กฎหมายสามัญประจำบ้าน ประจำปี พ.ศ.2558

Page 1


กฎหมาย

สามัญประจ�ำบ้าน

หนังสือให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกระทรวงยุติธรรม และความรู้ด้านกฎหมายที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวัน


กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน หนังสือให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกระทรวงยุติธรรม และความรู้ด้านกฎหมายที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวัน พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีที่พิมพ์ จัดท�ำโดย

15,000 เล่ม เดือนเมษายน พ.ศ. 2558 กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 0 2141 5100 โทรสาร : 0 2143 8289-90 www.moj.go.th Facebook.com/Ministry of Justice, Thailand

ออกแบบและจัดพิมพ์โดย บริษัท แฮปปี้ ครีเอทีฟ มีเดีย จ�ำกัด เลขที่ 118/12 หมู่ที่ 1 ซอยมีสุข ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0 2982 3588 โทรสาร : 0 2982 3588

วิสัยทัศน์

“หลักประกันความยุติธรรมตามมาตรฐานสากล”

ค่านิยมร่วมขององค์กร

“ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม”

อ�ำนาจหน้าที่กระทรวงยุติธรรม มาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรมไว้ว่า “ให้มีอ�ำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ การบริหารจัดการกระบวนการยุติธรรม เสริมสร้างและอ�ำนวยความยุติธรรม ในสั ง คม และราชการอื่ น ตามที่ มี ก ฎหมายก� ำ หนดให้ เ ป็ น อ� ำ นาจหน้ า ที่ ของกระทรวงยุติธรรมหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงยุติธรรม”


สถาบันอนุญาโตตุลาการ

โครงสร้าง กระทรวงยุติธรรม

เนติบัณฑิตยสภา

คณะกรรมการพัฒนา การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ

สภาทนายความ

กระทรวงยุติธรรม สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ส�ำนักงานป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานรัฐมนตรี

ปลัดกระทรวงยุติธรรม

หน่วยงานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัด กระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม

กลุ่มภารกิจ ด้านอ�ำนวยความยุติธรรม

กลุ่มภารกิจ ด้านบริหารความยุติธรรม

กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาพฤตินิสัย

ส่วนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม และขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

กรมสอบสวนคดีพิเศษ

กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ

กรมคุมประพฤติ

ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด

สถาบันนิติวิทยาศาสตร์

กรมบังคับคดี

จัดตั้งตามพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549 จัดตัง้ ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ สถาบันเพือ่ การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 จัดตัง้ ตามพระราชบัญญัติสถาบันอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2550

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมราชทัณฑ์

ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507 สว่ นราชการไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม สว่ นราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม


ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานรัฐมนตรี Office of The Minister ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ กลั่นกรองเรื่องเพื่อเสนอรัฐมนตรี รวมทั้ง เสนอความเห็นประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี สนับสนุนการท�ำงาน ของรัฐมนตรีในการด�ำเนินงานทางการเมืองระหว่างรัฐมนตรี รัฐสภา และประชาชน ประสานงานการตอบกระทู้ ชี้แจงญัตติ ร่างพระราชบัญญัติ และกิจการอื่นทาง การเมือง ด�ำเนินการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน หรือร้องขอความช่วยเหลือ ต่ อ รั ฐ มนตรี ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ก ฎหมายก� ำ หนดให้ เ ป็ น อ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง ส�ำนักงานรัฐมนตรีหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย โทรศัพท์ 0 2141 6435 โทรสาร 0 2143 9883 เว็บไซต์ www.om.moj.go.th

หน่วยงานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม Office of The Permanent Secretary ด�ำเนินการด้านการพัฒนายุทธศาสตร์ ศึกษา วิเคราะห์ จัดท�ำข้อมูลเพื่อใช้ในการ ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของกระทรวง แปลงนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของรัฐมนตรีเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติการของกระทรวง ก�ำกับ เร่งรัด ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งประสานการปฏิบัติราชการของหน่วยงานใน สังกัดกระทรวง และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารงาน และการบริการของหน่วยงาน ดูแลงานประชาสัมพันธ์ การต่างประเทศ พัฒนา กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเผยแพร่กิจกรรมข่าวของกระทรวง สนับสนุนการพัฒนา บุคลากรจัดสรร และบริหารทรัพยากรให้เกิดการประหยัดและคุ้มค่า โทรศัพท์ 0 2141 5100 โทรสาร 0 2143 8289-90, 0 2143 8242 เว็บไซต์ www.ops.moj.go.th

ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม Office of Justice Affairs มี ภ ารกิ จ ในการพั ฒ นากระบวนการยุ ติ ธ รรมทั้ ง ระบบ ผ่ า นการศึ ก ษา วิ จั ย และประเมิ น ผลการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย เพื่ อ เสนอให้ ค ณะกรรมการพั ฒ นา การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ส่งผลให้หน่วยงานต่างๆ ในกระบวนการยุติธรรม มี ก ารประสานงานกั น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการอ� ำ นวยความยุ ติ ธ รรมให้ แ ก่ ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โทรศัพท์ 0 2141 3666 โทรสาร 0 2143 8933 เว็บไซต์ www.oja.go.th


กลุ่มภารกิจด้านอ�ำนวยความยุติธรรม

กลุ่มภารกิจด้านบริหารความยุติธรรม

กรมสอบสวนคดีพิเศษ Department of Special Investigation

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ Rights and Liberties Protection Department

เป็นหน่วยงานในการด�ำเนินการปราบปราม สืบสวน สอบสวน โดยพนักงานสอบสวน ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ เช่น คดีทผี่ กู้ ระท�ำผิดมีโครงข่ายโยงใยระหว่างประเทศ ลักษณะเป็นองค์กรอาชญากรรมที่มี อิทธิพลสนับสนุนและมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเทคโนโลยีระดับสูง หรือคดีที่มี การกระท�ำความผิดก่อให้เกิดความเสียหายอย่างยิง่ ต่อประเทศชาติ และประชาชน ส่วนใหญ่ ซึ่งแตกต่างจากคดีอาญาโดยทั่วไป โทรศัพท์ 0 2831 9888 โทรสาร 0 2975 9888 หน่วยบริการประชาชนและบริการข้อมูลข่าวสาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ สายด่วน 1202 เว็บไซต์ www.dsi.go.th

สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ Central Institute of Forensic Science เป็นหน่วยงานในการให้บริการตรวจพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ การตรวจ พิสจู น์เอกลักษณ์บคุ คล เพือ่ ติดตามบุคคลสูญหายและศพนิรนาม รวมทัง้ การรวบรวม ข้อมูลสารพันธุกรรม (DNA) เข้ามาตรวจพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อเชื่อมโยงฐานข้อมูลเกี่ยวกับการกระท�ำความผิดในด้านต่างๆ ส่งผลให้คดีต่างๆ คลี่คลายได้ง่ายขึ้น โทรศัพท์ 0 2142 3475-8 โทรสาร 0 2143 9068 เว็บไซต์ www.cifs.moj.go.th

เป็นหน่วยงานในการส่งเสริม คุ้มครอง และสร้างหลักประกันสิทธิและเสรีภาพ ตามหลักสิทธิมนุษยชน และให้ประชาชนได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมาย โดยประชาชนสามารถขอรับความช่วยเหลือจากกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ในเรื่องต่างๆ อาทิ ขอรับเงินประกันการปล่อยตัวชั่วคราว การจ้างทนายความ ค่าธรรมเนียมขึ้นศาล และค่าธรรมเนียมอื่นๆ จาก “กองทุนยุติธรรม” หรือกรณี ถูกยิง ถูกแทง ถูกฆ่า ถูกระเบิด โดนท�ำร้ายร่างกาย หรือถูกข่มขืน โดยที่ตัวเองไม่มี ส่วนเกีย่ วข้องในการกระท�ำความผิด สามารถขอรับการเยียวยาได้ตามพระราบัญญัติ ค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 โทรศัพท์ 0 2141 2794 และ 0 2141 2817-8 โทรสาร 0 2143 9681 เว็บไซต์ www.rlpd.go.th

กรมบังคับคดี Legal Execution Department เป็นหน่วยงานในการด�ำเนินการบังคับคดีแพ่ง คดีล้มละลาย และการฟื้นฟูกิจการ ลูกหนี้ตามค�ำสั่งศาล การวางทรัพย์ การประเมินราคาทรัพย์สิน โดยด�ำเนินการ ยึด อายัด จ�ำหน่ายทรัพย์สิน และรวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย ตลอดจนมี ห น้ า ที่ ใ นการก� ำ กั บ ฟื ้ น ฟู กิ จ การของลู ก หนี้ เพื่ อ ให้ เ จ้ า หนี้ แ ละ ผู้มีส่วนได้เสีย ได้รับการชดใช้จากลูกหนี้อย่างเป็นธรรม โทรศัพท์ 0 2881 4999 โทรสาร 0 2433 0801 เว็บไซต์ www.led.go.th


กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาพฤตินิสัย กรมคุมประพฤติ Department of Probation เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจสืบเสาะ พินิจ ควบคุม และสอดส่อง แก้ไข ฟื้นฟู และสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำความผิดในชัน้ ก่อนฟ้อง ชัน้ พิจารณาคดีของศาล และภายหลัง ที่ศาลมีค�ำพิพากษา รวมถึงการบ�ำบัดสมรรถภาพของผู้ติดยาเสพติดอีกด้วย ศูนย์รับฟังความคิดเห็น 0 2141 4749 โทรสาร 0 2143 8822 เว็บไซต์ www.probation.go.th

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน Department of Juvenile Observation and Protection เป็นหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ดูแล บ�ำบัด แก้ไขฟื้นฟู และพิทักษ์คุ้มครองสิทธิเด็ก และเยาวชนที่ครั้งหนึ่งเคยก้าวพลาดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมให้กลับตนเป็นคนดี และเป็นอนาคตของชาติ โทรศัพท์ 0 2141 6470 โทรสาร 0 2143 8473 เว็บไซต์ www.djop.moj.go.th

กรมราชทัณฑ์ Department of Corrections ท�ำ หน้ า ที่ ค วบคุ ม ดูแลปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดตามค�ำพิพากษาของศาล โดยมี การศึกษา ฝึกวิชาชีพ พัฒนาจิตใจ จัดสวัสดิการสงเคราะห์ผู้ต้องขัง เพื่อฟื้นฟู แก้ไข ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม โทรศัพท์ 0 2967 2222 โทรสาร 0 2967 3305 เว็บไซต์ www.correct.go.th

ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด Office of The Narcotics Control Board ด�ำเนินการด้านการประสานงาน อ�ำนวยการด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ และบูรณาการ ปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ ตรวจสอบ ยึด อายัดทรัพย์สิน ประชาสัมพันธ์ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สายด่วน 1386 โทรศัพท์ 0 2247 0901-19 โทรสาร 0 2245 9350 เว็บไซต์ www.oncb.go.th

ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ Office of Public Sector Anti-Corruption Commission ด�ำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ซึ่งเป็นภารกิจ โดยตรง โดยมีอ�ำนาจหน้าที่ในการรับเรื่องร้องเรียนข้าราชการ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง ผูบ้ ริหารระดับต�ำ่ กว่าผูอ้ ำ� นวยการกองหรือเทียบเท่าลงมา ซึง่ มีพฤติกรรมใช้ตำ� แหน่ง หน้าที่เพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเอง และพวกพ้องกระท�ำการทุจริต ประพฤติ มิชอบ สายด่วน 1206 โทรศัพท์ 0 2502 6670-80 โทรสาร 0 2502 6132 เว็บไซต์ www.pacc.go.th


ส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน Anti-Money Laundering Office มีภารกิจในการด�ำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ และประมวลผล รายงานและข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการท�ำธุรกรรมทางการเงิน เพื่อเป็นการตัดวงจร อาชญากรรมการฟอกเงิน การตรวจสอบแหล่งที่มาของทรัพย์สินผู้ค้ายาเสพติด ว่ า ได้ ม าโดยสุ จ ริ ต หรื อ ไม่ หากไม่ ส ามารถระบุ แ หล่ ง ที่ ม าได้ จ ะมี ก ารยึ ด อายัดทรัพย์สินเหล่านั้นให้ตกเป็นของแผ่นดิน สายด่วน 1710 โทรศัพท์ 0 2219 3600 โทรสาร 0 2219 3700 เว็บไซต์ www.amlo.go.th

สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) Thailand Institute of Justice (Public Organization)- TIJ เป็นองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2554 โดยมีวิวัฒนาการมาจากโครงการ Enhancing Lives of Female Inmates (ELFI) ในพระด�ำริของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา มีภารกิจหลักในการ ส่งเสริมการอนุวัติข้อก�ำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิง ในเรื อ นจ� ำ และมาตรการที่ มิ ใช่ ก ารคุ ม ขั ง ส� ำ หรั บ ผู ้ ก ระท� ำ ความผิ ด หญิ ง หรือข้อก�ำหนดกรุงเทพ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการ ยุติธรรมและสนับสนุนการวิจัยและฝึกอบรม เพื่อรองรับการอนุมัติข้อก�ำหนด กรุงเทพ และการส่งเสริมหลักนิติธรรม และยกระดับภาพลักษณ์กระบวนการ ยุตธิ รรมไทยในระดับสากล โดยท�ำงานกับภาคีทงั้ ในประเทศไทยและในภูมภิ าคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาคมอาเซียน โทรศัพท์ 0 2118 9400 โทรสาร 0 2118 9425-26 เว็บไซต์ www.tijthailand.org

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ภารกิจหลัก มี 3 ประการ ได้แก่

1 อ�ำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชน ตามอ�ำนาจหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรม 2 ให้บริการประชาชนในงานของกระทรวงยุติธรรมระดับจังหวัด 3 ประสานความร่วมมือกับส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในและนอกสังกัด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เพื่ อ อ� ำ นวยความยุ ติ ธ รรมแก่ ป ระชาชนให้ มี ค วามเชื่ อ มั่ น และเข้าถึงความยุติธรรมได้โดยง่าย อย่างเสมอภาค เป็นธรรม และประหยัด

ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

ภาคเหนือ

จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

1. ก�ำแพงเพชร

ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร ชั้น 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000

โทร. 0-5571-3940-1 โทรสาร 0-5571-3940

2. เชียงราย

ศาลากลางจังหวัดเชียงราย (หลังใหม่) ชั้น 3 ถนนแม่ฟ้าหลวง ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย 57100

โทร. 0-5315-0190 โทรสาร 0-5317-7339

3. เชียงใหม่

บริเวณศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ โทร. 0-53112-314 ต�ำบลช้างเผือก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรสาร 0-5311-2315

4. เชียงใหม่ สาขาฝาง

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สาขาฝาง อาคารเลขที่ 2/8 หมู่ที่ 14 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110

โทร. 0-5338-2148 โทรสาร 0-5338-2162

5. ตาก

อาคารศาลากลางจังหวัดตาก ชั้น 2 (หลังเก่า) ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000

โทร. 0-5551-7391 โทรสาร 0-5551-6996

6. ตาก สาขาแม่สอด

อาคารเอนกประสงค์เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สอด เลขที่ 2 ถนนราชทัณฑ์ ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110

โทร. 0-5553-4387 โทรสาร 0-5553-4218

7. นครสวรรค์

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครสวรรค์ เลขที่ 4/34 หมู่ 5 ต.นครสวรรค์ตก อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000

โทร. 0-56882-037 โทรสาร 0-56882-036

8. น่าน

เรือนจ�ำจังหวัดน่าน (ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ) เลขที่ 28 ถนนผากอง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน 55000

โทร. 0-5477-5820 โทรสาร 0-5477-5820


จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

9. พะเยา

อาคารศาลากลางจังหวัดพะเยา (หลังเก่า) ชั้น 2 โทร. 0-5444-9705 ต�ำบลบ้านต๋อม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000 โทรสาร 0-5444-9706

10. พิจิตร

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพิจิตร บริเวณทางเข้าที่ว่าการอ�ำเภอเมืองจังหวัดพิจิตร ถนนศรีมาลา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร 66000

โทร. 0-5661-5743 โทรสาร 0-5661-5708

11. พิษณุโลก

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพิษณุโลก 89/1-2 หมู่ 12 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

โทร. 0-5525-3420-1 โทรสาร 0-5525-3421

12. เพชรบูรณ์

ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

1. กาฬสินธุ์

ศาลากลางจังหวัดกาฬสินธุ์ ชั้น 2 ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000

โทร. 0-4381-6403 โทรสาร 0-4381-6404

2. ขอนแก่น

ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ชั้น 5 (หลังใหม่) ถนนศูนย์ราชการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000

โทร. 0-4324-6771 โทรสาร 0-4324-6771-26

อาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์ โทร. 0-5672-6458 เลขที่ 329/18 ถนนสามัคคีชัย ต�ำบลในเมือง โทรสาร 0-5672-6459 อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000

3. ชัยภูมิ

อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยภูมิ ชั้น 1 ถนนบรรณาการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000

โทร. 0-4481-3452 โทรสาร 0-4481-3453

13. แพร่

เรือนจ�ำจังหวัดแพร่ อาคารฝ่ายฝึกวิชาชีพ เลขที่ 20 ถนนไชยบูรณ์ ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000

4. นครพนม

อาคารศูนย์ฟิตเนต (เรือนจ�ำเก่า) เลขที่ 394 ถนนอภิบาลบัญชา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000

โทร. 0-4251-1823 โทรสาร 0-4251-1832

14. แม่ฮ่องสอน

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน โทร. 0-5361-2077 เลขที่ 9/4 ซอย 5 ถนนขุนลุมประพาส โทรสาร 0-5361-2077 ต�ำบลจองค�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน 58000

5. นครราชสีมา

15. ล�ำปาง

อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางล�ำปาง โทร. 0-5422-7768 เลขที่ 100 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหัวเวียง โทรสาร 0-5422-5478 อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง 52000

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครราชสีมา เลขที่ 1849/7-8 โครงการไทม์สแควร์ ถนนร่วมเริงไชย ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000

โทร. 0-4435-3955 • 08-4715-1999 (M) • 08-1760-1431 (M) โทรสาร 0-4435-3717

6. บุรีรัมย์

16. ล�ำพูน

ตรงข้ามส�ำนักงานขนส่งจังหวัดล�ำพูน 159/7 หมู่ 10 ต�ำบลบ้านกลาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน 51000

โทร. 0-5352-5510 โทรสาร 0-5352-5510

อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ โทร. 0-4460-2309 เรือนจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ (ตรงข้ามไปรษณีย์บุรีรัมย์ ) โทรสาร 0-4460-2308 ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000

7. มหาสารคาม

17. สุโขทัย

ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย อาคาร 1 ชั้น 1 ถนนนิกรเกษม ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 64000

โทร. 0-5561-3483 โทรสาร 0-5561-3484

ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดมหาสารคาม เลขที่ 4 ถนนศรีสวัสดิ์ด�ำเนิน ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000

โทร. 0-4372-2077 โทรสาร 0-4372-2077

8. มุกดาหาร

ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดมุกดาหาร (กศน) ซอยค่ายลูกเสือ ถนนพิทกั ษ์พนมเขต ต�ำบลมุกดาหาร อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000

โทร. 0-4261-4401 โทรสาร 0-4261-4402 มหาดไทย 48745, 48746

9. ยโสธร

อาคารศาลากลางหลังใหม่ ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000

โทร. 0-4572-5180 โทรสาร 0-4572-5179

โทร. 0-5452-2528 โทรสาร 0-5452-1866

18. อุตรดิตถ์

อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ โทร. 0-5583-0832 ต่อ 0 เลขที่ 8 ถนนศรอัสนีย์ ต�ำบลท่าอิฐ โทรสาร 0-5583-0833 ต่อ 0 อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000

19. อุทัยธานี

เรือนจ�ำจังหวัดอุทัยธานี เลขที่ 23 ถนนศรีอุทัย ต�ำบลอุทัยใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 61000

โทร. 0-5657-1336 โทรสาร 0-5651-3805


จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

จังหวัด

10. ร้อยเอ็ด

ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด (หลังเก่า) ชั้น 2 ถนนเทวาภิบาล ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000

โทร. 0-4351-3233 โทรสาร 0-4351-3244

โทร. 0-4534-4585 โทรสาร 0-4534-4585

11. เลย

ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองเลย ชั้น 1 หมูที่ 1 ถนนจรัสศรี ต�ำบลกุดป่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย 42000

โทร. 0-4281-4737 โทรสาร 0-4281-4742

20. อุบลราชธานี ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดอุบลราชธานี ศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ชั้น 4 ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลแจระแม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 21. บึงกาฬ

โทร. 0-4249-2513-4 โทรสาร 0-4249-2513-4

12. ศรีสะเกษ

อาคารที่ว่าการอ�ำเภอเมืองศรีสะเกษ ถนนหลักเมือง ต�ำบลเมืองเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000

โทร. 0-4564-3657 โทรสาร 0-4564-3658

13. สกลนคร

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสกลนคร 1903 ถนนศูนย์ราชการ ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000

โทร. 0-4271-3400 0-4271-2037 โทรสาร 0-4271-3400

14. สุรินทร์

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสุรินทร์ โทร. 0-4404-0914 อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดสุรินทร์ โทรสาร 0-4404-0915 เลขที่ 799 หมู่ 20 ถนนเลี่ยงเมือง ต�ำบลนอกเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000

15. สุรินทร์ ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสุรินทร์ สาขารัตนบุรี โทร. 0-4459-9266 สาขารัตนบุรี เลขที่ 258 หมู่ 12 ถนนรัตนบุรี-ทับใหญ่ โทรสาร 0-4459-9266 ต�ำบลรัตนบุรี อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรนิ ทร์ 32130 16. หนองคาย

ศาลากลางจังหวัดหนองคาย ชั้น 3 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลหนองกอมเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000

17. หนองบัวล�ำภู อาคารส�ำนักงานบังคับคดีหนองบัวล�ำภู ชั้น 1 ศูนย์ราชการจังหวัด ต�ำบลล�ำภู อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู 39000

18. อ�ำนาจเจริญ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดอ�ำนาจเจริญ โทร. 0-4552-3171-2 อาคารศาลากลางจังหวัดอ�ำนาจเจริญ (บริเวณ โทรสาร 0-4552-3171-2 ศูนย์ราชการ) ถนนชยางกูร ต�ำบลโนนหนามแท่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37000 19. อุดรธานี

อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุดรธานี โทร. 0-4224-9345 เลขที่ 75 ถนนหมากแข้ง ต�ำบลหมากแข้ง 0-4224-9143-4 อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรสาร. 0-4224-9345

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดบึงกาฬ ศูนย์ราชการจังหวัดบึงกาฬ ชั้น 4 อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000

ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

หมายเลขติดต่อ

ภาคกลาง

จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

1. กาญจนบุรี

ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดกาญจนบุรี ชั้น 2 เลขที่ 200/16 หมู่ 12 ถนนแม่น�้ำแม่กลอง ต�ำบลปากแพรก อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000

โทร. 0-3456-4175 โทรสาร 0-3456-4254

2. จันทบุรี

ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดจันทบุรี เลขที่ 13/1 ถนนท่าหลวง ต�ำบลวัดใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000

โทร. 0-3930-2480 โทรสาร 0-3930-2479

3. ฉะเชิงเทรา

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา อาคารองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา (หลังเก่า) ชั้น 3 66/1 ถนนยุทธด�ำเนิน ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000

โทร. 0-3851-4375 โทรสาร 0-3851-4375

4. ชลบุรี

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดชลบุรี เลขที่ 178/18 หมู่ 5 ต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000

โทร. 0-3846-7793-5 โทรสาร 0-3828-8933

5. ชัยนาท

อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยนาท ชั้น 2 ถนนพรหมประเสริฐ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000

โทร. 0-5641-1928 0-5641-1873 โทรสาร 0-5641-2103

โทร. 0-4241-3774 โทรสาร 0-4241-3775 โทร. 0-4237-8404 โทรสาร 0-4237-8405

สถานที่ตั้งและที่อยู่


จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

6. ตราด

อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดตราด เลขที่ 1133 หมู่ที่ 1 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตราด 23000

โทร. 0-3952-4031-2 โทรสาร 0-3952-4033

16. ราชบุรี

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดราชบุรี เลขที่ 666/4 หมู่ที่ 5 ต�ำบลเจดีย์หัก อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000

โทร. 0-3239-1406 โทรสาร 0-3239-1407

7. นครนายก

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครนายก โทร.0-3731-5002 เลขที่ 161/3 หมู่ 13 ถนนนครนายก-รังสิต โทรสาร 0-3731-5053 ต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000

17. ลพบุรี

อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรม ชั้น 2 เลขที่ 118 ถนนสีดา ต�ำบลทะเลชุบศร อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000

โทร. 0-3678-2207 โทรสาร 0-3678-2206

8. นครปฐม

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครปฐม โทร. 0-3421-3169 เลขที่ 898/10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลห้วยจระเข้ โทรสาร 0-3421-3165 อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000

18. สมุทรปราการ ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสมุทรปราการ เลขที่ 545/1 ชั้น 2 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270

โทร. 0-2395-3705 0-2395-3882 โทรสาร 0-2395-3882

9. นนทบุรี

ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี (ชั้น 2) ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร. 0-2589-0481 ต่อ 141 โทรสาร 0-2589-0481 ต่อ 141

19. สมุทรสงคราม ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสมุทรสงคราม อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรม ชั้น 1 เลขที่ 212 หมู่ที่ 3 ต�ำบลลาดใหญ่ อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรสงคราม 75000

โทร. 0-3471-8420-1 โทรสาร 0-3471-8421 ต่อ 210

10. ปทุมธานี

ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี ชั้น 2 (หลังเก่า) ถนนปทุมธานี-สามโคก ต�ำบลบางปรอท อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000

โทร. 0-2581-3990-1 โทรสาร 0-2581-3990

20. สมุทรสาคร

ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสมุทรสาคร ชั้น 3 เลขที่ 923/588 ถนนท่าปรง ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000

โทร. 0-3442-5236 โทรสาร 0-3442-6236

21. สระแก้ว

ศูนย์ราชการจังหวัดสระแก้ว หอประชุมปางสีดา ชั้น 2 ต�ำบลท่าเกษม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 27000

โทร. 0-3742-5320 โทรสาร 0-3742-5321

22. สระบุรี

เรือนจ�ำจังหวัดสระบุรี โทร. 0-3621-3158 เลขที่ 2 ซอย 17 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลปากเพรียว โทรสาร 0-3621-3159 อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18000

23. สิงห์บุรี

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสิงห์บุรี โทร. 0-3652-3755-6 อาคารศรีประมงค์ (ตลาดคลองถม) โทรสาร 0-3652-3755 เลขที่ 259/6 หมู่ 7 ถนนสิงห์บรุ -ี บางระจัน (ตัดใหม่) ต�ำบลบางมัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 16000

24. สุพรรณบุรี

อาคารบริษัทศรีพูนทรัพย์ (ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี) เลขที่ 137 ถนนมาลัยแมน ต�ำบลรั้วใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72000

โทร. 0-3552-4126 โทรสาร 0-3552-4127

25. อ่างทอง

เรือนจ�ำจังหวัดอ่างทอง เลขที่ 47/25 หมู่ 2 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง 14000

โทร. 0-3561-5787-8 โทรสาร 0-3561-5787

11. ประจวบคีรีขันธ์ ศาลากลางจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ชัน้ 2 (หลังเก่า) โทร. 0-3260-1258 ต�ำบลประจวบคีรีขันธ์ อ�ำเภอเมือง โทรสาร 0-3260-1326 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77000 12. ปราจีนบุรี

ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดปราจีนบุรี โทร. 0-3721-2088 เลขที่ 702 ถนนปราจีนอนุสรณ์ ต�ำบลหน้าเมือง โทรสาร 0-3721-1616 อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25000

13. พระนคร ศรีอยุธยา

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เลขที่ 9/25 หมู่ 3 ต�ำบลคลองสวนพลู อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000

โทร. 0 3570 8387 0 3570 8388

14. เพชรบุรี

เรือนจ�ำกลางจังหวัดเพชรบุรี เลขที่ 69 ถนนหน้าเรือนจ�ำ ต�ำบลท่าราบ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000

โทร. 0-3240-2590 โทรสาร 0-3240-2591

15. ระยอง

สถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดระยอง โทร. 0-3801-1701 เลขที่ 144 หมู่ 2 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลเนินพระ โทรสาร 0-3801-1702 อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000


ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

ภาคใต้

จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

10. ยะลา

อาคารศาลากลางจังหวัดยะลา (หลังเก่า) ชั้น 1 อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000

โทร. 0-7322-2624 โทรสาร 0-7322-2624 โทร. 08-6480-5654 0-7323-5004 โทรสาร 0-7323-5004

จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

หมายเลขติดต่อ

1. กระบี่

ศาลากลางจังหวัดกระบี่ (หลังเก่า) ชั้น 2 ถนนอุตรกิจ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000

โทร. 0-7562-4551-2 โทรสาร 0-7562-4551-2

11. ยะลา สาขาเบตง

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา สาขาเบตง (ติดกับพิพิธภัณฑ์เมืองเบตง) ต�ำบลเบตง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา 95110

2. ชุมพร

ศาลากลางจังหวัดชุมพร ชั้น 4 หมู่ที่ 1 ถนนไตรรัตน์ ต�ำบลนาชะอัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000

โทร. 0-7751-2164 โทรสาร 0-7751-2165

12. ระนอง

เรือนจ�ำจังหวัดระนอง (อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์) โทร. 0-7782-5446 เลขที่ 349 ถนนเรืองราษฎร์ ต�ำบลเขานิเวศน์ โทรสาร 0-7782-5445 อ�ำเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000

3. ตรัง

อาคารพุทธคุณพาหุง ศาลากลางจังหวัดตรัง ถนนพระรามหก ต�ำบลทับเที่ยง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000

โทร. 0-7521-4562 โทรสาร 0-7521-4773

13. สงขลา

ศูนย์ราชการจังหวัดสงขลา อาคารสรรพากร (เดิม) ชั้น 3 ถนนลูกเสือ ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000

โทร. 0-7430-7240 โทรสาร 0-7430-7241

14. สตูล

ศาลากลางจังหวัดสตูล (หลังใหม่) ชั้น 1 ถนนสตูลธานี ต�ำบลพิมาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000

โทร. 0-7472-3032 โทรสาร 0-7472-3167

4. น ครศรีธรรมราช ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนครศรีธรรมราช เลขที่ 259 ถนนเทวบุรี ต�ำบลโพธิ์เสด็จ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000

โทร. 0-7534-4633 โทรสาร 0-7535-6139

5. นราธิวาส

ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนราธิวาส (อาคารพาณิชย์) เลขที่ 156 ถนนสุริยะประดิษฐ์ ต�ำบลบางนาค อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000

โทร. 0-7353-1234-5 โทรสาร 0-7353-1234

6. ปัตตานี

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดปัตตานี 49/7 ถนนกะลาพอ ต�ำบลจะบังติกอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000

โทร. 0-7333-4031-2 โทรสาร 0-7333-4031-2

7. พังงา

ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดพังงา เลขที่ 4/2 ถนนเจริญราษฎร์ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000

โทร. 0-7648-1820 โทรสาร 0-7648-1819

8. พัทลุง

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพัทลุง โทร. 0-7461-6241 เลขที่ 25 ถนนช่วยทุกข์ราษฎร์ ต�ำบลคูหาสวรรค์ โทรสาร 0-7461-6241 อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000

9. ภูเก็ต

สถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดภูเก็ต โทร. 0-7621-5850 เลขที่ 38/14 ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี 0-7621-5975 ต�ำบลตลาดเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรสาร 0-7621-5850

15. สุราษฎร์ธานี อาคารส�ำนักงานส่วนราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี โทร. 0-7728-8652 ตึกอัยการ ชั้น 2 ถนนดอนนก ต�ำบลมะขามเตี้ย โทรสาร 0-7728-8652 อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 16. สุราษฎร์ธานี อาคารบูรณาการกระทรวงยุตธิ รรมอ�ำเภอเกาะสมุย โทร.0-7741-9199 สาขาเกาะสมุย เลขที่ 95/30 หมู่ที่ 5 ต�ำบลมะเร็ต โทรสาร 0-7741-8544 อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84310


สารบัญ กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 3 ตอนที่ 4 ตอนที่ 5 ตอนที่ 6 ตอนที่ 7 ตอนที่ 8 ตอนที่ 9 ตอนที่ 10 ตอนที่ 11 ตอนที่ 12 ตอนที่ 13 ตอนที่ 14 ตอนที่ 15 ตอนที่ 16 ตอนที่ 17 ตอนที่ 18 ตอนที่ 19 ตอนที่ 20 ตอนที่ 21 ตอนที่ 22 ตอนที่ 23 ตอนที่ 24 ตอนที่ 25

กฎหมาย ไม่วุ่นวายอย่างที่คิด เด็ก 7 ปี ต้องมีบัตรประชาชน พ่อแม่ไม่ดูแลลูก ท�ำถูกไหม พ่อแม่ลูกต้องผูกพัน อบรมกับการทารุณ สองวิธีลงโทษที่แตกต่าง เมื่อลูกรักแอบซื้อของออนไลน์ โลกใบเล็ก ให้เด็กก็มีสิทธิ์ช้อป บัตรประชาชน ของจ�ำเป็นคู่กาย กองทุนยุติธรรม สิทธิที่ควรรู้ เจอคดีความ กองทุนยุติธรรมช่วยได้ เจอเคราะห์ร้าย รัฐจ่ายเงินเยียวยา เป็นพยานยุคใหม่ ไม่ต้องกลัวมีปัญหา หมั้นแล้วก็แคล้วคลาดได้ อยากมีคู่ ต้องดูอายุครบ สมรักแล้วต้องสมรส อย่าเพิ่งดีใจ แค่ได้จดทะเบียน สมัครใจใช้ น.ส. สินสมรสเรื่องของสองเรา หนี้ต้องรับ ทรัพย์ต้องแบ่ง ลูกเป็นของใคร เมื่อไม่ได้จดทะเบียน บุตรบุญธรรม รักนี้ต้องมีกติกา บุตรบุญธรรมที่สมบูรณ์แบบ ขอคืนของมีค่า หากว่าถูกเนรคุณ รู้จักผู้สืบสันดาน อ่านเรื่องมรดกง่ายขึ้น มรดกเล็กใหญ่ ใครมีสิทธิก่อน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

ตอนที่ 26 ตอนที่ 27 ตอนที่ 28 ตอนที่ 29 ตอนที่ 30 ตอนที่ 31 ตอนที่ 32 ตอนที่ 33 ตอนที่ 34 ตอนที่ 35 ตอนที่ 36 ตอนที่ 37 ตอนที่ 38 ตอนที่ 39 ตอนที่ 40 ตอนที่ 41 ตอนที่ 42 ตอนที่ 43 ตอนที่ 44 ตอนที่ 45 ตอนที่ 46 ตอนที่ 47 ตอนที่ 48 ตอนที่ 49 ตอนที่ 50 ตอนที่ 51 ตอนที่ 52 ตอนที่ 53 ตอนที่ 54

วุ่นวายเวียนวน...คนรับมรดก หนี้สินมากมาย ใครต้องรับภาระ ทรัพย์สินขณะบวช ทายาทชวดสิทธิ์ทวง เรื่องเงินทองของสามี-ภรรยา สัตว์ก็มีหัวใจ เมื่อน้องหมาไม่น่ารักอีกแล้ว เลี้ยงสัตว์แปลก อาจแบกทุกข์ รักน้องหมา อย่ามักง่ายให้ถ่ายไปทั่ว สัตว์เลี้ยงในคอนโด ประสบภัยจากรถยนต์ ไม่ต้องทนรอ เอกสารคู่รถ ของส�ำคัญต้องติดรถ ขับรถผิดกฏใบสั่งบริการถึงบ้าน ชอบแชท...ระวังช�้ำ นักปั่น ต้องปันคนอื่น ระวังป้ายแดงรถ...หมดอายุ ขับรถป้ายแดงยามราตรี สติ๊กเกอร์ติดรถ ต้องแจ้งจดเปลี่ยนสี แต่งท่อรถ ท�ำเท่แต่ต้องทุกข์ เปิดไฟรถซีนอน ขัดขวางรถฉุกเฉิน ถูกปรับและสังคมรังเกียจ นั่งรถซิ่ง ไม่ต้องรอจนกลิ้งไปก่อน รถหายในห้าง อ้างใครรับผิดชอบ รถหายในโรงแรม ต้องรีบแจ้งด่วน ทรัพย์หายในโรงแรม เก็บของมีค่า ต้องหาเจ้าของ เก็บของมีค่าได้ แต่ไม่ส่งคืน อยากเป็นแม่ค้าออนไลน์ โอกาสท�ำธุรกิจ ส�ำหรับคนทุนน้อย หุ้นส่วนต้องรับทั้งผิดทั้งชอบ

26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 40 41 42 43 44 45 46 47 47 48 49 50 51 52


ตอนที่ 55 ตอนที่ 56 ตอนที่ 57 ตอนที่ 58 ตอนที่ 59 ตอนที่ 60 ตอนที่ 61 ตอนที่ 62 ตอนที่ 63 ตอนที่ 64 ตอนที่ 65 ตอนที่ 66 ตอนที่ 67 ตอนที่ 68 ตอนที่ 69 ตอนที่ 70 ตอนที่ 71 ตอนที่ 72 ตอนที่ 73 ตอนที่ 74 ตอนที่ 75 ตอนที่ 76 ตอนที่ 77 ตอนที่ 78 ตอนที่ 79 ตอนที่ 80 ตอนที่ 81 ตอนที่ 82 ตอนที่ 83

ช้อปออนไลน์ ซื้อได้ต้องเสียภาษี ช้อปเพลิน เกินพิกัด ยึดมัดจ�ำ ท�ำได้ตอนไหน ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ต้องมาจดทะเบียน งงงันกับสัญญา “จะซื้อหรือว่าจะขาย” ผู้กู้ร่วม-ลูกหนี้ร่วม คิดก่อนค�้ำ (ประกัน) สิทธิการป้องกันตัวของผู้ค�้ำประกัน เป็นเจ้าหนี้ไม่อยากถูกเบี้ยว ใช้หนี้เสร็จ ใบเสร็จอย่าเพิ่งทิ้ง ดอกเบี้ยเบ่งบาน ใช่ไม่มีเพดานจ�ำกัด ฟ้องร้องเงินกู้ ต้องดูอายุความ ถูกทวงหนี้ยามวิกาล ทวงหนี้ยุคใหม่ ต้องไม่หยาบคาย ช่วยด้วย...เช็คเด้ง เช็คหาย...ท�ำไงดี ทีเด็ดลูกค้า ส่งของซ่อมแต่ไม่ยอมจ่าย “ละเมิด” เรื่องต้องรู้ ดูต้องเข้าใจ ชนวัวควายตาย อย่าเพิ่งจิตตก โชคที่ไม่ชอบ เจอของหล่นจากคอนโด เพื่อนยืมรถไป สุดท้ายสร้างปัญหา ลาภลอยที่มิควรได้ จัดการงานนอกสั่ง มีที่ดินไม่ดูแล เจ้าของแท้ๆ ก็หมดสิทธิ์ วิธีแก้ปัญหา ซื้อที่ดินตาบอด เจอคนค้นบ้าน ไม่ต้องลนลาน จะออกหมายจับได้ ต้องมีเหตุผล ต่อว่าเจ้าพนักงาน ระวังบานปลาย ให้สินบนเจ้าพนักงานโทษหนัก

53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 67 68 69 70 71 72 73 74 75 75 76 77 78 79

ตอนที่ 84 ตอนที่ 85 ตอนที่ 86 ตอนที่ 87 ตอนที่ 88 ตอนที่ 89 ตอนที่ 90 ตอนที่ 91 ตอนที่ 92 ตอนที่ 93 ตอนที่ 94 ตอนที่ 95 ตอนที่ 96 ตอนที่ 97 ตอนที่ 98 ตอนที่ 99 ตอนที่ 100 ตอนที่ 101 ตอนที่ 102 ตอนที่ 103 ตอนที่ 104 ตอนที่ 105 ตอนที่ 106 ตอนที่ 107 ตอนที่ 108 ตอนที่ 109 ตอนที่ 110 ตอนที่ 111 ตอนที่ 112

เอาโจรมาหลบซ่อน เมตตาแต่ว่าผิดหลักการ ป้องกันตัวท�ำได้ แต่อย่าให้เกินเหตุ จ�ำเป็น เพื่อให้พ้นภัย เผาข้าวของส่วนตัว ระวังบานปลายกลายเป็นผิดอาญา ทัวร์ผีผิดกฎหมาย อยากเป็นไกด์ อย่าใช้วิธีลัด ท�ำไงดี มีหมายศาลคดีแพ่ง เจอหมายเรียกเป็นพยาน หน้าที่พลเมืองดี ท�ำหน้าที่ไม่สมบูรณ์ จนกลายเป็นเหตุ ชักชวนผู้เยาว์ ระวังเข้าคุก ยอมตายเพื่อเอาประกัน คิดผิดคิดใหม่ ขาเม้าท์ อย่าเอาแค่มัน ชอบโพสต์ ชอบแชร์ สนุกแน่ ระวังแย่ทีหลัง ด่าว่าผู้เสียชีวิต...ก็ผิดได้ กล่าวหาคนตาย อาจกลายเป็นหมิ่นประมาท ซื้อของจากตลาด ผิดพลาดถูกทวงคืน รับซื้อของโจร โดยไม่รู้ หนักเบาไม่เลือกที่ แค่ไหว้เจ้าที่ไม่พอแล้ว ปิดประกาศพื้นที่สาธารณะ โฆษณาฟรี แต่ผิดที่ไปหน่อย สุดทนกลิ่น ควัน ต้องสูดทุกวันจากร้านข้างบ้าน ไม้สัก ปลูกได้ตัดไม่ได้ ของป่า ไม่ใช่ของใครก็ได้ สินทรัพย์จากธรรมชาติ ดูด้วยตา มืออย่าเก็บ ไม้หวงห้าม ห้ามมีไว้ครอบครอง สิงห์อมควัน รักลูกหลาน อย่าวานไปซื้อบุหรี่ บุหรี่ แจกฟรีก็ท�ำไม่ได้ เมามาย กลายเป็นเรื่อง

80 81 82 83 84 84 85 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106


ตอนที่ 113 ตอนที่ 114 ตอนที่ 115 ตอนที่ 116 ตอนที่ 117 ตอนที่ 118 ตอนที่ 119 ตอนที่ 120 ตอนที่ 121 ตอนที่ 122 ตอนที่ 123 ตอนที่ 124 ตอนที่ 125 ตอนที่ 126 ตอนที่ 127 ตอนที่ 128 ตอนที่ 129 ตอนที่ 130 ตอนที่ 131 ตอนที่ 132 ตอนที่ 133 ตอนที่ 134 ตอนที่ 135 ตอนที่ 136 ตอนที่ 137 ตอนที่ 138 ตอนที่ 139 ตอนที่ 140

สุรานอก ซื้อด้วยเงินเรา แต่ห้ามน�ำเข้าเกินจ�ำนวน ขายเหล้าให้เด็ก เรื่องไม่เล็กอย่างที่คิด ซื้อเหล้าในปั๊ม ท�ำได้ไหม? เป่าก็ผิด ไม่ยอมเป่าก็ผิด คนกินไม่ได้ขับ ถูกจับได้เหมือนกัน จะซื้อจะขายสุรา ต้องดูเวลาที่ก�ำหนด ได้มรดกเป็นปืน ปืนผาหน้าไม้ อยากมีไว้ป้องกันตัว ปีนหาย ห้ามอยู่เฉย พกปืน ต้องมีใบอนุญาต ควงปืนไปที่ชุมชน ตั้งครรภ์ ไม่มีสิทธิ์ให้เลิกจ้าง ท�ำงานแทบตาย ไม่จ่ายค่าจ้าง เมื่อลูกน้องเป็นพิษ ตกงาน อย่าเพิ่งตกใจ อุบัติเหตุจากการท�ำงาน เกิดเหตุเศร้า เพราะตัวเราเอง ท�ำดีร่วมด้วย ท�ำผิดร่วมโดน อย่านิ่งนอนใจ เมื่อใบต่างด้าวหมดอายุ ลูกจ้างต่างด้าวเสียชีวิต อย่าคิดเพิกเฉย คนท�ำงานมีหน้าที่ ต้องเสียภาษีช่วยรัฐ ท�ำจริง ป่วยจริงใครก็กลั่นแกล้งไม่ได้ ยุคเปิดเออีซี แรงงานยังต้องมีกฏ ไม่ว่าอาชีพไหน ก็ต้องใส่ใจเรื่องลิขสิทธิ์ เพลงดัง หนังดี ก็อปปี้ไม่ได้ งานใดใช้ได้ ไม่ถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์ ศิลปะ ดนตรี งานนี้เพื่อการกุศล คัดลอกโดยอ้างอิง ละเมิดลิขสิทธิ์หรือไม่

107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 132 133

ตอนที่ 1 “กฎหมาย...

ไม่วุ่นวาย อย่างที่คิด” เ มื่ อ ไ ด ้ ยิ น ค� ำ ว ่ า ก ฎ ห ม า ย คนส่วนใหญ่มักมองว่าเป็นเรื่องยุ่งยาก จนไม่อยากยุง่ เกีย่ ว แต่ความเป็นจริงแล้ว ทุ ก คนต้ อ งเกี่ ย วข้ อ งกั บ กฎหมาย โดยไม่รู้ตัวมาตั้งแต่เกิด จะยุ ่ ง ยากสั ก แค่ ไ หนจากเราไม่ มี หลั ก ฐานการเกิ ด ที่ บ ่ ง บอกให้ รู ้ ว ่ า เราเป็นใครมาจากไหน จะล�ำบากสักแค่ไหนหากเราเกิดมา โดยไม่มีคนเลี้ยงดู ไม่ได้เรียนหนังสือ ไม่มีสิทธิแสดงความเห็นในเรื่องต่างๆ เพราะมีกฏหมาย เราจึงมีชอื่ ทีพ่ อ่ แม่ ตั้งให้ เราจึงมีหนังสือรับรองการเกิด เราจึงมีคนเลี้ยงดู มีคนให้การศึกษา มี สิ ท ธิ ต ่ า งๆ ในสั ง คม ซึ่ ง ทุ ก อย่ า ง ด�ำเนินไปโดยที่เราไม่ได้นึกถึงว่านี่คือ “กฎหมาย”

การที่เราใช้ชีวิตอยู่อย่างมีความสุข ในสังคม และด�ำเนินชีวิตด้วยความ เรี ย บร้ อ ยได้ นั้ น เพราะเรามี ตั ว บท กฎหมายที่เปรียบเสมือนกรอบกติกา ให้คนมีแนวทางปฏิบัติร่วมกัน ตั้งแต่ เกิดจนตาย กฎหมายจึ ง ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งยุ ่ ง ยาก อย่างที่เราคิดเสมอไป และเป็นสิ่งที่ ยิ่งรู้ ก็ยิ่งดี ยิ่งเข้าใจ ก็ยิ่งมีประโยชน์ กับตัวเราเอง

1

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 2

เด็ก 7 ปี ต้องมีบัตรประชาชน

ใน อดี ต นั้ น เมื่ อ เด็ ก เกิ ด ตามกฎหมายก� ำ หนดให้ พ ่ อ แม่ ท� ำ การแจ้ ง เกิ ด และใช้ใบเกิดหรือสูจิบัตรของเด็กเป็นเอกสารรับรองตัว จนกระทั่งอายุ 15 ปี จึงท�ำบัตรประชาชน ปัจจุบันนี้รัฐบาลได้แก้ไขกฎหมายและประกาศพระราชบัญญัติบัตรประจ�ำตัว ประชาชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554 มาตรา 5 มาตรา 6 ก�ำหนดให้ผู้มีสัญชาติไทย ที่มีอายุตั้งแต่ 7 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปทุกคนต้องมีบัตรประจ�ำตัวประชาชน ไว้ใช้ แสดงตนเพื่อประโยชน์ในการเข้ารับบริการสาธารณะของรัฐ โดยบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลซึ่งรับดูแลบุคคลผู้นั้นอยู่เป็นผู้ยื่นค�ำขอภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันที่อายุครบ 7 ปีบริบูรณ์ ดั ง นั้ น ผู ้ ป กครองยุ ค ใหม่ จึ ง ต้ อ งไม่ ลื ม ว่ า ต้ อ งพาลู ก ไปท� ำ บั ต รประชาชน เมื่อลูกอายุครบเกณฑ์ที่กฎหมายก�ำหนด เพื่อประโยชน์และสิทธิต่างๆ ของลูก

2

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 3 พ่อแม่

ไม่ดูแลลูก ท�ำถูกไหม

พ่อแม่ ไม่ได้เป็นผู้ให้ก�ำเนิดบุตรเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1564 วรรค 1 ก�ำหนดว่า พ่อแม่ ต้องมีหน้าที่รับผิดชอบ โดยการดูแลและให้การศึกษาไปจนกว่าลูกจะมีอายุครบ 20 ปี นอกจากนีก้ รณีทลี่ กู พิการแต่ก�ำเนิด หรือได้รบั อุบตั เิ หตุภายหลังจนมีรา่ งกาย ทุพพลภาพ ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ แม้ว่ามีอายุเกิน 20 ปีแล้ว พ่อแม่ก็ต้องมี หน้าที่เลี้ยงดูบุตรของตัวเองต่อไปตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1564 วรรค 2 หากพ่อแม่ไม่ท�ำหน้าที่ของตัวเองและปล่อยปละละเลยบุตร ญาติสนิทที่พบ เหตุการณ์เช่นนี้ สามารถฟ้องร้องด�ำเนินคดีต่อศาลเอาผิดแก่พ่อแม่ได้

3

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 4 พ่อแม่ลูก

ต้องผูกพัน

ตอนที่ 5

“อบรม” กับ “ทารุณ” สองวิธีลงโทษที่แตกต่าง

เรา รู ้ กั น แล้ ว ว่ า

พ่ อ แม่ มี ห น้ า ที่ ในการอุปการะเลี้ยงดูบุตร ในทางกลับกันเมื่อเราโตเป็นผู้ใหญ่ สามารถท� ำ งานมี ร ายได้ เ ลี้ ย งตั ว เอง และครอบครัวได้แล้ว ก็ต้องมีหน้าที่ เลีย้ งดูพอ่ แม่เช่นกัน โดยเฉพาะในยามที่ พ่อแม่แก่เฒ่าหรือเจ็บป่วยไม่สามารถ ช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ เพื่ อ เป็ น การ ตอบแทนบุญคุณท่าน และยังถือเป็น หน้าที่ในทางกฎหมาย ซึ่งก�ำหนดไว้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1563 ว่าบุตรจ�ำต้องอุปการะ เลี้ยงดูบิดามารดา

4

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

กรณีทบี่ ตุ ร ซึง่ มีหน้าทีต่ ามกฎหมาย ต้องอุปการะเลีย้ งดูบดิ ามารดา ทอดทิง้ พ่อแม่ของตัวเองซึง่ มีอายุ หรือเจ็บป่วย หรือร่างกายพิการ จิตพิการ พึ่งพา ตัวเองไม่ได้ ทั้งที่รู้หรือคาดการณ์ได้ว่า จะท�ำให้พ่อแม่เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต ได้การกระท�ำเช่นนี้ ถือว่ามีความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 307 จะต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำและปรับ พ่ อ แม่ ลู ก เกิ ด มาแล้ ว ย่ อ มต้ อ ง มี ห น้ า ที่ แ ละความผู ก พั น ต่ อ กั น ทั้งในทางโลกและทางธรรม

การ ท� ำ โทษลู ก หรื อ เด็ ก ในความปกครอง โดยมี เจตนาเพื่ อ ใช้ ก ารลงโทษ เป็นการอบรม สั่งสอนให้เด็กๆ ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องนั้นสามารถท�ำได้ แต่ต้องไม่รุนแรงเกินกว่าเหตุ จนกระทบต่อร่างกายและจิตใจของเด็ก รวมทั้ง ห้ามใช้วธิ กี าร กักขัง ทอดทิง้ เพราะการกระท�ำดังกล่าวอาจเข้าข่ายทารุณกรรมเด็ก ซึ่งถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 61 ประกอบมาตรา 79 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจ�ำและปรับ ตัวอย่างเช่น ครูผู้ปกครองในสถานสงเคราะห์ ใช้ไม้เรียวตีเด็กชายอายุ 12 ปี เพียง 1 ครั้งให้หลาบจ�ำ เพื่อไม่ให้หลบหนีไปเที่ยวในเวลากลางคืน เป็นการลงโทษ ที่สมควรแก่เหตุ แต่ในทางกลับกันหากครูท�ำโทษโดยการลามโซ่ กักขังเด็กไว้ใน ห้องน�้ำ และให้อดอาหาร ถือว่าเป็นการทารุณกรรมเด็ก ครูผู้นั้นต้องรับผิดตามกฎหมายเพราะเป็นการกระท�ำที่รุนแรงเกินกว่าเหตุ และส่งกระทบต่อร่างกายและจิตใจของเด็ก

5

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 6 เมื่อลูกรัก ของออนไลน์

ตอนที่ 7

แอบซื้อ

Sale

สวย พ่ อ แม่ อ าจจะตกใจเมื่ อ เห็ น ใบแจ้ ง หนี้ เรี ย กเก็ บ ค่ า ใช้ จ ่ า ยจาก บัตรเครดิต แล้วพบว่ามียอดหนีแ้ ปลกๆ จ�ำนวนมาก ซึง่ เมือ่ สอบสวนทวนความ กันแล้ว ปรากฏว่าลูกรักวัย 10 ขวบ ใช้ โ ทรศั พ ท์ ข องพ่ อ แม่ ไ ปเล่ น เกมส์ ยิ่งเล่น ยิ่งสนุกเพราะในเกมส์มีสิ่งของ โฆษณาล่ อ ตาล่ อ ใจ จึ ง กดซื้ อ สิ น ค้ า ดังกล่าวไปเรือ่ ยๆ โดยไม่ทราบว่ามือถือ ของพ่ อ แม่ นั้ น ผู ก อยู ่ กั บ บั ต รเครดิ ต เพือ่ ความสะดวกในการช�ำระค่าบริการ และซื้อสินค้าต่างๆ เจอเหตุ ก ารณ์ แ บบนี้ พ่ อ แม่ ผู ้ ป กครองอาจจ� ำ ยอมปล่ อ ยเรื่ อ ง เลยตามเลย แต่ ใ นทางกฎหมายนั้ น ได้ให้ความคุ้มครองการกระท�ำของ ผู้เยาว์ ซึ่งมีอายุไม่ครบ 20 ปี ไว้ตาม

6

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

50%

ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 175 (1) ประกอบ มาตรา 19 และมาตรา 21 ก� ำ หนดว่ า การท� ำ นิ ติ ก รรมใดๆ ของผู ้ เ ยาว์ ต ้ อ งได้ รั บ ความเห็นชอบจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรม ก่อน ถ้าการใดๆ ที่ ผู ้ เ ยาว์ ไ ด้ ก ระท�ำ โดยปราศจากความยินยอม นิติกรรม นั้นจะตกเป็นโมฆียะ กรณีนี้พ่อแม่จึง สามารถบอกล้างการซื้อขายดังกล่าว ของลูกได้

โลกใบเล็ก ให้เด็กมีสิทธิ์ช้อป ควบคู่กันไปกับการคุ้มครองผู้เยาว์ในเรื่องการซื้อขายหรือท�ำนิติกรรมต่างๆ ซึ่งอาจท�ำให้หลายคนเข้าใจผิดว่า เรื่องของเด็กนั้น ทุกอย่างต้องผ่านความเห็นชอบ ของพ่อแม่ไปหมด ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นโลกธุรกิจที่ผลิตสินค้าโดยมีกลุ่มเป้าหมาย อยู่ที่เด็กๆ คงต้องปิดกิจการเป็นแน่ เรื่องนี้กฎหมายก็ได้เปิดช่องให้ ผู้เยาว์ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (20 ปี) สามารถ ซื้ อ สิ น ค้ า ที่ ส มควรเพื่ อ ตั ว เองได้ แต่ ต ้ อ งเป็ น การสมแก่ ฐ านานุ รู ป แห่ ง ตน อาทิ การซื้อ อาหาร ขนม เครื่ อ งนุ ่ ง ห่ ม เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ใ นการด� ำรงชี พ และอุปกรณ์การเรียน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 24 เช่น เด็กชายมานะซื้อน�้ำแข็งใสเพื่อรับประทาน หรือซื้อสมุด ดินสอจากร้านค้า เช่นนี้ ถือเป็นการซื้อที่สมควรแก่เหตุตามที่กฎหมายรับรองสิทธิเอาไว้ โลกใบเล็กของเด็กๆ จึงยังมีเสรีภาพได้ตามสมควรแก่วัย

55 120 99

250 350 35

7

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 8 บัตรประชาชน

ของจ�ำเป็น คู่กาย

8

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

นอกจากนี้ กฎหมายยังก�ำหนดให้ ต้องพกพาบัตรด้วย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ สามารถตรวจสอบได้ อั น ถื อ เป็ น หนึง่ ในมาตรการรักษาความสงบเรียบร้อย

กองทุนยุติธรรม

ที่ผ่านมา เมื่อประชาชนต้องเข้าไป เกี่ยวข้องกับคดีความต่างๆ ทั้งคดีแพ่ง และคดี อ าญา เช่ น เป็ น ผู ้ ต ้ อ งหา หรือจ�ำเลย ซึง่ หากไม่มเี งินหรือหลักทรัพย์ มาค�้ ำ ประกั น ตั ว จะต้ อ งถู ก คุ ม ขั ง อยู่ในเรือนจ�ำระหว่างการพิจารณาคดี และทุกขัน้ ตอนของการเข้าสูก่ ระบวนการ ยุติธรรมต้องมีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น

บั ต ร ประชาชนถื อ เป็ น เอกสาร

ส� ำ คั ญ ที่ จ� ำ เป็ น ในการช่ ว ยยื น ยั น ความมีตวั ตน และสถานะของความเป็น พลเมืองไทย เพือ่ แสดงให้รวู้ า่ เราเป็นใคร มาจากไหน พ�ำนักอยู่ที่ใด ด้วยเหตุนี้ ตามพระราชบั ญ ญั ติ บั ต รประจ� ำ ตั ว ประชาชน พ.ศ. 2526 จึงก�ำหนดให้ ผู ้ มี สั ญ ชาติ ไ ทยซึ่ ง มี อ ายุ ตั้ ง แต่ 7 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ และ มีชื่อในทะเบียนบ้านต้องมีบัตรตามที่ ก�ำหนด

ตอนที่ 9 รู้จัก สิทธิที่ควรรู้

ในบ้านเมือง เช่น เพื่อตรวจสอบว่า เป็นบุคคลทีห่ นีการกระท�ำผิดมาหรือไม่ เป็นคนเป็นต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง ไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ดังนั้นหากผู้ใด ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป ไม่พกบัตรประจ�ำตัวประชาชน เมื่อเจ้าหน้าที่ขอตรวจสอบและไม่อาจ แสดงบั ต รได้ ถื อ ว่ า มี ค วามผิ ด ตาม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ บั ต ร ป ร ะ จ� ำ ตั ว ประชาชน พ.ศ. 2526 มาตรา 17 จะต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200 บาท

กองทุน ยุติธรรม

ในปัจจุบัน มีการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง ความ ยุตธิ รรมได้หลายช่องทาง หนึง่ ในนัน้ คือ กองทุนยุติธรรม ที่ให้การสนับสนุน ด้านการเงินแก่ผู้ต้องหาหรือจ�ำเลย เพื่อใช้จ่ายในการเข้าสู่กระบวนการ ยุติธรรม ทั้ ง เงิ น ค่ า ประกั น ตั ว ค่ า ทนายความ ค่ า ธรรมเนี ย มศาล ค่าเดินทาง ค่าพิสจู น์สทิ ธิ์ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามวัตถุประสงค์ของกองทุนยุติธรรม ภายใต้ ร ะเบี ย บกระทรวงยุ ติ ธ รรม ว่ า ด้ ว ยกองทุ น ยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2553 โดยมี กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ด� ำ เนิ น การ กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็นผู้รับผิดชอบ ทั้ ง นี้ ป ร ะ ช า ช น ส า ม า ร ถ ดู รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งราวของ ก อ ง ทุ น ยุ ติ ธ ร ร ม ไ ด ้ ที่ เ ว็ บ ไซ ต ์ กรมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ กระทรวงยุติธรรม www.rlpd.go.th

9

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


เจอคดีความ

ตอนที่ 10 กองทุนยุติธรรมช่วยได้ เยี่ยม เลย!

ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในข้อ 9 ของระเบี ย บคณะกรรมการบริ ห าร กองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2553 ก�ำหนด วิ ธี ก ารและเงื่ อ นไขในการให้ ก าร สนั บ สนุ น เงิ น หรื อ ค่ า ใช้ จ ่ า ยเพื่ อ ช่วยเหลือประชาชนที่ตกเป็นผู้ต้องหา หรือจ�ำเลย ดังนี้ 1. การวางเงินประกันการปล่อยตัว ชั่วคราว 2. การจ้างทนายความ 3. ค่ า ธรรมเนี ย มขึ้ น ศาล และค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ๆ ในคดี แ พ่ ง และ คดีปกครอง 4. ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการตรวจพิสจู น์   5. ค่าใช้จา่ ยอืน่ ของผูข้ อรับการสนับสนุน ได้แก่ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าที่พัก

10

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 11 เจอเคราะห์ร้าย รัฐจ่าย

เงินเยียวยา

กระทรวง ยุติธรรม กองทุนฯ ค่า ค่า ทนาย ธรรม เนียม

อื่นๆ

6. ค่ า ใช้ จ ่ า ยอื่ น เพื่ อ คุ ้ ม ครอง ช่วยเหลือให้ได้รับความปลอดภัย 7. ค ่ า ใช ้ จ ่ า ย อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก ความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากการกระท� ำ ความผิ ด ทางอาญา ที่ มี ผ ลกระทบ ต่อกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 10 รายขึ้นไป   8. ค่ า ใช้ จ ่ า ยอื่ น ๆ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไป ตามวัตถุประสงค์ของกองทุนยุติธรรม ทั้ ง นี้ ส า ม า ร ถ ติ ด ต ่ อ ข อ รั บ การสนับสนุนได้ที่ กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรี ภ าพ กระทรวงยุ ติ ธ รรม เลขที่ 120 หมู่ 3 ชั้น 3 ศูนย์ราชการ เฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษาฯ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (อาคารเอ) ถนนแจ้ ง วั ฒ นะ แขวงทุ ่ ง สองห้ อ ง เข ต ห ลั ก สี่ ก รุ ง เ ท พ ฯ 1 0 2 1 0 หรือโทรศัพท์สายด่วน 1111 กด 77 โทรสาร. 02-143-9681 หรือเว็บไซต์ www.rlpd.go.th โดยจะใช้ เวลา ก า ร พิ จ า ร ณ า ค� ำ ร ้ อ ง ใ ห ้ ค วา ม ช่วยเหลือภาย 30 วัน

ภารกิจในการอ�ำนวยความยุตธิ รรม ให้ประชาชนในปัจจุบันมี 2 ประการ คื อ ประการแรก การช่ ว ยเหลื อ ประชาชนให้ เข้ า ถึ ง ความยุ ติ ธ รรม ประการที่สอง การเยียวยาผู้เสียหาย และจ�ำเลยที่ถูกยกฟ้อง ในส่วนของการช่วยเหลือประชาชน ให้ เข้ า ถึ ง ความยุ ติ ธ รรม มี ก องทุ น ยุตธิ รรมรับผิดชอบ และคณะกรรมการ กองทุ น เป็ น ผู ้ พิ จ ารณาให้ ค วาม ช่วยเหลือเป็นกรณีๆ ไป ในภารกิ จ ประการที่ ส อง คื อ การเยี ย วยาผู ้ เ สี ย หายและจ� ำ เลย ที่ถูกยกฟ้อง ไม่มีกองทุน แต่มีคณะ ก ร ร ม ก า ร ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ค่าตอบแทนผูเ้ สียหายและค่าตอบแทน และค่าใช้จ่ายแก่จ� ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 พิ จ ารณาเบิ ก จ่ า ยจาก งบประมาณแผ่ น ดิ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ทางการเงินในเบื้องต้น ทั้งผู้เสียหาย และจ� ำ เลย จะได้ รั บ เงิ น ช่ ว ยเหลื อ แตกต่างกันไปตามเงื่อนไข

ทั้งนี้ ประชาชนหรือทายาทในกรณี ผู้เสียหาย และจ�ำเลยในกรณีเสียชีวิต สอบถามหรื อ ขอรั บ บริ ก ารได้ ที่ ส� ำ นั ก งานช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก่ผู้เสียหายและจ�ำเลยในคดีอาญา ส่ ว นกลางติ ด ต่ อ ดู ร ายละเอี ย ดที่ กรมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ www.rlpd.go.th ส่วนภูมภิ าคติดต่อที่ “คลินกิ ยุตธิ รรม” ซึ่งตั้งอยู่ ณ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ทุกจังหวัดทั่วประเทศ

11

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 12

เป็นพยานยุคใหม่ ไม่ต้องกลัวมีปัญหา ข่มข ู่

ท�ำร้า

พยาน บุ ค คลที่ เ ห็ น คนร้ า ยหรื อ ผู ้ มี อิ ท ธิ พ ลกระท� ำ ผิด ถือว่ามีความ ส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการค้นหาและพิสจู น์ ความจริ ง ในกระบวนการยุ ติ ธ รรม ในคดี อ าญา ที่ ผ ่ า นมาพยานบุ ค คล มั ก เกิ ด ความหวาดกลั ว ต่ อ ภั ย และ อันตรายในรูปแบบต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น แก่ตัวเองและครอบครัว ท�ำให้ไม่มีใคร กล้าเป็นพยานให้ข้อมูลแก่เจ้าหน้าที่ ต�ำรวจ หรือชัน้ พิจารณาของศาล ท�ำให้ ผู้กระท�ำผิดก็ลอยนวลไปได้ ปัจจุบันมีพระราชบัญญัติคุ้มครอง พยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 โดยมี ส�ำนักงานคุม้ ครองพยาน กรมคุม้ ครอง สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพกระทรวงยุ ติ ธ รรม เข้ามาให้ความคุม้ ครองพยานในทุกมิติ

12

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

พยาน

สำส นักงานคุ้มคร

องฯ

โดยบุ ค คลที่ เ ป็ น พยานสามารถ ขอความคุ ้ ม ครองความปลอดภั ย ให้ แ ก่ ตั ว เอง และคนในครอบครั ว ได้แก่ สามี ภรรยา บิดา มารดา ลูก หลาน เหลน และคนใกล้ชิดของพยาน โดยข้ อ มู ล ของพยานต่ า งๆ ทั้ ง หมด จะได้รับการปกปิดเป็นความลับ น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ค ่ า ต อ บ แ ท น และค่ า ใช้ จ ่ า ยให้ แ ก่ พ ยานอี ก ด้ ว ย เนื่องจากเป็นผู้ที่ท�ำประโยชน์ให้แก่ สังคมส่วนรวม

ตอนที่ 13 หมั้นแล้ว ก็

คลาดแคล้ว ได้

คน ทั่ ว ไปมั ก จะคิ ด ว่ า เมื่ อ มี การหมั้นหมายขึ้นแล้ว จะต้องจบลง ด้ ว ยการแต่ ง งานกั บ อี ก ฝ่ า ยเสมอ ซึ่ ง ข้ อ เท็ จ จริ ง หาเป็ น เช่ น นั้ น ไม่ เพราะหากฝ่ายใดเกิดเปลีย่ นใจภายหลัง เนือ่ งจากเหตุใดๆ ก็ตาม ก็ไม่สามารถ บังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งแต่งงานด้วยได้ ส่ ว นฝ่ า ยที่ ถู ก ถอนหมั้ น มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ค่าทดแทน ถ้าเป็นกรณีฝา่ ยหญิงซึง่ เป็น ฝ่ า ยถู ก หมั้ น เป็ น ผู ้ ผิ ด สั ญ ญาเสี ย เอง ฝ่ายชายสามารถเรียกของหมั้นคืนได้

B

สินสอด ตัวอย่างเช่น นายสมชายกับนางสาว สมหญิง ได้หมัน้ หมายกันตามประเพณี ต่อมานางสาวสมหญิงเกิดเปลี่ยนใจ ไม่อยากแต่งงานกับนายสมชายแล้ว เมื่อเป็นเช่นนี้ นายสมชายไม่สามารถ บั ง คั บ ให้ น างสาวสมหญิ ง แต่ ง งาน กับตนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์มาตรา 1438 ซึ่งในกรณีนี้ นางสาวสมหญิงเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมัน้ จึ ง ต ้ อ ง คื น ข อ ง ห มั้ น ทั้ ง ห ม ด แ ก ่ นายสมชายด้วย ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1439 ในทางกลั บ กั น หากนายสมชาย เป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น ฝ่ายหญิงคือ นางสาวสมหญิ ง ไม่ ต ้ อ งคื น ของหมั้ น และยังสามารถเรียกค่าทดแทนได้ด้วย

13

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 14 อยาก

มีคู่ ต้องดูอายุครบ

ตอนที่ 15

สมรักแล้ว ต้องสมรส

หนุ ่ ม สาวหรื อ วั ย รุ ่ น มั ก ใจร้ อ น

อยากจดทะเบี ย นสมรสกั น เร็ ว ๆ แต่ ใ น ทางกฎหมายได้ก�ำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงจะต้องมีอายุ ครบ 17 ปีบริบูรณ์ จึงจะท�ำการสมรสกันได้ เว้นแต่มีเหตุอันสมควร ก็ขอให้ศาล สั่งให้สามารถสมรสกันได้ ตัวอย่างเช่น นายเอกับนางสาวบี ทั้งคู่อายุ 15 ปี ทั้งสองรักกันมาก และต้องการ จดทะเบียนสมรสกัน แต่ไม่สามารถท�ำได้เพราะกฎหมายไม่อนุญาต ในทางกลับกัน สมมุตวิ า่ นายเอกับนางสาวบีเกิดได้เสียกัน และนางสาวบีได้ตงั้ ท้อง บิดาและมารดา ของทั้งสองฝ่ายจึงต้องไปร้องขออนุญาตจากศาลให้ท�ำการสมรสกันได้ เป็นไปตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1448

คู่รักบางคู่อาจเข้าใจว่าการจัดงาน แต่งงานใหญ่โต ผู้คนรับรู้กันทั้งบ้าน ทั้ ง เมื อ งเป็ น การสมรสโดยชอบแล้ ว แต่ในทางกฎหมายถือว่ายังไม่เกิดสิทธิ ซึ่ ง กั น และกั น ของความเป็ น คู ่ ส ามี ภรรยา

นายทะเบียน

14

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ดั ง นั้ น หากต้ อ งการรั ก ษาสิ ท ธิ ของแต่ละฝ่ายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาต่ า งๆ ตามมา คูส่ มรส คือ ฝ่ายชายและหญิงจะต้องไป จดทะเบียนสมรสต่อหน้านายทะเบียน ณ ที่ ว่าการอ�ำเภอ กิ่ งอ� ำเภอ หรือส�ำนักงานเขตในพื้นที่กรุงเทพฯ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1457 มาตรา 1458 ซึ่งการ กระท� ำ ดั ง กล่ า วถื อ ว่ า เป็ น การแสดง ความยินยอมว่าจะเป็นสามีภรรยากัน โดยเปิดเผย และเป็นการสมรสทีค่ รบถ้วน ตามขั้นตอนของตามกฎหมาย

15

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 16

อย่าเพิ่งดีใจ แค่ได้จดทะเบียน

ในอดีตการรักใคร่ชอบพอจนน�ำไปสู่ การแต่งงาน และจดทะเบียนสมรส เปรียบเสมือนการมีหลักฐานที่มั่นคง ส�ำหรับชีวิตคู่ แต่สมัยนี้ต้องพึงระวัง โดยเฉพาะสถานการณ์ที่ผู้คนรู้จักกัน ง่ายดายผ่านโลกออนไลน์ จนน�ำไปสู่ การคบหา แต่งงาน และจดทะเบียน สมรสกันในทีส่ ดุ เพราะหากไม่ตรวจสอบ ให้ ดี อาจพบว่ า อี ก ฝ่ า ยมี คู ่ ค รอง ที่จดทะเบียนสมรสชอบด้วยกฎหมาย อยู ่ แ ล้ ว   ผลที่ ต ามมา คื อ ฝ่ า ยที่ จดทะเบี ย นสมรสภายหลั ง ถื อ เป็ น การจดทะเบียนสมรสซ้อน โดยจะไม่มี ผลและสิ ท ธิ์ ใ ดๆ ทางกฎหมาย รองรับเลย

16

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตัวอย่างเช่นนายสุนทรกับคุณยุพดี คู ่ ส ามี ภ รรยาจดทะเบี ย นสมรสกั น อย่ า งถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย อยู ่ ม า นายสุ น ทรเล่ น เฟซบุ ๊ ค แล้ ว เกิ ด ไป พบกับนางสาวสุภา เกิดรักใคร่ชอบพอ นายสุ น ทรถึ ง ขั้ น ชวนไปจดทะเบี ย น สมรส เพื่ อ ยื น ยั น ความรั ก โดยที่ นางสาวสุ ภ าไม่ ท ราบมาก่ อ นว่ า นายสุ น ทรได้ จ ดทะเบี ย นสมรสกั บ คุณยุพดีอยู่แล้ว ดังนั้น ต่อมาหากนางสาวสุภาตกลง ยอมจดทะเบียนสมรสกับนายสุนทร จะถื อ ว่ า การจดทะเบี ย นสมรส ของนางสาวสุภาเป็นการจดทะเบียน สมรสซ้อนและตกเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452

ตอนที่ 17 สมัครใจใช้

น.ส.

ใน อดี ต การจะดู ว ่ า ผู ้ ห ญิ ง คนใด สมรสแล้ ว หรื อ ไม่ สามารถสั ง เกต ได้จากค� ำน�ำหน้ า ชื่ อ ที่ ใช้ ว ่ า “นาง” จากเดิมทีใ่ ช้คำ� ว่า “นางสาว หรือ น.ส.” ปั จ จุ บั น กฎหมายเปิ ด โอกาส ให้ฝา่ ยหญิงมีสทิ ธิเลือกใช้คำ� น�ำหน้าชือ่ ที่ บ ่ ง บอกถึ ง สถานะของตั ว เองได้ ตามพระราชบัญญัตคิ ำ� น�ำหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 มาตรา 5 และมาตรา 6 เช่น หากแต่งงานแล้ว ยังต้องการใช้ ค�ำน�ำหน้าว่า “นางสาว” โดยไม่เปลีย่ น ไปใช้ “นาง” ก็สามารถท�ำได้ หรือกรณี ฝ่ายหญิงสมรสแล้ว แต่ท�ำการหย่าร้าง กับสามี ต้องการกลับมาใช้ค�ำน�ำหน้า ชือ่ ว่า นางสาว หรือ น.ส. อีกครัง้ ก็ทำ� ได้ เช่นกัน

ทั้งนี้ เพียงน�ำหลักฐานประกอบด้วย ท ะ เ บี ย น ส ม ร ส ท ะ เ บี ย น บ ้ า น และบัตรประชาชน ไปยื่นค�ำร้องขอ เปลีย่ นค�ำน�ำหน้าชือ่ ณ ทีว่ า่ การอ�ำเภอ กิ่งอ�ำเภอ หรือส�ำนักงานเขตในพื้นที่ กรุงเทพฯ ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน จากนางก็ ส ามารถกลั บ มาเป็ น นางสาวได้โดยไม่ยุ่งยาก

17

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 18

ตอนที่ 19

สินสมรส

หนี้ต้องรับ ทรัพย์ต้องแบ่ง

เรื่องของสองเรา สิน สมรส

เมื่อคู่สมรสที่เคยรักกันต้องสิ้นสุดความสัมพันธ์กันแล้ว นอกจากสินสมรส ที่ต้องแบ่งให้เท่าๆ กันแล้ว ในส่วนของหนี้สินที่เกิดมาร่วมกันระหว่างสมรส ก็ต้องร่วมกันรับผิดชอบไปในส่วนเท่าๆ กันด้วย ตั ว อย่ า งเช่ น นายสมโชคได้ จ ดทะเบี ย นหย่ า ร้ า งกั บ นางสมพร โดยทั้ ง คู ่ มีเงินสดอยู่ 500,000 บาทที่เป็นสินสมรส ขณะเดียวกันนายสมโชคก็มีหนี้อยู่ 100,000 บาทที่เกิดจากไปกู้ยืมเงิน ซึ่งเป็นค่าใช่จ่ายในการเรียนของลูก

เมื่อตกลงปลงใจร่วมชีวิตกันแล้ว กฎหมายได้แบ่งสินทรัพย์ออกเป็นสองส่วน คือ สินส่วนตัวกับสินสมรส ส�ำหรับสินส่วนตัว คือ ทรัพย์สินที่แต่ละคนมีอยู่เดิม ก่อนที่จะแต่งงานกัน รวมทั้งเครื่องใช้ส่วนตัว เครื่องแต่งกาย เครื่องมือเครื่องใช้ ในการประกอบอาชีพ ทรัพย์สินที่ฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยได้รับมรดก หรือการได้มาโดยเสน่หา และในกรณีฝ่ายหญิง คือ ทรัพย์สินที่เป็นของหมั้น เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1471 โดยฝ่ายที่เป็นเจ้าของ สินส่วนตัว สามารถใช้ทรัพย์สินได้โดยไม่ต้องขอความยินยอมจากคู่สมรส ส่วนสินสมรส คือทรัพย์สนิ ทีค่ สู่ มรสได้มาระหว่างสมรส รวมทัง้ ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรมหรือโดยการให้เป็นหนังสือที่ระบุเป็นสินสมรส และดอกผลของสินส่วนตัว แต่ในกรณีเกิดความสงสัยว่าทรัพย์สนิ ใดเป็นสินสมรส หรือไม่ ให้สันนิษฐานเอาไว้ก่อนเป็นสินสมรส เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 1472 วรรค 1 และวรรค 2 และหากฝ่ายใดจะใช้สินสมรส จะต้องได้รับความยินยอมจากอีกฝ่ายหนึ่งด้วย

18

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ต่ อ มาเมื่ อ ทั้ ง คู ่ ห ย่ า ร้ า งกั น จะต้ อ งแบ่ ง สิ น สมรสกั น คนละ 250,000 บาท ขณะเดียวกันนางสมพรจะต้องช่วยรับผิดชอบหนี้จ�ำนวนดังกล่าวที่นายสมโชค ก่อขึ้นระหว่างสมรสจ�ำนวนครึ่งหนึ่ง หรือ 50,000 บาท ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 1533 มาตรา 1535

หนี้

50%

50%

หนี้

19

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 20 ลูกเป็น เมื่อไม่ได้จดทะเบียน

ตอนที่ 21

ของใคร

หลายคนอาจจะไม่ทราบว่า กรณี ที่ ห ญิ ง ช า ย มี ค ว า ม สั ม พั น ธ ์ กั น จนมี บุ ต รขึ้ น มาในขณะที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ จดทะเบียนสมรสกัน ตามกฎหมาย ก�ำหนดให้บตุ รนัน้ เป็นสิทธิของฝ่ายหญิง เท่านั้น เว้นแต่ต่อมาฝ่ายหญิงและชาย ไปจดทะเบียนสมรสกัน หรือกรณีอื่นๆ เช่น บิดาของบุตรไปด�ำเนินการขอให้ จดทะเบียนเป็นบุตร หรือบิดาของบุตร ร้องขอต่อศาลและได้รับการอนุญาต บุตรจึงจะเป็นสิทธิของบิดา

20

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

บุตรบุญธรรม รักนี้ต้องมีกติกา

ตัวอย่างเช่น นายสมศักดิ์อยู่กินกับ นางสมศรีอย่างเปิดเผย แต่ยังไม่ได้ จดทะเบี ย นสมรส และได้ ค ลอดลู ก ออกมา ขณะนัน้ ให้ถอื ว่าเป็นบุตรโดยชอบ ด้วยกฎหมายของนางสมศรีเท่านั้น ภายหลังนายสมศักดิ์ไปจดทะเบียน สมรสกับนางสมศรี หรือนายสมศักดิ์ ไปจดทะเบี ย นรั บ รองการเป็ น บุ ต ร ต่ อ นายทะเบี ย นที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ หรือส�ำนักงานเขตในพื้นที่กรุงเทพฯ หรือในกรณีน�ำหลักฐานการเป็นบิดา ของบุตรไปร้องขออนุญาตจากศาลก็ได้ ก็จะท�ำให้นายสมศักดิ์เป็นพ่อของบุตร ที่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย ตามประมวล กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 1546 และมาตรา 1548

การที่ ผู ้ ค นให้ ค วามเมตตากั บ เด็ ก ต้ อ งการน� ำ มาอุ ป การะเหมื อ นเป็ น ลู ก ตามสายโลหิตนั้น กฎหมายอนุญาตให้ท�ำได้ แต่ก็ได้วางกฏเกณฑ์เพื่อคุ้มครอง ความสงบของสั ง คมและศี ล ธรรมไว้ ด ้ ว ย เพื่ อ ป้ อ งกั น การเปลี่ ย นสถานะ ของผู้รับบุตร กับคนที่เป็นบุตรบุญธรรมภายหลัง เช่น เดิมผู้รับเป็นพ่อ แต่ต่อมา เปลี่ยนสถานะกลายเป็น สามี กฎหมายจึงต้องเข้ามาดูแล โดยก�ำหนดเกณฑ์อายุของผู้รับบุตรบุญธรรม ว่าต้องเป็นบุคคลที่มีอายุไม่ต�่ำกว่า 25 ปี และต้องมีอายุห่างจากบุตรบุญธรรม ไม่น้อยกว่า 15 ปี และบางกรณีต้องผ่านความเห็นชอบของผู้ปกครองอีกด้วย หากบุตรบุญธรรมยังเป็นผู้เยาว์ และกรณีที่บุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์ที่อายุเกิน 15 ปี จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้ที่จะมาเป็นบุตรบุญธรรมด้วยตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1598/19 มาตรา 1598/20 และ มาตรา 1598/21

21

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 22 บุตรบุญธรรมที่

สมบูรณ์แบบ

ตอนที่ 23

ขอคืน ของมีค่า หากว่าถูก เนรคุณ

ตัวอย่างเช่น เจ้ามรดกที่ตายไปได้ จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมโดยชอบ ด้วยกฎหมายไว้ตงั้ แต่ตอนทีย่ งั มีชวี ติ อยู่ บุ ต รบุ ญ ธรรมจึ ง มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ มรดก ในสถานะเดี ย วกั บ ผู ้ สื บ สั น ดาน (ลู ก หลาน เหลน) บิ ด ามารดา และคู่สมรสของเจ้ามรดก

หากเราต้องการรับบุตรบุญธรรม

22

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

สั ก คนหนึ่ ง ก็ ค วรจะท� ำ ให้ ถู ก ต้ อ ง ตามกฎหมายและสมบูรณ์ในทุกด้าน โดยจะต้องไปจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ ตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดสิทธิต่างๆ แก่บตุ รบุญธรรม เช่น การมีสทิ ธิรบั มรดก ซึ่ ง หากไม่ มี ก ารจดทะเบี ย นรั บ เป็ น บุตรบุญธรรมจะท�ำให้บตุ รบุญธรรมผูน้ นั้ ไม่ได้รับสิทธิตา่ งๆ จากผู้รับบุตรเลย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1598/27 อย่ า งไรก็ ต าม ผูร้ บั บุตรบุญธรรมจะไม่มสี ทิ ธิรบั มรดก ของบุ ต รบุ ญ ธรรมในฐานะทายาท โดยธรรม ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 1598/29

ในทางกลั บ กั น พ่ อ หรื อ แม่ รั บ บุตรบุญธรรม จะไม่สิทธิรับมรดกจาก บุ ต รบุ ญ ธรรม เพราะหากให้ สิ ท ธิ ดังกล่าว อาจเกิดการรับบุตรบุญธรรม เพื่อหวังผลประโยชน์ทางมรดกก็ได้

การทีป่ ู่ ย่า ตา ยาย หรือพ่อ แม่ และผูม้ พี ระคุณคนอืน่ ๆ ได้ให้เงินทองทรัพย์สนิ มี ค ่ า แก่ ลู ก หลานไปแล้ ว แต่ ภ ายหลั ง ลู ก หลานกระท� ำ การไม่ เ หมาะสม เช่ น ประทุษร้ายแก่ผู้ให้ เป็นความผิดทางอาญาร้ายแรงหรือท�ำให้ผู้ให้เสียชื่อเสียง อย่างรุนแรง รวมทัง้ ไม่ชว่ ยเหลือ เมือ่ ผูใ้ ห้ประสบกับความยากไร้และผูร้ บั ยังสามารถ ช่วยเหลือได้แ ต่ ไ ม่ พึ ง กระท�ำ เหตุ ก ารณ์ เช่ น นี้ ผู ้ ใ ห้ ส ามารถเพิ ก ถอนการให้ เพราะเหตุเนรคุณได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 531 (1) (2) และ (3) ตัวอย่างเช่น คุณย่าให้เครื่องประดับ ทอง เพชรนิลจินดาจ�ำนวนมากแก่หลาน ที่ อ ยู ่ ร ่ ว มบ้ า นเดี ย วกั น โดยเสน่ ห า เพราะคิ ด ว่ า หลานจะเป็ น ผู ้ ดู แ ลตนต่ อ ไป ต่อมา หลานเกิดเปลี่ยนพฤติกรรม มีการดุด่าต่อหน้าเพื่อนบ้านจนเป็นที่อับอาย บางครั้งถึงขั้นท�ำร้าย และเมื่อเจ็บป่วยก็ไม่ดูแลทั้งที่พอมีก�ำลังทรัพย์ พฤติกรรม ที่ประสบเช่นนี้ กฎหมายเปิดช่องให้คุณย่ามีสิทธิที่จะเรียกทรัพย์สินที่เคยให้ไป กลับคืนมาได้

23

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 24 รู้จัก

ผู้สืบสันดาน อ่านเรื่องมรดกง่ายขึ้น

ตอนที่ 25 มรดกเล็กใหญ่

ใครมีสิทธิก่อน

เวลาทีเ่ ราอ่านหนังสือกฎหมายเรือ่ งเกีย่ วกับมรดก มักจะพบค�ำว่า “ผูส้ บื สันดาน” ท�ำให้เกิดความสงสัยว่าหมายถึงใคร ทั้งนี้ตามกฎหมายระบุไว้ว่า ผู้สืบสันดาน หมายถึง ผู้สืบสายโลหิตโดยตรงลงมา ได้แก่ ลูก หลาน เหลน ลื่อ ลื่อก็คือ คนที่ สื บ ต่ อ จากเหลนลงมา เป็ น ไปตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 1629 (1) นอกจากนี้ในกลุ่มของผู้สืบสันดานยังสามารถแบ่งประเภทของบุตรที่จะมีสิทธิ ได้รับมรดกในล�ำดับชั้นเดียวกัน โดยแบ่งเป็น 3 ประเภท ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์มาตรา1627 ประกอบด้วย 1. บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรที่เกิดจากบิดาที่จดทะเบียนสมรส  2. บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง หรือบุตรที่เกิดจากบิดามารดาที่อยู่กินกัน ฉันสามีภริยาโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส แต่ต่อมาบิดาได้รับรอง เช่น การแจ้งเกิด การให้ใช้นามสกุล การส่งเสียเลี้ยงดู หรือการแสดงเปิดเผยแก่บุคคลทั่วไปว่าเป็น บุตรของตน 3. บุ ต รบุ ญ ธรรมหรื อ การรั บ ลู ก คนอื่ น มาเลี้ ย งเสมื อ นเป็ น ลู ก ของตั ว เอง โดยต้องจดทะเบียนตามกฎหมาย เข้าใจภาษามรดกแล้ว คราวนี้การศึกษาหรือการแบ่งทรัพย์สินก็ท�ำได้ไม่ยาก อีกต่อไป ผมเป็น พ่อยอมรับ ผมเป็น้ๆ ลูก หนูนะ ูลกแท บุญธรรม

24

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ปัญหาเรื่องมรดกกลายเป็นต้นเหตุให้ผู้คนเกิดการแก่งแย่งกันมามากมายแล้ว หากเจ้าของมรดกท�ำพินัยกรรมเอาไว้เรียบร้อยก็คงไม่มีปัญหา แต่ถ้าไม่ได้ท�ำไว้ ลูกหลานจะท�ำอย่างไรกันดี ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629 มาตรา 1630 และ มาตรา 1631 ก�ำหนดให้ทายาทที่จะได้รับมีมรดกเพียง 6 ล�ำดับ คือ 1. ผู้สืบสันดาน (ลูกเจ้าของมรดก) 2. บิดามารดา 3. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4. พี่น้อง ร่วมบิดา หรือร่วมมารดาเดียวกัน 5. ปู่ ย่า ตา ยาย และ 6. ลุง ป้า น้า อา โดยส่วนใหญ่ทายาทชั้นที่ชิดสนิทที่สุดของเจ้ามรดกเท่านั้นคือ 1. ผู้สืบสันดาน (ลู ก เจ้ า ของมรดก) 2. บิ ด ามารดาจะได้ รั บ มรดกก่ อ น และกฎหมายยกเว้ น ให้ทั้งสองล�ำดับดังกล่าวอยู่ในล�ำดับเดียวกัน หากทายาท 2 ล�ำดับแรก คือ ผู้สืบ สั น ดานและบิ ด ามารดาไม่ มี ชี วิ ต อยู ่ ทั้ ง หมด ทายาทล� ำ ดั บ 3 ซึ่ ง เป็ น พี่ น ้ อ ง ร่วมบิดามารดาเดียวกันของเจ้ามรดกอยู่ก็จะได้รับทรัพย์สินไป โดยทายาทที่อยู่ใน ล�ำดับที่ 4 ถึง 6 ก็จะไม่มีสิทธิรับมรดกของเจ้ามรดกได้ รู ้ ล� ำ ดั บ ชั้ น ของกฎหมายกั น แล้ ว ญาติ พี่ น ้ อ งจะได้ ไ ม่ ต ้ อ งมานั่ ง ทะเลาะ แย่งสมบัติกันให้เจ้าของมรดกนอนตายตาไม่หลับ

25

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 26 วุ่นวาย เวียนวน...

ตอนที่ 27

คนรับมรดก

กรณีที่ผู้ตายซึ่งเป็นเจ้ามรดกมีสามี หรื อ ภรรยาที่ จ ดทะเบี ย นสมรสกั น ถูกต้อง ฝ่ายที่ยังมีชีวิตอยู่มีสิทธิที่จะ ได้ รั บ ทรั พ ย์ สิ น ครึ่ ง หนึ่ ง จากมรดก ส่วนที่เป็นสินสมรสก่อน ตามประมวล กฏหมายแพ่ ง และพานิ ช ย์ มาตรา 1625 ส่วนสินสมรสทีเ่ หลืออีกครึง่ หนึง่ ก็จะตกเป็นมรดกของทายาท ดังนั้น คู่สมรสจึงมีสิทธิได้รับมรดก อีกครั้งหนึ่ง ในฐานะทายาทร่วมกับ (ลู ก เจ้ า มรดก) และบิ ด ามารดา ของผู้ตายที่ยังมีชีวิตอยู่ตามประมวล กฏหมายแพ่ ง และพานิ ช ย์ มาตรา 1629, 1635 (1)

26

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

จดทะเบียน ถูกต้อง

เมื่อมีทั้งคู่สมรสและเครือญาติ

เรื่องของมรดกนั้น หากเจ้ามรดก ท�ำพินยั กรรมเรียบร้อยย่อมไม่มปี ญ ั หา แต่ถ้าไม่ได้ท�ำไว้นี่เองย่อมกลายเป็น เรื่องยุ่งยากตามมา

ตั ว อย่ า งเช่ น นายเอและนางบี เป็นสามีภรรยาตามกฎหมาย และมี ทรั พ ย์ สิ น รวมกั น 1,000,000 บาท

หนี้สิน มากมาย ใครต้อง รับภาระ

พินัย กรรม

มี บุ ต รด้ ว ยกั น 1 คน และมี บิ ด า และมารดาของนายเอทีย่ งั มีชวี ติ อยูด่ ว้ ย ต่อมานายเอเสียชีวติ เบือ้ งต้นทรัพย์สนิ จ�ำนวน 1,000,000 บาท นางบีจะได้ รับเงินจ�ำนวน 500,000 บาท ไปก่อน ซึ่งถือเป็นเงินสินสมรส ส่วนที่เหลืออีก 500,000 ก็ตกเป็น มรดกของทายาทตามล�ำดับของนายเอ ที่ ป ระกอบด้ ว ยบุ ต ร บิ ด ามารดา ที่ยังมีชีวิต และนางบีภรรยาอีกด้วย โดยจะได้ ส ่ ว นแบ่ ง ในอั ต ราสั ด ส่ ว น เท่าๆ กัน คือคนละ 125,000 บาท ขณะทีน่ างบีภรรยาจะได้เงินรวมทัง้ สิน้ 625,000 บาท

หนี้ 10 ล้าน

มรดก 10 ล้าน

ี ม ่ ค แ ้ ห ใ 1 ล้าน

สิ่ ง ที่ เ กี่ ย วพั น จากผู ้ ถึ ง แก่ ก รรม มายังทายาท ไม่ใช่มเี ฉพาะมรดกเท่านัน้ แต่ยังรวมถึงเรื่องของหนี้สินอีกด้วย เช่ น กรณี ข องพ่ อ แม่ ที่ เ สี ย ชี วิ ต แล้ ว ทิ้ ง ทั้ ง มรดกและหนี้ สิ น ไว้ ใ ห้ กั บ บุ ต ร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1601 ระบุว่าทายาทไม่จ�ำต้อง รับผิด เกินกว่าทรัพย์มรดกที่ตกทอด ให้แก่ตน ตั ว อย่ า งเช่ น หากพ่ อ แม่ มี ห นี้ สิ น 10 ล้ า นบาท ต่ อ มาเสี ย ชี วิ ต ทั้ ง คู ่ จากอุ บั ติ เ หตุ ท างรถยนต์ ขณะที่ ทรัพย์สินของพ่อแม่ที่เป็นมรดกและ ตกทอดให้แก่บุตรมีเพียง 1 ล้านบาท บุตรก็ต้องน�ำมรดก 1 ล้านบาท ไปให้ กับเจ้าหนี้ แต่ไม่ต้องรับผิดชอบหนี้สิน ในส่วนที่เหลืออีก 9 ล้านบาท

27

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 28 ทรัพย์สิน

ขณะบวช ทายาทชวดสิทธิ์ทวง วัด 50% ญาติ50% ก็แล้วกัน

หากในระหว่างบวชเป็นพระสงฆ์มีญาติโยมมอบเงินทอง ที่ดิน รถยนต์ให้ใช้ และปรากฎว่ า ต่ อ มาภิ ก ษุ รู ป นั้ น เกิ ด มรณภาพ ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิชย์ มาตรา 1623 ก�ำหนดว่า ทรัพย์สมบัติดังกล่าวต้องตกเป็นของวัด ที่จ�ำพรรษาอยู่ ดังนั้น ทายาทจะมาร้องขอส่วนแบ่งจากวัดไม่ได้ ยกเว้นแต่ ระหว่างท่านยังมีชีวิตอยู่ได้มอบทรัพย์สินเงินทองให้ใคร หรือท�ำพินัยกรรมเอาไว้ ให้บุคคลอื่นได้ เพราะทรัพย์ดังกล่าวเป็นของท่านที่จะมอบให้ใครก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น พระมนัสได้ท�ำพินัยกรรมมอบรถยนต์ให้แก่น้องชายตัวเอง เอาไว้ ต่ อ มาเมื่ อ พระมนั ส มรณภาพ รถยนต์ คั น ดั ง กล่ า วก็ ต กเป็ น กรรมสิ ท ธิ์ ของน้องชาย โดยที่วัดไม่มีสิทธิ์ยึดครองเอาไว้

ตอนที่ 29 เรื่อง

เงินทอง ของสามี-ภรรยา

ความขัดแย้งเรื่องทรัพย์สินที่เกิดขึ้นระหว่างสามีภรรยา ไม่ว่าเกิดจากฝ่ายสามี กระท�ำกับภรรยา หรือเกิดจากฝ่ายภรรยากระท�ำกับสามี เช่น การขโมยเงิน และของมี ค ่ า หรื อ ฉ้ อ โกงหลอกลวงเงิ น แม้ ก ฎหมายถื อ ว่ า เป็ น ความผิ ด แต่ไม่ต้องรับโทษ เพราะกฎหมายมองว่าเป็นเหตุส่วนตัวที่สามารถยกโทษให้กันได้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 71 ตัวอย่างเช่น สามีขโมยสร้อยคอทองค�ำ ซึ่งเป็นสินส่วนตัวของภรรยาไปขาย แม้สามีจะมีความผิดฐานลักทรัพย์ แต่กฎหมายก็มเี หตุยกเว้นโทษ เนือ่ งจากเป็นเหตุ ส่วนตัวที่สามารถยกโทษให้กันได้ เนื่องจากต้องการคุ้มครองความผาสุกของสามี ภรรยาในระบบครอบครัวอันเป็นสถาบันพื้นฐานของสังคม แม้กฎหมายจะไม่เอาผิด แต่เรื่องในลักษณะนี้ ถ้าไม่เกิดขึ้นย่อมจะเป็นผลดี กับทุกฝ่ายมากกว่า

เธอ ขโมยเงิน ฉันไป!

ขอโทษค่ะ แม่ฉัน เดือดร้อน

ส่ ว นทรั พ ย์ สิ น อื่ น ๆ ที่ มิ ไ ด้ ท� ำ พิ นั ย กรรมไว้ ย ่ อ มตกเป็ น ของวั ด โดยที่ ญ าติ ของพระมนัสจะมาเรียกร้องไม่ได้เช่นกัน

28

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

29

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 30

สัตว์ ก็มีหัวใจ

นอกจากกฎหมายจะคุ้มครองมนุษย์แล้ว ตอนนี้ยังพัฒนาไปถึงการปกป้อง สวัสดิภาพของสัตว์ต่างๆ ที่ถือว่าเป็นเพื่อนร่วมโลกของเราด้วย โดยกฎหมาย คุ้มครองสัตว์ฉบับแรกของไทย บังคับใช้แล้วเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เพื่อปกป้องสวัสดิภาพของสัตว์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่เราใช้งาน หรือว่าเป็น สัตว์เลี้ยง หรือสัตว์ในป่าที่อยู่ตามธรรมชาติ ดังนัน้ ใครทีท่ ำ� ให้สตั ว์ได้รบั ความทุกข์ทรมาน ได้รบั ความเจ็บปวด ความเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรืออาจมีผลท�ำให้สัตว์นั้นตาย พิการ ฯลฯ โดยไม่มีเหตุอันสมควร ผู ้ นั้ น มี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ป ้ อ งกั น การทารุ ณ กรรมและการจั ด สวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 มาตรา 20 ประกอบมาตรา 31 ต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

30

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 31 เมื่อน้องหมา

ไม่น่ารัก อีกแล้ว

สมัยนี้ใครคิดจะเลี้ยงสัตว์ต้องคิด ให้ ห นั ก โดยเฉพาะกรณี ข องสุ นั ข หรือแมว ทีค่ นส่วนใหญ่มกั เห็นเป็นสัตว์ น่ารักในช่วงเล็กๆ ครั้นน�ำมาเลี้ยงแล้ว ภายหลังเกิดความเบื่อหน่าย ไม่มีเวลา และมองเป็นภาระ ก็ใช้วธิ นี ำ� ไปปล่อยวัด หรื อ ในสถานที่ ต ่ า งๆ ให้ พ ้ น ภาระ ของตัวเอง เรื่องราวเช่นนี้ไม่ง่ายดายเหมือนใน อดีตอีกแล้ว เพราะการกระท�ำเช่นนี้ ถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติ ป้ อ งกั น การทารุ ณ กรรมและการจั ด สวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 มาตรา 23 ห้ามมิให้เจ้าของสัตว์ปล่อย ละทิ้ง หรือการท�ำการใดๆ ให้สัตว์พ้นจาก การดูแลของตนโดยไม่มีเหตุอันควร หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 40,000 บาท ตามมาตรา 32

31

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 32 เลี้ยง

สัตว์แปลก อาจแบกทุกข์

ตอนที่ 33 รักน้องหมา ให้ถ่ายไปทั่ว

อย่ามักง่าย

ตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ได้ก�ำหนดห้ามมิให้น�ำสัตว์น�้ำ บางชนิดเข้ามาในราชอาณาจักร หรือน�ำสัตว์นำ�้ ดังกล่าวไปปล่อยในทีจ่ บั สัตว์นำ�้ แห่งใดแห่งหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ เนื่องจากการกระท�ำดังกล่าว อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศได้ โดยตัวอย่างชนิดของสัตว์นำ�้ ทีก่ ฎหมาย ก�ำหนดห้ามนัน้ ได้แก่ ปลาเรืองแสง (Lantern Fish) ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา เต่า และตะพาบบางชนิด เป็นต้น หากผู้ใดฝ่าฝืนถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 มาตรา 54 มาตรา 55 ประกอบมาตรา 62 ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ คน รักสุนัขเหมือนลูกมีจ� ำนวนมากขึ้นทุกวัน เพราะความน่ารัก น่าเอ็นดู และซื่อสัตย์ของบรรดาเจ้าสี่ขาเหล่านี้ ท�ำให้คนเลี้ยงมักพาไปไหนมาไหนด้วย หรือพาไปเดินเล่นในพื้นที่สาธารณะ แต่ปรากฏว่าเมื่อปลอดโปร่งโล่งใจดี น้องหมา เหล่ า นี้ มั ก จะปลดปล่ อ ยทั้ ง ฉี่ ทั้ ง ถ่ า ยออกมา ซึ่ ง หากเจ้ า ของไม่ รู ้ จั ก จั ด การ เก็บไปทิ้ง ก็จะกลายเป็นสิ่งที่ท�ำความน่ารังเกียจให้กับผู้อื่นได้ ที่ส�ำคัญยังมีความผิดตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็น ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 มาตรา 14 (2) ปล่อยให้สัตว์ถ่ายมูล บนถนน และมิได้ขจัดมูลสัตว์ดังกล่าวให้หมดไป และต้องถูกปรับไม่เกิน 500 บาท ตามมาตรา 52

32

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

33

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 34 เลี้ยงสัตว์ ใน

ตอนที่ 35

คอนโด

ประสบภัย จากรถยนต์ ไม่ต้องทนรอ

NO

NO YES

YES

คนเมืองที่อยู่อาศัยกันตามคอนโดมิเนียม ต้องการเลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะหมา หรื อ แมว แต่ ป ระสบปั ญ หาว่ า นิ ติ บุ ค คลไม่ ย อมให้ เ ลี้ ย งเพราะผิ ด ข้ อ บั ง คั บ ของนิติบุคคลอาคารชุด ตามข้อเท็จจริงแล้วผู้อยู่ในคอนโดจะสามารถเลี้ยงสัตว์ได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับ มติเสียงส่วนใหญ่ของกรรมการนิติบุคคลในคอนโดมิเนียมนั้น ซึ่งเป็นไปตาม พระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 32 และ มาตรา 33 และมาตรา 37/6 ทั้งนี้ หากเสียงส่วนใหญ่ไม่อนุญาต ก็ต้องออกข้อบังคับนิติบุคคลอาคารชุด ในเรื่องการดูแลความปลอดภัยหรือความสงบเรียบร้อยภายในอาคารชุด ที่ระบุว่า ไม่ อ นุ ญ าตให้ เ ลี้ ย งสั ต ว์ ใ นคอนโดฯ รวมทั้ ง ก� ำ หนด บทลงโทษ เช่ น เสียค่าปรับ หรือหากลูกบ้านยังฝ่าฝืนก็สามารถงดจ่ายสาธารณูปโภคได้

ประชาชนที่ใช้ชีวิตบนท้องถนน อาจไม่ รู ้ สิ ท ธิ ข องตั ว เองว่ า เมื่ อ ถึ ง คราวเคราะห์ ร ้ า ย ประสบอุ บั ติ เ หตุ จากรถต่างๆ ที่เข้ามาชน หรือท�ำให้ ได้รับอันตราย ไม่ว่าความผิดจะเป็น ของฝ่ า ยใด ก็ ส ามารถขอรั บ เงิ น ช่วยเหลือได้ อาทิ เบิกค่ารักษาพยาบาล หรือในกรณีเสียชีวิตก็จะมีค่าปลงศพ ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ คุ ้ ม ค ร อ ง ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 นี่ เ ป็ น เ ห ตุ ผ ล ที่ รั ฐ บั ง คั บ ใ ห ้ ร ถ ทุ ก คั น ท� ำ ป ร ะ กั น ช นิ ด นี้ เพื่ อ บรรเทาความเดื อ ดร้ อ นแก่ ชาวบ้าน

ดังนั้น หากสมาชิกในคอนโดใดต้องการเลี้ยงสัตว์ต่างๆ ก็ต้องไปแก้ระเบียบ ข้อบังคับ โดยต้องมีเสียงสนับสนุนจากเจ้าของร่วมคนอื่นๆ เกินร้อยละ 50 ขึ้นไป

34

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

35

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 36

เอกสารคู่รถ ของส�ำคัญต้องติดรถ ผูท้ ขี่ บั ขีร่ ถยนต์อาจต้องเจอเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจเรียกตรวจในกรณีตา่ งๆ อยูบ่ อ่ ยครัง้ คนกับรถไม่ตา่ งกัน คนต้องมีบตั รประชาชน รถก็ตอ้ งมีเอกสารประจ�ำรถ เวลาตรวจ นอกจากเจ้าหน้าที่จะขอดูใบขับขี่แล้ว ยังอาจเรียกดูเอกสารประจ�ำรถ นั่นก็คือ คู่มือจดทะเบียนรถและเอกสารประกันภัย เจ้าของรถต้องเก็บรักษาหลักฐาน ของเอกสารทั้งสองติดรถไว้ หากเจ้าหน้าที่ขอตรวจแล้วไม่มีให้ตรวจ ถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติ คุ ้ ม ครองผู ้ ป ระสบภั ย จากรถ พ.ศ. 2535 มาตรา 12 ประกอบมาตรา 40 มีอัตราโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท

พกติดตัว ไว้นะ ทะเบียนรถ ประกันภัย

36

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 37 ขับรถผิดกฎ

ใบสั่ง บริการถึงบ้าน นึกว่าด! จะรอ

คน ที่ ท� ำ ผิ ด กฎจราจรทั้ ง ที่ ตั้ ง ใจ และไม่ตงั้ ใจต้องคิดให้หนัก เพราะไม่วา่ จะมี เ จ้ า หน้ า ที่ ป รากฏตั ว ให้ เ ห็ น หรื อ ไม่ ก็ ต าม ก็ อ าจมี ใ บสั่ ง มาส่ ง ถึงบ้านได้ ด้วยเทคโนโลยีจากกล้อง ที่ติดไว้ในจุดต่างๆ เมื่ อ พบการกระท� ำ ผิ ด เจ้ า หน้ า ที่ จะจั ด ส่ ง ใบสั่ ง พร้ อ มพยานหลั ก ฐาน เป็นภาพถ่ายจากกล้องไปยังภูมิล�ำเนา ของเจ้าของรถโดยไปรษณีย์ตอบรับ และให้ถือว่าเจ้าของรถได้รับใบสั่งนั้น เมื่อพ้นก�ำหนด 30 วันนับตั้งแต่วันส่ง ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจรทางบก (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2535 มาตรา 140

เมื่ อ ได้ รั บ ใบสั่ ง ก็ ต ้ อ งไปจั ด การ ช� ำ ระค่ า ปรั บ ให้ เรี ย บร้ อ ย ซึ่ ง ตาม เอกสารจะบอกรายละเอียด และวิธกี าร ชัดเจน มิฉะนัน้ อาจมีปญ ั หาเมือ่ ถึงเวลา ไปต่อภาษีทะเบียนรถประจ�ำปี

37

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 38

ชอบแชท... ระวังช�้ำ

ตอนที่ 39

นักปั่น ต้องปันคนอื่น กระแสจักรยานฟีเวอร์ กลายเป็นเรื่องยอดนิยมของคนเมือง เพราะไม่ท�ำลาย สิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน และช่วยให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง แต่ถ้ารักจะปั่น นักปั่นต้องรู้ด้วยว่าการขี่จักรยานในท้องถนนจะต้องปฏิบัติตามกฎจราจร โดยติดอุปกรณ์ความปลอดภัยตามที่กฎหมายก�ำหนดด้วย อาทิ กระดิ่งสัญญาณ ไฟติดหน้ารถสีขาว และไฟติดท้ายรถสีแดง ที่ให้แสงสว่างแก่ผู้ใช้รถบนท้องถนน ได้เห็นชัดเจน รวมทั้งต้องขับขี่ในช่องซ้ายสุดของถนน หากมากันหลายคันก็หา้ มขับซ้อนคันเป็นหลายแถว และทีส่ ำ� คัญคือห้ามขับขี่ แบบประมาทและหวาดเสียว อาทิ ขับปล่อยแฮนด์ อันอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ อันตรายได้

คน ที่ ช อบขั บ รถและพู ด โทรศั พ ท์ โ ดยไม่ พึ่ ง พาอุ ป กรณ์ เ สริ ม อาจท� ำ ให้ เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ไ ด้ นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43 (9) และมาตรา 157 ที่ ก� ำ หนดให้ ผู ้ ที่ ใช้ โ ทรศั พ ท์ ขณะขับขี่ยานพาหนะ มีโทษปรับตั้งแต่ 400 บาท ถึง 1,000บาท และหากท�ำให้ ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต จะมีความผิดอาญาฐานขับรถด้วยความประมาท ท� ำ ให้ ผู ้ อื่ น ได้ รั บ ความเสี ย หายซึ่ ง มี โ ทษทั้ ง จ� ำ คุ ก และปรั บ ตามความร้ า ยแรง ของมูลคดี

ทั้ ง นี้ ห ากใครฝ่ า ฝื น ถื อ ว่ า มี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตราที่ 79-84

ตามกฎหมายดังกล่าวยังครอบคลุมไปถึงการกดหมายเลขโทรออก การรับสาย เล่นเกมส์ การดู หรือพิมพ์ข้อความ หรือเล่นแชท ในโลก Social Network ด้วย

38

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

39

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 40 ระวัง

ป้ายแดงรถ ...หมดอายุ 45

ตอนที่ 42 สติ๊กเกอร์ติดรถ จดเปลี่ยนสี

ต้องแจ้ง

ัน “ป้ายแดง” ของรถที่ออกใหม่มาแต่ละ คั น นั้ น ถื อ เป็ น ป้ า ยทะเบี ย นที่ อ นุ ญ าตให้ ใช้ ชั่วคราวเพียง 45 วันเท่านั้น นับจากวันรับรถ วันแรก โดยต้องเปลีย่ นเป็นป้ายขาวแทน ซึง่ หาก ผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น จะมี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ รถยนต์ พ.ศ. 2522 มาตรา 6 (1) ที่ก�ำหนด ว่ า ผู ้ ใ ดน� ำ รถที่ ยั ง ไม่ จ ดทะเบี ย นมาวิ่ ง ในทาง มี ค วามผิ ด และต้ อ งรั บ โทษตามมาตรา 59 ปรับไม่เกิน 10,000 บาท การขั บ รถป้ า ยแดงอาจเป็น ความภาคภู มิใจของคนขับ เพราะรถป้ า ยแดง แสดงว่าเป็นรถที่ซื้อมาใหม่ แต่ก็ต้องระวังเพราะป้ายแดงของรถนั้นมีก�ำหนด หมดอายุการใช้ได้เช่นกัน

ตอนที่ 41 ขับรถป้ายแดง ยามราตรี

40

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

แย่แล้ว!

รถ ป้ า ยแดงนั้ น บ่ ง บอกถึ ง ความเป็ น รถใหม่ การขั บ รถจึ ง ต้ อ งมี ก รอบ และขอบเขตไว้ ซึง่ บางคนอาจไม่ทราบ ใช้ขบั ไปเทีย่ วเตร่ยามค�ำ่ คืน อาจถูกต�ำรวจ เรียกให้จ่ายค่าปรับได้ การขั บ รถป้ า ยแดงยามค�่ ำ คื น นั้ น ถื อ เป็ น ความผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ รถยนต์ พ.ศ. 2522 มาตรา 27 ที่ ร ะบุ ว ่ า ห้ า มขั บ รถยนต์ ที่ มี ไว้ เ พื่ อ ขาย หรือเพือ่ ซ่อม (รถป้ายแดง) ระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ขนึ้ เวลากลางคืน โดยไม่ มี ค วามจ� ำ เป็ น และได้ รั บ อนุ ญ าตจากนายทะเบี ย น และมี ค วามผิ ด ตามมาตรา 60 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

ใครๆ ก็รู้ว่าการเปลี่ยนสีรถใหม่ ยังไงก็ต้องแจ้งต่อนายทะเบียน แต่ปัจจุบัน การประดับตกแต่งด้วยวิธีการใช้สติ๊กเกอร์ติดเปลี่ยนสีรถให้สวยงาม ที่เรียกว่า Car Wrap โดยไม่จ�ำเป็นต้องน�ำไปพ่นสีเหมือนเมื่อก่อนก�ำลังเป็นที่นิยมอย่างมาก ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเปลี่ยนโดยวิธีใดก็ตาม หากสีรถถูกเปลี่ยนจากสีเดิม ต้องแจ้งต่อ นายทะเบียนภายใน 7 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนแปลงสีรถ ตามพระราชบัญญัติ รถยนต์ พ.ศ. 2522 มาตรา 13 และหากเจ้าของรถฝ่าฝืนไม่ท�ำการแจ้งเปลี่ยนสีรถ จะมีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตามมาตรา 60

41

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 43 แต่งท่อรถ ท�ำเท่

แต่ต้องทุกข์

ตอนที่ 44 เปิดไฟรถ

ซีนอน

บรรดา เด็กแว๊น หรือพวกนิยมแต่งรถที่ตั้งใจท� ำท่อไอเสียให้เกิดเสียงดัง เวลาขับขี่ เพื่อเรียกร้องความสนใจหรือสร้างจุดเด่นให้กับตัวเอง หรืออาจท�ำไป โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ได้ เสียงดังทีเ่ กิดขึน้ นอกจากสร้างความร�ำคาญให้ชาวบ้านทัว่ ไปแล้ว ยังมีความผิด พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 9 ซึ่งห้ามมิให้ผู้ใดน�ำรถ ที่เกิดเสียงอื้ออึงหรือมีสิ่งลากถูไปมาใช้ในทางเดินรถ หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท ตามมาตรา 148 กระแสนิยมบางอย่างนั้น หากท�ำแล้วเป็นการรบกวนผู้อื่นก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรเดิน ตาม เพราะแม้ว่าจะดูเท่ในสายตาเพื่อนร่วมก๊วน แต่อาจจะท�ำให้ต้องเป็นทุกข์ ในภายหลังก็ได้

ไฟส�ำหรับติดหน้ารถยนต์นั้น ไม่ใช่ว่าใครจะเลือกใช้ไฟสีใดก็ได้ตามใจชอบ เหมือนกับไฟทีเ่ ลือกติดในบ้าน เพราะไฟแต่ละประเภทให้คณ ุ สมบัตติ า่ งกันไป ทัง้ นี้ ไฟติดหน้ารถยนต์ต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ขับขี่ด้วย ที่ผ่านมาเชื่อว่านักขับรถส่วนใหญ่น่าจะรู้จักหรือเคยเจอพิษสงของไฟซีนอน จากเพื่อนร่วมทางที่ส่องสว่างจ้าจนท�ำให้แสบตา จนบางครั้งอาจเกือบประสบ อุบัติเหตุกันมาบ้างแล้ว ซึ่งนอกจากจะท�ำให้ไม่ปลอดภัยแล้ว ยังถือว่าเป็น ความผิดตามพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 ตามมาตรา 12 และมีโทษตาม มาตรา 60 ปรับไม่เกิน 2,000 บาทอีกด้วย

42

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

43

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 45 ขัดขวางรถฉุกเฉิน และ

ตอนที่ 46

ถูกปรับ สังคมรังเกียจ การ ขั บ ขี่ ร ถบนถนน แม้ ว ่ า ทุ ก คนจะเร่ ง รี บ เพื่ อ เดิ น ทางไปให้ ถึ ง จุ ด หมาย ปลายทางให้เร็วที่สุด แต่ว่าก็ต้องมีน�้ำใจให้กันด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าหากเห็น รถพยาบาลหรื อ รถมู ล นิ ธิ ห รื อ รถฉุ ก เฉิ น อื่ น ๆ ที่ ก� ำ ลั ง ไปช่ ว ยคนบาดเจ็ บ หรือน�ำผู้ป่วยหนักไปโรงพยาบาล และให้สัญญาณขอทาง เราทุกคนก็ควรเปิด เส้นทางให้โดยชิดรถยนต์เข้าไปที่ขอบถนนด้านซ้ายหรือไปในช่องรถประจ� ำทาง เพื่อให้รถฉุกเฉินนั้นผ่านไปเสียก่อน แต่หากผู้ขับรถยนต์เห็นแก่ตัว ยังไม่ยอมเปิดทางให้กับรถฉุกเฉินก็จะมีความผิด ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 76 และต้องรับโทษตาม มาตรา 148 ปรับไม่เกิน 500 บาท นอกจากนี้ก็ยังจะโดนคนเขารังเกียจ บางครั้ง อาจจะโดนถึงขัน้ ถ่ายคลิปเอาไปประจานกันในโลก Social Network กันเลยทีเดียว มีน�้ำใจสักนิด เพื่อช่วยชีวิตผู้อื่น นอกจากไม่ผิดกฎหมายแล้วยังได้กุศลแรง อีกด้วย

หวอออออ

44

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

นั่งรถซิ่ง ไม่ต้องรอจนกลิ้งไปก่อน

ขับช้าๆ หน่อย โชเฟอร์!

เกิดมาเป็นประชาชนคนธรรมดา หาเช้ า กิ น ค�่ ำ เมื่ อ จ� ำ เป็ น ต้ อ งพึ่ ง พา บริ ก ารสาธารณะทั้ ง รถเมล์ รถตู ้ ห รื อ แ ม ้ ก ร ะ ทั่ ง ร ถ แ ท็ ก ซี่ ที่ ขั บ ขี่ หวาดเสียวโดยไม่เกรงใจใคร ครั้นพอ ถู ก ทั ก ท้ ว งก็ ไ ม่ ฟ ั ง กลั บ กลายเป็ น เหตุการณ์ยิ่งว่าเหมือนยิ่งยุเข้าไปอีก หากพบเจอกรณีเช่นนี้ ผู้โดยสาร มีสิทธิแจ้งความเอาผิด โดยไม่ต้อง ร อ ใ ห ้ มี อุ บั ติ เ ห ตุ เ สี ย ก ่ อ น ก็ ไ ด ้ ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 78, 160 ทีก่ ำ� หนด ว่ า หากผู ้ ขั บ รถประเภทสาธารณะ ท� ำ ให้ บุ ค คลอื่ น ได้ รั บ อั น ตรายสาหั ส หรือตาย อาจต้องจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน ห รื อ ป รั บ ตั้ ง แ ต ่ 5 , 0 0 0 บ า ท ถึง 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

45

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 47 รถหายในห้าง อ้าง

ใครรับผิดชอบ

ตอนที่ 48 รถหายในโรงแรม

ต้องรีบแจ้ง ด่วน HOTEL

หลายคนอาจจะเคยสงสัยว่า กรณีทขี่ บั รถเข้าไปอาคารจอดรถในห้าง โดยได้รบั บัตรเรียบร้อยแล้ว ครั้นจอดรถเสร็จสรรพแล้วไปเดินช้อปปิ้ง กินอาหาร ดูหนัง ท�ำธุระต่างๆ ในห้างสรรพสินค้าเป็นเวลานาน หลังเสร็จภารกิจ เตรียมจะขับรถกลับ เตรียมบัตรจอดรถเพื่อจะออกจากห้าง แต่เกิดเหตุไม่คาดฝัน เกิดเหตุรถหาย ถามว่างานนี้ใครต้องรับผิดชอบ กรณีบัตรจอดรถยังอยู่ที่ผู้บริโภค แต่เจ้าหน้าที่ของห้างกลับอนุญาตให้คนอื่น เอารถออกไปจากห้างโดยไม่ใช้ความระมัดระวังในการตรวจสอบจึงเป็นการ กระท�ำละเมิดต่อผู้บริโภค ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 และมาตรา 425 โดยห้างสรรพสินค้าแห่งนั้นจึงต้องรับผิดชอบเป็นหลักการ เบื้องต้นในฐานะนายจ้างของเจ้าหน้าที่

ปกติ เรามั ก จะเห็ น ป้ า ยที่ ติ ด ไว้ ต ามอาคาร จอดรถว่า สถานทีน่ ใี้ ห้บริการทีจ่ อด แต่ไม่รบั ผิดชอบ ทรัพย์สินหรือของมีค่า หากเกิดความเสียหาย แต่ ใ นกรณี ที่ เราน� ำ รถยนต์ จ อดไว้ บ ริ เ วณ ที่ จ อดรถ หรื อ ลานจอดรถบริ เ วณโรงแรม โดยล็อกกุญแจประตูรถไว้อย่างดี ต่อมารถสูญหาย กรณีนี้ให้แจ้งต่อโรงแรมทันที เพื่อให้เขาชดใช้ ค่ า เสี ย หาย ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ พาณิชย์ มาตรา 674 และมาตรา 676

ตอนที่ 49 ทรัพย์หาย ในโรงแรม 5,000

ฝากไว้ ดีกว่า

รถหาย!

46

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

หากเราใช้บริการที่พักตามโรงแรม และจ�ำเป็นต้องทิ้งของมีค่าไว้ในห้องพัก ต่อมาพบว่าสิ่งของนั้นหายไปต้องรีบแจ้งต่อโรงแรมทันที ในกรณีของหายนั้นจะจ�ำกัดความรับผิดไว้เพียง 5,000 บาท แต่ถ้าผู้เข้าพัก ได้น�ำทรัพย์สินมีค่าไปฝากไว้กับโรงแรม และแจ้งราคาไว้แล้วเกิดสูญหาย โรงแรมจะต้องรับผิดชดใช้เต็มจ�ำนวน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 674 และมาตรา 676

47

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 50 เก็บของมีค่า

ต้องหา เจ้าของ

ตอนที่ 51 เก็บของมีค่าได้ แต่

ไม่ส่งคืน

การเก็บของได้และส่งคืนให้เจ้าหน้าที่นอกจากไม่ถือว่าท�ำผิดกฎหมายแล้ว ยังได้รับการยกย่องสรรเสริญหรือได้รับค่าตอบแทนน�้ำใจแล้ว

คนที่เก็บทรัพย์สินมีค่าได้ บางครั้งอาจเกิดความเสียดาย หรือลังเลใจว่าจะน�ำ ไปมอบคืนให้เจ้าของดีหรือไม่

ในทางกลับกัน กรณีที่เก็บของคนอื่นได้แล้ว ไม่ยอมส่งคืนเจ้าของ หรือส่ง เจ้าหน้าที่ต�ำรวจถือเป็นผู้กระท�ำผิดฐานยักยอกทรัพย์สินหาย ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 352 วรรค 2 ที่ระบุว่า ถ้าทรัพย์นั้นได้มาอยู่ในครอบครอง ของผู้กระท�ำผิด เพราะผู้อื่นส่งมอบให้โดยส�ำคัญผิดไปด้วยประการใด หรือเป็น ทรัพย์สินหายแล้วผู้กระท�ำผิดเก็บได้ ผู้กระท�ำต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 3,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1323 ก�ำหนดว่า บุคคล เก็บได้ซงึ่ ทรัพย์สนิ หาย ต้องท�ำอย่างหนึง่ อย่างใดดังต่อไปนี้ คือ ส่งมอบทรัพย์สนิ นั้ น แก่ ผู ้ ท� ำ ของหายหรื อ เจ้ า ของ หรื อ บุ ค คลอื่ น ผู ้ มี สิ ท ธิ จ ะรั บ ทรั พ ย์ สิ น นั้ น หรือแจ้งแก่ผู้ท�ำของหายหรือเจ้าของ หรือบุคคลอื่นผู้มีสิทธิจะรับทรัพย์สินนั้นโดย มิชกั ช้า หรือ และส่งมอบทรัพย์สนิ นัน้ แก่เจ้าพนักงานต�ำรวจ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ อื่นภายใน 3 วัน หากตัดสินใจน�ำไปคืนหรือหาเจ้าของ นอกจากจะได้รับการยกย่องสรรเสริญ จากสั ง คมแล้ ว ในทางกฎหมายก็ ก� ำ หนดไว้ ชั ด เจนถึ ง การตอบแทนความดี ของผู้เก็บทรัพย์สินมีค่าด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1324

48

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

49

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 52 อยากเป็น แม่ค้า

ออนไลน์

ตอนที่ 53 โอกาสท�ำธุรกิจ ส�ำหรับ

คนทุนน้อย

O.K

การ มีธุรกิจหรือกิจการเป็นของ

สมั ย นี้ ก ารค้ า ขายผ่ า นอิ น เตอร์ เ น็ ท ท� ำ กั น ได้ แ บบง่ า ยดาย สร้ า งอาชี พ สร้างรายได้ให้กับผู้คนจ� ำนวนมาก แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่า ไม่ว่าจะขายครีม ขายเสือ้ ผ้า หรือขายสินค้าใดๆ ก็ตาม ทีต่ งั้ ใจท�ำแบบจริงจัง ก่อนขายต้องจดทะเบียน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ให้ถูกต้อง ตามกฎหมายภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เริ่มประกอบธุรกิจ โดยกิ จ การที่ ท� ำ ถื อ เป็ น กิ จ การที่ อ ยู ่ ภ ายใต้ ข ้ อ ก� ำ หนดตามหลั ก เกณฑ์ ใ น พระราชบัญญัตทิ ะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 มาตรา 6 ถ้าไม่จดทะเบียน ระวางโทษ ปรับไม่เกิน 2,000 บาท และปรับอีกวันละ 100 บาท จนกว่าจะจดทะเบียน ให้ถูกต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 มาตรา 19 (1) และมาตรา 19 วรรค 2

50

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ทั้งนี้ การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นการยืนยันว่าผู้ขายนั้นมีตัวตน อยู ่ จ ริ ง และสร้ า งความน่ า เชื่ อ ถื อ ให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ ส นใจซื้ อ สิ น ค้ า ในร้ า นเรา บนอินเทอร์เน็ตอีกด้วย

ตนเองนั้น ถือเป็นความใฝ่ฝันของผู้คน มากมาย และสามารถเริ่มต้นได้หลาย วิ ธี ก าร เช่ น คุ ณ อ� ำ นาจต้ อ งการจะ เข้าร่วมหุ้นในการท�ำ กิ จ การร่ ว มกั บ เพื่ อ นๆ แต่ คุ ณ อ� ำ นาจไม่ มี ทุ น หรื อ ทรัพย์สินที่จะน�ำมาลงทุนได้ จึงเสนอ ต่อเพื่อนว่าจะขอลงแรงแทน

นักออกแบบ

ในกรณีนี้คุณอ�ำนาจสามารถท�ำได้ เพราะตามกฎหมายนั้ น ก� ำ หนดว่ า การเป็ น หุ ้ น ส่ ว นทางธุ ร กิ จ นั้ น ไม่ จ� ำ เป็ น จะต้ อ งใช้ เ งิ น เป็ น หุ ้ น เพียงอย่างเดียว แต่ผู้เป็นหุ้นส่วน ยั ง ส า ม า ร ถ น� ำ ท รั พ ย ์ สิ น เ งิ น หรือสามารถลงแรงได้ ตามประมวล กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 1026 จะเห็ น ได้ ว ่ า โอกาสนั้ น มี เ สมอ ส� ำ หรั บ คนที่ ต ้ อ งการจะลงมื อ ท� ำ คนมี ทุ น น้ อ ยก็ ส ามารถมี โ อกาส ร่วมธุรกิจได้เช่นกัน

51

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 54 หุ้นส่วน...

ต้องรับ ทั้งผิด ทั้งชอบ

เช่น คุณรสา คุณนดา และคุณวรรณา ทั้ง 3 คน เป็นหุ้นส่วนธุรกิจกัน โดย คุณรสาลงเงินจ�ำนวน 100,000 บาท คุณณดา ลงทรัพย์สิน ส่วนคุณวรรณา ลงแรง ทั้ ง สามคนถื อ เป็ น หุ ้ น ส่ ว น

สู้ใหม่

52

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

สู้. .สู้

หนี้ 50%

ปกี ่อน ห

�กำไรสุทธิ 50%

ต้องเสียภาษี SHOP On Line

นา้

การ ร่วมใจ ร่วมทุนเป็นหุ้นส่วน ธุรกิจด้วยกันนั้น ย่อมต้องมีส่วนได้ ในผลประโยชน์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ด้ ว ยกั น และย่อมต้องรับผิดชอบในสิง่ ทีเ่ สียหาย ร่วมกันด้วย

หนี้ 50%

ตอนที่ 55 ช้อปออนไลน์ ซื้อได้

ที่ถูกต้องตามกฎหมาย และเมื่อมีผล ประโยชน์ หุ้นส่วนทั้ง 3 คน ย่อมได้ รับผลก�ำไรเป็นส่วนแบ่งที่เท่าๆ กัน แต่ ถ ้ า หากเกิ ด ปั ญ หาในธุ ร กิ จ ที่ ท� ำ ร่วมกันขึน้ มา ทัง้ 3 คนจะต้องร่วมกัน รั บ ผิ ด ชอบค่ า เสี ย หายในจ� ำ นวน เท่าๆ กันด้วย ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1025 เพราะฉะนั้นหากต้องการร่วมหุ้น หรือเป็นหุ้นส่วนกับใคร ก็ต้องคิดให้ รอบคอบทั้งผลได้และผลเสียด้วย

ต้อง เสียภาษี 10% ในยุคสมัยแห่งโลกดิจิตอล เราท�ำทุกอย่างได้ด้วยปลายนิ้ว แม้แต่การซื้อของ

เครื่องใช้ต่างๆ ที่ต้องการจากต่างประเทศ เราก็สามารถเข้าเว็บไซต์ต่างๆ ไปเลือก ได้หลากหลาย ราคาถูกกว่าซื้อในประเทศ หรือบินไปซื้อและน�ำกลับเข้ามาด้วย ตัวเอง อย่างไรก็ตามต้องพึงร�ำลึกไว้เสมอว่า สินค้าที่เราสั่งซื้อมาจากต่างประเทศนั้น เวลาจะน� ำ เข้ า ก็ ต ้ อ งเสี ย ภาษี ด ้ ว ยทุ ก ชิ้ น แม้ แ ต่ สิ น ค้ า ที่ เราสั่ ง ซื้ อ มาทาง อินเทอร์เน็ตก็เช่นเดียวกัน ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2481 ผูน้ ำ� เข้าจะต้องเสียภาษี น�ำเข้าในอัตราร้อยละ 10 ของราคาสินค้า ซึ่งส่วนใหญ่ก็ต้องจ่ายกับเจ้าหน้าที่ ที่น�ำส่งสินค้านั้นๆ ให้ถึงมือเรา โดยเรียกเก็บจากราคาสินค้าที่ผู้ส่งประเมินราคา เอาไว้แล้วนั่นเอง

53

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 56

ตอนที่ 57

ช้อปเพลิน เกินพิกัด

ยึดมัดจ�ำ ท�ำได้ตอนไหน SHOP เพลิน!

เมือ ่ เดินทางไปต่างประเทศ ขาช้อป ทั้งหลายก็มักจะวางแผนว่าจะซื้อของ อะไรบ้ า ง โดยเฉพาะคุ ณ ผู ้ ห ญิ ง ที่รักชอบสินค้าแบรนด์เนม เพราะว่า สามารถซือ้ ได้ถกู กว่า แต่ทราบหรือไม่วา่ ประเทศไทยมีกฎหมายที่ข้อก�ำหนด เกี่ยวกับการน�ำสินค้าจากต่างประเทศ เข้าในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สิ น ค้ า แบรนด์ เ นมประเภทเสื้ อ ผ้ า เครื่องส�ำอาง เครื่องประดับ รองเท้า นาฬิ ก า ปากกา แว่ น ตา น�้ ำ หอม หรือกระเป๋า และอืน่ ๆ เพราะถ้าน�ำเข้ามา

54

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

เกิน 80,000 ต้องเสียภาษี รวมกันแล้วมูลค่าเกิน 80,000 บาท แม้จะให้เหตุผลว่าน�ำมาใช้เอง ไม่ใช่ เพื่อการค้าก็ต้องเสียภาษีเป็นเงินสด ในวันน�ำเข้า ซึ่งเป็นสิ่งที่บัญญัติไว้ใน พระราชก� ำ หนดพิ กั ด อั ต ราศุ ล กากร พ.ศ. 2530 แต่หากมีเจตนาหลบเลีย่ งอาจรับโทษ ในหลายกรณี และเสี่ยงต่อโทษหนัก สูงสุด คือถูกปรับ 4 เท่าของมูลค่าของ บวกค่าภาษีและอากร หรือจ�ำคุกไม่เกิน 10 ปี หรื อ ทั้ ง จ� ำ ทั้ ง ปรั บ และของ ที่หลีกเลี่ยงการช�ำระอากรต้องถูกริบ เป็นของแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติ กรมศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27

ก่อนอื่นต้องรู้เข้าใจก่อนว่ามัดจ�ำนั้นหมายถึง หลักฐานประกันให้คู่สัญญา ปฏิบัติตามข้อตกลงที่ให้กันไว้ โดยส่วนใหญ่ของมัดจ�ำได้แก่ เงิน หรือทรัพย์สิน ที่มีค่า เช่น การใช้เงินมัดจ�ำจองซื้อบ้าน เป็นต้น กรณีแรกเมื่อวางมัดจ�ำแล้ว เมื่ อ ผู ้ ซื้ อ ไม่ ย อมมาซื้ อ บ้ า นตามสั ญ ญา ผู ้ ข ายก็ จ ะสามารถยึ ด เงิ น มั ด จ� ำ ได้ แต่เมื่อมีการซื้อขายบ้านตามสัญญา ผู้ซื้อก็จะได้เงินมัดจ�ำคืน หรือจะน�ำไปรวมเป็น ส่วนหนึ่งของค่าบ้านเลยก็ได้ แล้วแต่ข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ในกรณีกลับกันผู้ซื้อกับผู้ขายท�ำสัญญาจะซื้อจะขายต่อกันมีการวางเงินมัดจ�ำ กันแล้ว เมื่อถึงวันโอน ผู้ขายไม่โอนที่ดินมาให้ตามที่ก�ำหนด ก็นับว่าผู้ขายผิด สัญญา ผู้ซื้อมีสิทธิฟ้องให้ผู้ขายให้รับผิดตามสัญญา ผู้ซื้ออาจจะบอกเลิกสัญญา เรียกคืนเงินมัดจ�ำ รวมทั้งค่าเสียหายจากผู้ขายก็ได้ ทั้งสองกรณีนี้เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 377 และ มาตรา 378

ผิดนัด ยึดมัดจ�ำนะ

เงิน มัดจ�ำ

ครับผม

55

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 58 ซื้อขาย ต้องมาจดทะเบียน

อสังหาริมทรัพย์

การ ซื้ อ ขายอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โดยเฉพาะบ้ า นและที่ ดิ น นั้ น มี ก ระบวนการ ขั้นตอนเฉพาะ แต่ด้วยความไว้เนื้อเชื่อใจกันของชาวบ้าน หรือความไม่เข้าใจ กฎหมายคิ ด เพี ย งว่ า เมื่ อ จ่ า ยเงิ น ให้ เจ้ า ของบ้ า นไปแล้ ว เจ้ า ของก็ จ ะยกบ้ า น หรือที่ดินให้ ผู้ซื้อก็จะมีสิทธิ์สมบูรณ์เหนือบ้านหรือที่ดินนั้นๆ แล้ว แต่ ท างกฎหมายหาได้ เ ป็ น เช่ น นั้ น เพราะการซื้ อ ขายจะมี ผ ลสมบู ร ณ์ ทางกฎหมายต้องปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 วรรค 1 ทีร่ ะบุวา่ การซือ้ ขายบ้าน ทีด่ นิ นัน้ หากจ่ายเงินกันแล้ว ก็ตอ้ งไปจดทะเบียน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อเปลี่ยนชื่อผู้ครอบครองคนล่าสุดให้เรียบร้อยเสียก่อน มิเช่นนั้นก็ยังจะถือว่าเป็นของเจ้าของอย่างสมบูรณ์ไม่ได้

56

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 59 งงงันกับ

สัญญา “จะซื้อ หรือว่า จะขาย”

คนทั่วไปที่ไม่ค่อยได้ข้องเกี่ยวกับ เรือ่ งการท�ำสัญญาเพือ่ ซือ้ ขายทรัพย์สนิ โดยเฉพาะอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ อาจจะ ไม่ ค ่ อ ยเข้ า ใจนั ก ว่ า “สั ญ ญาจะซื้ อ จะขาย” นั้นหมายถึงอะไร ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 วรรค 2 ระบุวา่ “สัญญาจะซือ้ จะขาย” นัน้ หมายถึง การที่คู่สัญญาตกลงว่าจะ ซื้อขายทรัพย์สินกัน แต่ยังจ่ายเงินให้ ไม่ครบ จึงท�ำเป็น “สัญญาจะซือ้ จะขาย” ไว้ก่อนจนกว่าจะจ่ายเงินครบแล้ว จึงไปโอนภายหลัง เช่น เมื่อเจอบ้านที่ถูกใจหลังจากที่ มองหามานาน แต่ไม่มีเงินมากพอที่ จะจ่ า ยทั้ ง หมด ต้ อ งรอไปกู ้ เ งิ น จากธนาคารหรื อ บริ ษั ท สิ น เชื่ อ มา ซึ่ ง ต้ อ งใช้ เวลา จึ ง กลั ว ว่ า จะมี ผู ้ ซื้ อ รายอืน่ ๆ มาชิงซือ้ ตัดหน้าไป จึงได้ท�ำ สัญญากับผู้ขายขึ้นเพื่อเป็นการแสดง

สัญญา จะซื้อ จะขาย เจตนาของฝ่ายผู้จะซื้อว่า ต้องการจะ ซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องผู ้ จ ะขายนั้ น และอาจก� ำ หนดให้ มี ก ารวางมั ด จ� ำ หรื อ ช� ำ ระหนี้ บ างส่ ว นเอาไว้ ด ้ ว ย เพื่ อ ให้ มั่ น ใจขึ้ น ไปอี ก ว่ า ผู ้ ซื้ อ จะซื้ อ จริ ง ๆ โดยสั ญ ญานั้ น จะระบุ ว ่ า ถึ ง การจ่ายเงิน และการโอนกรรมสิทธิ์ รวมทั้ ง ผู ้ จ ะขายก็ ใ ห้ ค� ำ มั่ น ว่ า จะ ไม่ ข ายอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ ห้ บุ ค คลอื่ น ในช่ ว งเวลาที่ ก� ำ หนดในสั ญ ญา ดังกล่าวนั้น เมือ่ เข้าใจแล้ว ก็สามารถเลือกได้วา่ “จะซื้อ” หรือ “จะขาย” ได้อย่าง สบายใจ

57

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 60 ผู้กู้ร่วม -

ลูกหนี้ร่วม

กู้ร่วม เป็นหนี้ด้วยกัน

บ า ง ค รั้ ง พี่ น ้ อ ง ห รื อ ญ า ติ หรือเพื่อนสนิท มาขอร้องให้ช่วยเป็น ผู ้ กู ้ ร ่ ว มกั น ในการกู ้ ว งเงิ น สู ง ๆ เช่ น การซื้อบ้าน โดยให้เหตุผลว่า หากกู้ เพียงคนเดียวจะได้วงเงินน้อย หรืออาจ จะกู้ไม่ผ่าน โดยผู้ชักชวนสัญญาว่า จะรับผิดชอบการผ่อนเพียงคนเดียว แต่เมื่อถึงเวลาผ่อนจริงปรากฏว่า ผู ้ ชั ก ชวนเรา ไม่ ส ามารถจ่ า ยหนี้ ให้ธนาคารได้ กรณีนี้เจ้าหนี้สามารถ มาฟ้องร้องจากตัวเราซึ่งเป็นผู้กู้ร่วม

58

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 61

คิดก่อน ค�้ำ (ประกัน) เพื่ อ เรี ย กคื น เงิ น ซึ่ ง จะเป็ น เงิ น เต็ ม วงเงิ น กู ้ ห รื อ บางส่ ว นของหนี้ ก็ ไ ด้ จ น ก ว ่ า จ ะ ช� ำ ร ะ ห นี้ จ น ห ม ด โดยไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งฟ้ อ งคนที่ ม า ชั ก ชวนเรา ซึ่ ง เป็ น บุ ค คลหลั ก ในการกู ้ เ งิ น ก็ ไ ด้ ทั้ ง นี้ เ ป็ น ไปตาม ประมวลกฎหมายแพ่ ง พาณิ ช ย์ มาตรา 291 ที่ เ ปิ ด ทางให้ เ จ้ า หนี้ สามารถเลื อ กจะเรี ย กให้ ช� ำ ระหนี้ จากลูกหนี้ร่วมนั้นได้หลายแบบ ดั ง นั้ น เมื่ อ จะเป็ น ผู ้ กู ้ ร ่ ว มก็ ค วร จะคิดให้รอบคอบ เพราะจากผู้กู้ร่วม อาจกลายเป็ น ลู ก หนี้ ร ่ ว มไปด้ ว ย โดยที่เราไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรจาก ทรัพย์สินที่ไปร่วมกู้แต่อย่างใดเลย

เมื่ อ ได้ รั บ ค� ำ ขอให้ ไ ปเป็ น คนค�้ ำ ประกั น หากเป็ น ญาติ มิ ต รหรื อ เพื่ อ นฝู ง เราก็ อ าจจะเป็ น ด้ ว ยความเกรงใจ ไม่ ก ล้ า ปฏิ เ สธจนท� ำ ให้ ต ้ อ งยิ น ยอมเป็ น ผู้ค�้ำประกันต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการกู้ยืมเงิน หรือการซื้อสินค้าต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ สิ่งที่ผู้ค�้ำประกันควรทราบคือหากคนที่เราไปค�้ำประกันให้นั้นไม่ช�ำระหนี้ ตามสัญญา เจ้าหนีอ้ าจเป็นบุคคล นิตบิ คุ คล เช่น ธนาคาร บริษทั ไฟแนนซ์รถยนต์ ก็จะมีสิทธิเรียกให้ผู้ค�้ำประกันช�ำระหนี้ตามสัญญาได้ ตามที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 680 ก�ำหนดเอาไว้ว่า “อันว่า ค�้ำประกันนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้ค�้ำประกันผูกพันตน ต่อเจ้าหนี้คนหนึ่ง เพื่อช�ำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ช�ำระหนี้นั้น” เมื่อรู้แจ้งแล้ว ก็ต้องคิดให้ดี ก่อนที่จะค�้ำประกันให้ใคร

59

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 62

ตอนที่ 63

สิทธิ

เป็นเจ้าหนี้

การเป็นผู้ค�้ำประกันก็มีสิทธิ์ที่จะป้องกันตัวจากการที่จะต้องรับภาระจ่ายหนี้ ในกรณีที่ลูกหนี้ที่เราไปค�้ำประกันไว้เกิดไม่ยอมจ่ายหนี้ขึ้นมา และเจ้าหนี้ก็มุ่งมา เก็บหนี้นั้นที่เรา เราก็ยังไม่จ�ำเป็นที่จะต้องรีบจ่ายเงินกฎหมายยังให้สิทธิเรา ที่จะบอกให้เจ้าหน้าที่ไปตามเก็บลูกหนี้สายตรงก่อน โดยเฉพาะหากทราบว่า บุคคลนัน้ อยูท่ ใี่ ด หรือรูว้ า่ มีทรัพย์สนิ อืน่ ๆ อยู่ อาทิ ทองค�ำ เงินสด และของมีคา่ อืน่ ๆ ก็สามารถให้เจ้าหนี้ไปด�ำเนินกระบวนการอายัดมาเพื่อจ่ายหนี้สินนั้นได้ นอกจากนี้ ในกรณีทเี่ จ้าหนีม้ ที รัพย์สนิ ของลูกหนีท้ ใี่ ช้เป็นหลักประกันอยูก่ อ่ นแล้ว ผู้ค�้ำประกันก็มีสิทธิ์ที่จะบอกให้เจ้าหนี้น�ำเอาหลักประกันนั้นไปใช้หนี้ก่อนที่จะมา เรียกเก็บกับเราซึ่งเป็นผู้ค�้ำประกัน ซึ่งหลักการนี้เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 688 และมาตรา 689

ไม่อยากถูกเบี้ยว 2,000

สัญญา กู้เงิน

การป้องกันตัว ของผู้ค�้ำประกัน

การให้ผู้อื่นยืมเงินเมื่อเขาล�ำบากก็นับว่าเป็นการช่วยเหลือเขาอีกทางหนึ่ง แต่กค็ วรต้องท�ำด้วยความรอบคอบ โดยเฉพาะเมือ่ เป็นเงินจ�ำนวนมากซึง่ เราก็หามา ด้วยความยากล�ำบากและเราเองก็ไม่อยากจะสูญเงินก้อนนั้นไป ปั ญ หาก็ คื อ ว่ า เงิ น จ� ำ นวนเท่ า ไรจึ ง ควรจะต้ อ งท� ำ สั ญ ญาหรื อ ท� ำ หนั ง สื อ ขึ้ น เป็นหลักฐานการกูย้ มื ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 ทีร่ ะบุวา่ หากกู ้ เ งิ น เกิ น 2,000 บาท ต้ อ งมี สั ญ ญาหรื อ หลั ก ฐานเป็ น หนั ง สื อ ขึ้ น มา และต้องมีลายมือชื่อผู้กู้ จึงจะสามารถฟ้องร้องเรียกคืนเงินกันได้ หากว่ า เรารอบคอบไว้ ก ่ อ น ก็ อ าจจะไม่ เจอเรื่ อ งการเบี้ ย วหนี้ ใ ห้ ป วดหั ว และปวดใจในภายหลัง

60

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

61

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 64 ใช้หนี้เสร็จ

ตอนที่ 65

ใบเสร็จ อย่าเพิ่งทิ้ง

ดอกเบี้ย เบ่งบาน ใช่ไม่มีเพดานจ�ำกัด เ ก็ บ ไว้ก่อน

ใบเสร็จ ช�ำระหนี้

เมื่อเป็นเจ้าหนี้หรือเป็นลูกหนี้เขาก็ควรจะต้องรู้กฎหมายเกี่ยวกับเรื่องดอกเบี้ย ดอกเบี้ยคือสิ่งที่เป็นผลประโยชน์ตอบแทนในการกู้ยืม และดอกเบี้ยนี้ก็เดินไป ตลอดเวลาตามสัญญาการกู้เงินที่มีอยู่ แต่ก็มิใช่ว่าเจ้าหนี้จะสามารถเรียกเก็บ ดอกเบี้ยเท่าไรก็ได้ตามที่อยากจะได้ เพราะในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 654 มีข้อก�ำหนดไว้ว่าให้คิดดอกเบี้ยได้ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปีเท่านั้น

ตามปกติเจ้าหนี้สามารถฟ้องร้องลูกหนี้เงินกู้โดยต้องมีหลักฐานเป็นสัญญา เงินกู้ตามแบบที่กฎหมายก�ำหนด ในทางกลับกันหากลูกหนี้ช�ำระเงินให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้ว ก็ต้องขอหลักฐานการช�ำระเงินจากเจ้าหนี้คืนมาด้วย จะใช้หนี้โดยจ่าย เงินเพียงอย่างเดียวอาจไม่พอ

อย่างไรก็ตาม หากลูกหนี้ไม่ช�ำระหนี้ตามเวลาที่ก�ำหนด เจ้าหนี้ก็สามารถ เรียกเก็บดอกเบี้ยผิดนัดได้อีกก้อนหนึ่ง ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี

เพราะหากเจ้าหนี้เกิดน�ำเรื่องขึ้นฟ้องร้องโดยอ้ างว่ายังไม่เกิดการใช้หนี้ พร้ อ มน� ำ หลั ก ฐานการกู ้ เ งิ น มาแสดงต่ อ ศาล แต่ ลู ก หนี้ ก ลั บ ไม่ มี ห ลั ก ฐาน การช�ำระเงินมาหักล้างอาจส่งผลให้แพ้คดีในที่สุด ต้องช�ำระหนี้เป็นครั้งที่สอง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรค 2

ทางที่ดีอย่าให้เป็นหนี้เลยย่อมดีที่สุด

ลูกหนี้รายใดหากพบว่าถูกเรียกเก็บดอกเบี้ยในอัตราที่สูงเกินกว่าที่กฎหมาย ก�ำหนดไว้ก็สามารถที่จะแจ้งเจ้าพนักงานได้เช่นเดียวกัน

ดอกเบี้ย 15% นะเจ๊

ถ้าผิดสัญญา คิดเพิ่ม 7.5% นะจ๊ะ

เงินกู้

62

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

63

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 66 ฟ้องร้องเงินกู้ ต้องดู

อายุความ อายุความ ฟ้องร้อง 10 ปี

ต้อง รีบทวง

ตอนที่ 67 ถูก

ทวงหนี้ ยามวิกาล ทวงหน ไม่ทันแล้วี้ ลูกพี่

เงินกู้ หากใครเป็นเจ้าหนี้แล้วลูกหนี้ผิดนัดไม่ยอมจ่าย ท�ำให้ต้องเสียเวลาไปติดตาม เป็นเวลานาน ครั้นเห็นไม่ได้คืนแล้วจึงตัดสินใจท�ำการฟ้องร้อง อย่างไรก็ตาม การที่เจ้าหนี้จะฟ้องร้องได้นั้นต้องมีเงื่อนไขเรื่องของเวลา เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ไม่ใช่ว่าคิดจะฟ้องร้องเมื่อไหร่ก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/12 ให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่ ลูกหนีผ้ ดิ นัดช�ำระเงิน โดยมีอายุความฟ้องร้องเพียง 10 ปี ตามประมวลกฎหมาย แพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 193/30 หากฟ้ อ งร้ อ งเกิ น ระยะหนี้ จ ะเป็ น สู ญ แม้จะเกินก�ำหนดมาเพียง 1 วันก็ตาม

มีคนกล่าวกันว่า เป็นอะไรก็ไม่ทุกข์เท่าเป็นหนี้ เพราะเมื่อเป็นหนี้แล้วเกิดกรณี ช�ำระหนี้ไม่ตรงตามก�ำหนด หรือผิดนัดช�ำระหนี้ จะต้องถูกโทรศัพท์ทวงหนี้ จากเจ้าหนี้ทุกวัน บางทีวันละ 2-3 ครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีการทวงหนี้กันใน ยามวิกาล ซึ่งนอกจากสร้างความน่าร�ำคาญแล้ว ยังท�ำให้ลูกหนี้หวาดกลัวอีกด้วย ตามพระราชบัญญัติการทวงหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 9 (2) จึงวางมาตรการ คุ้มครองลูกหนี้ เพื่อไม่ให้ถูกคุกคามจากเจ้าหนี้จนเกินไป โดยก�ำหนดให้เจ้าหนี้ ติดต่อทวงถามหนี้ได้ระหว่างวันจันทร์-วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00-20.00 นาฬิกา และในวันหยุดราชการ ทวงได้เวลา 08.00-18.00 นาฬิกา เท่านั้น หากฝ่าฝืน จะถูกคณะกรรมการทวงหนี้ประจ�ำจังหวัดหรือประจ�ำกรุงเทพมหานคร มีอ�ำนาจ สั่งให้ยับยั้งการกระท�ำดังกล่าว ตามมาตรา 34

เป็นเจ้าหนี้สมัยนี้ก็ต้องรอบคอบ เพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ตัวเอง

64

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

65

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 68 ทวงหนี้ยุคใหม่ ต้อง

ไม่หยาบคาย เอ่อ... ขออนุญาตครับเจ๊

ก๋วยเตี๋ยวไก่ตุ๋น ข้าวหมูกรอบ 0 บ. 3

เจ้ า หนี้ บางคนทวงหนี้ด้วยวิธีการข่มขู่ลูกหนี้ว่าจะท�ำให้เกิดความอับอาย ต่ อ หน้ า สาธารณชน รวมทั้ ง พู ด จากั บ ลู ก หนี้ ด ้ ว ยถ้ อ ยค� ำ หยาบคาย ดู ห มิ่ น กฎหมายจึงคุ้มครองลูกหนี้โดยไม่อนุญาตให้เจ้าหนี้ข่มขู่ หรือใช้ความรุนแรง ตามพระราชบัญญัติการทวงหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 11 (1) และหากฝ่าฝืน จะต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจ�ำ ทั้งปรับ ตามพระราชบัญญัติทวงหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 39

66

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 69 ช่วยด้วย...

เช็คเด้ง เช็คเป็นเครือ่ งมือการเงินทีน่ ยิ มใช้กนั มาก ในประเทศไทย เพราะความสะดวกในเรื่อง การพกพารวมทั้ ง การให้ บ ริ ก ารเบิ ก จ่ า ย อันเป็นมาตรฐานของสถาบันการเงินต่างๆ ธุรกิจร้านค้านิยมใช้ชำ� ระค่าสินค้าหรือค่าจ้าง หรือใช้จ่ายเป็นเงินค�้ำประกันการซื้อขาย

อย่างไรก็ตามก็เกิดกรณีมากมายเมือ่ ผูร้ บั เช็คเอาไปขึน้ เงินทีธ่ นาคารแต่ไม่สามารถ เอาเงินออกมาได้ หรือที่เรียกกันว่า “เช็คเด้ง” ซึ่งอาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ ทั้งนี้พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ก� ำ หนดว่ า หากผู ้ เ สี ย หายพบว่ า ผู ้ ที่ อ อกเช็ ค มี เจตนาทุ จ ริ ต โดยการเอาเช็ ค ที่ไม่มีจ�ำนวนเงินหนุนหลังอยู่จริงโดยการช�ำระหนี้ ให้สามารถแจ้งเจ้าพนักงาน หรือด�ำเนินการฟ้องร้องได้ และบุคคลเหล่านั้นต้องได้รับโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

ตอนที่ 70 เช็คหาย...ท�ำไงดี หากเกิ ด กรณี เช็ ค หาย และกลั ว ว่ า จะมี ค นน� ำ ไป ใช้ประโยชน์ เบื้องต้นก็ต้องรีบแจ้งอายัด แต่เพื่อเป็น การป้องกันในคราวต่อๆ ไป ควรเขียนเช็คแบบขีดคร่อม เพราะธนาคารจะสั่ ง จ่ า ยให้ แ ก่ บุ ค คลที่ มี ชื่ อ ปรากฏ บนเช็คเท่านัน้ เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิชย์ มาตรา 994 และมาตรา 995

เช็คหาย!

67

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 71 ทีเด็ดลูกค้า ส่งของซ่อม

ตอนที่ 72

แต่ไม่ยอมจ่าย

“ละเมิด” เรื่องต้องรู้ ดูต้องเข้าใจ

เจ้าของอู่รถ หรือร้านรับซ่อมสิ่งของต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า โทรศัพท์ มือถือ ฯลฯ คงเคยเจอปัญหาว่า มีลูกค้าส่งของมาซ่อม และเมื่อซ่อมให้เสร็จ กลับอ้างว่าค่าซ่อมแพง ไม่มีเงินจ่ายให้ และขอน�ำสินค้าออกไปก่อน โดยสัญญาว่า จะน�ำเงินมาจ่ายให้ภายหลัง

ในทางกฎหมาย เรามักได้ยนิ ค�ำว่า “ละเมิด”อยูเ่ ป็นประจ�ำ ซึง่ ไม่วา่ เราจะเป็น ฝ่ายทีถ่ กู กล่าวหาว่าไปละเมิดเขา หรือถูกละเมิดเสียเอง ซึง่ เราควรมีความเข้าใจ ค�ำนี้อยู่ดี เพื่อประโยชน์ของตนเอง

เหตุการณ์ในลักษณะเช่นนี้ คนทั่วไปมักคิดว่า เจ้าของร้านสามารถยึดรถ หรือของทีน่ ำ� มาซ่อมไว้แทนเงินค่าซ่อมแล้วน�ำไปขายได้เลย ซึง่ หากท�ำเช่นนัน้ จริง สถานการณ์จะพลิกกลับ กลายเป็นว่าคนที่รับซ่อมจะเป็นฝ่ายกระท�ำผิดเสียเอง เพราะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 241 ระบุว่าผู้ใดเป็น ผู้ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่น และมีหนี้อันเป็นคุณแก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สิน ซึ่งครอบครอง สามารถยึดหน่วงทรัพย์สินนั้นจนกว่าจะได้รับการช�ำระหนี้

ค�ำว่า “ละเมิด” เป็นความผิดทางแพ่ง ที่เกิดจากการที่บุคคลได้ท�ำการใดๆ ให้ผู้คนอื่นได้รับความเสียหาย ได้แก่ ร่างกาย สุขภาพ ทรัพย์สิน ชื่อเสียง เสรีภาพ โดยผู้กระท�ำผิดนั้นรู้ส�ำนึกในเรื่องที่กระท�ำลงไป หรือมีการกระท�ำโดยประมาท เลินเล่อ เช่น แพทย์ฉดี ยาให้ผปู้ ว่ ยจนเกิดอาการแพ้ โดยไม่ถามว่าผูป้ ว่ ยเคยมีประวัติ แพ้ยาหรือไม่ ซึ่งเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 คนไข้สามารถเรียกค่าเสียหายจากแพทย์ที่กระท�ำละเมิดได้

หมายความว่า แม้เจ้าของร้านรับซ่อมจะสามารถยึดทรัพย์ไว้เป็นประกันได้ แต่ยังเอาไปขายหรือท�ำอย่างอื่นไม่ได้ในเวลานั้น

รับซ่อม

68

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

69

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 73 ชนวัวควายตาย

อย่าเพิ่ง จิตตก

แม้ปัจจุบันจะมีการประกาศใช้กฎหมายป้องกันทารุณกรรมสัตว์ แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าคนทีท่ ำ� ให้สตั ว์เลีย้ งของผูอ้ นื่ ตายจะต้องรับผิดชอบและมีความผิด เสมอไป เนือ่ งจากต้องพิจารณาเป็นรายกรณีไป เช่น เมือ่ ขับรถไปบนท้องถนนหลวง และไปชนวัวหรือควายของชาวบ้านที่เลี้ยงไว้ ซึ่งเดินตัดหน้ารถอย่างกระชั้นชิด ท�ำให้วัวควายตาย ขณะที่รถยนต์ก็เสียหาย คนขับรถอาจจะเข้าใจว่าตนเองผิดเพราะท�ำให้สัตว์นั้นตายและต้องรับผิดชอบ จ่ า ยค่ า เสี ย หายให้ กับเจ้าของ แต่เมื่อพิจารณาในทางกฎหมายแล้ว ผู้ที่ต้อง รับผิดชอบความเสียหายก็คอื เจ้าของต่างหาก เพราะไม่ได้ระมัดระวังในการควบคุม วัวควายให้ดีพอ และปล่อยให้สร้างความเสียหายให้แก่เจ้าของรถ จึงต้องชดใช้ ค่าซ่อมแซมรถยนต์ เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 433 วรรค 1 ประกอบ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 111 ทีห่ า้ มมิให้ผใู้ ด ขี่ จูง ไล่ตอ้ น หรือปล่อยสัตว์ไปบนทางในลักษณะทีเ่ ป็นการกีดขวาง การจราจร และไม่มีผู้ควบคุมเพียงพอ

70

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 74 โชคที่ ไม่ชอบ

เจอของหล่น จากคอนโด ในเมืองมีอาคารสูงริมถนนมากมาย ไม่วา่ จะเป็นแฟลต อพาร์ทเมนท์ หอพัก อาคารส�ำนักงาน คอนโดมิเนียม ฯลฯ ซึ่งอาคารเหล่านี้มักจะมีเจ้าของร่วม หลายคน และหากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ เช่ น สิ่ ง ของอย่ า งกระถางต้ น ไม้ ที่ เจ้ า ของปลู ก ไว้ ริ ม ระเบี ย งหล่ น ไป โดนศีรษะคนที่ เ ดิ น อยู ่ หรื อ หล่ น ไป โดนรถยนต์ ที่ อ ยู ่ ด ้ า นล่ า งจนได้ รั บ ความเสียหาย กรณีอย่างนี้ท�ำให้เกิด ปัญหาว่าใครจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ และชดใช้ความเสียหายครั้งนี้

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 436 และมาตรา 420 ก�ำหนด เอาไว้ว่าเจ้าของห้องที่กระถางหล่น ลงมาต้ อ งเป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบอย่ า ง เคร่งครัด ในฐานะผู้รับผิดชอบ (Strict Liability) แม้ว่าสาเหตุที่ของหล่นนั้น ไ ม ่ ไ ด ้ เ กิ ด จ า ก ก า ร ก ร ะ ท� ำ ข อ ง เจ้าของห้อง แต่อาจเกิดจากเหตุอื่นๆ เช่น นกบินหรือมีลมพัดอย่างแรง ฯลฯ แต่หากเป็นสิ่งของหล่นที่จากบริเวณ ทางเดิ น ส่ ว นกลางในคอนโดมิ เ นี ย ม หรืออาคารส�ำนักงาน นิติบุคคลที่ดูแล พื้นที่ก็ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ

71

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 75

เพื่อนยืมรถไป สุดท้ายสร้างปัญหา หลายคนน่าจะเคยพบกับปัญหาถูกเพือ่ นยืมสิง่ ของ ซึง่ ท�ำให้ยากต่อการปฏิเสธ เพราะจะถูกมองว่าไม่มีน�้ำใจ ไม่ยอมให้ยืม แต่พอให้ยืม เพื่อนกลับท�ำให้ทรัพย์สิน ของเราเสียหาย ยกตัวอย่างเช่น นายอากรให้เพื่อนยืมรถยนต์ไปใช้ แต่เพื่อนกลับ ขับรถยนต์ของนายอากรไปเฉี่ยวชนคนได้รับบาดเจ็บ กรณีเช่นนี้ผู้ที่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายนั้นคือ เพื่อน เพราะตามกฎหมาย ผู้ที่ครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะ จะต้องรับผิดชอบในความเสียหาย ที่เกิดขึ้น นายอากรจึงไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายดังกล่าว ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 437

ตอนที่ 76

ลาภลอย ที่มิควรได้ 10,000

ยัง ไง ก็ต้อง คืน!

หลายคนคงนึกว่าตัวเองโชคดี เพราะได้ลาภลอย เมือ่ วันดีคนื ดีมเี งินมาเข้าบัญชี โดยที่ตัวเองไม่ได้เป็นเจ้าหนี้ใคร หรือไปท�ำงานอะไรอันจะท�ำให้ได้เงินทองขึ้นมา หรือเกิดกรณีธนาคารแจ้งมายังลูกค้าว่า เกิดความผิดพลาดเนือ่ งจากโอนเงินปันผล คืนซ้อน ขอให้ช่วยน�ำส่งเงินจ�ำนวนนั้นคืน เหตุการณ์เช่นนี้ แม้ว่าเจ้าของบัญชีจะไม่อยากน�ำส่งเงินดังกล่าวคืน แต่กค็ วร ท�ำใจเพราะเงินเหล่ านี้ถือเป็นลาภลอยที่ไม่ควรได้ และจะต้องน�ำเงินหรือ ทรัพย์สินไปคืนเจ้าของอย่างเดียวเท่านั้น เพราะตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 406 ก�ำหนดให้บคุ คลซึง่ ได้ทรัพย์สนิ โดยปราศจากมูลหนีต้ อ่ กัน และท�ำให้ผู้โอนหรือผู้มอบได้รับความเสียหาย จะต้องคืนทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ เจ้าของที่แท้จริง

72

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

73

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 77 จัดการงาน

ตอนที่ 78

นอกสั่ง

มีที่ดิน

เรา อยู่มา 10 ปี แล้วนะ

กฎหมาย ลั ก ษณะจั ด การงาน นอกสั่ง มีเจตนารมณ์เพื่อสนับสนุน ให้คนในสังคมช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกั น และสร้ า งความเป็ น ธรรม ให้กับคู่กรณีที่เข้ามาช่วยเหลือ นับเป็น กฎหมายที่ ใ ช้ ม าตั้ ง แต่ ส มั ย โรมั น และตกทอดมายังประเทศต่างๆ รวมทัง้ ประเทศไทยถึงทุกวันนี้ แต่คนส่วนใหญ่ ไม่ค่อยเข้าใจ ตั ว อย่ า งเช่ น นายไก่ เ ดิ น ทางไป ต่างประเทศในช่วงฤดูฝน และปรากฏว่า เกิดพายุท�ำให้หลังคาบ้านพัง นายไข่ เป็ น เพื่ อ นบ้ า นและบั ง เอิ ญ เป็ น ผู้รับเหมาก่อสร้าง ด้วยความหวังดี เกรงว่าหากฝนตกลงมาอีกหลายวัน จะท�ำให้ข้าวของในบ้านได้รับความ เสียหาย จึงไปซื้อวัสดุมาซ่อมหลังคา ให้ เ ป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ย โดยที่ น ายไก่ ไม่ทราบเรือ่ งและกลับจากต่างประเทศ

74

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ไม่ดูแล เจ้าของแท้ๆ ก็ หมดสิทธิ

กรณี นี้ ห ากนายไก่ ไ ม่ ย อมจ่ า ย เงินค่าวัสดุให้ เพราะถือว่าเป็นเรื่องที่ ตนเองไม่ได้สั่ง หรือภาษากฎหมาย ใช้ ค� ำ ว่ า การงานนอกสั่ ง กฎหมาย ได้ให้สิทธินายไข่ให้สามารถเรียกร้อง ค่าซ่อมแซมหลังคาบ้านจากนายไก่ได้ เป็ น ไปตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิชย์ มาตรา 401

ที่ดินฉัน! ของ

เจ้ า ของที่ ดิ น จ� ำ นวนมากอาจไม่ รู ้ ว ่ า มี ที่ ดิ น อยู ่ ต รงไหนบ้ า ง หรื อ ไม่ ดู แ ล และปล่อยทิง้ ร้างมานาน หากภายหลังปรากฏว่ามีคนเข้ามาครอบครอง อย่างสงบ เปิดเผย และเจตนาเป็นเจ้าของ ติดต่อกันนานถึง 10 ปี โดยที่เจ้าของที่ดินเดิม ไม่เคยเข้ามาป้องกันหรือขัดขวาง ที่ดินดังกล่าวก็จะตกเป็นของบุคคลอื่นที่เข้ามา ครอบครอง หรือตามที่รู้จักกันว่าการครอบครองแบบปรปักษ์ เป็นไปตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 เพราะฉะนั้นมีที่ดินต้องดูแล ไม่เช่นนั้นถึงเป็นเจ้าของที่ดินแท้ๆ ก็หมดสิทธิ โดยไม่รู้ตัวได้

ตอนที่ 79 วิธีแก้ปัญหา ซื้อ ที่ดินตาบอด หลายคนอาจจะประสบปัญหาว่าที่ดินที่ตนเองเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์อยู่ ถูกล้อมด้วยทีด่ นิ แปลงอืน่ อยูจ่ นไม่มที างออกถึงทางสาธารณะได้ หรือมีทางออก สู่ทางสาธารณะได้แต่ไม่สะดวก เช่น จะต้องข้ามบึง แม่น�้ำ ทะเล หรือที่ลาดชัน โดยระดับที่ดินกับทางสาธารณะสูงกว่ากันมาก หากเจอกับกรณีนี้ เจ้าของที่ดินตาบอด สามารถขอสิทธิเปิดทางจ�ำเป็น ผ่านทีด่ นิ แปลงอืน่ ซึง่ ล้อมอยูไ่ ปสูท่ างสาธารณะได้ และอาจต้องใช้คา่ ทดแทน แก่เจ้าของทีด่ นิ ทีผ่ า่ นด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1349

75

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 80 เจอคนค้นบ้าน

ไม่ต้องลนลาน

การ ที่ต�ำรวจหรือพนักงานฝ่าย ปกครองจะเข้ามาตรวจค้นบ้านเรือน ประชาชนนั้ น มิ ใ ช่ จ ะท� ำ ได้ เ ลย โดยพลการ แต่ จ ะต้ อ งมี ห มายค้ น จากศาล ที่ สั น นิ ษ ฐานว่ า มี เ หตุ ไม่ ช อบมาพากลเสี ย ก่ อ น หากว่ า เจ้าหน้าที่บุกเข้าไปค้นในบ้านเลยนั้น จะมีความผิดฐานบุกรุกที่รโหฐาน อย่ า งไรก็ ต าม การตรวจค้ น โดย ไม่ ต ้ อ งมี ห มายศาลนั้ น ก็ เ ป็ น ไปได้ เหมือนกัน เช่น มีเสียงร้องขอความ ช่วยเหลือ หรือเห็นการกระท�ำผิดซึง่ หน้า ก็คือมีบุคคลกระท�ำผิด เช่น ปล้นชิง ท�ำร้ายผู้อื่นแล้วหนีเข้าไปซุกซ่อนตัว ภายในบ้ า น หรื อ เห็ น ผู ้ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ภายในบ้านกระท�ำผิดกฎหมาย หรือว่า สิ่งของผิดกฎหมายซุกซ่อนอยู่ และมี เหตุให้เชื่อได้ว่าหากจะรอหมายศาล ก็ อ าจจะช้ า เกิ น ไป คนที่ ก ระท� ำ ผิ ด หรื อ สิ่ ง ของที่ ซุ ก ซ่ อ นอยู ่ นั้ น อาจจะ ถูกย้ายออกไปจากบ้านนั้นก็เป็นได้

76

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 81 จะออกหมายจับได้

มีหมายศาล หรือเปล่า?

ขอค้นบ้าน

หรืออีกกรณีหนึ่งก็คือ เจ้าของบ้าน เป็ น ผู ้ ที่ ต ้ อ งถู ก จั บ ตามหมายจั บ ที่ มี ก่อนหน้า ถ้ามีเหตุดังนี้แล้วกฎหมาย ถึ ง จะอนุ ญ าตให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ต� ำ รวจ และฝ่ายปกครองเข้าไปตรวจค้นจับกุม ในบ้านเรือนของประชาชนได้ ทั้งนี้ เป็นไปประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 92

ต้องมีเหตุผล

แม้ ว ่ า ต� ำ รวจจะมี ห น้ า ที่ พิ ทั ก ษ์ ประชาชน และปราบปรามจั บ กุ ม ผูท้ กี่ ระท�ำผิด แต่กใ็ ช่วา่ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ จะสามารถจับกุมใครก็ได้โดยไม่มีเหตุ อันควร เนื่องจากการจับกุมนั้นก็ต้อง เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย ซึ่งต�ำรวจ ก็ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 78 ก�ำหนดเอาไว้ว่า หากจะจับใครสักคน ต�ำรวจก็ต้องมี หมายจับจากศาลมาก่อน เว้นแต่คนร้าย กระท�ำความผิดซึ่งหน้า หรือมีเหตุ อันสมควร เช่น โจรวิ่งหนี เจ้าทรัพย์ หรื อ เป็ น บุ ค คลที่ ห ลบหนี จ ากการ ขอประกั น ตั ว เป็ น ต้ น หรื อ เป็ น ความจ� ำ เป็ น เร่ ง ด่ ว นที่ ไ ม่ อ าจขอให้ ศ า ล อ อ ก ห ม า ย จั บ บุ ค ค ล นั้ น ไ ด ้ ในขณะนั้น

ประกาศจับ

ประกาศจับ

ยกเว้น! จับกุม ต้องมี หมายศาล!

77

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 82 ต่อว่าเจ้าพนักงาน

ระวังบานปลาย

ห า ก เร า เ กิ ด ค ว า ม ไ ม ่ พ อ ใจ การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องต�ำรวจประการใด ประการหนึ่งและแสดงการกระท�ำที่ ไม่สมควรออกไป อาจท�ำให้เรื่องราว บานปลายไปมากกว่าที่คิด ทีเ่ ห็นมากทีส่ ดุ ก็นา่ จะเป็นกรณีขบั รถ แล้วพลั้งเผลอท�ำผิดกฎหมายจราจร เช่ น ฝ่ า ไฟแดง จอดในที่ ห ้ า มจอด หรืออุปกรณ์ของรถไม่ครบสมบูรณ์ตามที่ กฎหมายก�ำหนดเอาไว้ แล้วเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจจราจรมาประสบเหตุ เขียนใบสัง่ หรือสัง่ ปรับตามความผิดนัน้ ๆ ส่วนใหญ่ ผู้ขับขี่ก็มักจะไม่พอใจการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ เกิดการต่อว่าต่อขาน

อีก กระทง แล้วกัน

78

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

กั น ขึ้ น แล้ ว อาจจะเลยไปถึ ง การใช้ ถ้อยค�ำหรือกิริยาอันไม่สุภาพ อันเป็น ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 136 ซึ่งมีข้อความว่า “ผู้ใด ดู ห มิ่ น เจ้ า พนั ก งานซึ่ ง กระท� ำ การ ตามหน้าที่ หรือเพราะได้กระท�ำการ ตามหน้ า ที่ ต้ อ งระวางโทษจ� ำ คุ ก ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ” ฉะนั้ น เมื่ อ เราอยู ่ ใ นสถานการณ์ เช่นนี้ก็ควรควบคุมอารมณ์ตัวเองให้ได้ ยอมรั บ ความผิ ด ที่ ไ ด้ ท� ำ ไปแล้ ว เพราะมิเช่นนั้นแทนที่จะเป็นความผิด กระทงเดียวจะบานปลายโดนข้อหา เพิ่มเติม ที่มีบทลงโทษรุนแรงกว่าเดิม

ตอนที่ 83

ให้สินบน เจ้าพนักงานโทษหนัก ติดคุก นะคุณ

ช่วยๆ กัน ไป นะครับ จ่า

ในบางครัง้ เราอาจจะท�ำผิดกฎหมายเพราะเลินเล่อ พลัง้ เผลอหรือด้วยความไม่รู้ กฎหมาย แต่เมื่อถูกเจ้าหน้าที่ต�ำรวจจับแล้วก็ไม่อยากที่จะถูกลงโทษ พยายาม ต่อรองต่างๆ นานา เมื่อไม่ได้ก็อาจจะเอาตัวรอดด้วยการให้เงินหรือของอื่นใด ให้กับเจ้าหน้าที่ เพื่อให้ได้รับการปล่อยตัวหรือยกเว้นโทษ การกระท�ำดังกล่าวนี้นอกจากไม่สามารถที่จะท�ำให้พ้นข้อหาเดิมแล้วยังท�ำ ความผิดร้ายแรงเพิม่ ขึน้ นัน่ ก็คอื ให้สนิ บนเจ้าพนักงาน ซึง่ ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 144 ก�ำหนดไว้ว่า “ผู้ใดให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อนื่ ใดแก่เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล เพื่อจูงใจให้กระท�ำการ ไม่กระท�ำการ หรือประวิง การกระท�ำอันมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ” ทั้งนี้เราก็ควรจะเพิ่มความรู้ด้านกฎหมายให้ตัวเองจะได้ไม่กระท�ำผิดในเบื้องต้น หรือเมือ่ ท�ำผิดไปแล้วก็ตอ้ งยอมรับในสิง่ ทีก่ ฎหมายก�ำหนดเอาไว้ เพือ่ จะได้ไม่ทำ� ผิด ซ�้ำซ้อน

79

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 84 เอาโจรมาหลบซ่อน เมตตาแต่ว่า

ผิดหลักการ

ตอนที่ 85 ป้องกันตัวท�ำได้ แต่

อย่าให้เกินเหตุ

คนเราเมื่อถูกท�ำร้าย กฎหมายได้ให้สิทธิเพื่อป้องกันตัวเอง แต่ทั้งนี้ต้องเป็น การกระท�ำที่ไม่เกินกว่าเหตุ ยกตัวอย่างเช่น นายสมศักดิ์ พาแฟนสาวไปกินข้าว ในร้านอาหารแห่งหนึ่ง บังเอิญไปพบคู่อริเข้าพอดี คู่อริก็เลยชักมีดดาบยาวเดินปรี่ เข้ามาหานายสมศักดิ์ ตั้งใจจะเข้าไปท�ำร้ายจนถึงชีวิต เมื่อเห็นคู่อริเดินเข้ามา นายสมศักดิ์ก็เลยชักปืนสั้นที่พกมายิงไปที่คู่อริก่อน 1 นัด ปรากฏว่าคู่อริตายทันที

เมื่อลูกหลานหรือคนรู้จักไปกระท�ำความผิด เช่น ชิงทรัพย์ หรือท�ำร้ายผู้อื่น แล้วต�ำรวจตามจับตัวเพื่อไปด�ำเนินคดี แม้ว่าเราจะเมตตาเขา ก็ควรจะเมตตา ให้ถูกวิธี ไม่เช่นนั้น นอกจากผู้กระท�ำผิดแล้วตัวเราที่ให้ที่พึ่งพิงก็จะมีความผิด ตามกฎหมายไปด้วยเช่นกัน เพราะให้ที่หลบซ่อน เพื่อหลบเลี่ยงการกระบวนการ ยุติธรรมต่างๆ

จากตัวอย่างข้างต้นถือว่า นายสมศักดิ์ได้ป้องกันตัวเอง จากการที่ก�ำลังจะถูก คู่อริเอามีดดาบมาฟัน และการที่นายสมศักดิ์ชักปืนยิงคู่อริก่อนนั้น ก็เพราะหาก รอช้ากว่านั้น อาจจะถูกคู่อริฟันจนตายก่อนก็เป็นได้ อีกทั้งนายสมศักดิ์ก็ยิงคู่อริ ไปเพี ย งนั ด เดี ย วเท่ า นั้ น ดั ง นั้ น จึ ง ถื อ เป็ น การป้ อ งกั น ตั ว ตามกฎหมาย และพอสมควรแก่ เ หตุ นายสมศั ก ดิ์ จึ ง ไม่ มี ค วามผิ ด แต่ อ ย่ า งใด เป็ น ไปตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 แต่ในทางกลับกันหากนายสมศักดิย์ งิ ตอบโต้กลับไป 10 นัด ถือว่าเป็นการป้องกัน ที่ไม่สมควรแก่เหตุ และอาจมีเจตนาที่ต้องการฆ่าคู่อริให้ตาย ส่งผลให้นายสมศักดิ์ อยู่ในข่ายมีความผิดต้องรับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 มีโทษ ประหารชีวิต จ�ำคุกตลอดชีวิต หรือจ�ำคุกตั้งแต่ 15-20 ปี

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 189 ได้ระบุไว้ว่าผู้ใดช่วยผู้อื่น ซึ่งเป็นผู้กระท�ำความผิด หรือเป็นผู้ต้องหาว่ากระท�ำความผิด อันมิใช่ความผิด ลหุโทษเพื่อไม่ให้ต้องโทษ โดยให้ที่พ�ำนักแก่ผู้นั้น โดยซ่อนเร้นหรือโดยช่วย ผู ้ นั้ น ด้ ว ยประการใด เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ถู ก จั บ กุ ม ต้ อ งระวางโทษจ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 4,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

80

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

81

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 86

จ�ำเป็น เพื่อให้พ้นภัย บาง ครั้ ง คนเราก็ ก ระท� ำ ให้ บุ ค คลอื่ น ได้ รั บ ความเสี ย หายด้ ว ยเหตุ จ� ำ เป็ น ซึ่งกฎหมายจะพิจารณาและให้ความคุ้มครองไว้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 67 (2) ทีค่ มุ้ ครองการกระท�ำทีจ่ ำ� เป็นของบุคคล ที่ท�ำไปเพื่อให้พ้นจากภยันอันตราย

ตอนที่ 87 เผาข้าวของส่วนตัว ระวังบานปลาย กลายเป็น

ผิดอาญา

ก็แค่...เผากิ่งไม้แห้ง ที่บ้านฉันเองนี่

อุ๊ย!

เช่น นายแดงเดินทางไปต่างจังหวัด ระหว่างนั้นเกิดพายุหนัก นายแดงหนีเข้าไป บ้านนายด�ำโดยไม่ได้รับอนุญาตเพื่อไปหลบพายุในบ้านนายด�ำ แม้นายแดงจะมี ความผิดฐานบุกรุก แต่ก็ได้รับการยกเว้นโทษ หรื อ สุ นั ข บ้ า ไล่ กั ด นายเอ นายเอจึ ง ไปพั ง ประตู บ ้ า นของนายสองเพื่ อ หนี เข้าหลบสุนขั บ้าดังกล่าว ซึง่ ส่งผลให้ประตูบา้ นนายสองพัง แม้นายเอจะมีความผิด ในฐานท�ำให้เสียทรัพย์ แต่ก็ไม่มีโทษต้องรับผิด เพราะเป็นการกระท�ำเพื่อให้ พ้นภยันตราย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นการกระท�ำดังกล่าวต้องไม่เข้าข่ายเป็นการกระท�ำ ที่เกินกว่าเหตุ

หลาย คนจุดไฟเผากิ่งไม้หรือขยะในที่ดินของตัวเอง แต่โชคร้ายไฟลุกลาม ไปท�ำลายทรัพย์สินของเพื่อนบ้าน เช่น ก�ำแพง ต้นไม้ราคาแพง หรือรถที่จอดไว้ ถูกไฟไหม้ สิง่ แรกคือคนทีจ่ ดุ ไฟต้องชดใช้คา่ เสียหายแก่ทรัพย์สนิ ทีถ่ กู ไฟไหม้ และต้องรับผิด ทางอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 220 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 7 ปี และปรับไม่เกิน 14,000 บาท แม้ผู้นั้นจะไม่ได้ตั้งใจจะวางเพลิงทรัพย์สิน ของผู้อื่น แต่ก็ถือว่ามีความผิด ดังนั้น จึงควรกระท�ำด้วยความระมัดระวัง เพราะผลแห่งความพลั้งเผลอ อาจรุนแรงกว่าที่เราคาดคิดได้

82

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

83

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 88

ทัวร์ผี ผิดกฎหมาย

ตอนที่ 90 ท�ำไงดี

มีหมายศาล คดีแพ่ง จ้าง ทนายความ

ใน แต่ ล ะปี มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยให้ ค วามสนใจและเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย ว

ทั้งในและต่างประเทศกันมากขึ้น จึงเกิดธุรกิจทัวร์ที่ให้บริการคนไปท่องเที่ยว มากขึน้ ด้วย แต่การจะท�ำธุรกิจน�ำคนไปท่องเทีย่ วได้นนั้ ต้องมีใบอนุญาตน�ำเทีย่ ว อย่างเป็นทางการ หากว่ามีบุคคลใดประกอบธุรกิจประเภทนี้แล้วไม่มีใบอนุญาตน�ำเที่ยวถือว่า ผู้ประกอบการรายนั้น ได้กระท�ำผิดพระราชบัญญัติธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 มาตรา 15 ประกอบมาตรา 80 โดยมีอัตราโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

ตอนที่ 89

อยากเป็นไกด์ อย่าใช้วิธีลัด

84

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

หลายๆ คนมีความฝันอยากเป็นมัคคุเทศก์ หรือไกด์ทำ� หน้าทีเ่ ป็นผูน้ �ำเทีย่ ว แก่นักท่องเที่ยวต่างๆ โดยคิดเพียงว่าขออาสาน�ำเที่ยวให้กับนักท่องเที่ยว ที่ ม ากั น เองไปก่ อ นแลกค่ า ตอบแทนเพี ย งน้ อ ยนิ ด เพื่ อ หาประสบการณ์ และฝึกใช้ภาษาไปในตัวด้วย แต่การจะเป็นผู้น�ำเที่ยวได้นั้นจะต้องผ่านการฝึกฝนและมีการขึ้นทะเบียน ให้ถูกต้องตามกฎกระทรวงก่อน เพราะบุคคลใดที่ท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำเที่ยว โดยมิได้รบั ใบอนุญาตถือว่าบุคคลนัน้ ได้กระท�ำผิดพระราชบัญญัตธิ รุ กิจน�ำเทีย่ ว และมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 มาตรา 64 ประกอบมาตรา 90 มีอัตราโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำและปรับ

เมื่อมีหมายเรียกและค�ำฟ้องในคดีแพ่งส่งมาที่บ้านเรา เพราะถูกคู่กรณีอีกฝ่าย ฟ้องร้องด�ำเนินคดี อย่าเพิ่งตกใจจนเกินเหตุ แต่ต้องรู้หลักการว่า ผู้ที่ถูกฟ้องมีหน้าที่ต้องจ้างทนายความ เพื่อท�ำค�ำให้การ เป็นหนังสือยื่นต่อศาลชี้แจงข้อกล่าวหาให้ชัดเจนภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ ได้รับหมายเรียกและค�ำฟ้อง หากไม่ท�ำจะหมดสิทธิในการต่อสู้คดีอันมีผลให้ต้องแพ้คดีและชดใช้ค่าเสียหาย ให้แก่คู่พิพาท เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 177

ตอนที่ 91 เจอหมายเรียก เป็นพยาน

ถ้าเรา ไม่ ไปศาล ตามหมาย จะได้ ไหม?

กรณี ที่ ไ ด้ รั บ หมายเรี ย กพยาน ผู ้ ถู ก เรี ย กต้ อ งมี ห น้ า ที่ ไ ปศาลตามวั น และเวลาที่ก�ำหนดไว้ในหมายเรียกเพื่อเบิกความเป็นพยานต่อศาล หากไม่ยอมมาหรือตั้งใจหลบเลี่ยง ศาลอาจออกหมายจับเอาตัวกักขังได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 111 (2) หรืออาจถูกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 170 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจ�ำและปรับ

85

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 92

ตอนที่ 93

หน้าที่

ท�ำหน้าที่

พลเมืองดี

หากท่านพบเห็นคนตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิต และท่านสามารถช่วยเหลือได้ โดยไม่ควรกลัวอันตรายแก่ตนเองหรือผู้อื่นแต่ไม่ช่วย ยกตัวอย่างเช่น นายหนึ่ง เดินเล่นอยู่แถวสระว่ายน�้ำในโรงแรมแห่งหนึ่ง เห็นเด็กหญิงน�้ำหวานก�ำลังจะจมน�้ำ ในสระ ซึ่งมีความลึกประมาณ 1 เมตรซึ่งเท่ากับ 100 เซนติเมตร ซึ่งนายหนึ่ง สูง 150 เซนติเมตร สามารถลงไปในสระว่ายน�้ำได้โดยไม่เกิดอันตราย แต่นายหนึ่ง กลั บ ไม่ ล งไปช่ ว ยเหลือเด็กหญิงน�้ำหวาน ท� ำให้เด็กหญิงหวานจมน�้ำ เสียชีวิต ตามกฎหมายประมวลอาญา มาตรา 374 ต้ อ งระวางโทษไม่ เ กิ น 1 เดื อ น ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

ไม่สมบูรณ์ จนกลายเป็นเหตุ ?!?!

อุ๊ย! รถเมล์มา ขอโทษ นะยาย ผมรีบ

โดยปกติคนที่จะมีความผิดในคดีอาญา จะต้องเกิดการกระท�ำและมีเจตนา แต่ในบางกรณี เหตุที่เกิดขึ้นนั้นเป็นผลมาจากการที่เราไม่ยอมท�ำในสิ่งที่ควรท�ำ จนกลายเป็นเหตุให้เรากระท�ำความผิดทางอาญาได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่น นายแดงช่วยจูงคนตาบอดข้ามถนนในเวลากลางคืน ครั้นเดินมา ได้จนเกือบถึง ปรากฏว่ารถประจ�ำทางทีน่ ายแดงจะต้องขึน้ กลับบ้านมาพอดี นายแดง จึงวิ่งไปขึ้นรถทันที และปล่อยคนตาบอดไว้ ต่อมาคนตาบอดถูกรถชนเสียชีวิต ดังนั้นการกระท�ำของนายแดงถือว่าไม่ยอมท�ำในสิ่งที่ตนเองมีหน้าที่จนแล้วเสร็จ คือการพาตนตาบอดข้ามถนนให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันมิให้ถูกรถชน

86

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

การทีน่ ายแดงทิง้ คนตาบอดไว้ในท้องถนน กลายเป็นการกระท�ำ อันเนือ่ งมาจาก ตนเองงดเว้นไม่กระท�ำในสิ่งที่ต้องท�ำ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคท้าย ประกอบมาตรา 288 ที่ถือว่าเป็นการฆ่าผู้อื่นต้องระวางโทษ ประหารชีวิต จ�ำคุกตลอดชีวิต หรือจ�ำคุกตั้งแต่ 15-20 ปี

87

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 94

ตอนที่ 95

ชักชวน

ยอมตาย

ผู้เยาว์ ระวังเข้าคุก เอ่อ... ผมเอ็นดู เด็กน่ะครับ

เพื่อเอาประกัน คิดผิดคิดใหม่

ในสภาวะที่ครอบครัวยากล�ำบาก เศรษฐกิจไม่ดี มีเรื่องจ�ำเป็นมากมายที่ต้อง ใช้เงิน อาจท�ำให้หลายคนคิดสั้น หัวหน้าครอบครัว อาจคิดว่าเมื่อตัวเองเสียชีวิตแล้วลูกหลานจะได้น�ำเงิน ประกันชีวิตที่ท�ำไว้ไปใช้หนี้ หรือใช้จ่ายในสิ่งที่จ�ำเป็น แต่ในการกระท�ำดังกล่าว นอกจากจะท�ำให้ตายฟรี และยังไม่ได้เงินด้วย เพราะเป็นการกระท�ำฝ่าฝืน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 895 (1) ที่บริษัทรับประกันชีวิต จะไม่จ่ายเงินให้แก่บุคคลที่ฆ่าตัวตาย

ผู้เยาว์หรือเยาวชนที่อายุเกิน 15 ปีแล้ว แต่ไม่ถึง 18 ปี ตามกฎหมายได้ให้ ความคุ้มครอง เพราะเป็นกลุ่มที่มักถูกชักจูงให้ไปกับผู้อื่นผ่ านสื่อออนไลน์ หรือหลอกลวงในรูปแบบต่างๆ ได้ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุอันจะน�ำไปสู่ปัญหาอาชญากรรมและสังคมตามมา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 318 วรรค 1 ก�ำหนดบทลงโทษผู้ที่พรากตัว ผู้เยาว์อายุเกิน 15 ปี แต่ไม่ถึง 18 ปี ให้ไปจากบิดามารดาหรือผู้ปกครอง โดยที่ผู้เยาว์ไม่เต็มใจ ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 2 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้งแต่ 4,000 บาท ถึง 20,000 บาท

88

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

89

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 96

ตอนที่ 97 ชอบ ชอบ สนุกแน่ ระวังแย่ทีหลัง

โพสต์ แชร์

ขาเม้าท์ อย่าเอาแค่มัน การเม้าท์ กลายเป็นสิ่งที่ผู้คนในสังคมถือว่า เป็นส่วนหนึ่งที่สร้างสีสันให้กับ วงสนทนาไปเสียแล้ว อันที่จริงการเม้าท์ที่ว่านี้สามารถท�ำได้ แม้จะไม่สมควร แต่เรื่องราวที่หยิบมาเม้าท์กันนั้น ก็ต้องมีข้อจ�ำกัด แม้จะเป็นเรื่องพูดแค่ให้เกิด ความสนุก แต่ ถ ้ า เรื่ อ งนั้ น ได้ รั บ การขยายออกไป จนกลายเป็ น ความเชื่ อ ของผู ้ ค น ในวงกว้าง อันจะน�ำไปสู่ความแตกตื่น เสียหาย ในภายหลัง แม้ผู้พูดอาจจะ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เห็นแก่ความสนุกสนาน แต่ก็ถือว่ามีความผิดตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 384 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

...มอย า ้ เม ย อ .ม .. า ้ เม

จริงเหรอ ตัวเธ อ?

เรื่องน ต้องบอกตี้ ่อ

!

90

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ภาพหลุด!

Post & Share

ในโลก Social Media (โซเชี่ยลมีเดีย) มักมีการส่งต่อ ที่เรียกว่า Share (แชร์) โดยเฉพาะภาพตั ด ต่ อ บุ ค คลต่ า งๆ ไม่ ว ่ า จะเป็ น คนที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ดาราชื่ อ ดั ง หรือแม้กระทั่งคนธรรมดาที่เรารู้จักมาส่งต่อให้เพื่อนๆ ดูกัน ทั้งใน Facebook (เฟซบุ๊ค) ในไลน์ หรือช่องทางอินเตอร์เน็ท อันถือเป็นความสนุกสนานของ ชาวโลกออนไลน์ ความสนุกแบบนี้อาจกลายเป็นโทษได้ ถ้าเข้าข่ายเป็นการกระท�ำที่ส่งผล ให้บุคคลที่เราน�ำภาพและเรื่องเขามาแชร์ เกิดความเสียหาย อันเป็นความผิด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ว ่ า ด้ ว ยการกระท�ำ ผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 16 ต้องรับโทษปรับไม่เกิน 60,000 และจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี

91

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 98 ด่าว่าผู้เสียชีวิต...

ก็ผิดได้

แม้ว่าบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วจะไม่มีสิทธิลุกขึ้นตอบโต้กับใครได้ แต่ก็ยัง ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย ในกรณีที่มีผู้ไม่พอใจไปท� ำกิริยาหรือพูดจา ด้วยถ้อยค�ำหยาบคาย ในลักษณะด่าทอ หรือเหยียดหยามผูเ้ สียชีวติ ด้วยเหตุผลส่วนตัว เช่น ไม่พอใจเรื่องแบ่งมรดกจึงไปยืนด่าศพที่ตั้งสวดอยู่บนศาลาภายในวัด การกระท�ำดังกล่าวถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล กฎหมายอาญา (ฉบับที่ 22) พ.ศ. 2558 ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 366/4 ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท

ไอ้คนบ้า

92

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตาย ได เสียก็ด ้ ี!

ตอนที่ 99 กล่าวหาคนตาย อาจกลายเป็น

หมิ่นประมาท

น อ ก จ า ก ก า ร ไ ป ท� ำ กิ ริ ย า ที่ ไม่เหมาะสม เช่น ด่าทอ หรือเหยียดหยาม ผู้ตายซึ่งผู้กระท�ำก็ต้องรับโทษไปแล้ว หากมี ก ารกระท� ำ ที่ ม ากกว่ า นั้ น จนถึ ง ขั้ น เป็ น การใส่ ค วามผู ้ ต าย ต่อบุคคลที่สาม ซึ่งการใส่ความนั้น น่าจะเป็นเหตุให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อ บุ ต รของผู ้ ต ายเสี ย ชื่ อ เสี ย ง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง

ัวเธอ? จริงเหรอ ต

เป็นเอดส์ ตายแน่ๆ

ท�ำไมเขา ต้องใส่ร้าย คุณพ่อ ด้วยคะแม่?

เช่ น กล่ า วหาว่ า ผู ้ ต ายเสี ย ชี วิ ต เพราะโรคเอดส์ และยังกล่าวหาว่าภรรยา ของผู้ตายที่ยังมีชีวิตอยู่ติดเอดส์ด้วย การกล่าวหาในลักษณะเช่นนี้ ส่งผลให้ ภรรยาและคนในครอบครัวถูกสังคม รังเกียจ จึงสามารถใช้สิทธิฟ้องร้อง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 327 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

93

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 100 ซื้อของจากตลาด ผิดพลาด ขอเงินคืนครับ

ถูกทวงคืน แล้วมีหลักฐาน หรือเปล่า?

หากเราไปซื้อสินค้ามือสองมาจากร้านค้าที่ตั้งอยู่ในตลาดโดยสุจริต ภายหลัง ปรากฏว่ามีบุคคลอื่นมาเห็นและกล่าวอ้างพร้อมกับแสดงหลักฐานว่าเป็นเจ้าของ สินค้าดังกล่าว กรณีนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1332 ระบุว่า บุคคล ผู้ซื้อทรัพย์มาโดยสุจริตในท้องตลาด ไม่จ�ำเป็นต้องคืนทรัพย์แก่เจ้าของที่แท้จริง เว้นแต่เจ้าของทรัพย์ที่อ้างนั้นจะขอซื้อคืนในราคาเท่ากับที่เราซื้อมา แต่หากเราไปซื้อสินค้าดังกล่าวจากพ่อค้าเร่ ที่ไม่มีหลักแหล่งที่ตั้งร้านค้า แน่ น อน และมี เจ้ า ของตั ว จริ ง มาทวงคื น กรณี นี้ เราต้ อ งคื น สิ น ค้ า ดั ง กล่ า ว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336

94

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 101 รับซื้อ

ของโจร โดยไม่รู้

หากมีเพื่อนสนิทที่คบหากันมานานน�ำของมีค่า เช่น กล้องถ่ายรูปมาขายให้ ราคาถูกโดยให้เหตุผลต่างๆ เช่น ร้อนเงินและเรารับซื้อเอาไว้ เพราะต้องการ ช่วยเพือ่ น ต่อมาเกิดมีการแจ้งความว่ากล้องดังกล่าวถูกขโมยมา กรณีนตี้ ามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 357 วรรค 1 ให้ความคุ้มครองผู้ซื้อ เนื่องจากไม่มีเจตนา หรื อ รู ้ เ ห็ น ว่ า กล้ อ งดั ง กล่ า วถู ก ขโมยมา อี ก ทั้ ง ที่ ผ ่ า นมาผู ้ ซื้ อ ก็ ไ ม่ เ คยพบว่ า เพื่อนมีพฤติกรรมที่ไม่น่าไว้วางใจมาก่อน แต่ ห ากเป็ น กรณี ที่ รั บ ทราบมาว่ า เพื่ อ นได้ ข องนั้ น มาจากผู ้ อื่ น โดยมิ ช อบ ด้วยกฎหมาย อาทิ วิ่งราวทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอกทรัพย์ การรับซื้อจึงจะมีความผิดตามมาตรา 357 วรรค 1 ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

ราคาถูก จังเลย

บังเอิญ ร้อนเงิน น่ะครับ

95

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 102

หนักเบาไม่เลือกที่ แค่ไหว้เจ้าที่ไม่พอแล้ว

พื้นที่สาธารณะ เช่น บนทางเท้า ข้างถังขยะ ในสวนสาธารณะ หรือแม้แต่ คลองส่งน�้ำ หลายคนอาจจะคิดว่าไม่มีใครเป็นเจ้าของ เมื่อร่างกายเรียกร้องให้ต้อง ปลดปล่อยของเสียออกไป แต่หาห้องน�้ำไม่เจอ แต่เห็นต้นไม้ หรือที่ว่างไม่มีคนเห็น เลยแค่ ย กมื อ ไหว้ ข อขมาเทพารั ก ษ์ ต ้ น ไม้ หรื อ เจ้ า ที่ เจ้ า ทางก่ อ นปลดทุ ก ข์ ก็น่าจะสิ้นเรื่องสิ้นราวแล้ว แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่เป็นเช่นนั้น เพราะเรื่องก�ำลังจะมาหา เนื่องจากการ แอบปลดทุกข์ในที่สาธารณะเป็นการละเมิดกฎหมาย นั่นก็คือ พระราชบัญญัติ รักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 มาตรา 34 ที่ว่าด้วยการห้ามการระบาย หรือเทอุจจาระ ปัสสาวะ จากอาคาร หรือยานพาหนะลงบนถนน หรือสถานสาธารณะ หากกระท�ำก็จะมีโทษคือ ถูกปรับ ไม่เกิน 10,000 บาทตามมาตรา 57 สมัยนี้สนใจแค่เจ้าที่เจ้าทางอย่างเดียวไม่พอ ต้องแคร์เจ้าหน้าที่ด้วย

96

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 103 ปิดประกาศ โฆษณาฟรี แต่ผิดที่ไปหน่อย

พื้นที่สาธารณะ

คน ในเมื อ งถ้ า ไม่ มี ง านท�ำ ก� ำ ลั ง หาหอพั ก สั ต ว์ เ ลี้ ย งที่ รั ก หายไป หรือแม้แต่เหงาหงอยอยากจะหาคู่ ฯลฯ มักจะคิดถึงป้ายประกาศที่เห็นกันอยู่ ดาษดื่ น นานารู ป แบบไม่ ว ่ า จะอยู ่ ก�ำแพง พื้น ผนัง เสาไฟฟ้า หรือแม้แต่ ตู ้ โ ทรศั พ ท์ ส าธารณะในบริ เ วณ ที่ ค นผ่ า นไปมาทั้ ง วั น ทั้ ง คื น วิ ธี ก าร ติ ด ป้ า ยแบบนี้ ก็ น ่ า จะเข้ า ถึ ง คนได้ จ� ำ นวนมาก แถมยั ง ฟรี อี ก ด้ ว ย จะลงทุนลงแรงก็แค่กระดาษส�ำหรับ พิมพ์ประกาศเท่านั้น แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว ไม่ ฟ รี แ น่ น อน เ พ ร า ะ ผู ้ ก ร ะ ท� ำ จ ะ ต ้ อ ง โ ท ษ ตามกฎหมาย เพราะก�ำลังกระท�ำผิด พระราชบั ญ ญั ติ รั ก ษาความสะอาด และความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ย ของบ้านเมือง พ.ศ.2535 มาตรา 12 ท� ำ ให้ บ ้ า นเมื อ งดู ส กปรก รกรุ ง รั ง

ขาย บ้าน บริการ กู้เงินด่วน

ก�ำจัด ปลวก รับซ่อม

แอร์

ไม่ เ ป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ย และโทษ ก็ คื อ ถู ก ปรั บ ไม่ เ กิ น 5,000 บาท ตามมาตรา 56 ความคิดในการโฆษณาฟรี นัน้ อาจ จะดี แต่ผิดที่ทางไปหน่อย

97

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 104

ตอนที่ 105

สุดทนกลิ่น ควัน

ไม้สัก ปลูกได้ ตัดไม่ได้

ต้องสูดทุกวันจากร้านข้างบ้าน การอยู่อาศัยร่วมกันในชุมชนก็ต้องเกรงใจซึ่งกันและกัน ชุมชนนั้นจึงจะเป็นสุข แต่เราก็ยนิ ข่าวเนืองๆ ว่าเพือ่ นบ้านมีขอ้ พิพาทกันบ่อยๆ อันเนือ่ งมาจากเหตุรำ� คาญ หลายในหลายรูปแบบ เช่น เสียง กลิ่น ควัน ฯลฯ ซึ่งกฎหมายก็ครอบคลุมประเด็น เหล่านี้เอาด้วยเพื่อเป็นหลักในของความสงบสุขในสังคม ปัญหาระหว่างเพือ่ นบ้าน เช่น เราอยูบ่ า้ นนีม้ านานแล้ว มาวันหนึง่ มีเพือ่ นบ้านข้างๆ ย้ายมาอยู่ใหม่แล้ว เปิดร้านอาหารขาย ท�ำให้เราได้รับ กลิ่น ควัน เขม่าควัน และคราบน�ำ้ มัน มาเกาะสิง่ ของจนท�ำให้การด�ำเนินชีวติ และสุขภาพเริม่ ไม่เป็นปกติ กฎหมายตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มาตรา 25 (4) และมาตรา 26 ก�ำหนดไว้ว่ากรณีที่มีเหตุอันอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ที่ อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง หรือผู้ที่ต้องประสบกับเหตุนั้น ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่า เป็นเหตุร�ำคาญ (4) การกระท�ำใดๆ อันเป็นเหตุให้เกิดกลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้า หรือกรณีอื่นใด จนเป็นเหตุให้เสือ่ มหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ผูป้ ระสบเหตุเดือดร้อนร�ำคาญ นั้นสามารถแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น มีอ�ำนาจห้ามหรือออกค�ำสั่งให้บุคคล ที่เป็นต้นเหตุให้ก่อความร�ำคาญ ให้ระงับเหตุร�ำคาญดังกล่าวลงได้

เจ้หมูโภชนา

98

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ปั จ จุ บั น มี ก ารจั ด สรรสวนสั ก หรือสวนเกษตรต่างๆ ให้คนที่อยากจะ ลงทุ น มาซื้ อ ไว้ เ พื่ อ จะน�ำ เอาผลผลิ ต เช่น ไม้ หรือผลไม้ไปขายเพื่อให้รายได้ ในอนาคตข้างหน้า ที่เห็นกันมากที่สุด ก็คือพวกสวนสักที่อ้างว่าอีก 10-20 ปี ก็ จ ะ ตั ด ข า ย ไ ด ้ เ งิ น ม า ก ม า ย การโฆษณานี้ อ าจจะจู ง ใจหลายคน ให้ไปซื้ อที่ ดินที่ ปลูกไม้สักแล้ว หรื อ แม้ แ ต่ ไ ปซื้ อ ที่ ดิ น เองและปลู ก ไม้สักไว้ เพื่อรอเวลาได้รายได้ก้อนโต แต่พอถึงเวลาที่ต้นสักโตได้ที่แล้ว คิดจะตัดไปขายกลับท�ำไม่ได้ หากไม่ได้ ขออนุ ญ าต ที่ เ ป็ น นี้ เ พราะเป็ น การ ฝ่าฝืนพระราชบัญญัตปิ า่ ไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 7 และมาตรา 11 ที่ระบุว่า ไม้ สั ก และไม้ ย างไม่ ว ่ า ขึ้ น อยู ่ ที่ ใ ด ในราชอาณาจักรถือเป็นไม้หวงห้าม แ ล ะ เ ป ็ น ส ม บั ติ ข อ ง ร า ช ก า ร

ต้ อ งขออนุ ญ าตจากพนั ก งานก่ อ น หากฝ่าฝืนต้องรับโทษ ตามมาตรา 73 จ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น 5 ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น 50,000 บาท หรือทั้งจ�ำและปรับ ไม่ เ ฉพาะไม้ สั ก เท่ า นั้ น ที่ ต ้ อ ง ขออนุ ญ าตในการตั ด แต่ ยั ง มี ไ ม้ อื่ น อีกหลายประเภทซึ่งผู้ปลูกต้องศึกษา ให้ดีก่อน

99

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 106 ของป่า

ไม่ใช่ ของใครก็ได้

ตอนที่ 107 สินทรัพย์จากธรรมชาติ

ดูด้วยตา มืออย่าเก็บ นักท่องเที่ยวที่ไปท่องเที่ยวอุทยาน แห่งชาติทางทะเล เช่น อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสิมิลัน พบเห็นสัตว์สวยงาม เลยอดใจไม่ได้แอบเก็บสัตว์บนพื้นที่ อุ ท ยานฯ อาทิ ปู ไ ก่ ที่ เ กาะตาชั ย หรือปลาการ์ตูนกลับออกไป

บ่อยครั้งเรามักได้ยินว่าชาวบ้านที่อยู่ติดกับป่า เข้าไปเก็บของป่าต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นเห็ด น�้ำผึ้ง กล้วยไม้ หรือลูกไม้หายากต่างๆ มาขาย แล้วก็ถูกจับ ปัญหา ที่เกิดขึ้นก็เพราะพวกเขาขาดความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย เพราะกฎหมายก�ำหนดว่า หากจะเข้าไปในป่าเพื่อเก็บของป่าเช่นนี้ต้องขออนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ มิเช่นนั้นจะถือว่าเป็นการบุกรุกป่าสงวน นอกจากนี้สิ่งของที่เก็บมา บางประเภทก็เป็นสิ่งต้องห้าม อย่างเช่น กล้วยไม้ หรือการล่าสัตว์สงวนบางชนิด ซึ่งท�ำให้มีความผิดขึ้นมาอีก เพราะสิ่งที่ได้มาจากป่าถือว่าเป็นทรัพยากรของรัฐ

น อ ก จ า ก จ ะ ถื อ ว ่ า เ ป ็ น ก า ร ท�ำร้ายสัตว์ และท�ำลายระบบนิเวศน์ ของธรรมชาติแล้ว ยังถือว่ามีความผิด พระราชบั ญ ญั ติ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2504 มาตรา 16 (3) ภายใน เขตอุทยานแห่งชาติ ห้ามมิให้บุคคลใด น�ำสัตว์ออกไป หรือท�ำด้วยประการใดๆ ให้ เ ป็ น อั น ตรายแก่ สั ต ว์ ผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น ต้องรับโทษตามมาตรา 24 ระวางโทษ จ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น 5 ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ไม่เฉพาะอุทยานแห่งชาติเท่านั้น แต่ทุกสถานที่ที่เราเข้าไปก็ไม่ควรน�ำ สิ่งใดกลับมา นอกจากความทรงจ�ำ เท่านั้น

การที่ไม่ได้ขออนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือเสียค่าภาคหลวง อันหมายถึง ค่ า ธรรมเนี ย มที่ ต ้ อ งจ่ า ยจากการใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากรของรั ฐ ถื อ ว่ า มีความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 29 ประกอบ 71 ทวิ ต้องจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำและปรับ

100

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

101

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 108

ไม้หวงห้าม ห้ามมีไว้ครอบครอง

ตอนที่ 109

สิงห์อมควัน

หลายๆ ท่านอาจไม่ทราบว่าต้นไม้บางชนิดเป็นไม้หวงห้ามและห้ามมีไว้ ในครอบครอง ดังนัน้ ผูท้ นี่ ยิ มซือ้ ไม้ไว้ปลูกสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย จ�ำเป็นต้องระมัดระวัง อย่างยิ่งในการรับซื้อไม้จากผู้จ�ำหน่ายที่ไม่น่าเชื่อถือ เพราะหากมีไม้หวงห้าม อาทิ ไม้สัก ไม้ยาง ฯลฯ ไว้ในครอบครอง ถือว่ากระท�ำ ผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 69 ต้องระวางโทษจ�ำคุก ตั้งแต่ 1 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 2,000,000 บาท

ไม้อะไร?

102

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

บุ ห รี่ เ ป็ น สาเหตุ อั น ดั บ สองของการเสี ย ชี วิ ต ทั่ ว โลกของประชากรทั่ ว โลก และแม้ไม่ได้เป็นผู้สูบบุหรี่เองก็สามารถได้รับพิษภัยจากควันบุหรี่ที่คนอื่นสูบ หรือที่เรียกว่าการสูบบุหรี่มือสอง ซึ่งมีผลร้ายสุขภาพเทียบกับการเป็นผู้สูบเอง ดังนัน้ หน่วยงานและหลายองค์กรจึงให้ความส�ำคัญด้วยการออกมาตรการคุม้ ครอง บุ ค คลรอบข้ า งไม่ ใ ห้ ต ้ อ งมารั บ โทษภั ย ของบุ ห รี่ ทั้ ง ๆ ที่ ตั ว เองไม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ ก ่ อ แต่อย่างใด นอกจากนี้ กฎหมายเองก็ก�ำหนดให้สถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น อาคารส�ำนักงาน สถานที่ราชการ โรงพยาบาล ตลาดสด สถานีขนส่งต่างๆ ฯลฯ จัดสถานที่ปลอดบุหรี่โดยการใช้วิธีรณรงค์ติดป้าย เขตปลอดภัย เพื่อป้องกัน การสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ บุคคลที่ฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในเขตที่มีป้ายปลอดบุหรี่ หรือสถานที่ที่ประกาศว่าเป็น ที่ ป ลอดบุ ห รี่ ติ ด อยู ่ ถื อ ว่ า ผู ้ นั้ น กระท� ำ ผิ ด พระราชบั ญ ญั ติ คุ ้ ม ครองสุ ข ภาพ ของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 มาตรา 6 ประกอบมาตรา 12 มีอัตราโทษปรับ ไม่เกิน 2,000 บาท ส่วนผู้ประกอบการที่ไม่จัดสถานที่ปลอดบุหรี่ หรือเขตสูบบุหรี่ ตามที่กฎหมายก�ำหนด จะมีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ตามมาตรา 11

103

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 110 รักลูกหลาน

อย่าวาน ไปซื้อบุหรี่

บุ ห รี่ เป็ น สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค ทีข่ ายกันตามร้านค้าทัว่ ไป และสามารถ ซื้อขายกันได้ง่ายๆ สมัยก่อนนั้น ใครๆ ก็ ซื้ อ บุ ห รี่ กั น ได้ แม้ แ ต่ เ ด็ ก ตั ว เล็ ก ๆ ซึ่งมักจะถูกผู้ใหญ่ในบ้านใช้ให้ไปซื้อ บุหรี่มาให้ตัวเอง ส่วนคนขายก็ยินยอม ขายโดยง่าย เนื่องเพราะไม่ได้คิดถึง โทษที่จะเกิดขึ้นแก่เยาวชน ซึ่งอาจจะ อยากลองสู บ เองและท� ำ ให้ ติ ด บุ ห รี่ แต่ยังอายุน้อยๆ แต่เนือ่ งจากโทษของบุหรีต่ อ่ สุขภาพ ทั้งของผู้สูบและคนรอบข้างที่มีมาก จึงท�ำให้มกี ารออกกฎหมายเพือ่ ป้องกัน ไม่ให้เยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่ใน หลายวิถีทางด้วยกัน

104

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

นอกจากจะป้องกันทางเยาวชนแล้ว ด้านผูข้ ายเองก็ถกู ควบคุมจากกฎหมาย ด้วยเช่นกัน ว่าไม่ให้ร้านค้าขายบุหรี่ ให้แก่บุคคลซึ่งตนรู้อยู่ว่าผู้ซื้อหรือผู้รับ มีอายุไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ซึ่งหาก ผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น ก็ จ ะถื อ ว่ า มี ค วามผิ ด ตาม พระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยาสูบ พ.ศ. 2535 มาตรา 4 ประกอบ มาตรา 17 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจ�ำและปรับ ใครที่ พ บเห็ น ร้ า นค้ า ยั ง ขายบุ ห รี่ ให้แก่เด็กๆ ก็สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ ต� ำ รวจให้ ด� ำ เนิ น การตามกฎหมาย ได้เลย แต่ทางที่ดีก็ควรสอนลูกหลาน ให้เข้าใจถึงโทษเพื่อจะได้ไม่ต้องเป็น ทาสของบุหรี่จะดีที่สุด

ผิดกฎหมาย ถ้าขายบุหรี่ ให้เด็กนะคะ

ตอนที่ 111 บุหรี่

แจกฟรี ก็ท�ำไม่ได้ ห้ามแจก! ห้ามโฆษณา!

บุหรี่นั้นมีโทษกับร่างกายผู้สูบรวมทั้งผู้ที่อยู่รอบข้าง ดังนั้นรัฐจึงมีกฎหมาย ออกมาควบคุมบุหรีอ่ ย่างเคร่งครัด นอกจากเรือ่ งบริโภคและการขายแล้ว กฎหมาย ยังครอบคลุมมาถึงด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์อีกด้วย ผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภคไม่น้อยที่เมื่อมีสินค้าใหม่ๆ ออกมา กิจการส่วนใหญ่ เมื่อผลิตสินค้าออกมาแล้ว อาจจะต้องการให้ผู้บริโภคได้ทดลองใช้สินค้าตัวอย่าง จึ ง มี ก ารน� ำ ไปแจกจ่ า ยให้ ท ดลองใช้ แต่ ก รณี ข องบุ ห รี่ นั้ น ไม่ ส ามารถท� ำ ได้ เพราะมีพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 มาตรา 7 ห้ามมิให้ แจกจ่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบแพร่หลายหรือเป็นการจูงใจสาธารณชนให้เสพผลิตภัณฑ์ ยาสูบนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่เป็นการให้กันตามประเพณีนิยม ผู้ฝ่าฝืนต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 18 ตามพระราชบัญญัตินี้ เรื่ อ งนี้ เ ป็ น ข้ อ เตื อ นใจส� ำ หรั บ เถ้ า แก่ น ้ อ ย เถ้ า แก่ ใ หญ่ ที่ ล งมื อ ท� ำ การค้ า ว่าต้องรู้เรื่องสินค้าของเราในทุกแง่มุมของกฎหมายด้วย

105

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 112

เมามาย กลายเป็นเรื่อง

ตอนที่ 113 สุรานอก ซื้อด้วยเงินเรา แต่ เกินจ�ำนวน

ห้ามน�ำเข้า

1 ลิตร

คนจ�ำนวนไม่น้อยในสังคมไทยนั้นชอบความรื่นเริง เมื่อยามที่ไปงานเลี้ยงก็ต้อง มีการเลี้ยงสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์กันบ่อยๆ ซึ่งการดื่มเครื่องดื่มเหล่านี้ มากเกินไปนอกจากจะมีโทษต่อสุขภาพแล้ว ก็ยังอาจมีผลต่อสังคม เพราะคนที่ เมามายจนคุ ม สติ ไ ม่ อ ยู ่ ประพฤติ ตั ว วุ ่ น วาย ส่ ง เสี ย งดั ง สร้ า งความร� ำ คาญ แก่เพื่อนบ้าน หรือผู้พบเห็น และก่อการทะเลาะวิวาทดังที่เราได้พบเห็นทั้งใน รายงานข่าวหรือประสบมาด้วยตนเองอยู่เนืองๆ พฤติ ก รรมเมามายก่ อ กวนความสงบสุ ข ของผู ้ อื่ น ในที่ ส าธารณะ เช่ น ข้างถนนหนทาง หรือบริเวณที่ต้องใช้ร่วมกันกับผู้อื่น เช่นนี้เป็นการละเมิด กฎหมายด้วยเช่นกัน เพราะการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขในสังคมด้วยความเป็น ระเบียบเรียบร้อยนั้นเป็นสิ่งที่ควรส่งเสริม ดังนั้น ผู้ประพฤติเช่นนี้ก็จะมีความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 378 และต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท โดยอัตราโทษดังกล่าวนี้ได้แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติแก้ไข เพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 22) พ.ศ. 2558

ผ๊ม...ม่าย...มาววว

106

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

เมือ ่ เดินทางไปต่างประเทศก็อาจจะมีคนฝากซือ้ ของมากมาย ตัง้ แต่เครือ่ งส�ำอาง เครื่องใช้ไฟฟ้า บุหรี่ หรือแม้แต่สุราต่างประเทศ ซึ่งผู้ซื้อมักจะซื้อจากร้านค้า ปลอดภาษีภายในสนามบิน ทีเ่ ปิดโอกาสให้ซอื้ ของได้อย่างสะดวกสบาย แต่หากเรา ผ่านพิธีการศุลกากร สินค้าที่เราซื้อมาฝากคนอื่นๆ เหล่านี้อาจท�ำให้เราต้องพบกับ ปัญหา เพราะกฎหมายก�ำหนดได้ก�ำหนดเอาไว้ว่าควรจะน�ำเข้าได้ไม่เกินเท่าไร ในกรณีของสุรานั้น จะสามารถซื้อและน�ำเข้ามาในประเทศได้ไม่เกิน 1 ลิตร เมื่อมีการตรวจค้นและเจอว่ าน�ำเข้ าสุรามากกว่าหนึ่งลิตรก็อ าจจะถูกปรับ หรือยึดของดังกล่าว และซ�้ำร้ายหากพบว่ามีเจตนาหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร อาจมีความผิดสูงสุด คือปรับ 4 เท่าของมูลค่าสินค้า บวกค่าภาษีและอากร หรือจ�ำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ส่วนสินค้าต้องถูกริบเป็นของแผ่นดิน ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27 ส่วนสินค้าอื่นๆ แต่ละอย่างต่างก็มีข้อก�ำหนดที่แตกต่างกันออกไปด้วย ก่อนซื้อและหอบเข้ามาจึงต้องศึกษาให้ถี่ถ้วนก่อน เพื่อป้องกันการกระท�ำ ผิดกฎหมาย

107

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 114 ขายเหล้าให้เด็ก

เรื่องไม่เล็ก อย่างที่คิด อายุไม่ถึง 18 อั๊ว “ไม่ขาย”! ครับ

ซื้อเบียร์ขวด

เหล้ า เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่กฎหมายควบคุมอย่างเข้มงวดในเรื่องการจ�ำหน่าย และการบริโภค เนื่องเพราะเมื่อผู้ดื่มเข้าไปมึนเมาไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ ก็อาจจะก่อให้เกิดปัญหากับสังคม อย่างไม่หนักมากก็เช่นการเมาแล้วส่งเสียงดัง ก่อกวนในทีส่ าธารณะ หรืออย่างร้ายแรงก็เช่น ก่อการวิวาท ท�ำร้ายร่างกาย หรือสังหาร หรือหากไปขับขี่พาหนะก็อาจท�ำให้เสียทั้งทรัพย์และชีวิตของตนเองและผู้อื่น

ตอนที่ 115

ซื้อเหล้าในปั๊ม ท�ำได้ ไหม? ร้านสะดวกซื้อในปั๊มน�้ำมันนั้นมีสินค้านานาไว้บริการแก่ผู้สัญจรไปมา ที่ส�ำคัญ ก็คือเครื่องดื่มและอาหาร เพื่อดับหิวกระหาย เพิ่มความสดชื่นกระปรี้กระเปร่า ให้แก่ผู้เดินทางหรือแม้แต่คนขับรถ บรรดานักดื่มอาจเข้าใจผิดคิดว่าสามารถ จะซื้อเหล้าที่นั่นที่เห็นมีร้านค้าตั้งอยู่และสามารถน�ำเหล้านั้นมาดื่มในบริเวณ ปั๊มน�้ำมันที่บางแหล่งจัดท�ำบริเวณนั่งพักสวยงามและสะดวกสบายได้ แต่การกระท�ำทั้งสองอย่างเป็นการละเมิดกฎหมายที่ก�ำหนดไว้ชัดว่า หากปั๊ม น�ำ้ มันใดทีม่ รี า้ นค้าภายใน ขายเหล้าให้ประชาชนอาจมีความผิดตามพระราชบัญญัติ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ในมาตรา 27 (6) ทีห่ า้ มขายเหล้าในสถานี บริการน�ำ้ มัน และผูท้ ดี่ มื่ เหล้าในปัม๊ น�ำ้ มัน ก็จะผิดมาตรา 31 (5) ในพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ ซึ่งทั้งสองกรณีมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ปั๊มน�้ำมันที่ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของร้ า นค้ า เองก็ อ าจถู ก กระทรวงมหาดไทย เพิ ก ถอน ใบอนุญาตสถานประกอบการน�้ำมันได้ด้วย

ดังนั้น กฎหมายจึงควบคุมการขายสุราอย่างเข้มงวด เยาวชนที่ต�่ำกว่า 18 ปี ไม่สามารถจะซื้อเหล้าได้ หากเจ้าของร้านค้าขายสุราให้กับเยาวชน อายุต�่ำกว่า 18 ปี ก็ ถื อ ว่ า ละเมิ ด กฎหมาย ซึ่ ง เป็ น ไปตามพระราชบั ญ ญั ติ คุ ้ ม ครองเด็ ก พ.ศ. 2546 มาตรา 26 ประกอบมาตรา 78 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ เนื่องจากสังคมต้องการป้องกัน ให้เด็กและเยาวชน ห่างไกลจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

108

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

109

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 116

ตอนที่ 117

เป่าก็ผิด

คนดื่มไม่ ได้ขับ

ไม่ยอมเป่า ก็ผิด เป่า ดีๆ

110

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

การ มึนเมาขณะขับรถอาจท� ำให้ เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ร ้ า ยแรงแต่ ก็ มี ผู ้ ล ะเมิ ด กฎหมายกันประจ�ำ ท�ำให้เจ้าหน้าที่ ต�ำรวจต้องมาตั้งด่านตรวจหานักดื่ม ที่ ไ ม่ ย อมท� ำ ตามกฎหมาย นั ก ดื่ ม ที่ ขั บ ไปแล้ ว เจอด่ า นต� ำ รวจบั ง คั บ ให้ เป่าตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ บางคน อาจใช้วิธีไม่ยอมให้เป่าลมหายใจลงใน เครื่ อ งทดสอบปริ ม าณแอลกอฮอล์ เพราะรู ้ ว ่ า ต� ำ รวจไม่ มี อ� ำ นาจบั ง คั บ ให้ ท� ำ ได้ และคิ ด ว่ า เมื่ อ ไม่ เ ป่ า ก็ ไม่มีหลักฐานให้เอาผิดได้

นั บ เ ป็ น ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ที่ ผิ ด เ พ ร า ะ ป ั จ จุ บั น มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ จ ร า จ ร ท า ง บ ก (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2557 มาตรา 142 สาระส�ำคัญคือหากผู้ขับขี่ไม่ยินยอม เป่ า ทดสอบให้ สั น นิ ษ ฐานไว้ ก ่ อ นว่ า ผู ้ นั้ น ฝ่ า ฝื น ขั บ ขี่ ร ถขณะเมาสุ ร า และจะมีผลให้ผู้ที่ไม่ยอมเป่าทดสอบ ปริมาณแอลกอฮอล์ได้รับโทษเท่ากับ ผู้ที่เมาแล้วขับ คือจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับ 5,000-20,000 บาท หรือทั้งจ�ำ ทั้งปรับ และพักใช้ใบอนุญาตขับรถ ไม่ น ้ อ ยกว่ า 6 เดื อ นหรื อ เพิ ก ถอน ใบอนุญาต สรุ ป ว่ า เป่ า ก็ ผิ ด ไม่ ย อมเป่ า ก็ ผิ ด ทางทีด่ ตี อ้ งแก้ไขจากต้นเหตุ คือไม่ควร ดื่มสุราแล้วขับรถ

ถูกจับ ได้เหมือนกัน

ช่วงเทศกาลต่างๆ ที่มีวันหยุดยาว อย่างเช่น สงกรานต์หรือปีใหม่ จะเห็นภาพ ผู้คนเหมารถไปท่องเที่ยวต่างจังหวัดกันเป็นหมู่คณะ และบางครั้งก็มีการดื่มเหล้า กันบนรถเพื่อความสนุกสนานด้วย การกระท�ำนี้เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย เพราะอาจ ก่ออันตรายร้ายแรงบนท้องถนนขึน้ ได้ ซึง่ เจ้าพนักงานก็พยายามอย่างสุดความสามารถ ที่จะป้องกันเหตุเหล่านี้ และวิธีหนึ่งก็คือการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด กรณีการดื่มเหล้าหรือเบียร์ในรถ แม้ว่าผู้ขับรถไม่ดื่ม แต่ถ้าผู้ที่โดยสารมาด้วย ดื่มสุรา หรือเบียร์ในรถ ไม่ว่าจะดื่มขณะที่รถวิ่งอยู่บนท้องถนน หรือรถจอด อยู่ข้างทางเท้า คนขับรถก็มีความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มาตรา 4 มาตรา 31 (7) และมีความผิดตามมาตรา 42 ถูกจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ สรุปว่าคนดื่มไม่ได้ขับก็มีสิทธิถูกจับได้เหมือนกัน

111

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 118 จะซื้อจะขายสุรา

ต้องดูเวลา ที่ก�ำหนด

11:00 14:00

ตอนที่ 119 ได้มรดกเป็น

ปืน

17:00 24:00

ใบอนุญาต

เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ถือเป็นสินค้าควบคุมที่มีการก�ำหนดช่วงเวลาในการ จ�ำหน่ายไว้ชัดเจน โดยแบ่งเป็น 2 ช่วงเวลา คือ เวลา 11.00-14.00 น. และเวลา 17.00-24.00 น. ตามประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ก�ำหนดเวลาห้ามขาย เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2558 อาศัยอ�ำนาจพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มาตรา 4 และมาตรา 28 หากฝ่ า ฝื น มี ค วามผิ ด มาตรา 39 ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ต้องท�ำตามกฎหมายให้ถูกต้อง

112

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

การได้รบั มรดกจากพ่อแม่หรือญาติผใู้ หญ่ ไม่วา่ จะเป็นรถยนต์ ทีด่ นิ เงินทอง ฯลฯ สินทรัพย์เหล่านี้ผู้เป็นลูกหลานย่อมยินดีจะรับไว้และเต็มใจที่จะด�ำเนินการเพื่อ ครอบครอง แต่ถา้ หากมรดกนัน้ เป็นสิง่ ทีเ่ หนือความคาดหมาย เช่น พวกอาวุธปืน ควรจะต้องท�ำอย่างไร แม้ว่าผู้รับจะอยากได้หรือไม่ก็ตาม แต่ผู้รับมรดกมีหน้าที่ที่จะต้องไปด�ำเนินการ ตามกฎหมาย คือแจ้งต่อนายทะเบียนภายในท้องที่ภายใน 30 วันว่าผู้ครอบครอง เดิมนั้นเสียชีวิตแล้ว และขอใบอนุญาตใหม่ส�ำหรับตนเองเพื่อครอบครองอาวุธปืน เป็นไปตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490 มาตรา 64 วรรคแรก หากไม่ทำ� หรือละเลย ปล่อยทิง้ เอาไว้ ก็อาจกลายเป็นการครอบครองอาวุธปืน โดยไม่ได้รับอนุญาต อาจมีความผิดตามมาตรา 83 ปรับไม่เกิน 1,000 บาท

113

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 120 ปืนผาหน้าไม้

ตอนที่ 121

อยากมี ไว้ ป้องกันตัว สั ง คม ปั จ จุ บั น ที่ เ ราไว้ ว างใจ คนแปลกหน้าไม่ได้ ไม่รู้ว่าเป็นผู้ร้าย หรือผู้ดี ท�ำให้บางครั้งเราก็อยากจะมี อาวุธไว้ป้องกันตัวเอง คนในครอบครัว และทรัพย์สินของเรา ให้ปลอดจาก ผู้ที่มามุ่งร้าย โดยเฉพาะอาวุธปืน

114

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

อยาก พก ปืน

อย่างไรก็ตาม อาวุธปืนเป็นสิ่งที่ สามารถท�ำอันตรายผู้อื่นให้บาดเจ็บ สาหั ส หรื อ ถึ ง แก่ ชี วิ ต ได้ ดั ง นั้ น เพื่ อ ความปลอดภั ย และสุ ข สงบ ของสั ง คม จึ ง ต้ อ งมี ก ฎหม าย มาควบคุมการซื้อขาย ครอบครอง และการใช้อาวุธปืนอย่างเข้มงวด ปืนถือเป็นอาวุธทีอ่ าจเป็นอันตรายได้ จึ ง ต้ อ งมี ก ฎหมายมาเกี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ สร้ า งความปลอดภั ย ให้ กั บ คน ในสังคม ดังนั้นหากต้องการมีอาวุธปืน ไว้ป้องกันตัว ต้องแจ้งจดทะเบียนต่อ เจ้าหน้าทีพ่ นักงานตามพระราชบัญญัติ อาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้ เ พลิ ง และสิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ปื น พ.ศ. 2490 มาตรา 7 ทั้งนี้ หากฝ่าฝืน ไม่แจ้งเจ้าหน้าทีพ่ นักงาน ต้องระวางโทษ จ�ำคุก 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 2,00020,000 บาท ตามมาตรา 72 วรรคแรก

ปืนหาย ห้ามอยู่เฉย เมื่อเรามีอาวุธปืนไว้ในครอบครองแล้ว นอกจากจะต้องใช้อย่างรับผิดชอบแล้ว ก็จะต้องเก็บรักษาอาวุธปืนไว้ในที่ปลอดภัยและแน่นหนา นอกจากนี้ผู้ที่มีอาวุธปืน ไว้ในครอบครองก็จ�ำเป็นที่จะต้องศึกษาพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490 ให้เข้าใจถึงหน้าที่ และข้อผูกพันตามกฎหมายให้ดี เพราะกฎหมายจะก�ำหนดว่าต้องท�ำอย่างไรบ้าง เมื่อสถานการณ์หนึ่งๆ เกิดขึ้น หากว่านาย ก.ครอบครองอาวุธปืนอย่างถูกกฎหมาย แต่อยู่มาวันหนึ่งก็ได้พบว่า อาวุธปืนนั้นหายไป หาเท่าไรก็ไม่พบ สิ่งที่จะต้องท�ำนอกเหนือจากไปแจ้งความ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจว่าทรัพย์สินซึ่งคืออาวุธปืนสูญหายแล้ว ก็ยังต้องไปแจ้งเหตุ และส่ ง มอบใบอนุ ญ าตครอบครองอาวุ ธ ปื น นั้ น ต่ อ นายทะเบี ย นในท้ อ งที่ ซึ่งตนอยู่อาศัย หรือท้องที่ที่ปืนนั้นสูญหาย ทั้งนี้ นาย ก.จะต้องด�ำเนินการภายใน 15 วัน นับตั้งแต่ทราบเรื่อง ถ้าหาก ไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม จะมี ค วามผิ ด ตาม มาตรา 21 และรั บ โทษตามมาตรา 83 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท

ปืน หาย!

115

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 122 พกปืน ต้องมี

ใบอนุญาต

แม้ ว ่ า คนที่ มี ค รอบครองปื น จะได้รับใบอนุญาตให้มีและใช้ได้ตาม กฎหมายแล้ว แต่กฎหมายก็ไม่อนุญาต ให้ พ กปื น ออกไปนอกสถานที่ ไ ด้ อย่างเสรี เพราะว่าอาจก่ออันตราย ต่อบุคคลอื่นขึ้นได้ การจะน� ำ ปื น ติ ด ตั ว ไปนั้ น จ� ำ เป็ น จะต้องมีใบพกพาใบพกพาทัว่ ราชอาณาจักร หรื อ ในเขตจั ง หวั ด (ป.12) ซึ่ ง ผู ้ ใ ด ประสงค์ มี ใ บพกพาต้ อ งยื่ น ค� ำ ร้ อ ง ต่ อ เจ้ า พนั ก งานผู ้ อ อกใบอนุ ญ าต และผู ้ ไ ด้ รั บ ใบพกปื น จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต ามระเบี ย บที่ ก ระทรวง มหาดไทยก� ำ หนด ตั ว อย่ า งเช่ น เป็ น เจ้ า พนั ก งานซึ่ ง ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ควบคุมทรัพย์สนิ ของรัฐบาล ข้าราชการ ตัง้ แต่หวั หน้าแผนกหรือเทียบเท่าขึน้ ไป ผู ้ มี ห น้ า ที่ ใ นการปราบปรามหรื อ การปฏิบัติงานในการฝ่าอันตราย อย่างไรก็ตามส�ำหรับผูค้ รอบครองปืน ที่มิใช่เจ้าหน้าที่ที่มีใบอนุญาตพกปืน

116

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ใบ อนุญาต พกพา

แต่มีเหตุเร่งด่วนตามสมควรแก่เหตุ เช่น คุณสมศักดิ์เพิ่งขายสินค้าได้เงิน มาหลายแสนบาทและจ� ำ เป็ น ต้ อ ง น� ำ ไปฝากธนาคารซึ่ ง อยู ่ ห ่ า งไกล อั น เป็ น เส้ น ทางที่ มี โจรผู ้ ร ้ า ยชุ ก ชุ ม จึงพกปืนที่ชอบด้วยกฎหมายไปด้วย โดยไม่มีใบอนุญาตพกพา การกระท�ำ ดั ง กล่ า วอาจอ้ า งได้ ว ่ า เพราะเป็ น ความจ�ำเป็นและเร่งด่วน

ตอนที่ 123

ควงปืน ไปที่ชุมนุมชน อาวุธปืนเป็นสิ่งหนึ่งที่กฎหมายควบคุมอย่างเข้มงวดในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะซื้อ มีไว้ในครอบครอง ตลอดจนการพกพาไปในสถานทีต่ า่ งๆ ด้วย เนือ่ งจากอาจเกิดเหตุ ที่เป็นภัยกับผู้อื่นได้ แม้ ว ่ า เราจะมี ทั้ ง ใบอนุ ญ าตให้ มี ป ื น และใบอนุ ญ าตให้ พ กปื น แล้ ว ก็ ต าม แต่ ก ฎหมายก็ ยั ง มี ข ้ อ ห้ า มไว้ ส�ำ หรั บ การน� ำ อาวุ ธ ปื น ออกมาพกอย่ า งเปิ ด เผย ในที่ ชุ ม นุ ม ชน อย่ า งเช่ น งานประเพณี มหรสพ หรื อ อื่ น ซึ่ ง อาจท� ำ ให้ เ กิ ด ความหวาดกลั ว ขึ้ น ได้ ยกเว้ น แต่ จ ะเป็ น เจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ย หรือรักษาสินทรัพย์ของทางรัฐ ตามพระราชบัญญัตอิ าวุธปืน เครือ่ งกระสุน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิง่ เทียม อาวุธปืน พ.ศ. 2490 มาตรา 8 ทวิ วรรค 2 ประกอบมาตรา 72 ทวิ วรรค 2 ก�ำหนดโทษของผู้ที่มิใช้เจ้าพนักงานหรือผู้ที่กฎหมายอนุญาตแต่พกอาวุธปืน อย่างเปิดเผยในสาธารณะว่า ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 5 ปี และปรับตั้งแต่ 1,000 บาท ถึง 10,000 บาท

แต่ ห ากใครฝ่ า ฝื น หรื อ พกปื น โดยไม่เข้าข้อยกเว้นดังกล่าว ถือว่ามี ความผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครือ่ งกระสุนปืน วัตถุระเบิดดอกไม้เพลิง และสิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ปื น พ.ศ. 2490 มาตรา 72 ทวิ วรรค 2 จ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท

117

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 124

ตั้งครรภ์ ...ไม่มีสิทธิ์ให้เลิกจ้าง รู้ แล้วจ้ะ

43

พนั ก งาน หญิงกับการตั้งครรภ์เป็นสภาวะธรรมชาติ แม้ว่าในการท�ำงาน อาจจะท�ำได้ไม่เต็มที่เท่ากับภาวะปกติ หรืออาจต้องมีการย้าย โอน เปลี่ยนแผนก เพื่อให้เกิดความปลอดภัย แต่ไม่ได้หมายความว่า นายจ้างจะน�ำเรื่องการตั้งครรภ์ มาเป็นข้ออ้างในการเลิกจ้างพนักงานได้ เนื่องจากมีกฎหมายตามพระราชบัญญัติ คุ ้ ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 43 ให้ ค วามคุ ้ ม ครองแก่ พ นั ก งาน โดยห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงเพราะเหตุมีครรภ์ ซึ่งหาก นายจ้างให้ออกจากงาน พนักงานสามารถฟ้องร้องด�ำเนินคดีได้

118

ไม่จ่ายค่าจ้าง

สิทธิของ ลูกจ้าง

ไล่ออก ไม่ได้นะ! มาตรา

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ตอนที่ 125 ท�ำงานแทบตาย

มนุษย์เงินเดือนหรือคนท�ำงานโดยทั่วไปก็ต้องมุ่งหวังว่าเมื่อท�ำงานให้เขาแล้ว ถึงเวลาที่ได้ตกลงกันเอาไว้ก็ต้องได้รับค่าจ้างเป็นค่าตอบแทนการท�ำงานนั้นๆ เพื่อน�ำไปเลี้ยงปากเลี้ยงท้อง แต่ก็มักมีกรณีเกิดขึ้นอยู่เนืองๆ ที่ลูกจ้างไม่ได้รับ เงิ น เดื อ นหรื อ ค่ า ตอบแทนการท� ำ งานตามสิ ท ธิ์ ที่ ค วรจะได้ รั บ จากนายจ้ า ง หรืออาจเป็นการท�ำงานวันหยุดไม่ได้ค่าล่วงเวลา หรืออาจถึงขั้นให้ออกจากงาน โดยไม่จ่ายเงินชดเชย สิทธิโดยชอบธรรมของลูกจ้างนั้นมีระบุไว้ในกฎหมายคุ้มครองแรงงานอยู่แล้ว ดังนั้น ผู้ที่ประสบปัญหาเหล่านี้สามารถไปยื่นค�ำร้องพนักงานตรวจแรงงาน ในพื้ น ที่ ส ถานที่ ท� ำ งาน ตามพระราชบั ญ ญั ติ คุ ้ ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 123 หรื อ ใช้ สิ ท ธิ์ ฟ ้ อ งศาลแรงงานเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ความเป็ น ธรรม โดยที่ศาลนี้จะด�ำเนินการพิจารณาคดีเป็นไปอย่างรวดเร็ว

ขี้โกง!

จ่ายค่าชดเชย ของเรามา!

เราไม่ยอม!

119

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 126 เมื่อลูกน้อง

ตอนที่ 127

เป็นพิษ

ตกงาน อย่าเพิ่งตกใจ

กฎหมาย คุ้มครองแรงงานนั้นหาใช่คุ้มครองสิทธิ์เฉพาะแต่ลูกจ้างเท่านั้น แต่ยังดูแลไปถึงนายจ้างอีกด้วย โดยเฉพาะในกรณีที่นายจ้างได้รับความเสียหาย อย่างร้ายแรงจากการกระท�ำอันจงใจของลูกจ้าง ไม่ว่าจะเป็นแกล้งท�ำงานไม่เสร็จ ตามก�ำหนด ขโมยทรัพย์สินของนายจ้าง หรือแม้แต่ท�ำร้ายนายจ้าง พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 ก�ำหนดไว้ว่านายจ้าง สามารถไล่ลกู จ้างออกโดยทีไ่ ม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชยได้ ในกรณีทลี่ กู จ้างทุจริตต่อหน้าที่ จงใจท�ำให้ได้รับความเสียหาย หรือแม้แต่ประมาทเลินเล่อจนท�ำให้นายจ้างได้รับ ความเสี ย หายร้ า ยแรง หรื อ ฝ่ า ฝื น ระเบี ย บ หรื อ ค� ำ สั่ ง อั น ชอบด้ ว ยกฎหมาย ของนายจ้างและได้ถูกตักเตือนแล้ว ขาดงานติดกัน 3 วันโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือได้รับโทษจ�ำคุกตามค�ำพิพากษาถึงที่สุด ที่ไม่ได้เกิดการกระท�ำโดยประมาท หรือลหุโทษ

ค่าจ้างล่ะ?

120

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

ลื้อท�ำ ทุจริต ผิดระเบียบ อั๊ว..ไม่ให้!

กองทุน ประกันสังคม มนุษย์เงินเดือนก็มคี วามหวังอยูท่ เี่ มือ่ งานท�ำแล้วก็ได้จะได้เงินเดือนมาเลีย้ งปาก เลี้ยงท้องตัวเองรวมทั้งคนในครอบครัว บางคนก็เอามาจ่ายหนี้ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในชีวิต แต่ถ้าเกิดเหตุที่ท�ำให้ต้องตกงานโดยไม่ทันตั้งตัว ก็อย่าเพิ่งตกใจจนเกินเหตุ เพราะระหว่างท�ำงานลูกจ้างทุกคนจะต้องจ่ายค่าประกันสังคมกับส�ำนักงาน ประกันสังคมไว้ หากต้องตกงานก็สามารถใช้สทิ ธิขอรับเงินช่วยเหลือจากกองทุนประกันสังคมได้ ตามข้อก�ำหนดหลักเกณฑ์และอัตราการได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงาน พ.ศ. 2547 ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ซึ่งมีรายละเอียดการให้ ความช่วยเหลือแตกต่างกันไป ซึ่งก็จะท�ำให้เรามีเงินจ�ำนวนหนึ่งมารองรังส�ำหรับ การเริ่มต้นครั้งใหม่ ไม่ว่าจะเป็นหางานใหม่ หรือคิดจะท�ำอะไรด้วยตัวเอง ดังนัน้ เรือ่ งประกันสังคมจึงเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ เมือ่ ยังมีงานท�ำก็ควรจะทราบสิทธิ์ ของเราตรงนี้เอาไว้

121

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 128

ตอนที่ 129

อุบัติเหตุ จากการท�ำงาน

เกิดเหตุเศร้า เพราะ

เงิ น ทดแทนและกองทุ น ทดแทนเป็ น การดู แ ลที่ ภ าครั ฐ จั ด ให้ กั บ ลู ก จ้ า ง เมื่ อ ประสบอั น ตรายจากการท� ำ งาน หรื อ จากค� ำ สั่ ง ของนายจ้ า ง จนท� ำ ให้ ลู ก จ้ า งบาดเจ็ บ หรื อ เจ็ บ ป่ ว ยทั้ ง ทางร่ า งกายและจิ ต ใจ รวมไปถึ ง เสี ย ชี วิ ต ซึ่งเนื่องมาจากการปฏิบัติ หรือเกิดขึ้นในระหว่างการท�ำงาน เช่น ระหว่าง ปฏิบัติงานถูกเครื่องจักรตัดนิ้วขาด หรือการท�ำงานในสถานที่อันเสี่ยงต่อสุขภาพ และท�ำให้สุขภาพของลูกจ้างต้องอ่อนแอลงไปจากเหตุนั้นๆ เป็นต้น สิ ท ธิ์ ต ่ า งๆ ที่ ลู ก จ้ า งรวมทั้ ง ข้ อ ก� ำ หนดที่ ว ่ า หากลู ก จ้ า งเสี ย ชี วิ ต ครอบครั ว จะเป็นผู้ได้รับเงินชดเชย สมทบ หรือเงินเพิ่มนั้นอยู่ในพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 ซึ่งได้ก�ำหนดให้มีกองทุนหลักประกันในการจ่ายเงินทดแทนแก่ลูกจ้าง ขึ้นมา เพื่อเป็นค่าอุปการะแทนนายจ้าง โดยนายจ้างจะเป็นผู้จ่ายเงินสมทบ เข้ากองทุนเงินทดแทนด้วย

กองทุนหลัก ประกันสังคม

122

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

นายจ้าง สมทบทุน

ตัวเราเอง

แม้ว่าจะมีกฎหมายที่คุ้มครองสิทธิ์ ของลูกจ้างในการท�ำงาน และจ่ายเงิน ทดแทนให้ ใ นกรณี ที่ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ที่ ท� ำ ให้ บ าดเจ็ บ หรื อ เสี ย ชี วิ ต ก็ ต าม แต่ ห ากว่ า ลู ก จ้ า งประสบอุ บั ติ เ หตุ จากการท�ำงานแต่สาเหตุนั้นมาจาก การเสพของมึนเมา หรือยาเสพติด ขณะท�ำงาน จนไม่สามารถครองสติได้ หรือจงใจท�ำให้ตัวเองประสบอันตราย หรื อ ยอมให้ ค นอื่ น ท� ำ ให้ ตั ว เอง ประสบอันตรายในระหว่างการท�ำงาน ด้วยเหตุใดๆ ก็ตามที ลูกจ้างจะไม่ได้ รับการคุ้มครองสิทธิ์ที่มีอยู่เลย

เมา ในเวลา ท�ำงาน!

หากมีเหตุการณ์ในลักษณะนีเ้ กิดขึน้ ลู ก จ้ า งก็ จ ะไม่ ไ ด้ รั บ เงิ น ทดแทน ตามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ เงินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 22 เมื่ อ ทราบเช่ น นี้ แ ล้ ว เราก็ ค วรจะ อยู ่ ห ่ า งจากพวกของมึ น เมาหรื อ ส า ร เ ส พ ติ ด ใ น ข ณ ะ ท� ำ ง า น เ พ ร า ะ น อ ก จ า ก จ ะ เ สี ย สุ ข ภ า พ เสี ย งาน แล้ ว ก็ ยั ง เสี ย สิ ท ธิ์ ที่ พึ ง ได้ ตามกฎหมายอีกด้วย

123

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 130 ท�ำดี

ร่วมด้วย ท�ำผิด ร่วมโดน

ใน กรณีที่นายจ้างมอบหมายงาน ให้ลูกจ้างท�ำและประสบความส�ำเร็จ นายจ้างก็ย่อมได้ประโยชน์จากความ ส� ำ เร็ จ นั้ น และก็ ใ นท� ำ นองเดี ย วกั น หากลู ก จ้ า งไปปฏิ บั ติ ง านตามค� ำ สั่ ง ของนายจ้างแล้วท�ำให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคลอืน่ ๆ เช่น ลูกจ้างเป็นพนักงาน ขับรถยนต์ ในระหว่างไปท�ำภารกิจ เกี่ยวกับงาน เกิดขับรถไปชนบุคคลอื่น ได้รับบาดเจ็บขึ้นมา นอกจากลูกจ้าง จะต้องรับผิดชอบแล้ว นายจ้างเอง ก็ ยั ง ต ้ อ ง มี ส ่ ว น รั บ ผิ ด ช อ บ กั บ ผู้เสียหายด้วยเช่นกัน

ตอนที่ 131 อย่านิ่งนอนใจ เมื่อ

ใบต่างด้าว หมดอายุ บัตร หมดอายุ ต้องบอกนะ

เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 425 ที่ระบุว่า นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ในผลแห่งละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระท�ำ ไปในทางการที่จ้างนั้น

คน ต่างด้า วที่ เข้ า มาท� ำงานในประเทศไทยก็ ต ้ อ งมี “ใบส� ำคั ญ ประจ� ำตั ว ” ที่ออกให้โดยทางการไทย หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า “บัตรต่างด้าว” ซึ่งเมื่อบัตรหมดอายุลง ตัวคนต่างด้าวจะต้องรับผิดชอบในการไปต่ออายุบัตรนั้น หากว่ า ปล่ อ ยให้ ห มดอายุ โ ดยไม่ ไ ปต่ อ ก็ จ ะมี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ การทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ. 2493 มาตรา 13 มีโทษปรับเป็นรายปี ปีละไม่เกิน 500 บาท ตลอดระยะเวลาที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรื อ หากว่ า บั ต รต่ า งด้ า วนั้ น ช�ำ รุ ด หรื อ สู ญ ไป แล้ ว ละเลยไปไม่ ข อใบแทน ก็จะมีความผิดในมาตรา 22 ของกฎหมายฉบับเดียว โดยจะต้องถูกปรับไม่เกิน 1,000 บาท นอกจากนี้ น ายจ้ า งหรื อ เจ้ า บ้ า นที่ เ ป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ คนต่ า งด้ า วนั้ น หากละเลยไม่ยอมท�ำตามกฎหมายทั้งสองมาตราที่กล่าวมาแล้วก็จะมีความผิด ไปด้วยอาจจะปรับ 500 บาท หรือ 1,000 บาท ก็แล้วแต่กรณีไป เมือ่ กล่าวถึงจ�ำนวนเงิน บางคนอาจมองว่าเงินทีป่ รับเล็กน้อย แต่ถา้ ลูกจ้างนัน้ ไม่มบี ตั รต่างด้าว ปัญหาทีต่ ามมาอาจท�ำให้นายจ้างเสียประโยชน์มากกว่านีก้ ไ็ ด้

124

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

125

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 132 ลูกจ้างต่างด้าวเสียชีวิต

ตอนที่ 133 คนท�ำงานมีหน้าที่

ต้องเสียภาษี ช่วยรัฐ

อย่าคิดเพิกเฉย ต้อง รีบแจ้ง

เมื่ อ จ้างคนต่างด้าวมาท� ำงานให้ นายจ้ า งก็ เ ปรี ย บเสมื อ นผู ้ ป กครอง ในเวลาท� ำ งานของลู ก จ้ า งต่ า งด้ า ว ที่ มี ห น้ า ที่ ก� ำ กั บ ควบคุ ม และดู แ ล ในเรื่ อ งการปฏิ บั ติ ง าน ใบต่ า งด้ า ว ใบอนุญาตท�ำงานและสวัสดิการต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้

126

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

เมื่ อ เกิ ด กรณี ลู ก จ้ า งต่ า งด้ า วนั้ น เสียชีวิตลงในบริเวณบ้าน หรือสถาน ประกอบการของตนเอง นายจ้างก็มี หน้ า ที่ ต ้ อ งรี บ แจ้ ง ให้ น ายทะเบี ย น ท้องถิ่นรับทราบภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่เวลาเสียชีวิต หากไม่รีบด�ำเนินการถือว่านายจ้าง ก ร ะ ท� ำ ผิ ด ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ การทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ. 2493 มาตรา 12 ประกอบมาตรา 22 มีโทษ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท

หน้ า ที่ ส�ำคัญอย่างหนึ่งของประชาชนไทยที่มีรายได้ ก็คือจะต้องเสียภาษี ให้ กั บ รั ฐ บาล เพื่ อ ที่ รั ฐ บาลจะน� ำ เอาเงิ น นั้ น ไปบ� ำ รุ ง และพั ฒ นาประเทศ บางคนคิดว่าเรื่องภาษี หรือตัวเลขเป็นเรื่องยุ่งยากวุ่นวาย ไม่อยากเกี่ยวข้อง หรือคิดไม่เป็นไม่รวู้ ่าจะต้องจ่ายยังไงหรือเท่าไร ทีจ่ ริงการเสียภาษีนนั้ ก็เหมือนกับ ข้อกฎหมายอืน่ ๆ ทีป่ ระชาชนก็ควรต้องมีความรูแ้ ละปฏิบตั ติ ามอย่างถูกต้องด้วย ตามประมวลกฎหมายรัษฎากร มาตรา 40 (1) นั้นได้ก�ำหนดและจ�ำแนก รายละเอียดของเงินได้หรือรายได้ที่จะต้องเสียภาษีไว้อย่างละเอียด อาทิ เงินได้ จากการจ้างแรงงาน ทัง้ พนักงานในธุรกิจเอกชน และภาครัฐบาล เงินได้เกิดจากการ จ้างแรงงานที่มีคู่สัญญาระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดยมีก�ำหนดระยะเวลาจ้าง โดยลูกจ้างตกลงท�ำงานให้แก่นายจ้าง หรือหุ้นที่บริษัทแจกให้กับพนักงานก็ต้อง น�ำมาคิดเป็นเงินได้ที่ต้องประเมินภาษีด้วย

ภ.ง.ด. 91

127

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 134

ตอนที่ 135

ท�ำจริง ป่วยจริง

ยุคเปิดเออีซี แรงงานยังต้องมีกฎ

ใครก็กลั่นแกล้งไม่ได้ หาย ไปไหน?

128

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

AEC ในรอบ 1 ปี หากใครสุขภาพไม่ดี และเจ็ บ ป่ ว ยจริ ง ก็ ส ามารถใช้ สิ ท ธิ์ ล า ง า น ไ ด ้ ต า ม ค ว า ม เ ป ็ น จ ริ ง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 57 มาตรา 32

แค๊ก ๆ ๆ

แต่หากป่วยติดต่อเกินกว่า 30 วัน ในส่วนวันที่เกินจาก 30 วันจะไม่ได้รับ ค่าจ้าง รวมทัง้ หากป่วยติดต่อเกิน 3 วัน นายจ้ า งมี สิ ท ธิ์ ข อดู ใ บรั บ รองแพทย์ ได้ด้วย

ใบ รับรอง แพทย์

ดั ง นั้ น ห า ก ใ ค ร ป ฏิ บั ติ ต า ม กฎหมายข้ า งต้ น และถู ก นายจ้ า ง กลั่นแกล้งเพราะมองว่าเป็นคนขี้โรค หรือเห็นว่าลางานบ่อยไม่คุ้มค่าจ้าง และไล่ อ อกจากงาน ถื อ เป็ น การ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ลูกจ้างสามารถ เรี ย กค่ า เสี ย หายและเงิ น ชดเชย เลิกจ้างได้

แรงงาน ต้อง ลงทะเบียน

แม้จะเป็นช่วงเวลาแห่งการเข้าสู่ยุคการค้าเสรีระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน แต่แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาในเมืองยังต้องอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 ดังนัน้ หากใครสนับสนุนให้แรงงานต่างด้าวเข้ามาโดยผิดกฎหมาย ตามมาตรา 64 ซึง่ ก�ำหนดบทลงโทษไว้วา่ ผูท้ รี่ วู้ า่ คนต่างด้าวคนใดเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืน กฎหมายแล้วให้ที่พักอาศัย ซ่อนเร้น หรือช่วยเหลือด้วยประการใดๆ แก่บุคคล ต่างด้าวนั้น เพื่อให้คนต่างด้าวนั้นพ้นจากการจับกุม ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท ใครจะรับแรงงานต่างชาติเข้ามา ควรศึกษากฎหมายให้ดีด้วย

129

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 136 ไม่ว่าอาชีพไหน ก็ต้องใส่ใจ

เรื่องลิขสิทธิ์

ตอนที่ 137 เพลงดัง หนังดี

ก็อปปี้ไม่ได้

ประเทศไทยมักมีชื่อเรื่องอยู่ในโผของการไม่สนใจเรื่องลิขสิทธิ์ ทั้งที่เรามี พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 4 และมาตรา 6 ซึ่งให้นิยามความหมาย ของค� ำ ว่ า ลิ ข สิ ท ธิ์ ไว้ ชั ด ว่ า หมายถึ ง สิ ท ธิ แ ต่ เ พี ย งผู ้ เ ดี ย วของผู ้ คิ ด ค้ น ผลงาน โดยใช้ ส ติ ป ั ญ ญาความรู ้ ความสามารถ และความวิ ริ ย ะอุ ต สาหะของตนเอง ในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ทั้งนี้มีผลงาน 9 ประเภท ที่กฎหมายให้การคุ้มครองด้านลิขสิทธิ์ทันทีโดยไม่ต้อง จดทะเบียน ประกอบด้วยงานสร้างสรรค์ประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ดังนั้นไม่ว่าเราจะอยู่อาชีพไหน เรื่องของลิขสิทธิ์ก็เข้าไปเกี่ยวข้องทั้งนั้น

พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ ปี 2557 มาตรา 4 มาตรา 6

130

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

พ่อค้าหัวใสสมัยนี้ คิดหาก�ำไรด้วยวิธีง่ายๆ โดยไม่ค�ำนึงถึงคนที่เป็นเจ้าของ ผลงานสร้างสรรค์ ด้วยการไปก๊อปปี้บทเพลง และภาพยนตร์ หรือสินค้าต่างๆ และน�ำมาขายในท้องตลาด ในราคาแสนถูก โดยไม่ขออนุญาตเจ้าของผลงาน ซึ่งท�ำให้ได้รับความเสียหาย อาจต้องเสี่ยงติดคุกหากเจ้าของผลงานเอาเรื่อง ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 69 โดยเฉพาะหากท�ำเพื่อการค้า ต้ อ งระวางโทษจ� ำ คุ ก 6 เดื อ น ถึ ง 4 ปี และปรั บ ตั้ ง แต่ 100,000 บาท ถึง 800,000 บาท

131

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ตอนที่ 138 งานใดใช้ ได้

ไม่ถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์

FREE ! ! ! กฎหมาย ระเบียบ

ประกาศ ข้อบังคับ ค�ำ ชี้แจง ค�ำสั่ง

ผลงานบางประเภทก็ถือไม่ละเมิดสิทธิ์ ประชาชนทั่วไปน�ำไปใช้อ้างอิงได้ เนื่องจากเป็นเรื่องของประโยชน์สาธารณะได้แก่ ข่าวประจ�ำวัน และข้อเท็จจริง ต่างๆ ทีม่ ลี กั ษณะเป็นเพียงข่าวสาร มิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ นอกจากนี้เรื่องของรัฐธรรมนูญ กฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง ค�ำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือของท้องถิ่น ค�ำพิพากษา ค�ำสั่ง ค�ำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการก็ใช้ได้ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 7

ตอนที่ 139 ศิลปะ ดนตรี งานนีเ้ พื่อการกุศล การ น� ำ ผลงานเพลงมาจั ด แสดง หากท� ำ เพื่ อ การกุ ศ ล อาทิ งานสังคมสงเคราะห์ เช่น งานของสภากาชาดไทย การจัดกิจกรรม หารายได้ ช ่ ว ยเหลื อ ผู ้ ย ากไร้ งานด้ า นการศึ ก ษา การศาสนา สามารถท�ำได้โดยไม่ถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์

132

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น

โดยศิลปินที่มาร้องเพลงจะต้องไม่มีค่าตัว งานที่จัดขึ้นก็ต้องไม่แสวงหา ก� ำ ไรหรื อ ผลประโยชน์ ส ่ ว นตั ว และที่ ส� ำ คั ญ ต้ อ งไม่ มี ผ ลกระทบ ต่อเจ้าของลิขสิทธิ์ด้วย เป็นไปตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 32 และมาตรา 36

ตอนที่ 140 คัดลอก ละเมิดลิขสิทธิ์หรือไม่

โดยอ้างอิง

อ้างอิง

งาน วิจัย

ความรู้นั้น บางครั้งต้องอาศัยสิ่งที่เกิดจากภูมิปัญญาหรือผลงานการค้นคว้า ของบุ ค คลที่ ท� ำ ไว้ ก ่ อ นหน้ า เช่ น คุ ณ ครู ส อนนั ก เรี ย น ก็ ต ้ อ งอาศั ย ต� ำ รา ที่มีอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งอาจมีข้อสงสัยว่า การน�ำต�ำราหรือผลงานทางวิชาการ ของผู้อื่นมาใช้ หรือมาแจกจ่ายให้กับนักเรียนนั้น ท�ำได้หรือไม่ หรือต้องท�ำเรื่อง ไปขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์หรือไม่ กรณีเช่นนี้สามารถท�ำได้ เช่น คุณครูน�ำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ ไปแจกจ่าย ให้นักเรียนเพื่อการศึกษาโดยไม่ได้แสวงหาก� ำไรใดๆ ไม่ถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์ รวมทั้งข้อยกเว้ น อื่ น ๆ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ลิ ข สิ ท ธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 32 รวมทั้งเมื่อคัดลอกผลงานมาแล้วก็ยังอ้างอิงถึงแหล่งที่มา รวมทั้งดูแลการใช้ งานวิชาการนัน้ ไม่ให้ไปกระทบกับเจ้าของผลงาน สามารถกระท�ำได้ ตามมาตรา 33

133

กฎหมาย ส า มั ญ ป ร ะ จ� ำ บ ้ า น


ที่ปรึกษา

พลต�ำรวจเอก ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นายธวัชชัย ไทยเขียว พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ นายพสิษฐ์ อัศววัฒนาพร พันต�ำรวจโท ดร. พงษ์ธร ธัญญสิริ

บรรณาธิการ

นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์

คณะผู้จัดท�ำ

นางสาวอัญญรัตน์ กัมปนานนท์ นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ นางสาวอรวิภา เกือกรัมย์ นางสาวอัญชลี มงคลฉัตร นายปิยะศักดิ์ โชคอ�ำนวย

ทีมผู้เขียนบท

นายราม ปั้นสนธิ นางสาวจิตสุภา ศรีพิลาศ

ที่ปรึกษาทีมเขียนบท

นางสาวเสาวนีย์ ชื่นส�ำราญ

ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการกองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร รองเลขาธิการสมาคมนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สมัยที่ 20 พ.ศ.2557-2560)

ศิลปกรรม

นายเจตนัตร์ ตรีเพชร

ขอขอบคุณ

ส�ำนักกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.