได้กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จํานวนทั้งสิ้ น 385 คน


6

ขอบเขตด้านเนื้อหา เป็ นการศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ในด้านต่างๆ ประกอบด้วย ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา ด้านราคา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา ด้านการส่ งเสริ มตลาด ด้านกระบวนการจัดการเรี ยน การสอนแก่นกั เรี ยน ด้านผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน และด้าน หลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ ตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม ดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ ข้อมูลส่ วนบุคคลของนักเรี ยนอาชีวศึกษาระดับชั้นปวส.1 และปวส.2 ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ได้แก่ 1.1 เพศ 1.2 ระดับการศึกษาในปั จจุบนั 1.3 การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี 1.4 เกรดเฉลี่ยสะสม 1.5 รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 2. ตัว แปรตาม คื อ ปั จจัย ที่ มี ผ ลต่ อการเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ได้แก่ 2.1 ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา 2.2 ด้านราคา 2.3 ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้งั ของสถานศึกษา 2.4 ด้านการส่ งเสริ มตลาด 2.5 ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน 2.6 ด้านผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน 2.7 ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน 2.8 ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา


7

ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลาในการศึกษา เริ่ มทําการศึกษาตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 รวมเวลา 4 เดือน 1.6 นิยามศัพท์ เฉพาะ นักเรี ยนสายอาชี วศึกษา หมายถึ ง นักเรี ยนที่กาํ ลังศึกษาอยู่ในสถาบันศึกษาสายอาชี พ ใน ระดับ ประกาศนี ยบัตรวิชาชี พชั้นสู ง (ปวส.1 และ 2) จังหวัดภูเก็ต ทั้งหมด 6 สถาบันได้แก่ วิทยาลัย เทคโนโลยี ภู เ ก็ ต วิ ท ยาลัย อาชี ว ศึ ก ษาภู เ ก็ ต วิ ท ยาลัย สารพัด ช่ า งภู เ ก็ ต วิ ท ยาลัย เทคนิ ค ภู เ ก็ ต วิทยาลัยเทคนิ คถลาง และโรงเรี ยนบริ หารธุ รกิจภาคใต้ (SBAC) และจังหวัดพังงา 4 สถาบันได้แก่ วิ ท ยาลัย เทคนิ ค พัง งา วิ ท ยาลัย การอาชี พ ท้า ยเหมื อ ง วิ ท ยาลัย การอาชี พ ตะกั่ว ป่ า และวิ ท ยาลัย เกษตรกรรมและเทคโนโลยีพงั งา สถาบันอุดมศึกษา หมายถึง สถาบันที่เปิ ดรับนักเรี ยนนักศึกษาในหลักสู ตรปริ ญญาตรี 4 ปี หลัก สู ต รปริ ญ ญาตรี 4 ปี แบบเที ย บโอนหน่ ว ยกิ จ ในจัง หวัด ภู เ ก็ ต หรื อ จัง หวัด อื่ น ๆ ซึ่ งได้แ ก่ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ (วิทยาเขต ภูเก็ต) วิทยาลัยราชพฤกษ์ (ศูนย์ภูเก็ต) ฯลฯ วิทยาลัยราชพฤกษ์ (ศูนย์ ภูเก็ต) หมายถึง วิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัย เทคโนโลยีภูเก็ต ปั จจุบนั ตั้งอยูท่ ี่เดี ยวกับวิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ซึ่ งมีที่ต้ งั หลักอยูท่ ี่ อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ข้ อมู ลส่ วนบุคคล หมายถึ ง ข้อมูลหรื อสิ่ งใดๆ ก็ตามที่เป็ นเครื่ องบ่งชี้ ให้เห็ นและเข้าใจถึ ง เรื่ องราวหรื อลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลหนึ่งบุคคลใด เป็ นข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างซึ่ งเป็ นตัวแปร อิสระที่ใช้ในแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรด เฉลี่ยสะสม รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน ด้ านองค์ ประกอบของสถานศึ กษา หมายถึ ง สถานศึ กษาเป็ นที่ รู้จกั ได้รับการยอมรั บ จาก บุคคลทัว่ ไป โดยเฉพาะเรื่ องคุ ณ ภาพ มาตรฐาน และได้รับการรับ รองคุ ณภาพการศึ ก ษา (สมศ.) มี นักเรี ยนได้รับรางวัลเป็ นจํานวนมากทุกปี รวมทั้งมีครู – อาจารย์จบตรงสาขาที่ทาํ การสอน และมีสาขา


8

วิชาชี พให้เลื อกเรี ยนหลากหลาย เช่น การท่องเที่ยว การโรงแรม คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ก บริ หารธุ รกิ จ ช่างอุตสาหกรรม เป็ นต้น ประกอบมีบรรยากาศและสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ดี ด้ านราคา หมายถึง สถานศึกษามีการกําหนดค่าธรรมเนียมการเรี ยนและค่าบริ การต่างๆ อย่าง เหมาะสม มีการบริ การนักเรี ยนอย่างทัว่ ถึง มีกระบวนการชําระค่าธรรมเนียมการเรี ยน หรื อค่าบริ การ ต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ มีระบบการผ่อนชําระค่าธรรมเนี ยมการเรี ยน หรื อค่าบริ การต่าง ๆ ที่มีความ จําเป็ นแก่ผปู้ กครอง มีการให้บริ การเงิ นกูย้ ืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) และมีทุนการศึกษาให้แก่นกั เรี ยน นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ด้ านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ังของสถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาตั้งอยูใ่ นเมือง ใกล้ แหล่งชุมชน มีการคมนาคมที่สะดวก จัดบริ การด้านการจราจรเพื่ออํานวยความสะดวกแก่นกั เรี ยนและ ผูป้ กครอง มีมาตรการหรื อแนวปฏิ บตั ิเพื่อรักษาความปลอดภัย มี อาคารเรี ยน อาคารปฏิ บตั ิการ เหมาะสม หรื อเพียงพอ และให้บริ การแก่ผมู้ าติดต่ออย่างสะดวก รวดเร็ ว และมีบริ เวณที่พกั ผ่อนสําหรับ นักเรี ยนอย่างเหมาะสม ด้ านการส่ งเสริมการตลาด หมายถึง สถานศึกษามีการประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่ อ เช่น สื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุ รายการโทรทัศน์ทอ้ งถิ่น ป้ ายโฆษณา และเว็บไซด์ เป็ นต้น โดยให้ความสําคัญในการจัดกิจกรรม ต่ า ง ๆที่ ส่ ง ผลต่ อชื่ อเสี ย ง มี กิ จกรรมเสริ ม ประสบการณ์ ใ ห้นัก เรี ย นได้ท าํ ระหว่า งเรี ย น มี ก ารร่ วม กิจกรรมกับสถานประกอบการ เช่น บริ ษทั ทัวร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษทั ห้างร้าน หรื ออื่น ๆ มีการจัด นิทรรศการวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ด้ านกระบวนการการจัดการเรียนการสอนแก่ นักเรียน หมายถึง สถานศึกษามีระบบการสอบ คัดเลื อกเข้าศึกษาต่อของนักเรี ยนอย่างเหมาะสม มีวิธีการสอน หรื อเทคนิ คการสอน ที่เสริ มสร้างให้ นักเรี ยนมี ทกั ษะวิชาชี พมากขึ้ น มี การจัดกิ จกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างเหมาะสม มีการสนับสนุ นให้ นักเรี ยนทําโครงงานวิชาชีพ มีการวัดผลประเมินผลอย่างมาตรฐานมีการติดตามให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน ด้ านผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน หมายถึง นักเรี ยนมีทกั ษะอาชี พตามสาขาที่เรี ยน มี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ศึ ก ษาต่ อ หรื อ ได้ง านทํา ตรงสาขาที่ สํา เร็ จ การศึ ก ษา สามารถสอบผ่า น


9

มาตรฐานวิชาชี พ มีทกั ษะด้านวิชาชี พตรงกับความต้องการของสถานศึกษาและสถานประกอบการ รวมทั้งมีผลงานนวัตกรรม หรื อสิ่ งประดิษฐ์ ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริ ง ด้ านบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับนักเรียน หมายถึง การเลือกศึกษาต่อจะขึ้นอยูก่ บั บุคคลที่มีอิทธิ พล ต่อความคิดและการตัดสิ นใจ ซึ่ งได้แก่ บิดา – มารดา ญาติ พี่นอ้ ง อาจารย์แนะแนว รุ่ นพี่ ผูป้ กครองที่ สนับสนุนด้านการเงิน รวมทั้งบุคคลที่เป็ นแบบอย่าง ด้ านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ ของสถานศึ กษา หมายถึง สถานศึ กษามี การใช้เทคโนโลยี หรื อนวัตกรรมที่ทนั สมัยในการจัดการเรี ยนการสอน มีการจัดสื่ อการสอน อุปกรณ์การสอนเพียงพอต่อ นักเรี ยน มีตาํ รา หนังสื อเรี ยน มีคุณภาพและเพียงพอต่อนักเรี ยน มีห้องสมุด และศูนย์การเรี ยนรู ้ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีห้องปฎิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฎิบตั ิการด้านภาษาเพียงพอสําหรับนักเรี ยน มีห้อง ฝึ กงาน หรื อโรงฝึ กงาน เพียงพอสําหรับนักเรี ยน


บทที่ 2 ทฤษฎีและ/หรืองานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ได้ทาํ การศึกษาค้นคว้าเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็ น กรอบในการศึกษา ดังนี้ 1. แนวคิดในการศึกษาต่อหรื อไม่ศึกษาต่อ 2. ทฤษฎีของมาสโลว์ 3. ทฤษฎีการตัดสิ นใจ 4. ทฤษฎีเกี่ยวกับส่ วนประสมการตลาดสําหรับธุ รกิจบริ การ 5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 6. กรอบแนวคิดของการวิจยั แนวคิดในการศึกษาต่ อหรือไม่ ศึกษาต่ อ แนวคิดในการศึกษาต่อหรื อไม่ศึกษาต่อ (ต้องการประกอบอาชี พ) ของผูเ้ รี ยนแต่ละคนย่อม เกี่ยวข้องกับความต้องการ (needs) ของแต่ละบุคคล ซึ่ งอาจเรี ยกว่าปั จจัยภายใน (internal factor) และ การที่จะศึกษาต่อหลักสู ตรใด สาขาใดสถาบันการศึกษาแห่งใด (ของรัฐหรื อเอกชน) ก็ข้ ึนอยูก่ บั สภาพ ความเหมาะสมของสถาบันนั้นว่าสามารถสนองความต้องการของพวกเขาได้เพียงไร (อารมณ์ เพชรชื่ น, 2547) ทฤษฎีของมาสโลว์ “ลําดับขั้นความต้ องการของมาสโลว์ ” ได้กล่าวถึ งลําดับขั้นของความต้องการของบุคคล ทั้งหมด 5 ลําดับ เป็ นการวิเคราะห์ของ ต้องการของมนุษย์ 1. ความต้องการทางร่ างกาย (Physiological Needs) ความต้องการทางร่ างกายจะอยูล่ าํ ดับ ตํ่าที่สุด ความต้องการพื้นฐานมากที่สุดที่ระบุโดยมาสโลว์ ความต้องการเหล่านี้จะหมายถึงแรงผลักดัน


11

ทางชี ววิทยาพื้นฐาน เช่ น ความต้องการอาหาร อากาศ นํ้า และที่อยู่อาศัย เพื่อการตอบสนองความ ต้องการเหล่านี้ 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) ความต้องการความปลอดภัยความ ต้องการลําดับที่สองของมาสโลว์ จะถูกกระตุน้ ภายหลังจากที่ความต้องการทางร่ างกายถูกตอบสนอง แล้ว ความต้องการความปลอดภัยจะหมายถึงความต้องการสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยปราศจากอันตราย ทางร่ างกายและจิตใจ 3. ความต้องการทางสังคม (Social Needs) ความต้องการทางสังคมคือ ความต้องการ ระดับสามที่ระบุโดยมาสโลว์ ความต้องการทางสังคมจะหมายถึงความต้องการที่จะเกี่ยวพันกับการมี เพื่อนและการถูกยอมรับโดยบุคคลอื่น เพื่อการตอบสนองความต้องการทางสังคม 4. ความต้องการเกียรติยศชื่ อเสี ยง (Esteem Needs) ความต้องการเกียรติยศชื่ อเสี ยงคือ ความต้องการระดับที่สี่ ความต้องการเหล่านี้ หมายถึง ความต้องการของบุคคลที่จะสร้างการเคารพ ตนเองและการชมเชยจากบุคคลอื่น 5. ความต้องการความสมหวังของชีวิต (Self-Actualization Needs) ความต้องการความ สมหวังของชี วิตคือความต้องการระดับสู งสุ ด บุคคลมักจะต้องการโอกาสที่จะคิดสร้างสรรค์ภายใน งานหรื อพวกเขาอาจจะต้องการความเป็ นอิสระและความรับผิดชอบ (อาภรณ์ เพชรชื่น, 2547) ทฤษฎีการตัดสิ นใจ การตัดสิ นใจ (Decision making) มีนกั วิชาการได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้ ศิริพร พงศ์ศรี โรจน์ (2540 : 187) กล่าวว่า การตัดสิ นใจหรื อการวินิจฉัยสั่งการ หมายถึง การเลือกปฏิบตั ิหรื องดเว้นการปฏิบตั ิ หรื อการเลือกทางดําเนินการที่เห็นว่าดีที่สุดทางใดทางหนึ่ ง จาก ทางเลื อกหลายๆ ทาง เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตามที่ตอ้ งการหรื อการวินิจฉัยสั่งการ คือ การชัง่ ใจ ไตร่ ตรองและตัดสิ นใจ ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร (2547 : 44-45) กล่าวว่า การตัดสิ นใจทางการจัดการ หมายถึง การที่ผมู้ ี หน้าที่รับผิดชอบในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งทําการเลือกทางเลือกใดจากหลายทางเลือกเพื่อให้ แผนการบรรลุ วัตถุประสงค์ บรรยงค์ โตจินดา (2548 : 178) กล่าวว่า การวินิจฉัยสั่งการหรื อการตัดสิ นใจ หมายถึง การที่ ผูบ้ ริ หารหรื อผูบ้ งั คับบัญชาพิจารณาตัดสิ นใจและสั่งการในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง การวินิจฉัยสั่งการ หรื อ


12

การตัดสิ นใจเป็ นเรื่ องที่มีความสําคัญมาก เพราะการวินิจฉัยสั่งการจะเป็ นการเลือกทางเลือก ดําเนิ นการ ที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกหลายๆ ทาง สมคิด บางโม (2548 : 175) กล่าวว่า การตัดสิ นใจ หมายถึง การตัดสิ นใจเลือก ทางปฏิบตั ิซ่ ึ ง มีหลายทางเป็ นแนวปฏิบตั ิไปสู่ เป้ าหมายที่วางไว้ การตัดสิ นใจนี้อาจเป็ นการตัดสิ นใจ ที่จะกระทําการ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งหรื อหลายสิ่ งหลายอย่าง เพื่อความสําเร็ จตรงตามที่ต้ งั เป้ าหมายไว้ ในทางปฏิบตั ิการ ตัดสิ นใจมักเกี่ยวข้องกับปั ญหาที่ยงุ่ ยากสลับซับซ้อน และมีวธิ ี การแก้ปัญหาให้วนิ ิจฉัย มากกว่าหนึ่งทาง เสมอ ดังนั้นจึงเป็ นหน้าที่ของผูว้ ินิจฉัยปั ญหาว่าจะเลือกสั่งการปฏิบตั ิ โดยวิธีใด จึงจะบรรลุเป้ าหมาย อย่างดีที่สุดและบังเกิดผลประโยชน์สูงสุ ดแก่องค์การนั้น จากการที่มีผใู ้ ห้ความหมายดังกล่าวข้างต้นจึงสรุ ปได้วา่ การตัดสิ นใจ หมายถึง กระบวนการที่ ผูบ้ ริ หารตัดสิ นใจใช้ในการแก้ไขปั ญหาขององค์การ หรื อการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิ ซึ่ งตั้งอยูบ่ น พื้นฐานข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากโครงสร้างองค์การ พฤติกรรมของบุคคล และกลุ่ม ทฤษฎีการตัดสิ นใจเป็ นการนําแนวความคิดที่มีเหตุผลที่ผบู้ ริ หารใช้ในการเลือกทางเลือกที่ดี ที่สุด ซึ่ งสามารถจําแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ ทฤษฎีการตัดสิ นใจจําแนกตามวิธีการตัดสิ นใจ และ ทฤษฎีการตัดสิ นใจตามบุคคลที่ตดั สิ นใจ (สุ โขทัยธรรมาธิราช, 2548, หน้า 263-264) ดังนี้ 1. ทฤษฎี การตัดสิ นใจจําแนกตามวิธีการตัดสิ นใจ สามารถจําแนกทฤษฎีการตัดสิ นใจ ตามวิธีการตัดสิ นใจออกเป็ น 3 วิธี ดังนี้ 1.1 ทฤษฎี การตัดสิ นใจโดยการคาดการณ์ มีการใช้เทคนิ คการคาดการณ์ และการ พยากรณ์ เข้ามาประกอบการตัดสิ นใจ เช่น การพยากรณ์โดยใช้แนวโน้ม เป็ นต้น 1.2 ทฤษฎี การตัดสิ นใจโดยการพรรณนา เป็ นการใช้กระบวนการวิจยั เป็ นเครื่ องมือ ในการตัดสิ นใจ ดังนั้นผูว้ จิ ยั จะต้องมีการพิสูจน์และเห็นจริ งจึงจะดําเนินการตัดสิ นใจได้ บางครั้งเรี ยก การตัดสิ นใจแบบนี้วา่ การตัดสิ นใจทางวิทยาศาสตร์ 1.3 ทฤษฎี ก ารตัดสิ นใจโดยกํา หนดความ เป็ นทฤษฎี ที่ คาํ นึ งถึ ง ว่า แนวทางการ ตัดสิ นใจควรจะเป็ นหรื อน่าจะเป็ นอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการตัดสิ นใจได้ 2. ทฤษฎีการตัดสิ นใจจําแนกตามบุคคลที่ตดั สิ นใจ สามารถจําแนกทฤษฎีการตัดสิ นใจ โดยการจําแนกตามบุคคลที่ตดั สิ นใจได้เป็ น 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.1 การตัดสิ นใจโดยคนเดียว เป็ นการตัดสิ นใจโดยคนๆ เดี ยวจะทําให้เกิ ดความ รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพในการตัดสิ นใจ มักจะใช้ธุรกิ จขนาดย่อมที่มีผปู้ ระกอบการที่เป็ นเจ้าของ กิจการ และเป็ นผูท้ ี่ใกล้ชิดปั ญหาและทราบข้อมูลได้ดีกว่า


13

2.2 การตัดสิ นใจโดยกลุ่ม เป็ นการตัดสิ นใจที่ยดึ ทีมงาน และคณะกรรมการเป็ นผูร้ ่ วม ตัดสิ นใจเป็ นการมุ่งเน้นการมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ เมื่อใดก็ตามที่ตอ้ งการความร่ วมมือผูบ้ ริ หาร จึง ควรให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่ วม ดังนั้นการกระจายอํานาจและการมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ จึง จําเป็ นสําหรับองค์การในอนาคต อย่า งไรก็ตามในการตัดสิ นใจโดยคนเดี ย วหรื อกลุ่ ม นั้นผูบ้ ริ หารจํา เป็ นที่ จะต้องพิจารณา ความสลับซับซ้อนของปั ญหาปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจด้วย ซึ่ งความสลับซับซ้อนของปั ญหา ประเภทของการตัดสิ นใจ การตัดสิ นใจเป็ นกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ ง จากหลายๆ ทางเลือกที่ได้ พิจารณาหรื อประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็ นทางให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายขององค์การ ในขณะที่ การตัดสิ นใจจะเป็ นปั จจัยที่มีความสําคัญ และเกี่ยวข้องกับหน้าที่การบริ หารหรื อการจัดการเกือบ ทุก ขั้นตอนไม่ว่า จะเป็ นการตัดสิ นใจเพื่อการวางแผน การจัดองค์ก าร การจัดคนเข้าทํางาน การ ประสานงาน และการควบคุม เป็ นต้น ดังนั้นผูบ้ ริ หารจึงต้องมีบทบาทและหน้าที่ในการตัดสิ นใจ ผูบ้ ริ หารที่ทาํ การตัดสิ นใจเลื อกทางเลื อกภายใต้สถานการณ์ ต่างๆ นั้น อาจต้องทําการ ตัดสิ นใจ ในลักษณะที่แตกต่างกัน ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ข้อมูลข่าวสารที่จะเกิดขึ้นทั้งในปั จจุบนั และเหตุการณ์ ในอนาคต สําหรับการแบ่งประเภทของการตัดสิ นใจจึงขึ้นอยูก่ บั ข้อมูลที่มีอยูเ่ ป็ นสําคัญ อย่างไรก็ตามผู ้ ตัดสิ นใจ สามารถคาดคะเนสถานการณ์ ท้ งั หมดที่จะเป็ นไปได้ในอนาคตนั้น เป็ นเพียงการระบุความ เป็ นไปได้ ของสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่ งผูต้ ดั สิ นใจยังไม่ทราบถึงความแน่นอนของสถานการณ์จะ เกิดขึ้น และสถานการณ์ ท้ งั หมดนั้นก็มีเพียงสถานการณ์เดียวเท่านั้นที่จะเกิดขึ้นนอกนั้นอาจเป็ นเพียง สถานการณ์ ที่มีโอกาสเป็ นไปได้แต่ไม่ได้เกิดขึ้นจริ งก็ได้ จากความหมายข้างต้นผูบ้ ริ หารแต่ละคนอาจ ให้ค วามหมายและความสํา คัญของการตัดสิ นใจ ที่ แตกต่า งกันออกไปในรายละเอี ย ดของแต่ล ะ สถานการณ์ ในส่ วนที่พิจารณาเหมือนกัน ได้แก่ 1. กระบวนการการตัดสิ นใจ เป็ นการตัดสิ นใจที่ตอ้ งผ่านกระบวนการวิเคราะห์และ พิจารณา ถึ งข้อมูลที่เกิดขึ้นจากนั้นผูบ้ ริ หารจึงทําการตัดสิ นใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสมและดีที่สุ ด สําหรับ กระบวนการตัดสิ นใจประกอบด้วยขั้นตอนการแสวงหาข้อมูล การออกแบบการตัดสิ นใจ รวมทั้ง การตัดสิ นใจเลือกทางเลือกเพื่อให้สามารถเลือกทางเลือกได้ดีที่สุด ดังนั้นในการวิเคราะห์และ พิจารณา จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ และผ่านกระบวนการตัดสิ นใจนัน่ เอง


14

2. การตัดสิ นใจเกี่ ยวข้องกับทางเลื อก การตัดสิ นใจเป็ นความพยายามในการสร้ า ง ทางเลือก ให้มากที่สุดเท่าที่ทาํ ได้ ทางเลือกที่น้อยอาจปิ ดโอกาสความคิดสร้างสรรค์หรื อทางเลือกที่ ดีกว่าได้ ดังนั้นผูบ้ ริ หารจึงมีความจําเป็ นต้องมีการฝึ กฝนในการสร้างทางเลือกที่หลากหลาย และมีความ สร้างสรรค์อีกด้วย การตัดสิ นใจเกี่ยวข้องกับทางเลือก ซึ่ งโดยทัว่ ไปจะเป็ นการตัดสิ นใจที่ไม่ได้กาํ หนด แนวทางการปฏิบตั ิไว้ล่วงหน้าเป็ นการตัดสิ นใจที่แตกต่างออกไปจากสถานการณ์ปกติ ที่ไม่ได้มี การ กําหนดโครงสร้างการตัดสิ นใจไว้ ดังนั้นผูบ้ ริ หารจึงต้องค้นหาแนวทางการตัดสิ นใจเพื่อ 3. การตัดสิ นใจเกี่ยวข้องกับโครงสร้างขององค์การ ผูบ้ ริ หารในแต่ละระดับจะมีบทบาท และหน้าที่ในการตัดสิ นใจที่แตกต่างกัน เช่น ผูบ้ ริ หารระดับสู งจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์ ผูบ้ ริ หารระดับกลางจะเกี่ ยวข้องกับการตัดสิ นใจด้านการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ผูบ้ ริ หาร ระดับปฏิ บตั ิจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจในการดําเนินงานให้สําเร็ จตามระยะเวลา และเป้ าหมาย ที่ กําหนดไว้ การตัดสิ นใจเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์การเป็ นการตัดสิ นใจในงานประจํา โดยทัว่ ไป จะ เป็ นกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ขั้นตอนการปฏิบตั ิ เป็ นต้น เพื่อให้ทุกคนทราบและถือปฏิบตั ิ ดังนั้น ผูบ้ ริ หาร จึงต้องมีบทบาทในการกําหนดมาตรฐานและแนวทางการปฏิบตั ิไว้ล่วงหน้าในองค์การ 4. การตัดสิ นใจเกี่ ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคลากร การตัดสิ นใจจะมีผลกระทบต่อ บุคคล กลุ่ม และทั้งองค์การ ซึ่ งพฤติกรรมของบุคคลแต่ละคนจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้น ผูบ้ ริ หาร จะต้อง มีความเข้าใจและมีจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับบุคคล กลุ่ม และองค์การที่ดี จึงจะทําให้การตัดสิ นใจ ประสบความสํา เร็ จได้ สํา หรั บ การตัดสิ นใจที่ มีล ัก ษณะสร้ างสรรค์ที่ เป็ นการตัดสิ นใจที่ เกิ ดจาก ความคิดริ เริ่ มของผูบ้ งั คับบัญชาเป็ นสําคัญและเป็ นการตัดสิ นใจโดยคนๆ เดียว ส่ วนการตัดสิ นใจ โดย กลุ่มเป็ นการตัดสิ นใจที่มีความสลับซับซ้อนที่ไม่สามารถตัดสิ นใจโดยคนๆ เดียวได้ จึงต้องอาศัย ความ ร่ วมมือจากทุกฝ่ ายก็จาํ เป็ นที่จะต้องมีการตัดสิ นใจโดยกลุ่มเพื่อแก้ไขปั ญหาร่ วมกัน ในการแบ่งประเภทของการตัดสิ นใจ สามารถแบ่งได้ ดังนี้ (http://irrigation.rid.go.th/rid15/ ppn/Knowledge/Decision%20Support%20Systems/dss1.htm) 1. การตัดสิ นใจแบบโครงสร้าง (Structure) บางครั้งเรี ยกว่าแบบกําหนดไว้ล่วงหน้า เป็ น การตัดสิ นใจเกี่ยวกับปั ญหาที่เกิดขึ้นเป็ นประจํา จึงมีมาตรฐานในการตัดสิ นใจเพื่อแก้ปัญหาอยูแ่ ล้ว โดย วิธีการในการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดจะถูกกําหนดไว้อย่างชัดเจน ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ เช่ น การหา ระดับสิ นค้าคงคลังที่เหมาะสมหรื อการเลือกกลยุทธ์ในการลงทุนที่เหมาะสมที่สุด เมื่อมีวตั ถุ ประสงค์ เพื่ อให้ เกิ ดค่า ใช้จ่า ยตํ่า ที่ สุ ดหรื อ เพื่อให้เกิ ดกํา ไรสู ง สุ ด การตัดสิ นใจแบบโครงสร้ า งนี้ จึ ง มัก ใช้


15

แบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ ความรู้ทางด้านวิทยาการการจัดการ การวิจยั เพื่อการดําเนินงานเข้ามาใช้ เป็ นต้น ตัวอย่างของการตัดสิ นใจ ได้แก่ การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับสิ นค้าคงคลัง การวิเคราะห์ งบประมาณ การตัดสิ นใจด้านการลงทุน ระบบการจัดส่ ง เป็ นต้น 2. การตัดสิ นใจแบบไม่เป็ นโครงสร้าง (Unstructured) เป็ นการตัดสิ นใจเกี่ยวกับปั ญหา ที่ มีรูปแบบไม่ชดั เจนหรื อมีความซับซ้อน จึงไม่มีแนวทางในการแก้ปัญหาแน่นอนเป็ นปั ญหาที่ไม่มี การ ระบุวธิ ี แก้ไว้อย่างชัดเจนว่าต้องทําอะไรบ้าง การตัดสิ นใจกับปั ญหาลักษณะนี้ จะไม่มีเครื่ องมือ 3. การตัดสิ นใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi structure) เป็ นการตัดสิ นใจแบบผสมระหว่าง โครงสร้างและไม่เป็ นโครงสร้าง ปั ญหาแบบกึ่งโครงสร้างนี้ จะใช้วิธีแก้ปัญหาแบบมาตรฐานและ การ พิจารณาโดยมนุ ษย์รวมเข้าไว้ดว้ ยกัน คือ มีลกั ษณะเป็ นกึ่ งโครงสร้ าง แต่มีความซับซ้อนมากขึ้ น ขั้นตอนจึงไม่ชดั เจนว่าจะมีข้ นั ตอนอย่างไร ปัญหาบางส่ วนเขียนเป็ นแบบจําลองทางคณิ ตศาสตร์ ได้ แต่ ปั ญหาบางส่ วนไม่สามารถเขียนออกมาในรู ปของแบบจําลองได้ เช่ น การทําสัญญาทางการค้า การ กําหนดงบประมาณทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น องค์ ประกอบของการตัดสิ นใจ การตัดสิ นใจมีองค์ประกอบที่ตอ้ งพิจารณามี 4 ประการคือ 1. ผูท้ าํ การตัดสิ นใจ เป็ นองค์ประกอบที่สาํ คัญที่สุดเพราะการตัดสิ นใจจะดีหรื อไม่ข้ ึนกับ บุคคลผูต้ ดั สิ นใจเป็ นสําคัญ ดังนั้นผูต้ ดั สิ นใจจําเป็ นต้องมีขอ้ มูล มีเหตุผล มีค่านิยมที่ถูกต้องสอดคล้อง ต่อการบรรลุเป้ าหมายองค์การ แต่ในบางครั้งถ้าผูท้ าํ การตัดสิ นใจขาดข้อมูลที่ถูกต้องขาดเหตุผล และมี ค่านิยมที่มาสอดคล้องแล้วจะทําให้ผลของการตัดสิ นใจไม่ดีพอได้ ผูท้ าํ การตัดสิ นใจบางเรื่ อง ต้องมุ่งสู่ การตัดสิ นใจเป็ นกลุ่มบางเรื่ องบางกรณี ก็ตดั สิ นใจโดยคนๆ เดียว ดังนั้นผูบ้ ริ หารจึงต้อง วิเคราะห์ สถานการณ์ให้ถูกต้อง 2. ประเด็นปั ญหาที่ตอ้ งตัดสิ นใจ เป็ นองค์ประกอบที่สองที่ตอ้ งให้ความสําคัญ ปั ญหาที่ ต้องตัดสิ นใจนั้นจําแนกได้หลายประการ เช่น จําแนกตามโรคโครงสร้างและระบบงานบกพร่ อง โรค พฤติกรรมบกพร่ อง และโรคเทคโนโลยีและวิทยาการบกพร่ อง เมื่อกําหนดปั ญหาได้ชดั ว่าเป็ น ปั ญหา เรื่ องอะไรก็สามารถหาแนวทางแก้ไขปั ญหาได้ถูกต้อง 3. ทางเลือกต่าง ๆ ที่บรรลุเป้ าหมายได้ เป็ นองค์ประกอบที่สามที่ตอ้ งคํานึง ผูบ้ ริ หารต้อง พยายามที่จะค้นหาทางเลือกที่ดีกว่าอยูเ่ สมอและสร้างทางเลือกให้มากกกว่า 2 ทางเลือก ในปั จจุบนั การ


16

บริ หารองค์การมุ่งสู่ การสร้ างทางเลือกสู่ การผลิตสิ นค้าและบริ การที่ถูกกว่า มีคุณภาพสู งกว่า มีความ รวดเร็ ว มีการบริ การที่ประทับใจมากกว่า นอกจากนี้ ควรจะสร้างทางเลือกเพื่อมุ่งสู่ การเรี ยนรู้ และสร้าง นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ซ่ ึ งเป็ นปั จจัยที่มีความสําคัญต่อองค์การอีกด้วย 4. สภาวการณ์ที่ทาํ การตัดสิ นใจ ในการตัดสิ นใจจําเป็ นต้องคํานึงถึงสภาวการณ์ที่ทาํ การ ตัดสิ นใจเป็ นแบบใด ซึ่ งมี 3 ประการ ได้แก่ สภาวการณ์ที่แน่นอน เป็ นสภาวการณ์ที่ผทู ้ าํ การตัดสิ นใจ ทราบทางเลือกต่างๆ และทราบถึงผลที่จะเกิดขึ้นของแต่ละทางเลือกอย่างดีดว้ ย การตัดสิ นใจดังกล่าว ย่อมมีโอกาสถูกต้องมากที่สุด เช่น ตัดสิ นใจนําเงินฝากธนาคารย่อมคํานวณดอกเบี้ยได้ชดั เจนใน ระยะ สั้นและยะยาว สภาวการณ์ที่เสี่ ยง เป็ นสภาวการณ์ที่ผบู้ ริ หารตัดสิ นใจทราบทางเลือกต่างๆ และทราบ โอกาส ความน่าจะเป็ นที่เกิดขึ้นผูบ้ ริ หารจะตัดสิ นใจเมื่อโอกาสที่จะได้รับผลประโยชน์ มากกว่าเสี ย ประโยชน์ การตัดสิ นใจในสภาวการณ์เสี่ ยงผูท้ าํ การตัดสิ นใจต้องเรี ยนรู ้ทาํ ความเข้าใจ เรื่ องทฤษฏีความ น่าจะเป็ นและแขนงการตัดสิ นใจ และสภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน เป็ นสภาวการณ์ ที่ผทู้ าํ การตัดสิ นใจอาจ ทราบทางเลือกต่างๆ แต่ไม่ทราบผลที่อาจจะเกิดขึ้นในแต่ละทางเลือกโดยไม่ สามารถคาดคะเนความ น่าจะเป็ นของแต่ละทางเลือกภายใต้สภาวการณ์ดงั กล่าว ผูท้ าํ การตัดสิ นใจ จึงไม่ควรตัดสิ นใจใดๆ ลง ไปจนกว่าจะมีขอ้ มูลสารสนเทศที่น่าเชื่อถือมากกว่าที่มีอยู่ ขั้นตอนในการตัดสิ นใจ การตัดสิ นใจเป็ นหน้าที่ของผูบ้ ริ หารที่เป็ นกระบวนการ (Process) และต้องมีการพิจารณา ข้อมูลต่างๆ อย่างรอบคอบ จากนั้นจึงทําการกําหนดทางเลือกและเลือกทางที่ดีที่สุดขึ้นมาและนําไปสู่ การปฏิบตั ิต่อไป ซึ่ งแนวความคิดของนักวิชาการได้แบ่งขั้นตอนการตัดสิ นใจไว้มีลกั ษณะที่ใกล้เคียงกัน โดยทัว่ ไปกระบวนการตัดสิ นใจจะมีความแตกต่างกันในด้านการจัดกลุ่มของแต่ละขั้นตอน สําหรับกระบวนการตัดสิ นใจ (ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร, 2547 : 50-52) ดังนี้ 1. การกํา หนดปั ญ หาและวิเคราะห์ ส าเหตุ ข องปั ญหา สํา หรั บ ขั้นตอนแรกของการ ตัดสิ นใจ จะเป็ นการกําหนดปั ญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาให้เกิดความชัดเจนก่อน ซึ่ งปั ญหาที่ เกิ ด ขึ้นกับองค์การบางครั้งยากต่อการระบุวา่ มาจากสาเหตุใด เช่ น องค์การประสบปั ญหาเกี่ยวกับ ต้นทุน การผลิตที่สูงขึ้นซึ่ งอาจเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ดังนั้นผูบ้ ริ หารจึงต้องทําการศึกษาวิเคราะห์เพื่อ ระบุ และกําหนดปั ญหาให้ชดั เจนว่าเกิดจากสาเหตุอะไร โดยทัว่ ไปการแบ่งประเภทของปั ญหา ได้แก่ ปั ญหาที่เป็ นมาตั้งแต่อดีตและปั ญหามีแนวโน้มรุ นแรงมากขึ้นในอนาคต ปั ญหาที่ทราบล่วงหน้าว่า จะ


17

เกิดขึ้นและควรเตรี ยมการป้ องกันหรื อปั ญหาเฉพาะด้านเป็ นปั ญหาที่เกิดจากสาเหตุเดียว และ สามารถ แก้ไขสําเร็ จได้ง่าย เป็ นต้น ดังนั้นการกําหนดปั ญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาจึงเป็ น ขั้นตอนที่มี ความสําคัญมากที่สุดต่อการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร วิชาองค์การและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน์ บุษราคัม วดี 115 2. การกําหนดทางเลื อกต่างๆ ที่จะใช้แก้ปัญหา เมื่อผูบ้ ริ หารสามารถกําหนดปั ญหาได้ ชัดเจนแล้ว โดยจะต้องมีการกลัน่ กรองข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปั ญหาทั้งหมด เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับ สภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์การเพื่อค้นหาปั จจัยต่างๆ ที่เป็ นองค์ประกอบของปั ญหาที่มี ระดับความรุ นแรงแตกต่างกัน ข้อมูลที่เกี่ ยวข้องทั้งหมดจะถูกนํามากําหนดเป็ นทางเลื อกเพื่อแก้ไข ปั ญหา ทางเลือกที่กาํ หนดในขั้นตอนนี้ อาจมีหลายทางเลือก เช่น ทางเลือกในการแก้ปัญหาต้นทุน การ ผลิตที่สูงขึ้นอาจเกิดขึ้นได้ต้ งั แต่การปรับวิธีการทํางานของฝ่ ายผลิต การฝึ กอบรมทีมงานเพื่อเพิ่ม ทักษะ การผลิต การปรับปรุ งการออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น 3. การประเมินผลทางเลือกต่างๆ ที่ได้กาํ หนด หลังจากวิเคราะห์ปัญหา ทําการกําหนด ทางเลือกต่างๆ ที่จะใช้แก้ปัญหา จากนั้นจึงทําการประเมินผลทางเลือกต่างๆ ซึ่ งเป็ นแนวทางการนํา ปั ญหาไปสู่ การแก้ไข ในขั้นตอนนี้ ผูต้ ดั สิ นใจจะวิเคราะห์และประเมินว่าทางเลือกใดสามารถแก้ไข ปั ญหา ได้ดีที่สุด ทางเลื อกใดควรจะดําเนิ นการก่อนและหลัง มีการใช้กระบวนการชัง่ นํ้าหนักเพื่อ พิจารณาถึง ผลดีและผลเสี ยในแต่ละทางเลือกด้วย นอกจากนี้ จะต้องพิจารณาด้วยว่าการตัดสิ นใจใน ทางเลือกหนึ่ ง ย่อมส่ งผลกระทบต่อปั ญหาอื่นๆ ตามมาได้ ดังนั้นควรวิเคราะห์และประเมินทางเลือก อย่างรอบคอบ สําหรับปั ญหาที่เกิดขึ้นจะเป็ นการพิจารณาปั ญหาจากภายในองค์การมากกว่าภายนอก เช่น บุคลากร อุปกรณ์ขาดแคลน แนวทางแก้ไขสามารถทําได้โดยการเพิ่มบุคลากรการจัดซื้ ออุปกรณ์ เพิ่ม เป็ นต้น 1. การกําหนดปั ญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา 2. การกําหนดทางเลือกต่างๆ ที่จะใช้แก้ปัญหา 3. การประเมินผลทางเลือกต่างๆ ที่ได้กาํ หนด 4. การตัดสิ นใจเลือกที่เหมาะสมที่สุด 5. ดําเนินการตามทางเลือกที่ตดั สิ นใจ 6. ประเมินผลที่เกิดจากทางเลือกนั้น แผนภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนในการตัดสิ นใจ ที่มา (ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร, 2547 : 50)


18

ขั้นตอนในการตัดสิ นใจ ได้แก่ ขั้นตอนการกําหนดปั ญหาและ วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา การกําหนดทางเลือกต่างๆ ที่จะใช้แก้ปัญหา การประเมินผลทางเลือกต่างๆ ที่ได้กาํ หนด การตัดสิ นใจ เลื อกที่ เหมาะสมที่ สุด การดําเนิ นการตามทางเลือกที่ตดั สิ นใจ รวมทั้ง การประเมินผลที่เกิดจาก ทางเลือกนั้นๆ ตามลําดับ 4. การตัดสิ นใจเลื อกที่เหมาะสมที่สุด เป็ นการนําเอาทางเลือกต่างๆ มาเปรี ยบเทียบว่า ทางเลือกใดจะเหมาะสมและเป็ นไปได้มากกว่ากัน เช่น องค์การมีเงินทุนไม่เพียงพออาจใช้ทางเลือก ที่ เป็ นไปได้มากที่สุด คือ การกูย้ มื จากภายนอก การนําเงินกําไรสะสมมาใช้ เป็ นต้น 5. ดําเนินการตามทางเลือกที่ตดั สิ นใจ เป็ นการเลือกทางเลือกที่ดีสุดและมีความเหมาะสม มากที่สุด จากนั้นจึงนําผลการตัดสิ นใจสู่ การปฏิบตั ิและประเมินผลต่อไป 6. ประเมินผลที่เกิดจากทางเลือกนั้นๆ การประเมินผลเป็ นการพิจารณาคุณค่าของผลงาน และความแตกต่างระหว่างผลการปฏิบตั ิงานกับเกณฑ์ และมาตรฐานที่ได้เลือกจากทางเลือกที่ตดั สิ นใจ ทั้งนี้ ผบู ้ ริ หารต้องทําการเปรี ยบเทียบผลงานกับเกณฑ์ และมาตรฐานก่อนว่ามีความแตกต่างกันหรื อไม่ และความแตกต่างนั้นมีความสําคัญมากน้อยเพียงใด จะก่อให้เกิดความเสี ยหายหรื อไม่มากน้อยเพียงใด โดยตี ค่า ของความแตกต่า งนั้นจากผลกระทบที่ ค าดว่า จะเกิ ดขึ้ นว่า เป็ นผลดี หรื อผลเสี ย ต่อองค์ก าร อย่างไร ทฤษฎีเกีย่ วกับส่ วนประสมการตลาดสํ าหรับธุรกิจบริการ ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ (2546 : 434-436) กล่าวว่าธุ รกิจที่ให้บริ การจะใช้ส่วนประสมทาง การตลาด (Marketing Mix) หรื อ 4P’s เช่ นเดียวกับธุ รกิจขายสิ นค้าซึ่ งประกอบด้วย (1) ผลิตภัณฑ์ (Product) (2) ราคา (Price) (3) สถานที่ (Place) (4) การส่ งเสริ มการตลาด (Promotion) และนอกจากนั้น ยังต้องอาศัยเครื่ องมืออื่นๆ เพิ่มเติม ประกอบด้วย (5) บุคคล (People) หรื อ พนักงาน (Employees) ซึ่ ง ต้องอาศัยการคัดเลือก (Selection) การฝึ กอบรม(Training) การจูงใจ (Motivation) เพื่อให้สามารถสร้าง ความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าได้แตกต่างเหนื อคู่แข่ง พนักงานต้องมีความสามารถ มีทศั นคติที่ดีสามารถ ตอบสนองต่อลูกค้า มีความคิดริ เริ่ ม มีความสารถในการแก้ปัญหา และสามารถสร้างค่านิ ยมให้กบั บริ ษทั (6) การสร้ างและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and presentation) โดย พยายามสร้างคุ ณภาพโดยรวม (Total Quality Management (TQM)) ตัวอย่าง โรงแรมต้องพัฒนา ลัก ษณะทางกายภาพและรู ป แบบการให้บ ริ ก าร เพื่อสร้ า งคุ ณค่า ให้ก ับ ลู ก ค้า (Customer-Value


19

Proposition) ไม่วา่ จะเป็ นด้านความสะอาด ความรวดเร็ ว หรื อผลประโยชน์อื่นๆ (7) กระบวนการ (Process) เพื่อส่ งมอบคุณภาพในการให้บริ การกับลูกค้าได้รวดเร็ วและสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า (Customer Satisfaction) อดุลย์ จาตุรงคกุล, ดลยา จาตุรงคกุลและพิมพ์เดือน จาตุรงคกุล (2546, 12-14) แปลจาก Principles of Service Marketing and Management ซึ่ งเขียนโดย เลิฟล็อก, คริ สโตเฟอร์ และลอเรนไรท์ ได้กล่าวว่าเมื่อพิจารณากลยุทธ์ทางการตลาดสิ นค้าที่ผลิตจากอุตสาหกรรม โดยปกตินกั การตลาดยึดถือ องค์ประกอบของกลยุทธ์เบื้องต้น 4 ประการ (4P) คือ P-product (ผลิตภัณฑ์) P-price (ราคา)P-place (ช่องทางการจําหน่าย) และ P-promotion (การส่ งเสริ มตลาดหรื อการสื่ อสาร) กล่าวโดยรวมแล้วทั้ง 4 จําพวกหมายถึง 4Ps ของส่ วนผสมการตลาด แต่อย่างไรก็ตามการตลาดของธุ รกิจบริ การจําเป็ นต้องรวม องค์ประกอบทางด้านกลยุทธ์อื่น ๆ เข้าไว้ดว้ ยในกลยุทธ์การบริ การ นัน่ ก็คือ มีการใช้“8Ps” ในการ บริ หารบริ การแบบผสมผสานหรื อบูรณาการ ซึ่ งอธิ บายถึงตัวแปรในการตัดสิ นใจ8ประการที่ผบู ้ ริ หาร องค์การที่ให้บริ การต้องพิจารณาได้แก่ 1. องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ (Product Elements) ผูบ้ ริ หารจะต้องพิจารณาผลิตภัณฑ์ท้ งั ผลิตภัณฑ์หลักและองค์ประกอบเสริ มในส่ วนที่เป็ นบริ การควบคู่กบั ตัวผลิตภัณฑ์ โดยสิ่ งที่ผบู ้ ริ หารต้อง พิจารณา คือ ผลิตภัณฑ์ตอ้ งสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าและผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันทําได้ดี มากน้อยเพียงใด 2. ราคาและค่าใช้จ่ายอื่นของผูใ้ ช้บริ การ (Price and Other User Cost) องค์ประกอบนี้ ชี้ ให้เห็ นถึ งการบริ หารค่าใช้จ่ายที่เกิ ดขึ้น เนื่ องจากลูกค้าได้รับคุณประโยชน์จากผลิ ตภัณฑ์ในด้าน บริ การ ความรับผิดชอบไม่จาํ กัดอยูท่ ี่งานการตั้งราคาเพื่อสร้างราคาขายแก่ลูกค้าเท่านั้น ซึ่ งก็รวมถึงการ ตั้งกําไรจากการค้าและตั้งข้อตกลงเกี่ยวกับสิ นเชื่อด้วย นอกจากนั้นผูจ้ ดั การบริ การยังต้องตระหนักถึง ทางปฏิ บตั ิเพื่อหาวิธีลดต้นทุนและสิ่ งอื่นที่ลูกค้ารับภาระไว้ในการซื้ อ และส่ งผลให้เกิดใช้บริ การให้ น้อยลง ต้นทุนเหล่านี้รวมถึงค่าใช้จ่ายด้านการเงิน ด้านเวลา ความพยายามในรู ปวัตถุและจิตใจรวมไป ถึงประสบการณ์ของลูกค้าไปอดีตที่อาจจะเป็ นลบหรื อไม่พอใจต่อรู ปแบบบริ การก็ได้ 3. สถานที่ ไซเบอร์ สเปซและเวลา (Place, Cyherspace and Time) ในการส่ งมอบ องค์ประกอบของสิ นค้าไปสู่ ลูกค้านั้นต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ ทั้งในเรื่ องเวลาและสถานที่ รวมไป ถึงช่องทางการจําหน่าย ซึ่ งเป็ นไปได้ท้งั ช่องทางทัว่ ไปและใช้อิเล็กทรอนิ กส์ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั รู ปแบบของ ผลิตภัณฑ์บริ การที่ส่งมอบ บริ การส่ งข่าวสารข้อความและอินเตอร์ เนต (Internet) ช่วยให้ขอ้ มูลผ่าน ไซ


20

เบอร์ สเปซ (Cyberspace – การไม่มีสถานที่ที่พบเห็นได้) จึงมีการใช้สื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์แทน ไป ยังลูกค้าในเวลาที่ตอ้ งการโดยผ่านโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ ที่ถือเป็ นกลยุทธ์ในด้านบริ กา ได้แก่ความ รวดเร็ วและความสะดวกซึ่งเป็ นสิ่ งสําคัญที่ลูกค้าคาดหวังจะได้รับ 4. การส่ ง เสริ มตลาดและการให้ก ารศึ กษาแก่ ลู กค้า (Promotion and Education)ไม่มี โปรแกรมการตลาดใดจะสําเร็ จลงได้โดยปราศจากโปรแกรมการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ภาพองค์ประกอบ นี้มีบทบาทสําคัญ 3 ประการ ได้แก่ให้ข่าวสารและคําแนะนําที่จาํ เป็ นจูงใจกลุ่มเป้ าหมายให้เห็นถึงความ ดีของผลิตภัณฑ์ และส่ งเสริ มลูกค้าให้ก่อปฏิกิริยาเมื่อถึงเวลาอันควร ในการตลาดบริ การ การสื่ อสาร ส่ วนมากมีลกั ษณะคล้ายกับการอบรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ กับกลุ่มลูกค้าใหม่ บริ ษทั อาจต้องให้ความรู ้แก่ ลูก ค้า เกี่ ย วกับคุ ณ ประโยชน์ ของบริ การ สถานที่และเวลาที่จะใช้บริ การรวมถึ งวิธี การเข้าร่ วมใน กระบวนการส่ งมอบบริ การอย่างได้ผล การสื่ อสารอาจทําโดยตัวบุคคล เช่น พนักงานขาย ผูใ้ ห้การ ฝึ กอบรมหรื อผ่านสื่ อต่างๆ เช่นทีวหี นังสื อพิมพ์ นิตยสาร แผ่นพับและเวปไซต์ 5. กระบวนการ (Process) ในการสร้างและส่ งมอบสิ นค้าองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ไปยัง ลูกค้านั้นต้องมีการออกแบบและจัดการขบวนการในเชิ งปฏิบตั ิอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ กระบวนการนั้น สามารถอธิ บายได้วา่ เป็ นวิธีการและลําดับขั้นตอนซึ่ งระบบการบริ การ ต้องดําเนินไป กระบวนการผลิต บริ การที่ออกแบบมาไม่ดีมกั จะสร้างความไม่พอใจให้ลูกค้า เนื่องจากอาจมีความล่าช้า มีข้ นั ตอนมาก และมีประสิ ทธิ ภาพในการบริ การตํ่า ในขณะเดียวกันกระบวนการผลิตบริ การที่ไม่ดีก็ส่งผลกระทบแก่ พนักงานที่ให้บริ การแก่ลูกค้าในการทํางาน สิ่ งเหล่านี้จะส่ งผลถึงคุณภาพของผลผลิตในการบริ การและ ความล้มเหลวในการบริ การในที่สุด 6. ผลผลิตและคุณภาพ (Productivity and Quality) องค์ประกอบเหล่านี้ โดยมากมักจะ พิจารณาแยกกันทีละส่ วน แต่ไม่ควรพิจารณาองค์ประกอบเหล่านี้ แยกกันโดยเด็ดขาด การที่จะปรับปรุ ง ผลผลิ ตและระดับบริ การลงอย่างไม่เหมาะสม จนลูกค้าเกิดความไม่พอใจคุณภาพของบริ การตามที่ ลูกค้ากําหนดเป็ นสิ่ งสําคัญ ซึ่ งจะทําให้เห็นความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์ ธุ รกิจจําเป็ นต้องมีการรักษา ระดับบริ การ เพื่อสร้างให้ผูบ้ ริ โภคพอใจและเกิ ดความภักดีในการใช้บริ การ เป็ นสิ่ งจําเป็ นที่จะทําให้ การควบคุ มต้นทุนมีประสิ ทธิ ภาพ แต่ผบู้ ริ หารต้องระวังไม่ให้มีการลดคุณภาพอย่างไรก็ดีการลงทุน ปรับปรุ งคุณภาพโดยปราศจากความเข้าใจถึงต้นทุนที่เพิ่มขึ้น และรายได้ที่เพิ่มขึ้น อาจทําให้บริ ษทั มี ความสามารถในการทํากําไรพร้อมๆกับมีความเสี่ ยงสู งในเวลาเดียวกัน 7. บุคคล (People) ผลิตภัณฑ์บริ การทั้งหลายขึ้นอยูก่ บั การที่บุคคลปฏิบตั ิตอบต่อกันสองฝ่ าย คือ ระหว่างลูกค้ากับโรงเรี ยน สภาพของการปฏิบตั ิตอบต่อกันสองฝ่ ายมีอิทธิ พลต่อการรับรู้ของลูกค้า


21

ในด้านคุณภาพของบริ การเป็ นอย่างมาก ลูกค้ามักตัดสิ นเกี่ยวกับคุณภาพของบริ การ ที่เขารับจากการ ประเมินบุคคลที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การบริ ษทั ที่ประสบความสําเร็ จ ส่ วนใหญ่มกั ทุ่มเทความพยายามอย่างมาก กับการรับและคัดเลือกพนักงาน การฝึ กอบรม การจูงใจพนักงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งผูท้ ี่มีหน้าที่ติดต่อ โดยตรงกับลูกค้า 8. หลักฐานที่เป็ นตัววัตถุ (Physical Evidence) รู ปร่ างของตัวตึก สวนหย่อม พาหนะ เฟอร์ นิเจอร์ ตกแต่ง เครื่ องมือ สมาชิกที่เป็ นพนักงาน ป้ าย วัสดุสิ่งพิมพ์ และสิ่ งเร้าที่มองเห็นด้วยตาเปล่า ทั้งหมดนี้เป็ นหลักฐานเสริ มที่มองเห็นได้ และแสดงถึงรู ปแบบและคุณภาพบริ การของบริ ษทั ธุ รกิจด้าน บริ การจําต้องบริ หารหลักฐานที่เป็ นตัววัตถุอย่างรอบคอบ เนื่องจากอาจมีผลกระทบอย่างแรงต่อความ ประทับใจและความรู ้สึกของลูกค้าได้ ในบริ การที่มีองค์ประกอบที่จบั ต้องได้ ยกตัวอย่างเช่นในการ ประกันภัย อาจต้องทําการโฆษณาเพื่อสร้างสัญลักษณ์ที่สื่อความหมายในการคุม้ ครองได้แก่ ร่ มอาจเป็ น สัญลักษณ์แห่งความคุม้ ครอง รวมถึงการใช้สัญลักษณ์ป้อมปราการ อาจหมายถึงมัน่ คงปลอดภัย การดําเนิ นการทางการตลาดมีผลทําให้ผใู้ ช้บริ การ หรื อกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายมีความพึงพอใจ ต่อสิ นค้าหรื อบริ การที่ได้รับ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ส่ วนประสมทางการตลาดในการดําเนินการจัดการ งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง อารมณ์ เพชรชื่น ดร. (2547: 66) ศึกษาปั จจัยที่สัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจเลือกศึกษาต่อของ นักเรี ยนอาชี วศึกษาเอกชน พบว่าปั จจัยของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจเลือกศึกษาต่อ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิ ติที่ระดับ .01 ปั จจัยของสถานศึกษาคือ ปั จจัยด้านโรงเรี ยน ที่สําคัญได้แก่ หลักสู ตรที่เปิ ดสอน ที่ต้ งั ของโรงเรี ยน ภาพพจน์ของโรงเรี ยนตามลําดับ และปั จจัยการบริ หารจัดการ ที่ สําคัญได้แก่ ความรู ้ความสามารถและการปฏิบตั ิตนของครู ระบบการจัดการภายใน สภาพแวดล้อมและ ระบบการแนะแนวและจัดหางาน ตามลําดับ สามารถ โมราวรรณ และไพโรจน์ เกิดสมุทร (2554: 11) ศึกษาปั จจัยส่ วนประสมทาง การตลาดที่มีผลต่อการตัดสิ นใจศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า มีผลต่อการตัดสิ นใจ ด้านผลิตภัณฑ์ พบว่า การเรี ยนการสอนและหลักสู ตรที่มีมาตรฐาน แสดงถึงความสามารถของสถาบันอุดมศึกษาในการผลิต บัณฑิตที่มีคุณภาพ ซึ่ งมีผลต่ออนาคตการทํางาน และสามารถปรับตัวสําหรับงานที่เกิ ดขึ้นตลอดชี วิต ด้านราคา คือ ค่าเทอมและค่าธรรมเนียมของโรงเรี ยน มีเงินกองทุนรัฐบาลให้กูย้ ืม และเปิ ดโอกาสให้มี


22

การผ่อนชําระค่าเล่าเรี ยนได้หลายงวด ด้านการจัดจําหน่าย ช่องทางการเข้าถึงบริ การและสารสนเทศ ของสถาบันผ่านระบบ Internet เพราะว่าระบบ Internet เป็ นระบบที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก ทุก ที่ ทุกเวลา สร้ างความเสมอภาคทางการศึกษาได้ตามภารกิ จของสถาบันอุดมศึกษาที่ตอ้ งให้ทุกคนมี โอกาสได้ศึกษา ด้านการส่ งเสริ มการตลาด พบว่า สถาบันมีการแนะแนวให้ความรู ้ในการศึกษาต่อใน สถาบันโดยบุคลากรที่มีคุณภาพ เพราะว่าการใช้บุคลากรในการแนะแนวที่มีคุณภาพ จะสามารถสื่ อสาร ข้อมูลในการศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เจตนา สุ ขเอนก ผศ. (2552: 163) ปั จจัยส่ วนประสมการตลาดที่มีอิทธิ พลต่อนักศึกษาชั้นปี ที่ 1 ในการตัดสิ นใจเลือกมหาวิทยาลัยเอกชนเพื่อเข้าศึกษาต่อ (กรณี ศึกษาเฉพาะในเขตกรุ งเทพมหานคร) ปั จจัยส่ วนประสมการตลาดที่มีอิทธิ พลในการตัดสิ นใจเลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพื่อเข้าศึกษาต่อ โดย นักศึกษาหญิงจะให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านอุปกรณ์การเรี ยนการสอนทันสมัยมากกว่านักศึกษาชาย และนักศึกษาที่มีภูมิลาเนาอยู่ในต่างจังหวัดจะให้ความสาคัญกับปั จจัยส่ วนประสมการตลาดมากกว่า นักศึกษาที่มีภูมิลาเนาในเขต กรุ งเทพมหานครในด้านการจัดจาหน่ ายโดยรวม มีศูนย์รับสมัครของ มหาวิทยาลัยโดยตรงอยูห่ ลายที่ สามารถหาข้อมูล และสมัครได้ทาง Internet และมหาวิทยาลัยส่ ง อาจารย์ไปรับสมัครถึงโรงเรี ยน กฤษณ์ บุตรเนี ยน จุไร โชคประสิ ทธิ์ และอรสา จรู ญธรรม (2554: 49) ศึกษาปั จจัยในการ เลือกเข้าศึกษาในโรงเรี ยนอาชี วศึกษาเอกชนในจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ปั จจัยในการเลื อกเข้าศึกษา ประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับผูเ้ รี ยน เป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสนใจในวิชาชีพ นํา วิชาชีพไปประกอบอาชีพได้รวมถึงการประกอบธุ รกิจของครอบครัวมีส่วนในการผลักดันให้บุตรศึกษา ต่อในสาขานั้นๆ สิ่ งสําคัญที่ขาดไม่ได้ คือ การได้รับแนวคิดการส่ งเสริ มให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับทางเลือกต่อ ในอนาคตที่ เ หมาะสมกับ ตัว เองซึ่ งจะได้รั บ คํา ปรึ ก ษาจากครู แ นะแนวและปั จ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ สถานศึกษาทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสําคัญในเรื่ องของระบบขององค์กร และการบริ หาร จัดการของโรงเรี ยนอาชี วศึกษาเอกชน ในจังหวัดปราจีนบุรี รวมถึงงานวิชาการของหลักสู ตรสาย วิชาชี พและภาพลักษณ์ของโรงเรี ยน ชื่อเสี ยงความโดดเด่น บุคลากรที่มีความสามารถ เป็ นต้น ซึ่ งสิ่ ง ต่างๆ เหล่านี้ลว้ นเป็ นปั จจัยในการสร้างแรงจูงใจให้นกั เรี ยนเกิดความสนใจในการเลือกเข้าศึกษา สมจิต แข่งขัน (2548: บทคัดย่อ) ศึกษาความคิดเห็นด้านปั จจัยทางการตลาดของนักศึกษา ในการเลือกศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี มี วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความคิดเห็นและระดับการให้ความสําคัญด้านปั จจัยทางการตลาดของนักศึกษา ในการเลือกศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี


23

โดยเก็ บรวบรวมข้อมูล จากการใช้แบบสอบถามจากนัก ศึก ษาที่ก าํ ลัง ศึก ษาอยู่ในสถานศึ กษาสั งกัด สํานักงานคณะกรรมการการอาชี วศึกษาในจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี เมื่อปี การศึกษา 2547 จํานวน 384 คน วิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้นด้วยสถิติพ้ืนฐาน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้ t-test ในการ ทดสอบค่าเฉลี่ยของความสําคัญของปั จจัยทางการตลาดทั้ง 8 ด้านแตกต่างกัน ระหว่างนักศึกษาระดับ ปวช.และระดับปวส. ใช้ Chi-Square ทดสอบความสัมพันธ์ปัจจัยส่ วนบุคคลของนักศึกษากับปั จจัยด้าน การตลาดผลการศึกษาพบว่านักศึกษาให้ระดับความสําคัญกับปั จจัยด้านการตลาด ในการเลือกศึกษาใน สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานีดงั นี้นกั ศึกษาให้ระดับ ความสําคัญระดับมาก (1) ปั จจัยด้านผลผลิตและคุณภาพ (2) ปั จจัยด้านองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ (3) ด้านราคาและค่าใช้จ่ายอื่นของผูใ้ ช้บริ การ (4) ด้านสถานที่ (5) ด้านการส่ งเสริ มการตลาดและการ ให้การศึกษาแก่ลูกค้า (6) ด้านกระบวนการ (7) ด้านบุคคล (8) ด้านหลักฐานที่เป็ นตัววัตถุ นักศึกษาให้ ระดับความสําคัญในระดับปานกลาง ซึ่ งเมื่อจัดลําดับความสําคัญพบว่านักศึกษาให้ระดับความสําคัญ ด้านผลผลิตและคุณภาพมากที่สุด รองลงมาเป็ นปั จจัยด้านบุคคล ปั จจัยด้านราคาและค่าใช้จ่ายอื่นของ ผูใ้ ช้บริ การตามลําดับ ปั จจัยด้านสถานที่นกั ศึกษาให้ความสําคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ย ของความสําคัญของปั จจัยทางการตลาดทั้ง 8 ด้านไม่แตกต่างกันระหว่าง นักศึกษาระดับ ปวช.และ ระดับ ปวส. สําหรับความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยส่ วนบุคคล ของนักศึกษาในแต่ละด้านกับปั จจัยด้าน การตลาดทั้ง 8 ด้านพบว่า สถานศึกษาที่กาํ ลังศึกษา มีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยด้านการตลาดทั้ง 8 ด้าน ระดับที่ศึกษา รายได้รวมของบิดามารดาต่อเดือนและอาชีพของผูป้ กครอง ไม่มีความสัมพันธ์กบั ปั จจัย ด้านการตลาดทั้ง 8ด้าน เพศ มีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยด้านสถานที่ ด้านการส่ งเสริ มการตลาดและการให้ การศึกษาแก่ลูกค้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิตและคุณภาพ ด้านบุคคล แต่ไม่มีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยด้านองค์ประกอบของผลิ ตภัณฑ์ ด้านราคาและค่าใช้จ่ายอื่นของผูใ้ ช้บริ การ สถานภาพของ ครอบครัว มีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยด้านบุคคล และด้านหลักฐานที่เป็ นตัววัตถุ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยด้านองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ ด้านราคาและค่าใช้จ่ายอื่นของผูใ้ ช้บริ การ ด้านสถานที่ ด้านการ ส่ งเสริ มการตลาดและการให้การศึกษาแก่ลูกค้า ด้านกระบวนการและด้านผลผลิตและคุณภาพระดับ การศึกษาของผูป้ กครอง มีความสัมพันธ์กบั ปัจจัยด้านองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์และด้านผลผลิตและ คุณภาพ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยด้านราคาและค่าใช้จ่ายอื่นของผูใ้ ช้บริ การ ด้านสถานที่ ด้านการ ส่ งเสริ มการตลาดและการให้การศึกษาแก่ลูกค้า ด้านกระบวนการ ด้านบุคคล และด้านหลักฐานที่เป็ น ตัววัตถุ


24

ดลฤดี สุ วรรณคีรี (2550 : บทคัดย่อ) การศึกษาเปรี ยบเทียบปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือก ศึก ษาต่อระดับ อาชี วศึ ก ษาระหว่างสถาบันศึ กษาของรัฐกับ เอกชน ปั จจัย แวดล้อมที่ส่ งผลต่อการ ตัดสิ นใจเลื อกสถานศึ กษาเอกชนเรี ยงลําดับจากมากไปน้อยคือ การสอบเข้าง่าย ความพร้อมด้าน อุปกรณ์การศึกษา ค่าใช้จ่ายในการศึกษา ชื่ อเสี ยงของสถาบัน การนําความรู้ไปใช้การประชาสัมพันธ์ ของสถานศึกษา อาคารสถานที่และชื่อเสี ยงของอาจารย์ผสู้ อน ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจศึกษา ต่อในระดับอุดม ศึกษาของนักเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่6 ทัว่ ประเทศนักเรี ยนที่บิดามารดามีระดับ การศึ กษาสู งกว่าปริ ญญาตรี และประกอบอาชี พรั บราชการและนักธุ รกิ จ จะมี การตัดสิ นใจศึกษาต่อ มากกว่านักเรี ยนที่บิดามารดามีระดับการศึกษาตํ่าและประกอบอาชี พอื่น เนื่ องจากบิดามารดาเป็ น ต้นแบบที่ดีส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ การคาดหวังในการศึกษาต่อในระดับสู งของนักเรี ยนและพบว่า นักเรี ยนที่ครอบครัวมีสถานภาพทางเศรษฐกิจดี จะมีการตัดสิ นใจศึกษาต่อมากกว่านักเรี ยนที่ครอบครัว มี ส ถานภาพทางเศรษฐกิ จตํ่า ซึ่ ง เศรษฐกิ จเป็ นตัวกํา หนดโอกาสทางการศึ ก ษาโดยการศึ ก ษาใน ระดับอุดมศึกษามีค่าใช้จ่ายในรู ปค่าธรรมเนียมการศึกษา อุปกรณ์การศึกษา และค่าครองชีพอื่นๆ ดังนั้น นักเรี ยนที่มาจากครอบครัวที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจตํ่าย่อมยากที่จะมีโอกาสศึกษาต่อเสมอภาคกับ นักเรี ยนที่ครอบครัวมีสถานภาพทางเศรษฐกิจดี กุลธนี ศิริรักษ์ (2551 : บทคัดย่อ) ความต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี และปั จจัยในการ เลือกสถาบันในจังหวัดนครราชสี มา ชัยภูมิ และบุรีรัมย์ ปั จจัยในการเลือกสถาบันเพื่อศึกษาต่อจะให้ ความสําคัญกับ ชื่อเสี ยงของสถานศึกษา คุณวุฒิและชื่อเสี ยงของอาจารย์ การมีงานทําของบัณฑิต สถาน ที่ต้ งั ความสะดวกในการเดิ นทาง ความทันสมัยของหลักสู ตรและสาขาวิชาที่เปิ ดสอน ค่าใช้จ่ายใน การศึกษา สิ่ งอํานวยความสะดวกและแหล่งเรี ยนรู้ภายใน ตามลําดับ ปั จจัยที่มีผลต่อความต้องการศึกษา ต่อ คื อ รายได้โดยเฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นของครอบครั ว รองลงมาคื อ สถานภาพทางการศึ ก ษา โดยผูท้ ี่ จ บ การศึกษาแล้วจะมีแนวโน้มที่จะศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี นอ้ ยกว่าผูท้ ี่กาํ ลังศึกษาอยู่ กรอบแนวคิดของการวิจัย จากการทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยน สายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา และการทบทวนผลการวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ผูว้ ิจยั ได้วางกรอบ แนวคิดการวิจยั ครั้งนี้ตามที่ปรากฎในแผนภาพที่ 2 ดังนี้


25

ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

ปัจจัยส่ วนบุคคล

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรียนสถาบันอุดมศึกษา 1. ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา 2. ด้านราคา 3. ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา 4. ด้านการส่ งเสริ มตลาด 5. ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน 6. ด้านผลผลิตและคุณภาพสําหรับนักเรี ยน 7. ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน 8. ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา แก่นกั เรี ยน

- เพศ - ระดับการศึกษาในปัจจุบนั - การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี - เกรดเฉลี่ยสะสม - รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน

แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจยั


บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย การวิจยั ในครั้งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์ เพื่อเปรี ยบเทียบและศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาจําแนกตามข้อมูลปั จจัยส่ วน บุคคล ซึ่ งมีวธิ ี ดาํ เนินการวิจยั ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติที่ใช้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือประชากรกลุ่มโรงเรี ยนอาชีวศึกษาในระดับประกาศนี ยบัตร วิชาชีพชั้นสู ง ปี ที่ 1 และ 2 ทั้งจังหวัดภูเก็ตและพังงา ทั้งหมด 10 สถาบันมีประมาณ 2,600 คน การ กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้ตารางสําเร็ จรู ปของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% ณ ระดับค่าคลาดเคลื่อน (e) ที่ 5% จะได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 347 คน(เก็บจริ ง 385 คน) ผูว้ ิจยั สุ่ ม ตัวอย่างด้วยวิธีแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างสถาบันละ 40 คน จากนั้นใช้วิธีสุ่ม แบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ต่อไป เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย เครื่ องมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการสํ า รวจความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา เป็ นแบบสอบถามที่ผวู้ ิจยั สร้าง ขึ้นเอง แบ่งเป็ น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล เป็ นแบบสอบถามให้เลือกตอบจํานวน 5 ข้อ


27

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา มีท้ งั หมด 42 ข้อ แบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) มีขอ้ คําถามจํานวน 3 ข้อใหญ่ โดยมีเกณฑ์ในการกําหนดค่านํ้าหนักของการประเมินเป็ น 5 ระดับตามวิธีของ ลิเคิร์ท (Likert Scale) ดังนี้ ระดับความสํ าคัญ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด

ค่ านํา้ หนักของคําตอบ เท่ากับ 5 คะแนน เท่ากับ 4 คะแนน เท่ากับ 3 คะแนน เท่ากับ 2 คะแนน เท่ากับ 1 คะแนน

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อคิดเห็นหรื อข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่มีต่อสถาบันอุดมศึกษา แบบสอบถามเป็ นแบบปลายเปิ ด (Open-Ended) การเก็บรวบรวมข้ อมูล ผูว้ ิจยั ดํา เนิ นการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ด้วยการเดิ นสุ่ ม ตามกรอบกลุ่ม ตัวอย่า งที่ กําหนด และเก็บแบบสอบถามคืนทันที พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ การวิจยั ครั้งนี้ จะ ดําเนิ นการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งจากข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) และทุติยภูมิ (Secondary Data) ดังต่อไปนี้ 1. การสํ ารวจข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) การสํ า รวจข้อ มู ล ปฐมภู มิ ใ ช้ วิธี วิจยั เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Research) โดยใช้ แบบสอบถาม (Questionnaire) ขอความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสถาบันการศึกษาระดับ อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา เป็ นเครื่ องมือในการวิจยั ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเผชิญหน้า (Face to face) 2. การศึกษาข้ อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ผูว้ ิ จ ัย ทํา การศึ ก ษาค้น คว้า และรวบรวมข้อ มู ล ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การนัก เรี ย นสาย อาชี วศึ กษาจากหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน เช่น ข้อมูลจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชี วศึกษา


28

สํ า นัก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กรมพัฒ นาฝี มื อ แรงงาน ข้อ มู ล ออนไลน์ เวปไซด์ต่ า งๆ ตลอดจนรายงานผลการวิจยั ด้านการศึกษาต่างๆ ของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลในการวิจยั ครั้งนี้ได้ดาํ เนินการโดยนําข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาตรวจสอบ ความถูกต้องสมบูรณ์ ลงรหัส บันทึกข้อมูล ทําการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลโดยใช้เครื่ อง คอมพิวเตอร์ 1. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับปั จจัยส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างในแบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่ งมีท้งั หมด 5 ข้อ ใช้วธิ ี หาค่าความถี่ (Frequency) แล้วสรุ ปออกมาเป็ นค่าร้อยละ (Percentage) 2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษา ของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาในแบบสอบถามตอนที่ 2 ซึ่ งเป็ นการประเมิน ระดับความสําคัญของแต่ละปั จจัย แบบสอบถามเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วิธี หาค่าเฉลี่ย (Mean : ) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D) และสถิติอนุ มาน ได้แก่ สถิติ (t-test) และวิธีวิคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) และการ ทดสอบรายคู่ดว้ ยวิธี Least Square Difference ซึ่ งเป็ นการทดสอบสมมติฐาน 3. การกําหนดช่วงคะแนนค่าเฉลี่ยของปั จจัยต่างๆ มีดงั นี้ ช่ วงคะแนนของค่ าเฉลีย่

ระดับความสํ าคัญ

4.50 – 5.00 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญมากที่สุด 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญมาก 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญปานกลาง 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญน้อย 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญน้อยที่สุด 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นหรื อข้อเสนอแนะอื่นๆ ใช้การนับความถี่และจัด อันดับ


บทที่ 4

การวิเคราะห์ ข้อมูล จากการศึกษาวิจยั เรื่ อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนอาชี วศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ในครั้งนี้เป็ นการศึกษา ปั จจัยส่ วนบุคคลของนักเรี ยนอาชีวศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม และรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน จึงได้ทาํ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส่ งแบบสอบถามให้แก่กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 385 ชุ ด ได้รับการตอบกลับมาจํานวน 385 ชุด คิดเป็ นร้อยละ 100 ของจํานวนแบบสอบถามทั้งหมด โดยแบ่ง การนําเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ออกเป็ น 3 ส่ วน ดังนี้ ส่ วนที่ 1 ข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับ ปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม และรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน ใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อจัดหมวดหมู่ และปั จจัยส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์โดยใช้ค่าสถิติค่าความถี่ (Frequency) แล้วสรุ ป ออกมาเป็ นค่าร้อยละ (Percentage) ส่ วนที่ 2 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุ ดมศึ กษาของนักเรี ยนอาชี วศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ได้แก่ ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา ด้านราคา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา ด้านการส่ งเสริ มการตลาด ด้านกระบวนการเรี ยน/การสอนแก่นกั เรี ยน ด้านผลผลิต และคุ ณภาพของนักเรี ยน ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน และด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของ สถานศึ ก ษา ใช้ส ถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา ได้แ ก่ ค่ า เฉลี่ ย (Mean) และ ค่ า เบี่ ย งเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) ส่ วนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติ ฐ านการวิ จ ัย ข้อ มู ล ปั จ จัย ส่ ว นบุ ค คล (เพศ ระดับ การศึ ก ษาในปั จ จุ บ ัน การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ย และรายได้ครอบครัวเฉลี่ ยต่อเดื อน) ที่แตกต่างกันทําให้ ปั จจัยที่ มี ผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุ ดมศึ ก ษาของนัก เรี ย นอาชี วศึ กษาในจัง หวัดภูเก็ตและพัง งา แตกต่างกัน ใช้สถิติอนุ มาน ได้แก่สถิติ (t-test) และวิธีวิคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) และการทดสอบรายคู่ดว้ ยวิธี Least Square Difference


30

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล ตาราง 1 จํานวนและร้อยละจําแนกตามข้อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล เพศ

ข้ อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล

ชาย หญิง ระดับการศึกษาในปัจจุบัน ปวส.1 ปวส.2 การศึกษาต่ อระดับปริญญาตรี ต้องการศึกษาต่อ ยังไม่แน่ใจ เกรดเฉลีย่ สะสม ตํ่ากว่า 2.00 2.01-2.50 2.51-3.00 3.01-3.50 3.51-4.00 รายได้ ครอบครัวเฉลีย่ ต่ อเดือน ไม่เกิน 15,000 บาท 15,001-30,000 บาท 30,001-45,000 บาท 45,001-50,000 บาท 50,001 บาท ขึ้นไป

จํานวน

ร้ อยละ

170 215

44.20 55.80

193 192

50.10 49.90

309 76

80.30 19.70

70 215 42 36 22

18.20 55.80 10.90 9.40 5.70

9 220 116 30 10

2.30 57.10 30.10 7.80 2.70


31

จากตาราง 1 กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้ น 385 คน พบว่า เป็ นเพศหญิง จํานวน 215 คน คิดเป็ นร้อยละ 55.80 และเพศชาย จํานวน 170 คน คิดเป็ นร้อยละ 44.20 ของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ระดับ การศึกษาปวส.1 จํานวน 193 คน คิดเป็ นร้อยละ 50.10 ต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี จํานวน 309 คน คิดเป็ นร้อยละ 80.30 มีเกรดเฉลี่ยสะสม 2.01-2.50 จํานวน 215 คน คิดเป็ นร้อยละ 55.80 และมี รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 15,001-30,000 บาท จํานวน 220 คน คิดเป็ นร้อยละ 57.10 ส่ วนที่ 2 ปั จจัยที่มีผลต่ อการเลือกเรียนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ตาราง 2 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการตัดสิ นใจเลือกเรียน สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา ด้านราคา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้งั ของสถานศึกษา ด้านการส่ งเสริ มการตลาด ด้านกระบวนการเรี ยน/การสอนแก่นกั เรี ยน ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา โดยรวม

S.D.

แปลผล

3.76 3.65 3.81 3.79 3.87 3.89 3.45 3.79

0.49 0.49 0.61 0.59 0.52 0.55 0.87 0.71

มาก มาก มาก มาก มาก มาก ปานกลาง มาก

3.75

0.41

มาก


32

จากตาราง 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา พบว่า โดยรวมทุกด้านมีผลอยูใ่ นระดับมาก ( = 3.75) เมื่ อพิ จารณาในแต่ล ะด้า น โดยเรี ย งลําดับ ตามค่า เฉลี่ ย พบว่า ด้า นผลผลิ ตและคุ ณภาพของ นักเรี ยน ด้านกระบวนการจัดการการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของ สถานศึ ก ษา ด้ า นส่ ง เสริ มการตลาด ด้ า นหลัก ฐานที่ เ ป็ นวัส ดุ อุ ป กรณ์ ข องสถานศึ ก ษา ด้า น องค์ประกอบของสถานศึกษา และด้านราคา มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของ นักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยูใ่ นระดับ มาก ( = 3.89, 3.87, 3.81, 3.79, 3.79, 3.76, และ 3.65 ตามลําดับ) ส่ วนด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือก เรี ยนสถาบันอุดมศึ กษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.45) ตาราง 3 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา ด้ านองค์ ประกอบของสถานศึกษา 1. เป็ นที่รู้จกั ได้รับการยอมรับจากบุคคลทัว่ ไปโดยเฉพาะเรื่ องคุณภาพ มาตรฐาน 2. มีชื่อเสี ยงด้านการจัดการเรี ยนการสอนของสถานศึกษา 3. ได้รับการรับรองคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 4. มีครู –อาจารย์จบตรงสาขาที่ทาํ การสอน 5. มี ส าขาวิ ช าชี พ ให้เลื อกเรี ย นหลากหลาย เช่ น การท่องเที่ ย ว การ โรงแรม คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ก บริ หารธุ รกิจ เป็ นต้น 6. มีบรรยากาศ และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ดี โดยรวม

S.D.

แปลผล

3.91 3.82 3.86 3.87

0.67 0.74 0.81 0.82

มาก มาก มาก มาก

3.84 3.29 3.76

0.94 มาก 0.76 ปานกลาง 0.49 มาก


33

จากตาราง 3 พบว่ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชี วศึ กษาในจังหวัดภู เก็ตและพัง งา ด้า นองค์ประกอบของสถานศึ กษา โดยรวมอยู่ใ นระดับมาก ( = 3.76) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา โดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ ย พบว่า เป็ นที่รู้จกั ได้รับการยอมรับจากบุคคลทัว่ ไปโดยเฉพาะเรื่ องคุณภาพมาตรฐาน มีครู –อาจารย์จบ ตรงสาขาที่ทาํ การสอน ได้รับการรับรองคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีสาขาวิชาชี พให้เลือกเรี ยน หลากหลาย เช่น การท่องเที่ยว การโรงแรม คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ก บริ หารธุ รกิจ เป็ นต้น และมีชื่อเสี ยง ด้านการจัดการเรี ยนการสอนของสถานศึกษา อยูใ่ นระดับมาก (= 3.91, 3.87, 3.86, 3.84 และ3.82 ตามลําดับ) ส่ วนด้านมีบรรยากาศ และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ดี มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยน สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสายอาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา อยู่ ใ นระดับ ปานกลาง ( = 3.29) ตาราง 4 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านราคา

1. 2. 3. 4. 5.

ด้ านราคา มีการกําหนดค่าธรรมเนียมการเรี ยน ค่าบริ การ ต่างๆ อย่างเหมาะสม มีการให้บริ การนักเรี ยนอย่างทัว่ ถึง มีกระบวนการชําระค่าธรรมเนียมการเรี ยน หรื อค่าบริ การต่างๆ อย่างเป็ นระบบ มีการให้บริ การเงินกูย้ มื เพื่อการศึกษา (กยศ.) มีทุนการศึกษาให้แก่นกั เรี ยนที่ขาดแคลนทุน ทรัพย์ โดยรวม

3.73

S.D. 0.78

แปลผล มาก

3.60 3.72

0.77 0.77

มาก มาก

3.89 3.33

0.89 0.86

มาก ปานกลาง

3.65

0.49

มาก


34

จากตาราง 4 พบว่ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านราคา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก (= 3.65) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านราคา โดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีการให้บริ การเงิน กูย้ มื เพื่อการศึกษา (กยศ.) มีการกําหนดค่าธรรมเนียมการเรี ยน ค่าบริ การต่างๆ อย่างเหมาะสม มี กระบวนการชําระค่าธรรมเนี ยมการเรี ยน หรื อค่าบริ การต่างๆ อย่างเป็ นระบบ และ มีการให้บริ การ นักเรี ยนอย่างทัว่ ถึง อยูใ่ นระดับมาก ( = 3.89, 3.73, 3.72 และ 3.60 ตามลําดับ) ส่ วนมีทุนการศึกษา ให้แก่นกั เรี ยนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ อยูใ่ นระดับปานกลาง ( = 3.33) ตาราง 5 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้งั ของสถานศึกษา

1. 2. 3. 4. 5.

ด้ านอาคารสถานที่และทําเลทีต่ ้ังของสถานศึกษา ตั้งอยูใ่ นเมือง ใกล้แหล่งชุมชน มีการคมนาคมที่สะดวก มีมาตรการหรื อแนวปฏิบตั ิเพื่อรักษาความปลอดภัย มีอาคารเรี ยน อาคารปฏิบตั ิการเหมาะสมหรื อเพียงพอ ให้บริ การแก่ผมู ้ าติดต่ออย่างสะดวกและรวดเร็ ว โดยรวม

3.92 3.84 3.72 3.83 3.71

S.D. 0.91 0.84 0.88 0.88 0.85

แปลผล มาก มาก มาก มาก มาก

3.81

0.61

มาก

จากตาราง 5 พบว่ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก ( = 3.81) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา โดยเรี ยงลําดับ ตามค่าเฉลี่ ย พบว่า ตั้งอยู่ในเมื อง ใกล้แหล่งชุ มชน มีการคมนาคมที่สะดวก มีอาคารเรี ยน อาคาร


35

ปฏิบตั ิการเหมาะสมหรื อเพียงพอ มีมาตรการหรื อแนวปฏิบตั ิเพื่อรักษาความปลอดภัย และให้บริ การแก่ ผูม้ าติดต่ออย่างสะดวกและรวดเร็ ว อยูใ่ นระดับมาก ( = 3.92, 3.84, 3.83, 3.72 และ 3.71 ตามลําดับ) ตาราง 6 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านการส่ งเสริ มการตลาด 1. 2. 3. 4. 5.

ด้ านการส่ งเสริมการตลาด มี ก ารประชาสั ม พันธ์ ผ่า นสื่ อ เช่ น สื่ อสิ่ ง พิม พ์ วิท ยุ รายการโทรทัศ น์ ท้องถิ่น ป้ ายโฆษณา และเว็บไซต์ เป็ นต้น ให้ความสําคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งผลต่อชื่อเสี ยง มีกิจกรรมเสริ มประสบการณ์ให้นกั เรี ยนได้ทาํ งานระหว่างเรี ยน มี ก ารร่ ว มกิ จ กรรมกับ สถานประกอบการ เช่ น บริ ษ ัท ทัว ร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษทั ห้างร้าน หรื ออื่น ๆ มีการจัดนิทรรศการวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา โดยรวม

3.74

S.D. แปลผล 0.84 มาก

3.87 3.92

0.73 0.77

มาก มาก

3.79 3.64 3.79

0.88 0.78 0.60

มาก มาก มาก

จากตาราง 6 พบว่ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านการส่ งเสริ มการตลาดโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( = 3.79) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านการส่ งเสริ มการตลาดโดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มี กิจกรรมเสริ มประสบการณ์ ให้นกั เรี ยนได้ทาํ งานระหว่างเรี ยน ให้ความสําคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งผลต่อชื่ อเสี ยง มีการร่ วมกิจกรรมกับสถานประกอบการ เช่นบริ ษทั ทัวร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษทั ห้างร้าน หรื ออื่น ๆ มีการประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่ อ เช่นสื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุ รายการโทรทัศน์ทอ้ งถิ่น ป้ าย โฆษณา และเว็บไซต์ เป็ นต้น และ มีการจัดนิ ทรรศการวิชาการ/วิชาชี พ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษาอยูใ่ นระดับมาก ( = 3.92, 3.87, 3.79, 3.74 และ 3.64 ตามลําดับ)


36

ตาราง 7 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน 1. 2. 3. 4. 5.

ด้ านกระบวนการจัดการเรียนการสอนแก่ นักเรียน มีระบบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรี ยนอย่างเหมาะสม มี วิธี ก ารสอน หรื อเทคนิ ค การสอนที่ เสริ ม สร้ า งให้นัก เรี ย นมี ท กั ษะ วิชาชีพมากขึ้น มีการจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างเหมาะสม มีการสนับสนุนให้นกั เรี ยนทําโครงการวิชาชีพ มีการวัดผลประเมินผลโดยใช้ระบบสารสนเทศที่ทนั สมัย โดยรวม

3.74

S.D. 0.77

แปลผล มาก

3.91 3.94 3.92 3.83 3.87

0.72 0.77 0.79 0.82 0.52

มาก มาก มาก มาก มาก

จากตาราง 7 พบว่า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน โดยรวมอยูใ่ น ระดับมาก ( = 3.87) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน โดยเรี ยงลําดับ ตามค่าเฉลี่ ย พบว่า มีการจัดกิ จกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างเหมาะสม มีการสนับสนุ นให้นกั เรี ยนทํา โครงการวิชาชี พ มีวิธีการสอน หรื อเทคนิคการสอนที่เสริ มสร้างให้นกั เรี ยนมีทกั ษะวิชาชีพมากขึ้น มี การวัดผลประเมินผลโดยใช้ระบบสารสนเทศที่ทนั สมัย และมีระบบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของ นักเรี ยนอย่างเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก ( =3.94, 3.92, 3.91, 3.83 และ 3.74 ตามลําดับ)


37

ตาราง 8 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ด้ านผลผลิต และคุณภาพของนักเรียน มีทกั ษะอาชีพตามสาขาที่เรี ยน มีคุณธรรมและจริ ยธรรม ศึกษาต่อหรื อได้งานทําตรงสาขาที่สาํ เร็ จการศึกษา สามารถสอบผ่านมาตรฐานวิชาชีพ มีทกั ษะด้านวิชาชีพตรงกับความต้องการของ สถานศึกษาและสถานประกอบการ มีผลงานนวัตกรรม หรื อสิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถ นําไปใช้ประโยชน์ได้จริ ง โดยรวม

3.98 3.88 3.95 3.91

S.D. 0.78 0.77 0.81 0.80

แปลผล มาก มาก มาก มาก

3.82

0.76

มาก

3.79 3.89

0.81 0.55

มาก มาก

จากตาราง 8 พบว่ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยนโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ( = 3.89) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยนโดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีทกั ษะอาชีพตามสาขาที่เรี ยน ศึกษาต่อหรื อได้งานทําตรงสาขาที่สาํ เร็ จการศึกษา สามารถสอบ ผ่านมาตรฐานวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริ ยธรรม มีทกั ษะด้านวิชาชีพตรงกับความต้องการของ สถานศึกษาและสถานประกอบการ และมีผลงานนวัตกรรม หรื อสิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถนําไปใช้ ประโยชน์ได้จริ ง อยูใ่ นระดับปานกลาง ( = 3.98, 3.95, 3.91, 3.88, 3.82 และ 3.79 ตามลําดับ)


38

ตาราง 9 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน

1. 2. 3. 4. 5.

ด้ านบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับนักเรียน เลือกเรี ยนเพราะบิดา – มารดามีส่วนในการเลือกสถานศึกษา เลือกเรี ยนเพราะอาจารย์แนะแนว เลือกเรี ยนเพราะรุ่ นพี่เป็ นผูแ้ นะนํา เลือกเรี ยนเพราะผูป้ กครองสนับสนุนด้านการเงินแนะนําให้เรี ยน เลือกเรี ยนเพราะเห็นความสําเร็ จของผูท้ ี่จบการศึกษา โดยรวม

3.37 3.29 3.26 3.45 3.86 3.45

S.D. 1.19 1.13 1.22 1.18 1.00 0.87

แปลผล ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก ปานกลาง

จากตาราง 9 พบว่ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยนโดยรวมอยูใ่ นปานกลาง ( = 3.45) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยนโดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า เลือกเรี ยนเพราะเห็นความสําเร็ จของผูท้ ี่จบการศึกษาอยูใ่ นระดับมาก ( =3.86) ส่ วนเลื อ กเรี ยน เพราะผูป้ กครองสนับสนุนด้านการเงินแนะนําให้เรี ยน เลือกเรี ยนเพราะบิดา – มารดามีส่วนในการเลือก สถานศึกษา เลือกเรี ยนเพราะอาจารย์แนะแนว และเลือกเรี ยนเพราะรุ่ นพี่เป็ นผูแ้ นะนํา อยูใ่ นระดับปาน กลาง ( = 3.45, 3.37, 3.29 และ 3.26 ตามลําดับ)


39

ตาราง 10 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา

1. 2. 3. 4. 5.

ด้ านหลักฐานทีเ่ ป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา มีการใช้เทคโนโลยีหรื อนวัตกรรมที่ทนั สมัยในการจัดการเรี ยนการ สอน มีการจัดสื่ อการสอน อุปกรณ์การสอนเพียงพอต่อนักเรี ยน มีตาํ รา หนังสื อเรี ยน มีคุณภาพและพอเพียงสําหรับนักเรี ยน มีหอ้ งสมุด และศูนย์การเรี ยนรู ้ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีหอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการด้านภาษาเพียงพอสําหรับ นักเรี ยน โดยรวม

S.D. แปลผล 3.86 3.73 3.67 3.92

0.87 0.89 0.91 0.90

มาก มาก มาก มาก

3.76

1.02

มาก

3.79

0.71

มาก

จากตาราง 10 พบว่า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก ( = 3.79) เมื่อพิจารณาในรายละเอียด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษาโดยเรี ยงลําดับ ตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีหอ้ งสมุด และศูนย์การเรี ยนรู ้ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีการใช้เทคโนโลยีหรื อ นวัตกรรมที่ทนั สมัยในการจัดการเรี ยนการสอน มีหอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการด้าน ภาษาเพียงพอสําหรับนักเรี ยน มีการจัดสื่ อการสอน อุปกรณ์การสอนเพียงพอต่อนักเรี ยน และมีตาํ รา หนังสื อเรี ยน มีคุณภาพและพอเพียงสําหรับนักเรี ยนอยูใ่ นระดับมาก ( = 3.92, 3.86, 3.76, 3.73 และ 3.67 ตามลําดับ)


40

ส่ วนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานการวิจยั ข้อมูลด้านปั จจัยส่ วนบุคคล ( เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษา ต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน ) ต่างกัน ทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อ การเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน สมมติ ฐ านที่ 1 เพศที่ ต่ า งกัน ทํา ให้ ปั จ จั ย ที่มี ผ ลต่ อ การเลือ กเรี ย นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของ นั กเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่ างกัน ผลการทดสอบสมมติฐาน แสดงดั ง ตาราง ตาราง 11 เพศที่ ต่ า งกัน ทํา ให้ ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษา 1. ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา 2. ด้านราคา 3. ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของ สถานศึกษา 4. ด้านการส่ งเสริ มการตลาด 5. ด้านกระบวนการเรี ยน/การสอนแก่นกั เรี ยน 6.ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน 7. ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน 8. ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของ สถานศึกษา รวมปัจจัย

ชาย S.D. 3.80 0.50 3.66 0.48

หญิง S.D. 3.74 0.48 3.65 0.50

3.80 3.82 3.89 3.89 3.46

0.58 0.57 0.51 0.50 0.85

3.81 3.77 3.85 3.89 3.44

3.83 3.77

0.72 0.40

3.75 3.74

t

p

1.141 0.183

0.255 0.855

0.69 0.62 0.52 0.60 0.88

-0.049 0.901 0.740 0.039 0.251

0.961 0.368 0.460 0.969 0.802

0.71 0.42

1.076 0.781

0.282 0.435


41

จากตาราง 11 ผลการทดสอบ เพศ ที่ ต่ า งกั น ทํา ให้ ปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่ากลุ่ม ตัว อย่ า งเพศชาย และกลุ่ ม ตัว อย่ า งเพศหญิ ง มี ปั จ จัย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การตัด สิ น ใจเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาไม่แตกต่างกันทุกด้าน สมมติ ฐ านที่ 2 ระดั บ การศึ ก ษาในปั จ จุ บั น ที่ ต่ า งกัน ทํ า ให้ ปั จ จั ยที่ มี ผ ลต่ อ การเลือ กเรี ย น สถาบันอุดมศึ กษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่ างกัน ผลการทดสอบ สมมติฐาน แสดงดังตัวอย่ าง ตาราง 12 ระดับการศึกษาในปั จจุบนั ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา ของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษา 1. ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา 2. ด้านราคา 3.ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้งั ของ สถานศึกษา 4. ด้านการส่ งเสริ มการตลาด 5. ด้านกระบวนการเรี ยน/การสอนแก่นกั เรี ยน 6.ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน 7. ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน 8.ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของ สถานศึกษา รวมปัจจัย

ปวส.1 S.D. 3.77 0.49 3.65 0.54

ปวส.2 S.D. 3.76 0.49 3.66 0.47

t

p

0.163 -0.359

0.870 0.719

3.81 3.80 3.86 3.88 3.46

0.63 0.60 0.53 0.55 0.84

3.80 3.78 3.87 3.90 3.43

0.59 0.60 0.51 0.56 0.89

0.167 0.342 -0.105 -0.281 0.315

0.867 0.733 0.917 0.779 0.753

3.79 3.75

0.74 0.44

3.78 3.75

0.68 0.38

0.158 0.118

0.874 0.906


42

จากตาราง 12 ผลการทดสอบ ระดับการศึ กษาในปั จจุบนั ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่ มีผต่อการ เลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่ า ระดั บ การศึ ก ษา (กลุ่ ม ตั ว อย่ า ง ปวส.1 และ ปวส.2) มี ปั จ จั ย ที่ มี ผ ต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ไม่แตกต่างกันทุกด้าน สมมติฐานที่ 3 การศึกษาต่ อระดับปริ ญญาตรี ที่ต่างกันทําให้ ปัจจัยที่มีผลต่ อการเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่ างกัน ผลการทดสอบ สมมติฐาน แสดงดังตัวอย่ าง ตาราง 13 การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี ที่ตา่ งกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา ของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษา 1. ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา 2. ด้านราคา 3. ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของ สถานศึกษา 4. ด้านการส่ งเสริ มการตลาด 5. ด้า นกระบวนการเรี ย น/การสอนแก่ นักเรี ยน 6.ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน 7. ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน 8. ด้า นหลัก ฐานที่ เ ป็ นวัส ดุ อุ ป กรณ์ ข อง สถานศึกษา รวมปัจจัย

ต้ องการศึกษาต่ อ S.D. 3.76 0.49 3.66 0.48

ยังไม่ แน่ ใจ S.D. 3.78 0.47 3.64 0.50

t

P

-0.322 0.195

0.748 0.846

3.82 3.82

0.59 0.58

3.76 3.68

0.67 0.63

0.715 1.905

0.475 0.058

3.89 3.90 3.49

0.50 0.54 0.88

3.78 3.85 3.29

0.55 0.57 0.77

1.608 0.758 1.750

0.109 0.449 0.081

3.79 3.76

0.71 0.40

3.79 3.70

0.71 0.40

0.031 1.318

0.976 0.188


43

จากตาราง 13 ผลการทดสอบ การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการ เลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี มีปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ไม่แตกต่างกันทุกด้าน สมมติ ฐ านที่ 4 เกรดเฉลี่ ย สะสมที่ ต่ างกั น ทํ า ให้ ปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อการเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่ างกัน ผลการทดสอบ สมมติฐาน แสดงดังตัวอย่ าง ตาราง 14 เกรดเฉลี่ยสะสมที่ตา่ งกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยน สายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษา 1.ด้านองค์ประกอบของสถาน ศึกษา 2.ด้านราคา

3.ด้านอาคารสถานที่และทําเล ที่ต้ งั ของสถานศึกษา 4.ด้านการส่ งเสริ มการตลาด

แหล่งความ แปรปรวน ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม

df

SS

MS

F

P

4 380 384 4 380 384 4 380 384 4 380 384

0.53 91.28 91.82 0.87 91.07 91.94 0.35 141.56. 141.91 1.51 135.19 136.70

0.13 0.24

0.551 0.698

0.22 0.24

0.904 0.462

0.09 0.37

0.234 0.919

0.38 0.36

1.061 0.376


44

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษา 5.ด้านกระบวนการเรี ยน/การ สอนแก่นกั เรี ยน 6.ด้านผลผลิตและคุณภาพของ นักเรี ยน 7.ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ นักเรี ยน 8.ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุ อุปกรณ์ของสถานศึกษา

แหล่งความ แปรปรวน ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม

df

SS

MS

F

P

4 380 384 4 380 384 4 380 384 4 380 384

1.54 101.49 103.03 1.80 115.65 117.45 3.33 284.01 287.34 2.98 191.42 194.39

0.39 0.27

1.440 0.220

0.45 0.30

1.475 0.209

0.83 0.75

1.114 0.349

0.74 0.50

1.477 0.208

จากตาราง 14 ผลการทดสอบ เกรดเฉลี่ยสะสม ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า เกรด เฉลี่ยสะสมมีปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกสถาบันอุดมศึกษา ไม่แตกต่างกันในทุกเรื่ อง


45

สมมติฐานที่ 5 รายได้ ครอบครัวเฉลีย่ ต่ อเดือนทีต่ ่ างกันทําให้ ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรียน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่ างกัน ผลการทดสอบ สมมติฐาน แสดงดังตัวอย่ าง ตาราง 15 รายได้ค รอบครั ว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นที่ ต่ า งกัน ทํา ให้ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย น สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษา 1. ด้านองค์ประกอบของสถาน ศึกษา 2. ด้านราคา

3. ด้านอาคารสถานที่และทําเล ที่ต้ งั ของสถานศึกษา 4. ด้านการส่ งเสริ มการตลาด

5. ด้านกระบวนการเรี ยน/การ สอนแก่นกั เรี ยน 6. ด้านผลผลิตและคุณภาพของ นักเรี ยน

แหล่งความ แปรปรวน ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม รวม

df

SS

MS

F

p

4 380 384 4 380 384 4 380 384 4 380 384 4 380 384 4 380 384

0.60 91.22 91.82 0.94 90.99 91.94 1.90 140.01 141.91 3.80 132.90 136.70 2.72 100.31 103.03 2.31 115.14 117.45

0.15 0.24

0.625 0.645

0.24 0.24

0.982 0.417

0.47 0.37

1.287 0.274

0.95 0.35

2.714 0.030*

0.68 0.26

2.576 0.037*

0.58 0.30

1.905 0.109


46

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรี ยน แหล่งความ สถาบันอุดมศึกษา แปรปรวน 7. ด้ า นบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระหว่างกลุ่ม นักเรี ยน ภายในกลุ่ม รวม 8. ด้ า นหลั ก ฐานที่ เ ป็ นวั ส ดุ ระหว่างกลุ่ม อุปกรณ์ของสถานศึกษา ภายในกลุ่ม รวม * มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

df

SS

MS

F

p

4 380 384 4 380 384

3.31 284.03 287.34 2.52 191.87 194.39

0.83 0.75

1.106 0.353

0.63 0.51

1.249 0.290

จากตาราง 15 ผลการทดสอบ รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดื อน ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อ การเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน หรื อไม่ พบว่ า รายได้ ค รอบครั ว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นที่ ต่ า งกั น มี ปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุ ดมศึ ก ษาของนักเรี ย นสายอาชี วศึก ษาในจังหวัดภูเก็ตและพัง งา แตกต่างกัน ในด้านการ ส่ งเสริ มการตลาด และด้านกระบวนการเรี ยน/การสอนแก่นกั เรี ยน อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ 0.05 เพื่อให้ทราบความแตกต่างเป็ นรายคู่ จึงนําผลการวิเคราะห์ไปเปรี ยบเทียบโดยใช้สูตรตามวิธี Least Significant Difference (LSD) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% ดังตาราง 16 - 17


47

ตาราง 16 เปรี ยบเที ย บรายได้ ค รอบครั ว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นที่ มี ผ ลต่ อ การตั ด สิ นใจเลื อ กเรี ยน สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสายอาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ต และพัง งารายคู่ ด้า นการส่ ง เสริ ม การตลาด รายได้

ตํ่ากว่า 15,000 15,001-30,000 30,001-45,000 45,001-60,000 60,001 ขึ้นไป

ตํ่ากว่า 15,000 15,00130,000 3.64 3.83 3.64 -0.18 3.83 3.70 4.02 3.50

30,00145,000 3.70 -0.60 0.12 -

45,00160,000 4.02 -0.37 -0.19 -0.32* -

60,001 ขึ้นไป 3.50 0.14 0.32 0.20 0.52* -

* มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 16 พบว่า รายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 45,001 – 60,000 บาท ( = 4.02) มี อิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและ พังงา สู งกว่ารายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 30,001 – 45,000 บาท ( = 3.70) บาท และ รายได้ ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 45,001 – 60,000 บาท ( = 4.02) มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา สู งกว่ารายได้ของครอบครัว เฉลี่ยต่อเดือน 60,001 บาทขึ้นไป ( = 3.50) ในด้านการส่ งเสริ มการตลาด


48

ตาราง 17 เปรี ยบเที ย บรายได้ ค รอบครั ว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นที่ มี ผ ลต่ อ การตั ด สิ นใจเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงารายคู่ ด้านกระบวนการเรี ยน/ การสอนนักเรี ยน รายได้

ตํ่ากว่า 15,000 15,001-30,000 30,001-45,000 45,001-60,000 60,001 ขึ้นไป

3.73 3.89 3.79 4.08 3.68

ตํ่ากว่า 15,000 3.73 -

15,00130,000 3.89 -0.16 -

30,00145,000 3.79 -0.06 0.10 -

45,00160,000 4.08 -0.35 -0.19 -0.29* -

60,001 ขึ้นไป 3.68 0.05 0.21 -0.11 0.40* -

* มีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง 17 พบว่า รายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 45,001 – 60,000 บาท ( = 4.08) มี อิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและ พังงา สู งกว่ารายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 30,001 – 45,000 บาท ( = 3.79) บาท และ รายได้ ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 45,001 – 60,000 บาท ( = 4.08) มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา สู งกว่ารายได้ของครอบครัว เฉลี่ยต่อเดือน 60,001 บาทขึ้นไป ( = 3.68) ในด้านกระบวนการเรี ยนการสอนนักเรี ยน


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ จากการศึก ษา วิจยั เรื่ องปั จจัย ที่ มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุ ดมศึก ษาของนักเรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา โดยมีสมมติฐานของการวิจยั คื อ เพศ ระดับการศึ กษาในปั จจุบนั การศึ กษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ ย สะสม และรายได้ ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการศึกษาครั้ งนี้ คือ นักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา กําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ได้ตวั อย่างจํานวน 385 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั เป็ นแบบสอบถาม แบ่งเนื้ อหาเป็ น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 สอบถามข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษาใน ปั จ จุ บ ัน การศึ ก ษาต่ อ ระดับ ปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ ย สะสม รายได้ ค รอบครั ว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น แบบสอบถามเป็ นแบบกํ า หนดคํ า ตอบ ตอนที่ 2 สอบถามปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ได้แก่ ด้านองค์ประกอบของ สถานศึกษา ด้านราคา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา ด้านการส่ งเสริ มตลาด ด้าน กระบวนการจัดการเรี ย นการสอนแก่ นักเรี ย น ด้า นผลผลิ ตและคุ ณภาพของนักเรี ย น ด้า นบุ คคลที่ เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน และด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ สถิ ติที่ ใช้ใ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการหาค่า ความถี่ ร้ อยละ ค่าเฉลี่ ย และค่า เบี่ย งเบน มาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติ t-test (Independent – Samples t-test) และวิธีวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดี ยว (One-way Analysis of Variance ) และการทดสอบรายคู่ดว้ ยวิธี Least Significant Difference (LSD)


50

สรุ ปผลการวิจัย ผลจากการศึกษา วิจยั เรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา มีรายละเอียดโดยสรุ ป ดังนี้ 1. ข้ อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา จํานวนทั้งสิ้ น 385 คน พบว่า ส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง ระดับการศึกษา ปวส.2 ซึ่ งศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ ยสะสม 2.01 - 2.50 และมีรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 30,000 บาท 2. ปั จจัยที่มีผลต่ อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ปั จจัยที่มีผลต่อการเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา พบว่า โดยรวมทุกด้านมีผลอยู่ในระดับมาก โดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน ด้านกระบวนการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึ ก ษา ด้า นส่ ง เสริ ม การตลาด ด้า นหลัก ฐานที่ เ ป็ นวัส ดุ อุ ป กรณ์ ข องสถานศึ ก ษา ด้า น องค์ประกอบของสถานศึกษา และด้านราคา มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของ นัก เรี ย นสายอาชี วศึ ก ษาในจัง หวัดภู เก็ตและพัง งา อยู่ในระดับ มาก ส่ วนด้า นบุ คคลที่ เกี่ ยวข้องกับ นักเรี ยน มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา อยู่ใ นระดับ ปานกลาง ผลการศึ ก ษาในแต่ ล ะด้า น โดยเรี ย งลํา ดับ ตามค่ า เฉลี่ ย มี รายละเอียดดังนี้ ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษาโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า เป็ น ที่รู้จกั ได้รับการยอมรับจากบุคคลทัว่ ไปโดยเฉพาะเรื่ องคุณภาพมาตรฐาน มีครู – อาจารย์จบตรงสาขาที่ ทําการสอน ได้รับการรับรองคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีสาขาวิชาชีพให้เลือกเรี ยนหลากหลาย เช่น การท่องเที่ยว การโรงแรม คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ก บริ หารธุ รกิจ เป็ นต้น และมีชื่อเสี ยงด้านการจัดการ เรี ยนการสอนของสถานศึกษา อยูใ่ นระดับมาก ส่ วนด้านมีบรรยากาศ และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ดี มี อิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและ พังงา อยูใ่ นระดับปานกลาง


51

ด้านราคา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีการให้บริ การเงินกูย้ มื เพือ่ การศึกษา (กยศ.) มีการกําหนดค่าธรรมเนียมการเรี ยน ค่าบริ การต่างๆ อย่างเหมาะสม มีกระบวนการ ชําระค่าธรรมเนียมการเรี ยน หรื อค่าบริ การต่างๆ อย่างเป็ นระบบ และ มีการให้บริ การนักเรี ยนอย่าง ทัว่ ถึง อยูใ่ นระดับมาก ส่ วนมีทุนการศึกษาให้แก่นกั เรี ยนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ อยูใ่ นระดับปานกลาง ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรี ยงลําดับตาม ค่าเฉลี่ย พบว่า ตั้งอยูใ่ นเมือง ใกล้แหล่งชุมชน มีการคมนาคมที่สะดวก มีอาคารเรี ยน อาคารปฏิบตั ิการ เหมาะสมหรื อเพียงพอ มีมาตรการหรื อแนวปฏิบตั ิเพื่อรักษาความปลอดภัย และให้บริ การแก่ผมู้ าติดต่อ อย่างสะดวกและรวดเร็ ว อยูใ่ นระดับมาก ด้านการส่ งเสริ มการตลาด โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า ให้บริ การ แก่ผมู ้ าติดต่ออย่างสะดวกและรวดเร็ ว ให้ความสําคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งผลต่อชื่อเสี ยง มี การร่ วมกิจกรรมกับสถานประกอบการ เช่น บริ ษทั ทัวร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษทั ห้างร้าน หรื ออื่นๆ มี การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่ อ เช่ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุ รายการโทรทัศน์ทอ้ งถิ่น ป้ ายโฆษณา และเว็บไซต์ เป็ นต้น และมีการจัดนิทรรศการวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา อยูใ่ นระดับมาก ด้านการจัดการกระบวนการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน โดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีการ จัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างเหมาะสม มีการสนับสนุ นให้นกั เรี ยนทําโครงการวิชาชี พ มีวิธีการ สอน หรื อเทคนิ คการสอนที่เสริ มสร้างให้นกั เรี ยนมีทกั ษะวิชาชี พมากขึ้น มีการวัดผลประเมินผลโดย ใช้ระบบสารสนเทศที่ทนั สมัย และมีระบบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรี ยนอย่างเหมาะสม อยูใ่ นระดับมาก ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยนโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีทกั ษะอาชี พตามสาขาที่เรี ยน ศึกษาต่อหรื อได้งานทําตรงสาขาที่สําเร็ จการศึกษา สามารถสอบผ่าน มาตรฐานวิชาชี พ มีคุณธรรมและจริ ยธรรม มีทกั ษะด้านวิชาชีพตรงกับความต้องการของสถานศึกษา และสถานประกอบการ และมีผลงานนวัตกรรม หรื อสิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริ ง อยูใ่ นระดับปานกลาง ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยนโดยรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า เลือกเรี ยนเพราะเห็นความสําเร็ จของผูท้ ี่จบการศึกษา อยู่ในระดับมาก ส่ วนเลือกเรี ยนเพราะผูป้ กครอง สนับสนุ นด้านการเงิ นแนะนําให้เรี ยน เลือกเรี ยนเพราะบิดา – มารดามีส่วนในการเลือกสถานศึกษา เลือกเรี ยนเพราะอาจารย์แนะแนว และเลือกเรี ยนเพราะรุ่ นพี่เป็ นผูแ้ นะนํา อยูใ่ นระดับปานกลาง


52

ด้านหลักฐานที่ เป็ นวัสดุ อุปกรณ์ ของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เรี ยงลําดับตาม ค่าเฉลี่ย พบว่า มีหอ้ งสมุด และศูนย์การเรี ยนรู ้ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีการใช้เทคโนโลยีหรื อนวัตกรรม ที่ทนั สมัยในการจัดการเรี ยนการสอน มีห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการด้านภาษาเพียงพอ สําหรับนักเรี ยน มีการจัดสื่ อการสอน อุปกรณ์การสอนเพียงพอต่อนักเรี ยน และมีตาํ รา หนังสื อเรี ยน มี คุณภาพและพอเพียงสําหรับนักเรี ยน อยูใ่ นระดับมาก 3. ผลการศึกษาปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกเรียนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนสายอาชี วศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา จําแนกตามข้ อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล ในส่ วนนี้ เป็ นการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ที่ต้ งั ไว้ว่า ข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม และรายได้ครอบครัว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นที่ ต่ า งกัน ทํา ให้ ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน เพศ ที่ ต่ า งกัน ทํา ให้ ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชาย และกลุ่มตัวอย่าง เพศหญิง มีปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาไม่แตกต่างกันทุกด้าน ระดับการศึกษาในปั จจุบนั ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของ นักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า ระดับการศึ กษา (กลุ่ ม ตัวอย่า ง ปวส.1 และ ปวส.2) มี ปั จจัย ที่ มี ผลต่อ การเลื อกเรี ย นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ไม่แตกต่างกันทุกด้าน การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา ของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า การศึ กษาต่อระดับ ปริ ญญาตรี มีปัจจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ไม่แตกต่างกันทุกด้าน เกรดเฉลี่ยสะสม ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยน สายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า เกรดเฉลี่ยสะสม มีปัจจัยที่มีผลต่อ การเลือกสถาบันอุดมศึกษา ไม่แตกต่างกันในทุกด้าน รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษา ของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า รายได้ครอบครัวเฉลี่ย


53

ต่อเดื อนที่ ต่างกัน มีปัจจัยที่ มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ในด้านการส่ งเสริ มการตลาด และด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการ สอนแก่นกั เรี ยน อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรี ยบเทียบเป็ นรายคู่ ในด้านการส่ งเสริ มการตลาด พบว่า รายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 45,001 – 60,000 บาท มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา สู งกว่ารายได้ของครอบครัว เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 – 45,000 บาท และสู งกว่ารายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 60,001 บาทขึ้นไป อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ 0.05 และในด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน พบว่า รายได้ ของครอบครั ว เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น 45,001 – 60,000 บาท มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การตัด สิ น ใจเลื อ กเรี ยน สถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา สู งกว่ารายได้ของครอบครัว เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 – 45,000 บาท และสู งกว่ารายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 60,001 บาทขึ้นไป อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ 0.05 การอภิปรายผล ผลการศึกษาในครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั มีประเด็นที่จะนําเสนอ อภิปรายตามรายละเอียดการค้นพบ ดังนี้ ปั จจัยที่มีผลต่อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัด ภูเก็ตและพังงา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา ด้านราคา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของ สถานศึกษา ด้านการส่ งเสริ มตลาด ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน ด้านผลผลิตและ คุ ณภาพของนัก เรี ย น ด้า นบุ ค คลที่ เกี่ ย วข้องกับ นัก เรี ย น และด้า นหลัก ฐานที่ เป็ นวัส ดุ อุป กรณ์ ของ สถานศึกษา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก สอดคล้องกับ กุลธนี ศิริรักษ์ (2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาความ ต้องการศึ กษาต่อระดับปริ ญญาตรี และปั จจัยในการเลื อกสถาบันในจังหวัดนครราชสี มา ชัยภูมิ และ บุรีรัมย์ ปั จจัยในการเลือกสถาบันเพื่อศึกษาต่อจะให้ความสําคัญกับ ชื่ อเสี ยงของสถานศึกษา คุ ณวุฒิ และชื่อเสี ยงของอาจารย์ การมีงานทําของบัณฑิต สถานที่ต้งั ความสะดวกในการเดินทาง ความทันสมัย ของหลักสู ตรและสาขาวิชาที่เปิ ดสอน ค่าใช้จ่ายในการศึกษา สิ่ งอํานวยความสะดวกและแหล่งเรี ยนรู ้ ภายใน ตามลําดับ ปั จจัยที่มีผลต่อความต้องการศึกษาต่อ คือ รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดื อนของครอบครัว รองลงมาคือสถานภาพทางการศึกษา โดยผูท้ ี่จบการศึกษาแล้วจะมีแนวโน้มที่จะศึกษาต่อระดับปริ ญญา ตรี นอ้ ยกว่าผูท้ ี่กาํ ลังศึกษาอยู่


54

ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยนโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก พบว่า มีทกั ษะอาชีพตามสาขา ที่เรี ยน ศึกษาต่อหรื อได้งานทําตรงสาขาที่สําเร็ จการศึกษา สามารถสอบผ่านมาตรฐานวิชาชี พ มี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม มี ท กั ษะด้า นวิช าชี พ ตรงกับ ความต้องการของสถานศึ ก ษาและสถาน ประกอบการ และมีผลงานนวัตกรรม หรื อสิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริ งอยูใ่ นระดับ มาก ซึ่ งสอดคล้องกับ อารมณ์ เพชรชื่น (2547: 66) ซึ่ งศึกษาปั จจัยที่สัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจเลือกศึกษา ต่อของนัก เรี ยนอาชี วศึ ก ษาเอกชน กลุ่ ม ที่ต้องการศึ ก ษาต่อและกลุ่ ม ที่ไ ม่ ต้องการศึ กษาต่ อ มี ค วาม ต้องการสอดคล้องกันคือ ต้องการพัฒนาตนเองต้องการพัฒนาทางอาชีพ ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า มีการจัด กิจกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างเหมาะสม มีการสนับสนุนให้นกั เรี ยนทําโครงการวิชาชีพ มีวิธีการสอน หรื อเทคนิ คการสอนที่ เสริ มสร้ างให้นักเรี ยนมีทกั ษะวิชาชี พมากขึ้น มีการวัดผลประเมินผลโดยใช้ ระบบสารสนเทศที่ทนั สมัย และมีระบบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรี ยนอย่างเหมาะสมอยูใ่ น ระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับ กฤษณ์ บุตรเนียน จุไร โชคประสิ ทธิ์ และอรสา จรู ญธรรม (2554 : 49) ที่ ศึกษาปัจจัยในการเลือกเข้าศึกษาในโรงเรี ยนอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ปั จจัยในการ เลือกเข้าศึกษาประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับผูเ้ รี ยน เป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสนใจ ในวิชาชีพ นําวิชาชีพไปประกอบอาชีพได้รวมถึงการประกอบธุ รกิจของครอบครัวมีส่วนในการผลักดัน ให้บุตรศึกษาต่อในสาขานั้นๆ สิ่ งสําคัญที่ขาดไม่ได้ คือ การได้รับแนวคิดการส่ งเสริ มให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับ ทางเลือกต่อในอนาคตที่เหมาะสมกับตัวเองซึ่ งจะได้รับคําปรึ กษาจากครู แนะแนวและปั จจัยที่เกี่ยวข้อง กับสถานศึกษาทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสําคัญในเรื่ องของระบบขององค์กร และการ บริ หารจัดการของโรงเรี ยนอาชี วศึกษาเอกชน ในจังหวัดปราจีนบุรี รวมถึงงานวิชาการของหลักสู ตร สายวิชาชี พและภาพลักษณ์ของโรงเรี ยน ชื่ อเสี ยงความโดดเด่น บุคลากรที่มีความสามารถ เป็ นต้น ซึ่ ง สิ่ งต่างๆ เหล่านี้ลว้ นเป็ นปั จจัยในการสร้างแรงจูงใจให้นกั เรี ยนเกิดความสนใจในการเลือกเข้าศึกษา ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก พบว่า ตั้งอยูใ่ น เมือง ใกล้แหล่งชุมชน มีการคมนาคมที่สะดวก มีอาคารเรี ยน อาคารปฏิบตั ิการเหมาะสมหรื อเพียงพอ มีม าตรการหรื อแนวปฏิ บ ตั ิ เพื่อรั ก ษาความปลอดภัย และให้บ ริ ก ารแก่ ผูม้ าติ ดต่ออย่างสะดวกและ รวดเร็ วอยูใ่ นระดับมาก สอดคล้องกับ ดลฤดี สุ วรรณคีรี (2550 : บทคัดย่อ) ที่ทาํ การศึกษาเปรี ยบเทียบ


55

ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลื อกศึ กษาต่อระดับอาชี วศึ กษาระหว่างสถาบันศึ กษาของรั ฐกับเอกชน ปั จจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อการตัดสิ นใจเลือกสถานศึกษาเอกชนเรี ยงลําดับจากมากไปน้อยคือ การสอบ เข้าง่าย ความพร้อมด้านอุปกรณ์การศึกษา ค่าใช้จ่ายในการศึกษา ชื่อเสี ยงของสถาบัน การนําความรู ้ไป ใช้การประชาสัมพันธ์ของสถานศึกษา อาคารสถานที่และชื่อเสี ยงของอาจารย์ผสู ้ อน ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุ อุปกรณ์ของสถานศึกษา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก พบว่า มีห้องสมุด และศูนย์การเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีการใช้เทคโนโลยีหรื อนวัตกรรมที่ทนั สมัยในการจัดการ เรี ยนการสอน มีห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการด้านภาษาเพียงพอสําหรับนักเรี ยน มีการ จัดสื่ อการสอน อุปกรณ์การสอนเพียงพอต่อนักเรี ยน และมีตาํ รา หนังสื อเรี ยน มีคุณภาพและพอเพียง สําหรับนักเรี ยนอยูใ่ นระดับมาก ซึ่ งสอดคล้องกับ สามารถ โมราวรรณ และไพโรจน์ เกิดสมุทร (2554: 11) ซึ่ ง ศึ กษาปั จจัย ส่ วนประสมทางการตลาดที่ มี ผลต่อการตัดสิ นใจศึ กษาต่อในสถาบันอุ ดมศึก ษา เอกชนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า ด้านการจัดจําหน่าย ช่องทางการเข้าถึงบริ การและสารสนเทศของสถาบันผ่านระบบ Internet เพราะว่า ระบบ Internet เป็ นระบบที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก ทุกที่ ทุกเวลา สร้างความเสมอภาคทาง การศึกษาได้ตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาที่ตอ้ งให้ทุกคนมีโอกาสได้ศึกษา ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านการส่ งเสริ มการตลาด โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก พบว่า มีกิจกรรมเสริ มประสบการณ์ให้ นักเรี ยนได้ทาํ งานระหว่างเรี ยน ให้ความสําคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งผลต่อชื่อเสี ยง มีการร่ วม กิ จกรรมกับ สถานประกอบการ เช่ นบริ ษ ทั ทัวร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษทั ห้า งร้ า น หรื ออื่ นๆ มี ก าร ประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่ อ เช่นสื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุ รายการโทรทัศน์ทอ้ งถิ่น ป้ ายโฆษณา และเว็บไซต์ เป็ นต้น และมีการจัดนิทรรศการวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาอยูใ่ นระดับมาก สอดคล้อง กับ สามารถ โมราวรรณ และไพโรจน์ เกิดสมุทร (2554: 11) ที่ทาํ การศึกษาปั จจัยส่ วนประสมทาง การตลาดที่มีผลต่อการตัดสิ นใจศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า ด้านการส่ งเสริ มการตลาด พบว่า สถาบันมี การแนะแนวให้ความรู ้ในการศึกษาต่อในสถาบันโดยบุคลากรที่มีคุณภาพ เพราะว่าการใช้บุคลากรใน การแนะแนวที่มีคุณภาพ จะสามารถสื่ อสารข้อมูลในการศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ


56

ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า เป็ นที่รู้จกั ได้รับการ ยอมรับจากบุ คคลทัว่ ไปโดยเฉพาะเรื่ องคุณภาพมาตรฐาน มีครู – อาจารย์จบตรงสาขาที่ทาํ การสอน ได้รับการรับรองคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีสาขาวิชาชีพให้เลือกเรี ยนหลากหลาย เช่น การท่องเที่ยว การโรงแรม คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ก บริ หารธุ รกิจ เป็ นต้น มีชื่อเสี ยงด้านการจัดการเรี ยนการสอนของ สถานศึกษาอยู่ในระดับมาก และมีบรรยากาศ และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ดีอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่ งสอดคล้องกับ อารมณ์ เพชรชื่น ดร. (2547: 66) ซึ่ งศึกษาปั จจัยที่สัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจเลือกศึกษา ต่อของนักเรี ยนอาชี วศึกษาเอกชน พบว่าปั จจัยของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจเลือก ศึกษาต่อ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ปั จจัยของสถานศึกษาคือ ปั จจัยด้านโรงเรี ยน ที่สําคัญ ได้แก่ หลักสู ตรที่เปิ ดสอน ที่ต้ งั ของโรงเรี ยน ภาพพจน์ของโรงเรี ยนตามลําดับ และปั จจัยการบริ หาร จัดการ ที่ สําคัญได้แก่ ความรู้ ความสามารถและการปฏิ บตั ิตนของครู ระบบการจัดการภายใน สภาพแวดล้อมและระบบการแนะแนวและจัดหางาน ตามลําดับ ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านราคา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก พบว่า มีการให้บริ การเงินกูย้ มื เพื่อการศึกษา (กยศ.) มีการ กําหนดค่าธรรมเนี ยมการเรี ยน ค่าบริ การต่างๆ อย่างเหมาะสม มีกระบวนการชําระค่าธรรมเนี ยมการ เรี ยน หรื อค่าบริ การต่างๆ อย่างเป็ นระบบ มีการให้บริ การนักเรี ยนอย่างทัว่ ถึงอยูใ่ นระดับมาก และมี ทุนการศึกษาให้แก่นกั เรี ยนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์อยูใ่ นระดับปานกลาง สอดคล้องกับ สามารถ โม ราวรรณ และไพโรจน์ เกิ ดสมุทร (2554: 11) ที่ศึกษาปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการ ตัดสิ นใจศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษา สมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า มีผลต่อการตัดสิ นใจ ด้านราคา คือ ค่าเทอมและค่าธรรมเนียม ของโรงเรี ยน มีเงินกองทุนรัฐบาลให้กยู้ มื และเปิ ดโอกาสให้มีการผ่อนชําระค่าเล่าเรี ยนได้หลายงวด ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงา ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน โดยรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง พบว่า เลือกเรี ยนเพราะเห็น ความสําเร็ จของผูท้ ี่จบการศึกษาอยู่ในระดับมาก เลือกเรี ยนเพราะผูป้ กครองสนับสนุ นด้านการเงิ น แนะนําให้เรี ยน เลือกเรี ยนเพราะบิดา – มารดามีส่วนในการเลือกสถานศึกษา เลือกเรี ยนเพราะอาจารย์ แนะแนว และเลื อกเรี ย นเพราะรุ่ น พี่ เป็ นผูแ้ นะนํา อยู่ใ นระดับ ปานกลาง ซึ่ งสอดคล้อ งกับ ดลฤดี สุ วรรณคีรี (2550 : บทคัดย่อ) ที่ทาํ การศึกษาเปรี ยบเทียบปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกศึกษาต่อ ระดับอาชี วศึกษาระหว่างสถาบันศึกษาของรัฐกับเอกชน ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจศึกษาต่อใน


57

ระดับอุดมศึกษาของนักเรี ยนมัธยมศึกษาชั้นปี ที่6 ทัว่ ประเทศ นักเรี ยนที่บิดามารดามีระดับการศึกษาสู ง กว่าปริ ญญาตรี และประกอบอาชี พรับราชการและนักธุ รกิจ จะมีการตัดสิ นใจศึกษาต่อมากกว่านักเรี ยน ที่บิดามารดามีระดับการศึกษาตํ่าและประกอบอาชี พอื่น เนื่องจากบิดามารดาเป็ นต้นแบบที่ดีส่งผลต่อ แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ การคาดหวังในการศึกษาต่อในระดับสู งของนักเรี ยนและพบว่านักเรี ยนที่ครอบครัว มีสถานภาพทางเศรษฐกิจดี จะมีการตัดสิ นใจศึกษาต่อมากกว่านักเรี ยนที่ครอบครัวมีสถานภาพทาง เศรษฐกิ จตํ่า ซึ่ งเศรษฐกิ จเป็ นตัวกําหนดโอกาสทางการศึกษาโดยการศึ กษาในระดับอุดมศึกษามี ค่าใช้จ่ายในรู ปค่าธรรมเนียมการศึกษา อุปกรณ์การศึกษา และค่าครองชีพอื่นๆ ดังนั้น นักเรี ยนที่มาจาก ครอบครั ว ที่ มี ส ถานภาพทางเศรษฐกิ จ ตํ่า ย่อ มยากที่ จ ะมี โ อกาสศึ ก ษาต่ อ เสมอภาคกับ นัก เรี ย นที่ ครอบครัวมีสถานภาพทางเศรษฐกิ จดี และสอดคล้องกับงานวิจยั ของกฤษณ์ บุตรเนียน จุไร โชค ประสิ ทธิ์ และอรสา จรู ญธรรม (2554: 49) ที่ ได้ศึ กษาปั จจัยในการเลื อกเข้าศึ กษาในโรงเรี ย น อาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ปั จจัยในการเลือกเข้าศึกษาประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ปั จจัย ที่เกี่ยวข้องกับผูเ้ รี ยน เป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสนใจในวิชาชี พ นําวิชาชี พไปประกอบอาชี พได้ รวมถึงการประกอบธุ รกิจของครอบครัวมีส่วนในการผลักดันให้บุตรศึกษาต่อในสาขานั้นๆ สิ่ งสําคัญที่ ขาดไม่ได้ คือ การได้รับแนวคิดการส่ งเสริ มให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับทางเลือกต่อในอนาคตที่เหมาะสมกับ ตัวเองซึ่ งจะได้รับคําปรึ กษาจากครู แนะแนวและปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่า นักเรี ยนให้ความสําคัญในเรื่ องของระบบขององค์กร และการบริ หารจัดการของโรงเรี ยนอาชีวศึกษา เอกชน ในจังหวัดปราจีนบุรี รวมถึงงานวิชาการของหลักสู ตรสายวิชาชีพและภาพลักษณ์ของโรงเรี ยน ชื่อเสี ยงความโดดเด่น บุคลากรที่มีความสามารถ เป็ นต้น ซึ่ งสิ่ งต่างๆ เหล่านี้ลว้ นเป็ นปั จจัยในการสร้าง แรงจูงใจให้นกั เรี ยนเกิดความสนใจในการเลือกเข้าศึกษา ข้ อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจยั จากผลการวิจยั พบว่า ปั จจัยที่ มีผลต่อการเรี ยนต่อสถาบันอุดมศึ กษาของนัก เรี ยนสาย อาชี วศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ในระดับมาก ได้แก่ ด้านผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน ด้าน กระบวนการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน ด้านอาคารสถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึกษา ด้านส่ งเสริ ม การตลาด ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา และ ด้านราคา ผูป้ ระกอบการควรตระหนักและมุ่งให้ความสําคัญ โดยนําประเด็นปั จจัยดังกล่าวไปวางแผน


58

พัฒนาปรับปรุ งเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา และเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนในการเป็ นสถาบันที่รองรับและผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสู่ ชุมชนและสังคมต่อไป ข้อเสนอแนะในการทําวิจยั ต่อไป 1. ควรมี ก ารศึ ก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อการเลื อกเรี ย นสถาบันอุ ดมศึ ก ษาของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาโดยนําแนวคิดการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค เข้ามาศึกษาร่ วมด้วย 2. ควรมีการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของกลุ่มผูท้ ี่ทาํ งานแล้ว เช่ น ข้าราชการ/รั ฐวิสาหกิ จ พนักงานบริ ษทั เอกชน ผูป้ ระกอบธุ รกิ จส่ วนตัว เป็ นต้น เพื่อที่จะนํามา เปรี ยบเทียบกับนักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ว่ามีความเหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไรบ้าง


บรรณานุกรม

ภาษาไทย กัญกมญ เถื่อนเหมือน. 2551. “ปั จจัยจูงใจในการเลือกเข้าศึกษาของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยศรี .” วารสารศรีปทุมปริ ทศั น์ ปี ที่ 8 ฉบับที่ 1: 5-12. กุลธนี ศิริรักษ์. 2551 “ความต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี และปั จจัยในการเลือกสถาบันใน จังหวัดนครราชสี มา ชัยภูมิ” วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปี ที่ 10 ฉบับที่ 3 ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. 2540. “แนวคิดการบริ หารธุรกิจในสถานการณ์ปัจจุบนั ” ใน หลักการจัด การและองค์ การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์หนังสื อแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ดลฤดี สุ วรรณคีรี. 2539. “ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของ มัธยม ศึกษาชั้นปี ที่ 6 ทัว่ ประเทศ.” วารสารพัฒนาสั งคม ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1: 157-174 ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด [ออนไลน์]. 17 พฤศจิกายน 2551. เข้าถึงได้จาก : http://learners.in.th/blog/melody/221598 บรรยงค์ โตจินดา. 2548. องค์ การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุ งเทพมหานคร: รวมสาส์น (1997) บริ ษทั สื่ อดี จํากัด. 2544. มาสโลว์ กบั การจัดการ. กรุ งเทพ : บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จํากัด (มหาชน). เปรมจิตร ศิริสานต์. 2542. การศึกษาองค์ ประกอบแรงจูงใจในการสึ กษาต่ อของนักศึกษา บัณฑิต ศึกษา.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง. Chaikrubpom. 10 พฤษภาคม 2553. ปัจจัยในการตัดสิ นใจเรียนกวดวิชาของนักเรียนระดับมัธยม ศึกษาตอนต้ น ในโรงเรียนกวดวิชามาลัย. โดย ฐากร จิรวัชรากร และอรทัย ทองอยู.่ สาขา วิชาการ บริ หารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. สมคิด บางโม. 2548. “การจัดการองค์ การ” ในองค์ การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 4 ปรับปรุ งใหม่. กรุ งเทพมหานคร: วิทยพัฒน์. 2548. ศิริพร พงศ์ศรี โรจน์. 2540. องค์ การและการจัดการ. กรุ งเทพมหานคร : สํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์. หน้า 239 - 254.


60

อารมณ์ เพชรรื่ น. 2547. ปัจจัยสั มพันธ์ กบั การตัดสิ นใจเลือกศึกษาต่ อของนักเรียนอาชี วศึกษา เอก ชน.วารสารศึกษาศาสตร์ ปี ที่15 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2546 - มีนาคม 2547. ภาษาอังกฤษ Maslow, A. H. 1970. Motivation and Personality. 2nd ed. New York : Harper and Brothers. McClelland, D.C. 1976. The Achievement Motive. New York : Irvington. Reeder, E. H. 1971. Supervision in the Elementary School. Boston : Houghton Mifflin. Vroom, V. H. and Erdward, L. D. 1977. Management and Motivation. Harmondworth : Penguin Book.


61

ภาคผนวก


62

เลขที.่ ............................... แบบสอบถาม ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการตัดสิ นใจเลือกเรียนสถาบันอุดมศึกษาของ นักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ผูใ้ ห้สัมภาษณ์.................................................................;........................................................................... เบอร์ โทรศัพท์...........................................................................E-mail...................................................... สถาบันศึกษา........................................................ระดับศึกษา....................................สาขา....................... คําชี้แจง

โปรดใส่ เครื่ องหมาย  ในคําตอบที่ท่านเห็นว่าเหมาะสมกับท่านมากที่สุด

ตอนที่ 1 ปัจจัยส่ วนบุคคล 1. เพศ  1. ชาย 2. ระดับการศึกษาในปัจจุบนั  1. ปวส.1 3. การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี 1. ต้องการศึกษาต่อ 4. เกรดเฉลี่ยสะสม  1. ตํ่ากว่า 2.00  3. 2.51 – 3.00  5. 3.51 – 4.00 5. รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน  1. ไม่เกิน 15,000 บาท  3. 30,001 – 45,000 บาท  5. 60,001 บาท ขึ้นไป

 2. หญิง  2. ปวส.2  2. ยังไม่แน่ใจ  2. 2.01 – 2.50 4. 3.01 – 3.50

 2. 15,001 – 30,000 บาท  4. 45,001 – 60,000 บาท


63

ตอนที่ 2 ปัจจัยทีม่ ีอิทธิพลต่ อการตัดสิ นใจเลือกเรียนสถาบันอุดมศึกษา คําชี้แจง โปรดใส่ เครื่ องหมาย  ในคําตอบที่เห็นว่าเหมาะสมมีอิทธิ พลหรื อมีความสําคัญต่อการ ตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของท่านมากที่สุด ซึ่ งแต่ละข้อมีความหมาย ดังนี้ 5 หมายความว่า ระดับความสําคัญมากที่สุด 4 หมายความว่า ระดับความสําคัญมาก 3 หมายความว่า ระดับความสําคัญปานกลาง 2 หมายความว่า ระดับความสําคัญน้อย 1 หมายความว่า ระดับความสําคัญน้อยที่สุด ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกศึกษาต่ อ ด้ านองค์ ประกอบของสถานศึกษา 1. เป็ นที่รู้จกั ได้รับการยอมรับจากบุคคลทัว่ ไป โดยเฉพาะเรื่ องคุณภาพมาตรฐาน 2. มีชื่อเสี ยงด้านการจัดการเรี ยนการสอนของ สถานศึกษา 3. ได้รับการรับรองคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 4. มีครู -อาจารย์จบตรงสาขาที่ทาํ การสอน 5. มีสาขาวิชาชีพให้เลือกเรี ยนหลากหลาย เช่น การท่องเที่ยว การโรงแรม คอมพิวเตอร์ กราฟฟิ ก บริ หารธุ รกิจ เป็ นต้น 6. มีบรรยากาศ และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ดี ด้ านราคา 7. มีการกําหนดค่าธรรมเนียมการเรี ยน ค่าบริ การ ต่างๆ อย่างเหมาะสม 8. มีการให้บริ การนักเรี ยนอย่างทัว่ ถึง 9. มีกระบวนการชําระค่าธรรมเนียมการเรี ยน หรื อค่าบริ การต่างๆ อย่างเป็ นระบบ 10.มีการให้บริ การเงินกูย้ มื เพื่อการศึกษา (กยศ.) 11.มีทุนการศึกษาให้แก่นกั เรี ยนที่ขาดแคลน ทุนทรัพย์

มากทีส่ ุ ด 5

ระดับความสํ าคัญ มาก ปานกลาง น้ อย 4 3 2

น้ อยทีส่ ุ ด 1


64

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกศึกษาต่ อ ด้ านอาคารสถานที่และทําเลทีต่ ้ังของสถานศึกษา 12. ตั้งอยูใ่ นเมือง ใกล้แหล่งชุมชน 13. มีการคมนาคมที่สะดวก 14. มีมาตรการ หรื อ แนวปฏิบตั ิเพื่อรักษาความ ปลอดภัย 15. มีอาคารเรี ยน อาคารปฏิบตั ิการเหมาะสมหรื อ เพียงพอ 16.ให้บริ การแก่ผมู ้ าติดต่ออย่างสะดวก และ รวดเร็ ว ด้ านการส่ งเสริมการตลาด 17.มีการประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่ อ เช่น สื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุ รายการโทรทัศน์ทอ้ งถิ่น ป้ านโฆษณา และเว็บไซต์ เป็ นต้น 18.ให้ความสําคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ ส่ งผลต่อชื่อเสี ยง 19.มีกิจกรรมเสริ มประสบการณ์ให้นกั เรี ยนได้ ทํางานระหว่างเรี ยน 20.มีการร่ วมกิจกรรมกับสถานประกอบการ เช่น บริ ษทั ทัวร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษทั ห้างร้าน หรื ออื่นๆ 21.มีการจัดนิทรรศการวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษา

มากทีส่ ุ ด 5

ระดับความสํ าคัญ มาก ปานกลาง น้ อย 4 3 2

น้ อยทีส่ ุ ด 1


65

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกศึกษาต่ อ

มากทีส่ ุ ด 5 ด้ านกระบวนการจัดการเรียนการสอนแก่ นักเรียน 22.มีระบบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของ นักเรี ยนอย่างเหมาะสม 23.มีวธิ ี การสอน หรื อเทคนิคการสอน ที่ เสริ มสร้างให้นกั เรี ยนมีทกั ษะวิชาชีพมากขึ้น 24.มีการจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่าง เหมาะสม 25.มีการสนับสนุนให้นกั เรี ยนทําโครงการ วิชาชีพ 26.มีการวัดผลประเมินผลโดยใช้ระบบ สารสนเทศที่ทนั สมัย ด้ านผลผลิต และคุณภาพของนักเรี ยน 27.มีทกั ษะอาชีพตามสาขาที่เรี ยน 28.มีคุณธรรมและจริ ยธรรม 29.ศึกษาต่อ หรื อได้งานทําตรงสาขาที่สาํ เร็ จ การศึกษา 30.สามารถสอบผ่านมาตรฐานวิชาชีพ 31.มีทกั ษะด้านวิชาชีพตรงกับความต้องการของ สถานศึกษาและสถานประกอบการ 32.มีผลงานนวัตกรรม หรื อสิ่ งประดิษฐ์ ที่ สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริ ง ด้ านบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับนักเรียน 33.เลือกเรี ยนเพราะบิดา – มารดา มีส่วนในการ เลือกสถานศึกษา 34.เลือกเรี ยนเพราะอาจารย์แนะแนว 35.เลือกเรี ยนเพราะรุ่ นพี่เป็ นผูแ้ นะนํา 36.เลือกเรี ยนเพราะผูป้ กครองที่สนับสนุนด้าน การเงินแนะนําให้เรี ยน

ระดับความสํ าคัญ มาก ปานกลาง น้ อย 4 3 2

น้ อยทีส่ ุ ด 1


66

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกศึกษาต่ อ

มากทีส่ ุ ด 5

ระดับความสํ าคัญ มาก ปานกลาง น้ อย 4 3 2

น้ อยทีส่ ุ ด 1

37.เลือกเรี ยนเพราะเห็นความสําเร็ จของผูท้ ี่จบ การศึกษา ด้ านหลักฐานทีเ่ ป็ นวัสดุอุปกรณ์ ของสถานศึกษา 38.มีการใช้เทคโนโลยีหรื อนวัตกรรมที่ทนั สมัย ในการจัดการเรี ยนการสอน 39.มีการจัดสื่ อการสอน อุปกรณ์การสอนเพียงพอ ต่อนักเรี ยน 40.มีตาํ รา หนังสื อเรี ยน มีคุณภาพและเพียงพอ สําหรับนักเรี ยน 41.มีหอ้ งสมุด และศูนย์การเรี ยนรู ้ต่างๆ อย่าง เหมาะสม 42.มีหอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการ ด้านภาษาเพียงพอ สําหรับนักเรี ยน ตอนที่ 3

โปรดให้ ข้อคิดเห็นหรือข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ ต่ อสถาบันอุดมศึกษาในระดับปริญญาตรี ตามความรู้ สึกของท่ าน

................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

ขอขอบพระคุณท่ านเป็ นอย่ างสู งที่กรุณาสละเวลาให้ ข้อมูลต่ อในครั้งนี้


67

การกําหนดขนาดกลุม่ ตัวอย่าง ใช้ตารางสําเร็จรูปของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% Sample Size (n) ที่ ระดับความคลาดเคลื่อนต่าง ๆ Size of Population(N) 500

±1%

±2%

±3%

±4%

±5%

±10%

B

B

B

B

222

83

1,000

B

B

B

385

206

91

1,500

B

B

938

441

316

94

2,000

B

B

714

476

333

95

2,500

B

1,250

769

500

345

96

3,000

B

1,364

811

517

353

97

3,500

B

1,458

843

530

359

97

4,000

B

1,538

870

541

364

98

4,500

B

1,607

891

549

367

98

5,000

B

1,667

909

556

370

98

6,000

B

1,765

938

566

375

98

7,000

B

1,842

959

574

378

99

8,000

B

1,905

976

580

381

99

9,000

B

1,957

989

584

383

99

10,000

5,000

2,000

1,000

588

385

99

15,000

6,000

2,143

1,034

600

390

99

20,000

6,667

2,222

1,053

606

392

100

25,000

7,143

2,273

1,064

610

394

100

50,000

8,333

2,381

1,087

617

397

100

100,000

9,001

2,439

1,099

621

398

100

10,000

2,500

1,111

625

400

100


68

ประวัติผู้วจิ ัย ชื่อ

นายรณชัย คงกะพันธ์

สถานทีท่ าํ งาน

วิทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

ตําแหน่ ง

อาจารย์ประจําสาขาวิชาการตลาด คณะบริ หารธุ รกิจ หัวหน้างานกิจการนักศึกษา

วุฒิการศึกษา

ปริ ญญาตรี สาขาการตลาด คณะบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปริ ญญาตรี สาขาบริ หารรัฐกิจ สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริ ญญาโท สาขาการตลาด คณะบริ หารธุ รกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

เบอร์ โทรศัพท์

087-8834466

Email

rkongkaphan@gmail.com


ปัจจัยที่มผี ลต่ อการเลือกเรียนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนสายอาชีวศึกษา ในจังหวัดภูเก็ตและพังงา The factors effecting the selection of the vocational students in Phuket and Pang-nga provinces to the higher education. นายรณชัย คงกะพันธ์ 1

1

คณะบริ หารธุรกิ จ, วิ ทยาลัยราชพฤกษ์ ศูนย์ การศึ กษานอกที่ ตงั้ วิ ทยาลัยเทคโนโลยีภเู ก็ต, Email Address: rkongkaphan@gmail.com

บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยน สายอาชีวศึกษาในจัดหวัดภูเก็ตและพังงา และ 2) เปรี ยบเทียบปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา จําแนกตามปั จจัยส่ วนบุคคลของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา โดยมี สมมติฐานของการวิจยั คือ เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึ กษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม และ รายได้ค รอบครั วเฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นที่ ต่า งกัน ทํา ให้ปัจ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กสถาบัน อุ ดมศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาแตกต่างกัน กําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามหลักการของทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 385 คน สุ่ มตัวอย่างด้วยวิธีแบ่งชั้น (Stratified Sampling) โดยกําหนดกลุ่ม ตัวอย่างสถาบันละ 40 คน จากนั้นใช้วิธีสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ต่อไป เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการหาค่าความถี่ ร้ อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติ t-test (Independent - Samples t-test) และวิธีวเิ คราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว (One-way Analysis of Variance ) และการทดสอบรายคู่ดว้ ยวิธี Least Square Difference (LSD) จากการศึ กษาข้อมูล พบว่า เป็ นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ซึ่ งส่ วนใหญ่ระดับการศึ กษาปั จจุบนั ปวส.1 ต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม 2.01-2.50 และมีรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 15,001-30,000 บาท ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา พบว่า ปั จจัยด้านผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนแก่ นกั เรี ยน ด้านอาคาร สถานที่และทําเลที่ต้ งั ของสถานศึ กษา ด้านส่ งเสริ มการตลาด ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ ของสถานศึ กษา ด้านองค์ประกอบของสถานศึ กษา และด้านราคา ส่ งผลต่อ การเลือ กเรี ยนสถาบันอุ ดมศึ กษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยู่ในระดับมาก ส่ วนปั จจัยด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน ส่ งผลต่อการเลือก เรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยู่ในระดับปานกลาง โดยเรี ยงลําดับ ตามค่าเฉลี่ย


2 จากการทดสอบสมมติฐ านการวิจยั ที่ต้ งั ไว้ว่า ข้อมูลปั จจัย ส่ วนบุคคล ได้แก่ เพศ ระดับการศึ กษาใน ปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม และรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือนที่ต่างกัน ทําให้ปัจจัยที่ มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาแตกต่างกัน พบว่า เพศ ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี และเกรดเฉลี่ยสะสม ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการ เลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาไม่แตกต่างกันในทุกด้าน ส่ วน รายได้ค รอบครั วเฉลี่ยต่อ เดือนที่ต่างกันทํา ให้ปัจจัย ที่มีผลต่ อการเลื อกเรี ยนสถาบันอุ ดมศึ กษาของนักเรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาแตกต่างกัน ในด้านการส่ งเสริ มการตลาด และด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการ สอนแก่นกั เรี ยน อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ 0.05

คําสํ าคัญ : ปั จจัย ที่ มีผ ลต่ อ การเลื อกเรี ย น นัก เรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจัดหวัดภูเ ก็ ตและพังงา การเลื อกเรี ย น

สถาบันอุดมศึกษา ABSTRACT:

The main purpose of this research is to study the factors effecting the selection of the vocational students in Phuket and Phang-nga to the higher education and to compare the factors effecting to the vocation students’ selection in Phuket and Phang-nga by distinguishing the personal factors of the vocational students in Phuket and Phang-nga. The hypotheses of this research were gender, current education level, the bacherlor degree, grade point average and the average household monthly income which were variable and affected to the vocational students’ selection of the higher education differently. The researcher determined the sample size by following the Mr.Taro Yamane’s principle. The sample consisted of 385 people and was randomed to 40 students from each institution by Stratified Sampling method. Later the Accidental Sampling was further conducted. The materials for collecting the data were questionnaires and the data statistics analysis. The data was analyzed by frequency, percentage, mean and standard deviation. The researcher examined the differences by t-test (Indepent – Samples t-test) and One-way analysis of variance and experimented the pair by Least Suare Diffeence (LSD) The findings were revealed that: More female with the present education in higher certificate vocational students’ requied to graduate in bachelor degree level than male. Those female had grade point average of 2.01-2.50 and the average household monthly income approximately of 15,001-30,000 baht. The factors were highly effective to the selection of the vocational students in Phuket and Pang-nga to the higher education were the productivity and quality of the students, the learning process to students, the building and school location, the promotion, the education material, the school elements and the fee. The people involved with the students were the affecting factor at a moderate level toward the vocational students’ selection of higher education in Phuket and Phang-nga by averaging data respectively. The results from hypotheses experiment of this research were found that: The difference of personal factors such as gender, current education level, the bacherlor degree, grade point average and the average household monthly income affected variably to the vocation students’ selection to higher education in Phuket and Phang-nga. The diversity of gender, the current education level, the bachelor degree and grade point average not much affected to the difference of the vocational students’ selection to the higher education. The different average household monthly income highly affected to the vocation students’ selection to the higher education in Phuket and Phang-nga especially to the school promotion and learning process to students at the 0.05 level. KEYWORDS: The factors effecting the selection, The vocational students in Phuket and Phangnga, The selection of the higher education


บทนํา

การศึกษาเป็ นกลไกที่สําคัญในการพัฒนาคน ให้มีคุณภาพ ด้วยเหตุน้ ีการพัฒนาคุณภาพการศึ กษาจึง เป็ นรากฐานที่สํ าคัญในการพัฒนาประเทศ (กัญนิ ก า พราหมณ์ พิทกั ษ์, 2542 : 1 อ้างถึงใน กัญกมญ เถื่อ น เหมือน, 2551) การปรับตัวทางการศึกษาจําเป็ นอย่างยิ่ง ที่ จ ะต้ อ งให้ ส อดคล้ อ งกั บ โครงสร้ า งการพั ฒ นา เศรษฐกิ จของประเทศและเกิ ดกระบวนการสร้ า งผู ้มี ความรู ้ ความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริ ง ดังนั้นจึงต้องมีการ วางนโยบายและปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการจัดการศึกษา อย่า งเร่ ง ด่วน (วารสารพัฒ นาสั งคม ตุลาคม : 2550, 157-174) ดัง พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หวั ที่พระราชทานแก่คณะครู นักเรี ยน ณ ศาลาดุ สิ ดาลั ย เมื่ อ วัน ที่ 27 กรกฏาคม 2524 ความว่ า “การศึ ก ษาเป็ นปั จจัย สํ า คัญ ในการสร้ า งและพัฒ นา ความรู ้ ความคิ ด ความประพฤติดี และคุ ณธรรมของ บุ ค คล สั ง คมและบ้า นเมื อ งใดให้ ก ารศึ ก ษาที่ ดี แ ก่ เยาวชนได้อย่างครบถ้วน ล้วนพอเหมาะกันทุกๆ ด้าน สังคมและบ้านเมืองนั้น ก็จะมีพลเมืองที่มีคุณภาพ ซึ่ ง สามารถธํารงรักษาความเจริ ญมัน่ คงของประเทศชาติไว้ และพัฒนาต่อไปได้โดยตลอด” จากพระบรมราโชวาท ดังกล่าว การศึกษาจึงเป็ นเครื่ องมือที่สําคัญสําหรั บการ พัฒ นาประเทศ และทําให้สั ง คมน่ า อยู่ คนมีอ าชี พที่ หลากหลาย โดยเฉพาะการศึ กษาด้านอาชี วศึ กษา ซึ่ ง ประเทศไทยได้ตระหนักถึงความจําเป็ นดังกล่าว จึงได้ ตราเป็ นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ในการจัด การศึ ก ษาตามพระราชบัญ ญั ติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2545 (กระทรวงศึ ก ษาธิ การ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 8-9) หมวด 3 ระบบการศึ ก ษาในมาตรา 15 ได้ ก ํ า หนดการจั ด การศึกษามีสามรู ปแบบ คือ การจัดการศึ กษาในระบบ การศึ กษานอกระบบและการศึ กษาตามอัธยาศัย และ

มาตรา 16 กําหนดให้การศึ ก ษาในระบบมีส องระดับ คือการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยการศึ กษาขั้นพื้น ฐานเป็ นการศึ กษาซึ่ งจัดไม่น้อ ย กว่า สิ บสองปี ก่ อ นระดับอุ ดมศึ ก ษา ส่ วนการศึ ก ษา ระดับอุดมศึ กษา แบ่งเป็ นสองระดับคือ ระดับตํ่ากว่า ปริ ญญาและระดับปริ ญญา โดยการจัดการศึ กษาด้าน การอาชีวศึกษาในปั จจุบนั จัดอยู่ในระดับอุดมศึ กษาตํ่า กว่าปริ ญญา มีการจัดการศึ กษาทั้งในสถานศึ กษาของ รัฐและเอกชน ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) รับนักเรี ยนที่จบการศึ กษาจากชั้นมัธยมศึ กษาตอนต้น (ม.3) เข้าศึ กษาต่อหลักสู ตร 3 ปี ซึ่ งการจัดการศึ กษา ด้านการอาชีวศึกษานั้น เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ยนเลือกเรี ยน ตามความถนัดและสนใจ โดยเมื่อผูเ้ รี ยนจบการศึ กษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) แล้วจะเลือกศึ กษา ต่อทางด้านมัธยมศึ กษาปี ที่ 4 หรื อเลือกศึ กษาต่อด้าน อาชีวศึกษา หรื อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) การจัดการศึกษาทางอาชี วศึ กษาเน้นการฝึ ก อาชี พและทักษะรวมทั้ง ให้ความรู ้ ที่เหมาะสมกับการ ประกอบอาชีพ การศึกษาจึงเป็ นกระบวนการที่สําคัญ ในการพัฒนาคนให้เป็ นมนุษย์ที่มีปัญญา มีคุณธรรม มี ความสามารถที่ จ ะพัฒ นาตนเองและสั ง คม มี ความสามารถในการประกอบอาชี พอัน เป็ นแรงงาน สํ า หรั บ ประเทศชาติ ในการจั ด การศึ ก ษา ระดับอุ ดมศึ ก ษา ผู ้เรี ย นมี โอกาสที่ จะเลื อ กเรี ย นใน มหาวิท ยาลัย ของรั ฐ และมหาวิท ยาลัย เอกชน ซึ่ ง มี กระบวนการเข้าศึกษาต่อแตกต่างกัน ดังนั้น แรงจูงใจ ที่จะทําให้ผเู ้ รี ยนมาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน จึง น่ า จะมี ค วามแตกต่ า งไปจากการเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ (เปรมจิตร ศิริสานต์. 2542 : 2) ในการจัด การศึ ก ษาสายอาชี ว ศึ ก ษาของ จังหวัดภูเก็ตและจังหวัดพังงา มีสถานศึ กษาทั้งภาครั ฐ และเอกชนจํา นวนมาก เนื่ อ งจากมี น ั ก เรี ยนที่ จ บ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในจังหวัดภูเก็ต


4 และจังหวัดพังงาให้ความสนใจ และต้องการศึ กษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้นจํานวนมาก วิทยาลัยราชพฤกษ์ซ่ ึ งเป็ นสถาบันอุดมศึกษา ที่มีศกั ยภาพและความพร้ อมในการบริ หารจัดการศึกษา อย่ า งมี คุ ณ ภาพได้ ม าตรฐาน สอดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการของสังคมและชุมชน จึงได้จดั ตั้งศูนย์การศึกษา นอกที่ ต้ ัง ขึ้ น ที่ วิ ทยาลัย เทคโนโลยี ภู เ ก็ ต ตามความ ต้องการของชุมชนในจังหวัดภูเก็ต โดยได้เปิ ดทําการ สอนเมื่ อ ปี 2552 ในระดับ ปริ ญ ญาตรี หลัก สู ต ร บริ ห ารธุ ร กิ จบัณ ฑิ ต 2 สาขาวิช า ได้แ ก่ สาขาวิช า การตลาด สาขาวิ ช าการจัด การโรงแรมและการ ท่องเที่ยว และหลักสู ตรบัญชีบณั ฑิต 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิ ช าการบัญ ชี ปั จ จุ บ ัน มี น ั ก ศึ ก ษาทั้ง หมด ประมาณ 500 คน (จากเอกสารการลงทะเบี ย นของ นักศึกษา, ปี การศึกษา 2554) วิทยาลัยได้มุ่งมัน่ พัฒนา หลักสู ตร ระบบการเรี ยนการสอน คณาจารย์ บุคลากร ตลอดจนปั จจัยแวดล้อมต่างๆที่เกี่ ยวข้องให้สอดคล้อง กับสภาวะการณ์ ปัจจุ บนั เพื่อ ผลิ ตบัณฑิ ตที่ มีคุ ณภาพ เป็ นที่ ย อมรั บแก่ สัง คมภายนอก ควบคู่ไ ปกับมุ่ งการ ประชาสั ม พัน ธ์ เ พื่ อ ให้ เ ป็ นที่ รู้ จ ัก ในวงกว้า งทัว่ ทั้ง จังหวัดภูเก็ตและจังหวัดใกล้เคียง ปั จจัยต่างๆ เหล่านี้ จะมีผลต่อการที่นกั เรี ยน ทั้งในจังหวัดภูเก็ตและใกล้เคียงตัดสิ นใจเลือกเข้าศึกษา ต่ อ ในวิ ท ยาลัย ราชพฤกษ์ ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกที่ ต้ ัง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ผูว้ ิจยั ซึ่ งเป็ นอาจารย์ผูส้ อน อยู่ ใ นวิ ท ยาลัย ราชพฤกษ์ ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกที่ ต้ ัง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ตจึงสนใจศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อ การเลื อ กเรี ยนสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ซึ่ งผลการวิจยั จะ ช่ วยให้วิทยาลัย ราชพฤกษ์ ศู น ย์ก ารศึ ก ษานอกที่ ต้ ัง วิทยาลัย เทคโนโลยี ภูเ ก็ ต ได้ทราบปั จจัยต่ า งๆ ของ นัก เรี ยนในการเลื อ กเรี ยนสถาบัน การศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี เพื่ อนําไปสู่ การพัฒ นาให้มีประสิ ทธิ ภาพ

ยิ่งขึ้น เป็ นสถาบัน ที่รองรั บความต้องการของชุ มชน และสังคมต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยน สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา 2. เพื่อเปรี ยบเทียบปั จจัยที่มีผลต่อการเลือก เรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาใน จัง หวัดภู เ ก็ ตและพัง งา จํา แนกตามข้อ มู ล ปั จจัย ส่ วน บุคคล 1.3 สมมติฐานการวิจัย ปั จ จัย ส่ ว นบุ ค คล (เพศ ระดับ การศึ ก ษา ปั จจุ บนั การศึ ก ษาต่ อ ระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ ย สะสม และรายได้ครอบครั วเฉลี่ยต่อเดือน) ต่างกันทํา ให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของ นัก เรี ยนสายอาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา แตกต่างกัน 1.4 ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ 1. ทํา ให้ท ราบความต้อ งการที่ แ ท้จริ งใน ด้านต่างๆ ของนักเรี ยนสายอาชีวศึ กษาในจังหวัดภูเก็ต และพังงาในการเลือกเรี ยนกับสถาบันอุดมศึ กษาระดับ ปริ ญญาตรี รวมถึ ง ปั จ จัย ต่ า งๆ ที่ ต้อ งรี บปรั บ ปรุ ง เร่ ง ด่ วนเพื่ อ ตอบสนองความต้อ งการการศึ ก ษาของ นักเรี ยนให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 2. ข้ อ มู ล จ า ก ง า น วิ จ ั ย ค รั้ ง นี้ จ ะ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ การนํ า ผลการศึ ก ษาที่ ไ ด้ ไ ปใช้ เ พื่ อ ประกอบการตัดสิ นใจในการกําหนดแผนยุทธศาสตร์ ทั้งระยะสั้ น ระยะยาว และการแปลงยุทธศาสตร์ เป็ น เชิงปฎิบตั ิเพื่อให้เป็ นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับความ ต้องการกําลังคนของสถานประกอบการอุตสาหกรรม และบริ การมากยิ่งขึ้น


5 3. จากการที่ ได้นาํ ผลจากการวิจยั ดัง กล่า ว ไปปรั บปรุ งพัฒนาในด้านต่ างๆ คาดว่าในอนาคตอัน ใกล้จะช่วยส่ งผลให้วทิ ยาลัยราชพฤกษ์ ศู นย์การศึ กษา นอกที่ต้งั วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต เป็ นที่รู้จกั ในวงกว้าง ขอ งธุ ร กิ จ กา ร ศึ ก ษ าแ ละ ส ถา น ปร ะ ก อ บก า ร อุตสาหกรรมและบริ การในจังหวัดภูเก็ตมากยิ่งขึ้น 1.5 ขอบเขตในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็ นการศึกษาปั จจัยทีม่ ผี ลต่อ การเลื อ กเรี ยนสถาบัน อุ ดมศึ ก ษา ของนัก เรี ย นสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ซึ่ งมีขอบเขตการ วิจยั ดังต่อไปนี้ ขอบเขตด้านประชากร ประชากร ที่ทาํ การศึ กษาในครั้ งนี้ ได้แก่ นัก เรี ยนสายอาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ ต ทั้ง หมด 6 สถาบัน ได้แ ก่ วิท ยาลัย เทคโนโลยี ภู เ ก็ ต วิ ท ยาลัย อาชี วศึ กษ าภู เ ก็ ต วิ ท ย า ลั ย สาร พั ด ช่ า งภู เ ก็ ต วิท ยาลัย เทคนิ ค ภู เ ก็ ต วิท ยาลัย เทคนิ ค ถลาง และ โรงเรี ยนบริ หารธุ รกิจภาคใต้ (SBAC) และจังหวัดพังงา 4 สถาบันได้แ ก่ วิทยาลัย เทคนิ ค พัง งา วิทยาลัย การ อาชี พท้า ยเหมื อ ง วิ ท ยาลัย การอาชี พตะกั่ว ป่ า และ วิทยาลัย เกษตรกรรมและเทคโนโลยี พ ัง งา ทั้ง นี้ จ ะ ทํา การศึ กษาประชากรเฉพาะกลุ่มนัก ศึ ก ษาในระดับ ประกาศนี ย บัตรวิชาชี พชั้น สู ง (ปวส.1 และ ปวส. 2) จํา นวน 10,000 คน กํ า หนดกลุ่ ม ตัว อย่ า งโดยใช้ หลัก การของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่ ร ะดับ นัย สํ า คัญ .05 ความคลาดเคลื่ อ นร้ อ ยละ 5 ได้ก ลุ่ ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จํานวนทั้งสิ้ น 385 คน ขอบเขตด้านเนื้อหา เป็ นการศึ ก ษาปั จจัยที่ มีผ ลต่ อการเลื อ ก เรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ในด้านต่างๆ ประกอบด้วย ด้าน องค์ประกอบของสถานศึ กษา ด้านราคา ด้านอาคาร สถานที่และทําเลที่ต้งั ของสถานศึกษา ด้านการส่ งเสริ ม

ตลาด ด้ า นกระบวนการจัด การเรี ยนการสอนแก่ นักเรี ย น ด้า นผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน ด้า น บุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน และด้านหลักฐานที่เป็ น วัสดุอุปกรณ์ของสถานศึกษา ขอบเขตด้านตัวแปร ตัว แปรที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษา แบ่ ง เป็ น 2 ประเภทคือ ตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม ดังนี้ 1. ตัว แปรอิ ส ระ คื อ ข้อ มู ล ส่ วนบุ ค คลของ นัก เรี ยนอาชี วศึ ก ษาระดับชั้น ปวส.1 และปวส.2 ใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ได้แก่ 1.1 เพศ 1.2 ระดับการศึกษาในปั จจุบนั 1.3 การศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี 1.4 เกรดเฉลี่ยสะสม 1.5 รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 2. ตัวแปรตาม คือ ปั จจัยที่ มีผ ลต่ อการเลื อ ก เรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ได้แก่ 2.1 ด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา 2.2 ด้านราคา 2.3 ด้านอาคารสถานที่ และทําเลที่ต้ งั ของ สถานศึกษา 2.4 ด้านการส่ งเสริ มตลาด 2.5 ด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอน แก่นกั เรี ยน 2.6 ด้านผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน 2.7 ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยน 2.8 ด้า นหลัก ฐานที่เ ป็ นวัส ดุ อุ ปกรณ์ ของ สถานศึกษา ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลาในการศึ กษา เริ่ มทํา การศึ ก ษา ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 รวมเวลา 4 เดือน


6 วิธีดําเนินการวิจัย เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ในการสํ า รวจความคิ ดเห็ น เ กี่ ย ว กั บ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา เป็ นแบบสอบถามที่ผูว้ ิจยั สร้ าง ขึ้นเอง แบ่งเป็ น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล เป็ น แบบสอบถามให้เลือกตอบจํานวน 5 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการ เลื อ กเรี ยนสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของนั ก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา มีท้ งั หมด 42 ข้อ แบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) มีขอ้ คําถาม จํา นวน 3 ข้ อ ใหญ่ โดยมี เ กณฑ์ ใ นการกํ า หนดค่ า นํ้าหนักของการประเมินเป็ น 5 ระดับตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert Scale) ดังนี้ ระดับความสํ าคัญ ค่ านํ้าหนักของคําตอบ มากที่สุด เท่ากับ 5 คะแนน มาก เท่ากับ 4 คะแนน ปานกลาง เท่ากับ 3 คะแนน น้อย เท่ากับ 2 คะแนน น้อยที่สุด เท่ากับ 1 คะแนน ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ ยวกับข้อคิดเห็น หรื อข้อ เสนอแนะอื่ น ๆ ที่ มี ต่ อ สถาบัน อุ ด มศึ ก ษา แบบสอบถามเป็ นแบบปลายเปิ ด (Open-Ended) การเก็บรวบรวมข้ อมูล ผู ้วิ จ ัย ดํา เนิ น การเก็ บ รวบรวมข้อ มู ล ด้ว ย ตนเอง ด้ ว ยการเดิ น สุ่ มตามกรอบกลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ กํา หนด และเก็ บแบบสอบถามคื น ทัน ที พร้ อ มทั้ง ตรวจสอบความถู ก ต้อ งสมบู ร ณ์ การวิ จยั ครั้ งนี้ จะ ดํา เนิ น การเก็ บรวบรวมข้อ มู ล ทั้ง จากข้อ มู ล ปฐมภู มิ

(Primary Data) และทุ ติ ย ภู มิ (Secondary Data) ดังต่อไปนี้ 1. การสํ ารวจข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) การสํารวจข้อมูลปฐมภูมิใช้ วิธีวจิ ยั เชิงปริ มาณ (Quantitative Research) โดย ใช้ แ บบส อบถาม (Questionnaire) ขอความร่ วมมื อ ในการเก็ บรวบรวม ข้อมูลจากสถาบันการศึกษาระดับอาชีวศึกษาในจังหวัด ภูเ ก็ ตและพังงา เป็ นเครื่ อ งมือ ในการวิจยั ใช้วิธี ก าร สัมภาษณ์แบบเผชิญหน้า (Face to face) 2. การศึกษาข้ อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ผูว้ จิ ยั ทําการศึ กษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล ต่างๆ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับการนัก เรี ย นสายอาชี วศึ กษาจาก หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เช่น ข้อมูลจากสํานักงาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า สํ า นั ก ง า น คณะกรรมการการอุดมศึ กษา กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน ข้อ มู ล ออนไลน์ เวปไซด์ ต่ า งๆ ตลอดจนรายงาน ผลการวิ จ ัย ด้ า นการศึ ก ษาต่ า งๆ ของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษา สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ในการวิ จ ัย ครั้ งนี้ ได้ ดําเนินการโดยนําข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาตรวจสอบ ความถูกต้องสมบูรณ์ ลงรหัส บันทึกข้อมูล ทําการ วิ เ คราะห์ แ ละ ปร ะมวลผ ลข้ อ มู ล โดยใช้ เ ครื่ อง คอมพิวเตอร์ 1. การวิเคราะห์ ข ้อ มู ลเกี่ ย วกับปั จจัย ส่ วน บุคคลของกลุ่มตัวอย่างในแบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่ งมี ทั้งหมด 5 ข้อ ใช้วธิ ี หาค่าความถี่ (Frequency) แล้วสรุ ป ออกมาเป็ นค่าร้ อยละ (Percentage) 2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ ยวกับปั จจัยที่มีผล ต่ อ การตัดสิ น ใจเลื อ กเรี ย น สถาบัน อุ ดมศึ ก ษาของ นักเรี ย นสายอาชี วศึ ก ษาในจังหวัดภูเก็ ตและพังงาใน แบบสอบถามตอนที่ 2 ซึ่ งเป็ นการประเมิ น ระดับ ความสํา คัญ ของแต่ล ะปั จจัย แบบสอบถามเป็ นแบบ


7 มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วธิ ี หาค่าเฉลี่ย (Mean : ) ส่ วนเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D) และสถิติอนุ มาน ได้แก่ สถิติ (t-test) และวิธีวิคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) และการทดสอบรายคู่ดว้ ยวิธี Least Square Difference ซึ่ งเป็ นการทดสอบสมมติฐาน 3. การกํา หนดช่ ว งคะแนนค่ า เฉลี่ ย ของ ปั จจัยต่างๆ มีดงั นี้ ช่ วงคะแนนของค่ าเฉลี่ย

ระดับความสํ าคัญ

4.50 – 5.00 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญมาก ที่สุด 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญมาก 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญปาน กลาง 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญน้อย 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถึง ระดับความสําคัญน้อย ที่สุด 4. ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ข้อคิดเห็นหรื อข้อเสนอแนะอื่นๆ ใช้การนับความถีแ่ ละ จัดอันดับ สรุ ปผลการวิจัย ผลจากการศึ กษา วิจยั เรื่ อ งปั จจัย ที่ มีผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยนสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา มีรายละเอียดโดย สรุ ป ดังนี้ 1. ข้ อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรี ยนสายอาชีวศึกษา ในจัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา จํา นวนทั้ง สิ้ น 385 คน พบว่า ส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง ระดับการศึ กษา ปวส.2 ซึ่ งศึ กษาต่อระดับปริ ญญาตรี เกรดเฉลี่ยสะสม 2.01 -

2.50 และมีรายได้ครอบครั วเฉลี่ย ต่อเดื อน 15,001 30,000 บาท 2. ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของนั ก เรี ย นสายอาชี ว ศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา พบว่า โดยรวมทุกด้านมีผลอยู่ ในระดับมาก โดยเรี ยงลํา ดับตามค่าเฉลี่ ย พบว่า ด้า น ผลผลิตและคุ ณ ภาพของนัก เรี ย น ด้า นกระบวนการ เรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยน ด้านอาคารสถานที่และทําเล ที่ ต้ งั ของสถานศึ ก ษา ด้า นส่ ง เสริ ม การตลาด ด้า น หลัก ฐานที่ เ ป็ นวัส ดุ อุ ป กรณ์ ข องสถานศึ ก ษา ด้า น องค์ประกอบของสถานศึกษา และด้านราคา มีอิทธิ พล ต่ อ การตัด สิ น ใจเลื อ กเรี ยนสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของ นักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยู่ ในระดับมาก ส่ วนด้านบุคคลที่เกี่ ยวข้องกับนักเรี ยน มี อิทธิ พลต่อ การตัดสิ น ใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษา ของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึ กษาในแต่ละด้าน โดย เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย มีรายละเอียดดังนี้ ด้านองค์ประกอบของสถานศึ กษาโดยรวม อยู่ในระดับมาก เรี ย งลํา ดับตามค่ าเฉลี่ย พบว่า เป็ นที่ รู ้ จกั ได้รับการยอมรั บจากบุคคลทัว่ ไปโดยเฉพาะเรื่ อง คุณภาพมาตรฐาน มีครู – อาจารย์จบตรงสาขาที่ทาํ การ สอน ได้รับการรั บรองคุณภาพการศึ กษา (สมศ.) มี สาขาวิ ช าชี พ ให้ เ ลื อ กเรี ยนหลากหลาย เช่ น การ ท่ อ งเ ที่ ย ว การ โรงแรม คอมพิ ว เตอร์ กร าฟฟิ ก บริ หารธุ รกิ จ เป็ นต้น และมีชื่อเสี ยงด้านการจัดการ เรี ยนการสอนของสถานศึ กษา อยู่ในระดับมาก ส่ วน ด้า นมี บ รรยากาศ และสิ่ ง อํา นวยความสะดวกที่ ดี มี อิทธิ พลต่อ การตัดสิ น ใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษา


8 ของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา อยู่ในระดับปานกลาง ด้ า น ร า ค า โ ด ย ร ว มอ ยู่ ใ นร ะ ดั บ ม า ก เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีการให้บริ การเงิ นกู้ยืม เพื่อการศึ กษา (กยศ.) มีการกําหนดค่าธรรมเนี ยมการ เรี ยน ค่าบริ การต่างๆ อย่างเหมาะสม มีกระบวนการ ชําระค่าธรรมเนียมการเรี ยน หรื อค่าบริ การต่างๆ อย่าง เป็ นระบบ และ มีการให้บริ การนักเรี ยนอย่างทัว่ ถึง อยู่ ในระดับมาก ส่ วนมีทุนการศึ กษาให้แก่ นกั เรี ยนที่ขาด แคลนทุนทรัพย์ อยู่ในระดับปานกลาง ด้ า นอาคารสถานที่ แ ละทํา เลที่ ต้ ั ง ของ สถานศึ กษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรี ย งลําดับตาม ค่าเฉลี่ย พบว่า ตั้ง อยู่ในเมือง ใกล้แหล่ง ชุ มชน มี การ คมนาคมที่ส ะดวก มีอ าคารเรี ยน อาคารปฏิ บตั ิ การ เหมาะสมหรื อเพียงพอ มีมาตรการหรื อแนวปฏิบตั ิเพื่อ รักษาความปลอดภัย และให้บริ การแก่ ผูม้ าติดต่ออย่าง สะดวกและรวดเร็ ว อยู่ในระดับมาก ด้า นการส่ ง เสริ มการตลาด โดยรวมอยู่ ใน ระดับมาก เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า ให้บริ การแก่ ผู ้ มาติดต่ออย่างสะดวกและรวดเร็ ว ให้ความสําคัญใน การจัดกิ จกรรมต่า งๆ ที่ ส่ง ผลต่ อชื่ อ เสี ย ง มีก ารร่ วม กิ จ กรรมกั บ สถานประกอบการ เช่ น บริ ษัท ทัว ร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษ ทั ห้างร้ า น หรื อ อื่ นๆ มี ก าร ประชาสัมพันธ์ ผ่ านสื่ อ เช่ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุ รายการ โทรทัศ น์ท้อ งถิ่ น ป้ ายโฆษณา และเว็บไซต์ เป็ นต้น และมีการจัดนิทรรศการวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการกระบวนการเรี ยนการสอน แก่นกั เรี ยน โดยเรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีการจัด กิจกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างเหมาะสม มีการสนับสนุน ให้น ักเรี ยนทําโครงการวิชาชี พ มีวิธี การสอน หรื อ เทคนิคการสอนที่เสริ มสร้ างให้นกั เรี ยนมีทกั ษะวิชาชีพ มากขึ้ น มี ก ารวั ด ผ ลประ เมิ น ผลโดยใช้ ร ะบบ

สารสนเทศที่ทนั สมัย และมีระบบการสอบคัดเลือกเข้า ศึกษาต่อของนักเรี ยนอย่างเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ด้ า นผลผลิ ต และคุ ณ ภาพของนั ก เรี ยน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรี ยงลําดับตามค่าเฉลี่ย พบว่า มีทกั ษะอาชีพตามสาขาที่เรี ยน ศึกษาต่อหรื อได้งานทํา ตรงสาขาที่ สํ า เร็ จการศึ ก ษา สามารถสอบผ่ า น มาตรฐานวิชาชี พ มีคุณธรรมและจริ ยธรรม มีทกั ษะ ด้านวิชาชีพตรงกับความต้องการของสถานศึ กษาและ สถานประกอบการ และมี ผ ลงานนวัตกรรม หรื อ สิ่ งประดิษฐ์ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริ ง อยู่ใน ระดับปานกลาง ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยนโดยรวมอยู่ ในระดับปานกลาง เรี ยงลํา ดับตามค่าเฉลี่ ย พบว่า เลือ ก เรี ยนเพราะเห็นความสําเร็ จของผู ้ที่จบการศึ กษา อยู่ใน ระดับมาก ส่ วนเลื อกเรี ยนเพราะผูป้ กครองสนับสนุ น ด้า นการเงิ นแนะนํา ให้เรี ย น เลื อกเรี ยนเพราะบิ ดา – มารดามีส่วนในการเลือกสถานศึ กษา เลือกเรี ยนเพราะ อาจารย์แนะแนว และเลือกเรี ยนเพราะรุ่ นพี่เป็ นผูแ้ นะนํา อยู่ในระดับปานกลาง ด้ า นหลั ก ฐานที่ เ ป็ นวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ข อง สถานศึ ก ษาโดยรวมอยู่ ในระดับมาก เรี ยงลําดับตาม ค่าเฉลี่ย พบว่า มีห้อ งสมุ ด และศู นย์ก ารเรี ยนรู ้ ต่า ง ๆ อย่างเหมาะสม มีการใช้เทคโนโลยีหรื อนวัตกรรมที่ ทันสมัยในการจัดการเรี ยนการสอน มีห้องปฏิ บตั ิการ คอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบตั ิการด้านภาษาเพียงพอสําหรั บ นัก เรี ยน มี ก ารจัดสื่ อ การสอน อุ ปกรณ์ ก ารสอน เพี ย งพอต่ อ นั ก เรี ยน และมี ต ํา รา หนั ง สื อ เรี ยน มี คุณภาพและพอเพียงสําหรับนักเรี ยน อยู่ในระดับมาก 3. ผลการศึ กษาปั จ จั ยที่ มี ผลต่ อการเลื อ ก เรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาใน จังหวัด ภูเก็ ตและพังงา จํา แนกตามข้ อมู ลปั จ จัยส่ ว น บุคคล ในส่ วนนี้ เป็ นการทดสอบสมมติ ฐ าน การวิจยั ที่ต้งั ไว้วา่ ข้อมูลปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ เพศ


9 ระดับการศึกษาในปั จจุบนั การศึกษาต่อระดับปริ ญญา ตรี เกรดเฉลี่ ยสะสม และรายได้ครอบครั วเฉลี่ย ต่ อ เดื อ นที่ ต่ า งกัน ทํา ให้ ปัจจัย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน เพศ ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือก เรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างเพศชาย และกลุ่มตัวอย่างเพศหญิง มีปัจจัยที่มี อิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาไม่ แตกต่างกันทุกด้าน ระดับการศึ กษาในปั จจุ บนั ที่ ต่า งกันทําให้ ปั จจัย ที่ มีผ ต่ อ การเลื อ กเรี ย นสถาบัน อุ ดมศึ ก ษาของ นัก เรี ยนสายอาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา แตกต่ า งกั น หรื อไม่ พบว่ า ระดับ การศึ ก ษา (กลุ่ ม ตัวอย่าง ปวส.1 และ ปวส.2) มีปัจจัยที่มีผลต่อการเลือก เรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ไม่แตกต่างกันทุกด้าน การศึ กษาต่อระดับปริ ญญาตรี ที่ต่างกันทํา ให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของ นัก เรี ยนสายอาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา แตกต่างกันหรื อไม่ พบว่า การศึ กษาต่อระดับปริ ญญา ตรี มีปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษา ของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา ไม่แตกต่างกันทุกด้าน เกรดเฉลี่ยสะสม ที่ต่างกันทําให้ปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษาของนักเรี ยนสาย อาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา แตกต่ า งกั น หรื อไม่ พบว่า เกรดเฉลี่ย สะสม มีปัจจัยที่มีผลต่อการ เลือกสถาบันอุดมศึกษา ไม่แตกต่างกันในทุกด้าน รายได้ครอบครั วเฉลี่ยต่อเดือน ที่ต่างกันทํา ให้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึกษาของ นัก เรี ยนสายอาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา แตกต่ า งกัน หรื อ ไม่ พบว่า รายได้ครอบครั วเฉลี่ย ต่ อ

เดื อ นที่ ต่ า งกั น มี ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กเรี ยน สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา แตกต่างกัน ในด้านการส่ งเสริ ม การตลาด และด้านกระบวนการจัดการเรี ยนการสอน แก่ น ั ก เรี ยน อย่ า งมี น ั ย สํ า คัญ ที่ ร ะดับ 0.05 เมื่ อ เปรี ย บเที ย บเป็ นรายคู่ ในด้า นการส่ ง เสริ มการตลาด พบว่า รายได้ของครอบครั วเฉลี่ ยต่ อ เดื อน 45,001 – 60,000 บาท มี อิ ทธิ พลต่ อ การตัดสิ น ใจเลื อ กเรี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จัง หวัดภู เ ก็ ตและพัง งา สู ง กว่า รายได้ของครอบครั ว เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 – 45,000 บาท และสู งกว่ารายได้ ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 60,001 บาทขึ้นไป อย่างมี นัยสํา คัญที่ ระดับ 0.05 และในด้า นกระบวนการ จัดการเรี ยนการสอนแก่ น ักเรี ย น พบว่า รายได้ข อง ครอบครั วเฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น 45,001 – 60,000 บาท มี อิทธิ พลต่อ การตัดสิ น ใจเลือกเรี ยนสถาบันอุดมศึ กษา ของนักเรี ยนสายอาชี วศึ กษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา สู ง กว่า รายได้ของครอบครั วเฉลี่ ย ต่อ เดือ น 30,001 – 45,000 บาท และสู งกว่ารายได้ของครอบครั วเฉลี่ยต่อ เดือน 60,001 บาทขึ้นไป อย่างมีนยั สําคัญที่ระดับ 0.05 อภิปรายผล ผลการศึ กษาในครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั มีประเด็นที่จะ นําเสนอ อภิปรายตามรายละเอียดการค้นพบ ดังนี้ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา ด้ า นองค์ ป ระกอบของ สถานศึ กษา ด้านราคา ด้านอาคารสถานที่และทําเล ที่ต้ งั ของสถานศึ กษา ด้า นการส่ งเสริ มตลาด ด้า น กระบวนการจัดการเรี ย นการสอนแก่ น ักเรี ย น ด้า น ผลผลิตและคุณภาพของนักเรี ยน ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง กับนักเรี ยน และด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ ของ สถานศึ ก ษา โดยรวมอยู่ ในระดับมาก สอดคล้อ งกับ กุ ล ธนี ศิ ริ รั ก ษ์ (2551 : บทคัดย่ อ ) ได้ศึ ก ษาความ


10 ต้อ งการศึ ก ษาต่ อระดับปริ ญ ญาตรี แ ละปั จจัย ในการ เลือกสถาบันในจังหวัดนครราชสี มา ชัยภูมิ และบุรีรัมย์ ปั จจั ย ในการ เ ลื อ กส ถาบั น เ พื่ อ ศึ กษาต่ อ จะ ให้ ความสํ าคัญกับ ชื่ อ เสี ยงของสถานศึ กษา คุณ วุฒิ และ ชื่ อ เสี ย งของอาจารย์ การมีง านทํา ของบัณฑิ ต สถาน ที่ต้ งั ความสะดวกในการเดิน ทาง ความทันสมัยของ หลัก สู ตรและสาขาวิ ช าที่ เ ปิ ดสอน ค่ า ใช้ จ่ า ยใน การศึ ก ษา สิ่ ง อํา นวยความสะดวกและแหล่ ง เรี ย นรู ้ ภายใน ตามลําดับ ปั จจัยที่มีผลต่อความต้องการศึ กษา ต่ อ คื อ รายได้ โ ดยเฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นของครอบครั ว รองลงมาคื อ สถานภาพทางการศึ ก ษา โดยผู ้ที่ จ บ การศึกษาแล้วจะมีแนวโน้มที่จะศึกษาต่อระดับปริ ญญา ตรี นอ้ ยกว่าผูท้ ี่กาํ ลังศึกษาอยู่ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภู เก็ตและพัง งา ด้านผลผลิต และคุณ ภาพของ นักเรี ยนโดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า มีทกั ษะอาชี พ ตามสาขาที่เรี ย น ศึ กษาต่อหรื อได้งานทําตรงสาขาที่ สําเร็ จการศึกษา สามารถสอบผ่านมาตรฐานวิชาชีพ มี คุณธรรมและจริ ยธรรม มีทกั ษะด้านวิชาชี พตรงกับ ความต้องการของสถานศึ กษาและสถานประกอบการ และมี ผ ลงานนวัตกรรม หรื อ สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ที่ส ามารถ นํ า ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ จ ริ งอยู่ ใ นระดั บ มาก ซึ่ ง สอดคล้องกับ อารมณ์ เพชรชื่ น (2547: 66) ซึ่ งศึ กษา ปั จจัย ที่ สั มพัน ธ์ ก ับการตัด สิ น ใจเลื อ กศึ ก ษาต่ อ ของ นักเรี ยนอาชีวศึกษาเอกชน กลุ่มที่ตอ้ งการศึกษาต่อและ กลุ่มที่ไม่ตอ้ งการศึ กษาต่อ มีความต้องการสอดคล้อง กันคือ ต้องการพัฒนาตนเองต้องการพัฒนาทางอาชีพ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเ ก็ตและพัง งา ด้านกระบวนการจัดการเรี ย น การสอนแก่นกั เรี ยน โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า มี การจัดกิ จกรรมเสริ มหลักสู ตรอย่างเหมาะสม มีการ สนับสนุ นให้นกั เรี ยนทําโครงการวิชาชี พ มีวิธีการ

สอน หรื อ เทคนิ ค การสอนที่ เ สริ มสร้ างให้น ักเรี ย นมี ทักษะวิชาชี พมากขึ้น มีการวัดผลประเมินผลโดยใช้ ระบบสารสนเทศที่ ทนั สมัย และมี ร ะบบการสอบ คัดเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรี ยนอย่างเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก ซึ่ งสอดคล้องกับ กฤษณ์ บุตรเนี ยน จุไร โชคประสิ ทธิ์ และอรสา จรู ญธรรม (2554 : 49) ที่ ศึ ก ษาปั จจั ย ในการเลื อ กเ ข้ า ศึ ก ษาในโรงเรี ย น อาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ปั จจัยใน การเลือกเข้าศึ ก ษาประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ปั จจัย ที่ เกี่ยวข้องกับผูเ้ รี ยน เป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสนใจ ในวิชาชี พ นําวิชาชี พไปประกอบอาชี พได้รวมถึงการ ประกอบธุ รกิจของครอบครั วมีส่วนในการผลักดันให้ บุตรศึ กษาต่อในสาขานั้นๆ สิ่ งสําคัญที่ขาดไม่ได้ คือ การได้ รั บ แนวคิ ด การส่ งเสริ มให้ ข ้ อ คิ ด เกี่ ย วกั บ ทางเลือกต่อในอนาคตที่เหมาะสมกับตัวเองซึ่ งจะได้รับ คํา ปรึ ก ษาจากครู แนะแนวและปั จ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ สถานศึ กษาทั้ งนี้ อาจเป็ นเ พร าะว่ า นั ก เ รี ย นให้ ความสํา คัญ ในเรื่ อ งของระบบขององค์ก ร และการ บริ หารจัดการของโรงเรี ย นอาชี วศึ ก ษาเอกชน ใน จังหวัดปราจีนบุรี รวมถึงงานวิชาการของหลักสู ตรสาย วิชาชีพและภาพลักษณ์ของโรงเรี ยน ชื่อเสี ยงความโดด เด่น บุค ลากรที่ มีความสามารถ เป็ นต้น ซึ่ งสิ่ งต่างๆ เหล่านี้ลว้ นเป็ นปั จจัยในการสร้ างแรงจูงใจให้นกั เรี ยน เกิดความสนใจในการเลือกเข้าศึกษา ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านอาคารสถานที่และทําเลทีต่ ้งั ของสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ตั้งอยู่ ในเมือง ใกล้แหล่งชุ มชน มีการคมนาคมที่สะดวก มี อาคารเรี ยน อาคารปฏิบตั ิการเหมาะสมหรื อเพียงพอ มี มาตรการหรื อแนวปฏิบตั ิเพื่อรักษาความปลอดภัย และ ให้บริ การแก่ผูม้ าติดต่ออย่างสะดวกและรวดเร็ วอยู่ใน ระดับมาก สอดคล้อ งกับ ดลฤดี สุ วรรณคี รี (2550 : บทคัดย่อ) ที่ทาํ การศึ กษาเปรี ยบเทียบปั จจัยที่มีผลต่อ


11 การตัดสิ นใจเลือกศึ กษาต่ อระดับอาชี วศึ กษาระหว่า ง สถาบันศึกษาของรัฐกับเอกชน ปั จจัยแวดล้อมที่ส่งผล ต่อการตัดสิ นใจเลือกสถานศึกษาเอกชนเรี ยงลําดับจาก มากไปน้ อ ยคื อ การสอบเข้า ง่ า ย ความพร้ อ มด้า น อุปกรณ์การศึกษา ค่าใช้จ่ายในการศึ กษา ชื่ อเสี ยงของ สถาบัน การนําความรู ้ ไ ปใช้การประชาสั มพัน ธ์ ของ สถานศึ ก ษา อาคารสถานที่แ ละชื่ อเสี ยงของอาจารย์ ผูส้ อน ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี ว ศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านหลักฐานที่เป็ นวัสดุอุปกรณ์ ของสถานศึ ก ษา โดยรวมอยู่ ในระดับมาก พบว่ า มี ห้องสมุด และศูนย์การเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มี การใช้ เ ทคโนโลยี หรื อนวัต กรรมที่ ท ัน สมัย ในการ จัดการเรี ยนการสอน มีห้องปฏิ บตั ิการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิ บตั ิการด้านภาษาเพียงพอสําหรั บนักเรี ยน มี การจัด สื่ อการสอน อุ ป กรณ์ ก ารสอนเพี ย งพอต่ อ นัก เรี ยน และมี ต ํา รา หนัง สื อ เรี ยน มี คุ ณ ภาพและ พอเพียงสําหรับนักเรี ยนอยู่ในระดับมาก ซึ่ งสอดคล้อง กับ สามารถ โมราวรรณ และไพโรจน์ เกิ ดสมุ ทร (2554: 11) ซึ่ งศึกษาปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่มี ผลต่ อ การตัด สิ น ใจศึ ก ษาต่ อ ในสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา เอกชนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 6 ในเขตพื้นที่ การศึ กษาสมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า ด้าน การจัด จํา หน่ า ย ช่ อ งทางการเข้า ถึ ง บริ การและ สารสนเทศของสถาบันผ่านระบบ Internet เพราะว่า ระบบ Internet เป็ นระบบที่ สามารถเข้าถึ งข้อมู ลได้ สะดวก ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา สร้ า งความเสมอภาคทาง การศึกษาได้ตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาที่ตอ้ งให้ ทุกคนมีโอกาสได้ศึกษา ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา ด้า นการส่ ง เสริ มการตลาด โดยรวมอยู่ ใ นระดับ มาก พบว่ า มี กิ จ กรรมเสริ ม

ประสบการณ์ ให้นกั เรี ย นได้ทาํ งานระหว่างเรี ยน ให้ ความสําคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งผลต่อชื่อเสี ยง มีการร่ วมกิ จกรรมกับสถานประกอบการ เช่ นบริ ษ ทั ทัวร์ โรงแรม โรงงาน บริ ษทั ห้างร้ าน หรื ออื่นๆ มีการ ประชาสัมพันธ์ ผ่ านสื่ อ เช่ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุ รายการ โทรทัศ น์ท้อ งถิ่ น ป้ ายโฆษณา และเว็บไซต์ เป็ นต้น และมีการจัดนิทรรศการวิชาการ/วิชาชีพ ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึ กษาอยู่ ในระดับมาก สอดคล้องกับ สามารถ โมราวรรณ และไพโรจน์ เกิ ดสมุทร (2554: 11) ที่ทาํ การศึกษาปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่มี ผลต่ อ การตัด สิ น ใจศึ ก ษาต่ อ ในสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา เอกชนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 6 ในเขตพื้นที่ การศึ กษาสมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า ด้าน การส่ งเสริ มการตลาด พบว่า สถาบันมีการแนะแนวให้ ความรู ้ ใ นการศึ ก ษาต่ อ ในสถาบัน โดยบุ ค ลากรที่ มี คุณภาพ เพราะว่าการใช้บุคลากรในการแนะแนวที่ มี คุณภาพ จะสามารถสื่ อสารข้อมูล ในการศึ กษาต่อใน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จั ง หวัด ภู เ ก็ ต และพั ง งา ด้ า นองค์ ป ระ กอบของ สถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า เป็ นที่รู้จกั ได้รั บ การยอมรั บจากบุ ค คลทั่ว ไปโดยเฉพาะเรื่ อง คุณภาพมาตรฐาน มีครู – อาจารย์จบตรงสาขาที่ทาํ การ สอน ได้รั บการรั บรองคุ ณภาพการศึ กษา (สมศ.) มี สาขาวิ ช าชี พ ให้ เ ลื อ กเรี ยนหลากหลาย เช่ น การ ท่ อ งเ ที่ ย ว การ โรงแรม คอมพิ ว เตอร์ กร าฟฟิ ก บริ หารธุ ร กิ จ เป็ นต้น มี ชื่อเสี ยงด้านการจัดการเรี ย น การสอนของสถานศึ ก ษาอยู่ ใ นระดับ มาก และมี บรรยากาศ และสิ่ งอํานวยความสะดวกที่ดีอยู่ในระดับ ปานกลาง ซึ่ งสอดคล้องกับ อารมณ์ เพชรชื่ น ดร. (2547: 66) ซึ่ ง ศึ กษาปั จจัยที่สัมพันธ์ กบั การตัดสิ นใจ เลือกศึ กษาต่อของนักเรี ยนอาชี วศึ กษาเอกชน พบว่า ปั จจัยของสถานศึ กษามีความสัมพันธ์ กบั การตัดสิ นใจ


12 เลือกศึ กษาต่ อ อย่ างมีน ัยสําคัญ ทางสถิติที่ร ะดับ .01 ปั จจัยของสถานศึ กษาคือ ปั จจัยด้านโรงเรี ยน ที่สําคัญ ได้แก่ หลักสู ตรที่เปิ ดสอน ที่ต้งั ของโรงเรี ยน ภาพพจน์ ของโรงเรี ยนตามลําดับ และปั จจัยการบริ หารจัดการ ที่ สําคัญได้แก่ ความรู ้ ความสามารถและการปฏิบตั ิตน ของครู ระบบการจัดการภายใน สภาพแวดล้อมและ ระบบการแนะแนวและจัดหางาน ตามลําดับ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จังหวัดภูเก็ตและพังงา ด้านราคา โดยรวมอยู่ในระดับ มาก พบว่า มีการให้บริ การเงิ นกู้ยืมเพื่อการศึ กษา (กย ศ.) มีการกําหนดค่า ธรรมเนี ยมการเรี ย น ค่ าบริ การ ต่ า งๆ อย่ า งเหมาะสม มี ก ระบวนการชํ า ระ ค่าธรรมเนี ยมการเรี ยน หรื อค่าบริ การต่างๆ อย่างเป็ น ระบบ มีการให้บริ การนักเรี ยนอย่างทัว่ ถึงอยู่ในระดับ มาก และมีทุนการศึ กษาให้แก่ นกั เรี ยนที่ขาดแคลน ทุ น ทรั พ ย์ อ ยู่ ใ นระดับ ปานกลาง สอดคล้ อ งกั บ สามารถ โมราวรรณ และไพโรจน์ เกิ ดสมุทร (2554: 11) ที่ศึกษาปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อ การตัดสิ นใจศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึ กษา สมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า มีผลต่อ การ ตัดสิ นใจ ด้านราคา คือ ค่าเทอมและค่าธรรมเนี ยมของ โรงเรี ยน มีเงิ นกองทุนรั ฐบาลให้กู้ยืม และเปิ ดโอกาส ให้มีการผ่อนชําระค่าเล่าเรี ยนได้หลายงวด ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ลื อ ก เ รี ย น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนัก เรี ยนสายอาชี วศึ ก ษาใน จัง หวัด ภู เ ก็ ต และพัง งา ด้ า นบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ นัก เรี ยน โดยรวมอยู่ ในระดับปานกลาง พบว่า เลื อ ก เรี ยนเพราะเห็นความสําเร็ จของผูท้ ี่จบการศึ กษาอยู่ใน ระดับมาก เลือกเรี ยนเพราะผูป้ กครองสนับสนุ นด้าน การเงินแนะนําให้เรี ยน เลือกเรี ยนเพราะบิดา – มารดา มี ส่ ว นในการเลื อ กสถานศึ ก ษา เลื อ กเรี ยนเพราะ อาจารย์แ นะแนว และเลื อ กเรี ยนเพราะรุ่ น พี่ เ ป็ นผู ้

แนะนําอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่ งสอดคล้องกับ ดลฤดี สุ ว รรณคี รี (2550 : บทคัดย่ อ ) ที่ ท ํา การศึ ก ษา เปรี ยบเทียบปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกศึ กษาต่อ ระดับ อาชี ว ศึ ก ษาระหว่ า งสถาบัน ศึ ก ษาของรั ฐ กับ เอกชน ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจศึ กษาต่อใน ระดับอุดมศึ กษาของนักเรี ยนมัธยมศึ กษาชั้นปี ที่6 ทัว่ ประเทศ นักเรี ยนที่บิดามารดามีระดับการศึ กษาสู งกว่า ปริ ญญาตรี และประกอบอาชีพรับราชการและนักธุ รกิ จ จะมีการตัดสิ นใจศึกษาต่อมากกว่านักเรี ยนที่บิดามารดา มีระดับการศึ กษาตํ่าและประกอบอาชี พอื่น เนื่ องจาก บิดามารดาเป็ นต้นแบบที่ดีส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ การคาดหวังในการศึ กษาต่อในระดับสู งของนักเรี ย น และพบว่ า นั ก เรี ยนที่ ค รอบครั ว มี ส ถานภาพทาง เศรษฐกิจดี จะมีการตัดสิ นใจศึกษาต่อมากกว่านักเรี ยน ที่ครอบครัวมีสถานภาพทางเศรษฐกิ จตํ่า ซึ่ งเศรษฐกิ จ เป็ นตัวกําหนดโอกาสทางการศึ กษาโดยการศึ กษาใน ระดับ อุ ด มศึ ก ษามี ค่ า ใช้ จ่ า ยในรู ปค่ า ธรรมเนี ย ม การศึ ก ษา อุ ปกรณ์ ก ารศึ ก ษา และค่ าครองชี พอื่ น ๆ ดังนั้น นักเรี ยนที่มาจากครอบครั วที่มีส ถานภาพทาง เศรษฐกิจตํ่าย่อมยากที่จะมีโอกาสศึกษาต่อเสมอภาคกับ นักเรี ยนที่ครอบครั วมีสถานภาพทางเศรษฐกิ จดี และ สอดคล้องกับงานวิจยั ของกฤษณ์ บุตรเนี ยน จุไร โชค ประสิ ทธิ์ และอรสา จรู ญธรรม (2554: 49) ที่ได้ศึกษา ปั จจัย ในการเลื อ กเข้า ศึ ก ษาในโรงเรี ย นอาชี วศึ ก ษา เอกชนในจังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ปั จจัยในการเลือ ก เข้าศึกษาประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ปั จจัยที่เกี่ ยวข้องกับ ผูเ้ รี ยน เป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสนใจในวิชาชี พ นํา วิชาชี พไปประกอบอาชี พได้ร วมถึ ง การประกอบ ธุ รกิจของครอบครัวมีส่วนในการผลักดันให้บุตรศึ กษา ต่อในสาขานั้นๆ สิ่ งสําคัญที่ขาดไม่ได้ คือ การได้รับ แนวคิดการส่ งเสริ มให้ขอ้ คิดเกี่ ยวกับทางเลือกต่อใน อนาคตที่เหมาะสมกับตัวเองซึ่ งจะได้รับคําปรึ กษาจาก ครู แนะแนวและปั จจัยที่เกี่ ยวข้องกับสถานศึ กษาทั้ง นี้ อาจเป็ นเพราะว่านักเรี ยนให้ความสํา คัญในเรื่ องของ


13 ระบบขององค์กร และการบริ หารจัดการของโรงเรี ยน อาชี วศึ ก ษาเอกชน ในจัง หวัดปราจีนบุรี รวมถึงงาน วิชาการของหลักสู ตรสายวิชาชี พและภาพลักษณ์ ของ โรงเรี ยน ชื่ อ เสี ยงความโดดเด่ น บุ ค ลากรที่ มี ความสามารถ เป็ นต้น ซึ่ ง สิ่ งต่ างๆ เหล่า นี้ ลว้ นเป็ น ปั จจัยในการสร้ างแรงจูงใจให้นกั เรี ยนเกิ ดความสนใจ ในการเลือกเข้าศึกษา ข้ อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจยั จากผลการวิจยั พบว่า ปั จจัย ที่ มีผ ลต่ อ การเรี ยนต่ อ สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาของนั ก เรี ยนสาย อาชี ว ศึ ก ษาในจัง หวัดภู เ ก็ ตและพัง งา ในระดับมาก ได้แ ก่ ด้า นผลผลิ ต และคุ ณ ภาพของนัก เรี ย น ด้า น กระบวนการเรี ย นการสอนแก่ น ัก เรี ย น ด้า นอาคาร สถานที่แ ละทําเลที่ ต้ งั ของสถานศึ ก ษา ด้านส่ ง เสริ ม การตลาด ด้ า นหลัก ฐานที่ เ ป็ นวัส ดุ อุ ป กรณ์ ข อง สถานศึ กษา ด้านองค์ประกอบของสถานศึ กษา และ ด้า นราคา ผู ้ ป ระกอบการควรตระหนัก และมุ่ ง ให้ ความสําคัญ โดยนําประเด็นปั จจัยดังกล่าวไปวางแผน

พัฒนาปรับปรุ งเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของ นักเรี ยนสายอาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงา และ เพื่ อ ตอบสนองความต้อ งการของชุ ม ชนในการเป็ น สถาบันที่ รองรั บและผลิตบัณฑิตที่มีคุ ณภาพสู่ ชุ มชน และสังคมต่อไป ข้อเสนอแนะในการทําวิจยั ต่อไป 1. ควรมีก ารศึ ก ษาปั จจัย ที่มีผ ลต่อ การ เลื อ กเรี ยนสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของนั ก เรี ยนสาย อาชีวศึกษาในจังหวัดภูเก็ตและพังงาโดยนําแนวคิดการ วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค เข้ามา ศึกษาร่ วมด้วย 2. ควรมีก ารศึ ก ษาปั จจัย ที่มีผ ลต่อ การ เลือ กเรี ย นสถาบันอุ ดมศึ ก ษาของกลุ่ มผู ้ที่ทาํ งานแล้ว เช่น ข้าราชการ/รั ฐวิสาหกิ จ พนักงานบริ ษทั เอกชน ผู ้ ประกอบธุ รกิจส่ วนตัว เป็ นต้น เพื่อที่จะนํามา 3. เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ นั ก เ รี ย น ส า ย อาชีวศึ กษา ว่ามีความเหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร บ้าง

บรรณานุกรม กัญกมญ เถื่อนเหมือน. (2551). “ปั จจัยจูงใจในการเลือกเข้ าศึ กษาของนั กศึ กษาในมหาวิทยาลัยศรี ปทุม”. วารสารศรี ปทุม

ปริ ทศั น์. ปี ที่ 8 ฉบับที่ 1: 5-12. กุลธนี ศิริรักษ์. (2551). “ความต้ องการศึ กษาต่ อระดับปริ ญญาตรี และปั จจัยในการเลือกสถาบั นใน จังหวัดนครราชสี มา ชัยภูมิ”. วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปี ที่ 10 ฉบับที่ 3. เปรมจิ ตร ศิริสานต์. 2542. การศึ กษาองค์ ประกอบแรงจูงใจในการศึ กษาต่ อของนั กศึ กษาบั ณฑิ ต ศึ กษา. วิทยานิ พนธ์ ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยรามคําแหง.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.