ร้อยเรื่องเล่า ตอน "ยุติธรรมก้าวไกล สังคมไทยเป็นสุข"

Page 1

OF

CE

M

Y

IN I S T R

JU S TI

เ รื่ อ ง เ ล า

ยุ ติ ธ ร ร ม ก า ว ไ ก ล สั ง ค ม ไ ท ย เ ป น สุ ข



ร้ อ ย เ รื่ อ ง เ ล่ า

.

บนเส้นทางการท�ำงาน การขับเคลื่อนภารกิจ ของ

กระทรวงยุติธรรม อดีต ปัจจุบัน และวิสัยทัศน์สู่อนาคต

1


ค�ำน�ำ ร้อยเรือ่ งเล่า ตอน “ยุตธิ รรมก้าวไกล สังคมไทยเป็นสุข” เป็นการรวบรวม งานส�ำคัญตามแนวทางการขับเคลือ่ นภารกิจของกระทรวงยุตธิ รรมในการด�ำเนินการ เพือ่ พัฒนากฎหมายและระบบบริหารจัดการของกระบวนการยุตธิ รรมอย่างเป็น เอกภาพตามมาตรฐานสากล โดยเนือ้ หาภายในเล่มประกอบด้วย ดังนี้ สนองพระเดช พระคุณ กระทรวงยุตธิ รรม ร่วมสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร น้อมน�ำพระวิสยั ทัศน์ของพระบรมวงศานุวงศ์ฯ ตามแนวทางการพัฒนาทีเ่ ชือ่ มัน่ ใน “คน” “การให้โอกาสผูพ้ ลัง้ พลาด” และ “การพัฒนา” เพื่อแก้ปัญหาสังคมในหลากหลายมิติสอดคล้องกับภารกิจ ของกระทรวงยุตธิ รรมผ่านหลากหลายโครงการ ไม่วา่ จะเป็นการป้องกันและแก้ปญั หา ยาเสพติด การฟืน้ ฟูผเู้ คยกระท�ำความผิดไม่ให้กลับมากระท�ำผิดซ�ำ้ ด้วยการคืนคนดี สูส่ งั คม ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารแก้ปญั หาคนล้นคุกอย่างยัง่ ยืน เกือ้ กูลความยุตธิ รรม กระทรวงยุติธรรม มุ่งมั่นพัฒนากระบวนการดูแลให้ความช่วยเหลือ ประชาชน และแนวทางในการป้องกันอาชญากรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ เป็นกรอบ ในการเชือ่ มโยงภารกิจของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องให้มที ศิ ทางการท�ำงานร่วมกัน แบบบูรณาการ พร้อมทัง้ สามารถน�ำไปปฏิบตั งิ านได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึง การเผยแพร่ความรู้ด้านกฎหมายและความรู้อื่นๆ ที่เป็นการสร้างภูมิคุ้มกัน ให้ประชาชนจากภัยสังคม เพือ่ ให้สามารถเข้าถึงความยุตธิ รรมได้สะดวก รวดเร็ว และ ไม่เสียค่าใช้จา่ ยเกินสมควร

2


น�ำคนดีคนื สูส่ งั คม กระทรวงยุตธิ รรม เร่งด�ำเนินนโยบายและพัฒนากระบวนการยุตธิ รรม ในมิตติ า่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนากฎหมาย การจ�ำแนกแยกแยะและวิเคราะห์ ผู้กระท�ำความผิดเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะราย การให้โอกาสทางการศึกษา และการพัฒนาอาชีพเพือ่ ทีจ่ ะคืนคนดีกลับสูส่ งั คม ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารแก้ปญ ั หา การกลับมีกระท�ำผิดซ�ำ้ และแก้ปญั หาคนล้นคุกอย่างยัง่ ยืน สมัยนิยมทันยุค กระทรวงยุตธิ รรม ได้มงุ่ เน้นการท�ำงานให้สอดรับกับนโยบายของรัฐบาล ในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เรือ่ งการอ�ำนวยความยุตธิ รรม ลดความเหลือ่ มล�ำ ้ และสร้างความเท่าเทียมในสังคม เพือ่ ให้ประชาชนทุกระดับสามารถเข้าถึง กระบวนการยุตธิ รรมได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และครอบคลุมทุกพืน้ ที่ รวมทัง้ การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมมากขึ้น โดยมีเป้าหมาย เพือ่ ผลักดันไปสู่ “Thailand 4.0” ในอนาคต การจัดท�ำหนังสือ ร้อยเรือ่ งเล่า ตอน “ยุตธิ รรมก้าวไกล สังคมไทยเป็นสุข” เป็นเล่มแรกทีก่ ระทรวงยุตธิ รรมจัดท�ำขึน้ และจะมีการรวบรวมงานส�ำคัญ ในมิตติ า่ งๆ ของกระทรวงยุตธิ รรม มาเล่าให้กบั ผูอ้ า่ นในโอกาสต่อไป

3


สารบัญ ส่วนที่

สนองพระเดช พระคุณ

6

กองทุนแม่ของแผ่นดิน ห้องสมุดพร้อมปัญญา TO BE NUMBER ONE ให้โอกาส สร้างคน 12 ปี โครงการก�ำลังใจ

8 12 14 17 19 22 24 26 28

• น้อมน�ำ “ศาสตร์พระราชา” มาปรับใช้ในเรือนจ�ำ • คุกคอฟฟี ่ • เปิดเรือนจ�ำ เพื่อเปิดใจ • นวดเท้าไฟ

เกื้อกูลความยุติธรรม ส่วนที่

กองทุนยุติธรรม สชง. กับการเยียวยาเหยื่อในคดีอาญา-แพะ Justice Care: ยุติธรรมใส่ใจ สายด่วนยุติธรรม ยุติธรรมที่ทั่วถึง ศูนย์ยุติธรรมชุมชน ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ฯ กรมสอบสวนคดีพิเศษ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กรมบังคับคดี ยุติธรรมที่พึ่งได้ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ รากแก้วของชีวิต สิทธิมนุษยชนและการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ • ถอดรหัสวาระแห่งชาติ 4+3+2+1= Goal • ธุรกิจกับสิทธิมนุษย์ชน • สิทธิเด็กและเยาวชน

• การด�ำเนินการว่าด้วยอนุสัญญาการต่อต้านการทรมานฯ • ดีเอสไอ : การป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมพิเศษฯ • ก้าวไปข้างหน้า ปราบปราม สืบสวน สอบสวนอาชญากรรมพิเศษ 4

30 32 34 38 41 43 45 48 59 61 64 66 69 70 71 73 73 75 77 78 79 81


น�ำคนดีคืนสู่สังคม

ส่วนที่

82

การพัฒนากฏหมาย เพื่อก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน ในกลุ่มภารกิจด้านพฤตินิสัย การพัฒนากระบวนการจัดเก็บข้อมูลสถิติ และวิเคราะห์การกระท�ำความผิดซ�้ำเพื่อฟื้นฟูผู้กระท�ำความผิด ให้โอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมส�ำหรับเด็กและเยาวชน ในโลกหลังก�ำแพง IDOL คนต้นแบบ สร้างโอกาสผู้กระท�ำความผิดได้มีความรู้และอาชีพ ภายหลังพ้นโทษ • กาฬสินธุ์โมเดล แก้ปัญหาคนล้นคุกจากต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ • เรือนจ�ำชั่วคราวเขากลิ้ง กับการน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

84

90 93

มาใช้อย่างได้ผล • โครงการประชารัฐ ร่วมสร้างงาน สร้างอาชีพผู้ต้องขัง • สมภพเสวนาอาชีพ = โอกาส • กาแฟเปลี่ยนชีวิต

94 95 96

86 87 88 90

ส่วนที่

สมัยนิยมทันยุค

98

CARE SUPPORT ระบบเยี่ยมผู้ต้องขังทางไกล ผ่าน Skype และ LINE การเปิดระบบฝากเงินผู้ต้องขัง ก�ำไล EM BIG DATA การพัฒนา Application DSI MAP กรมบังคับคดี 4.0 E-Document / Paperless

100 102 104 105 107 108 110 113 118 5


ส่วนที่

1

สนองพระเดช พระคุณ

สืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร น้อมน�ำพระวิสัยทัศน์ของพระบรมวงศานุวงศ์ฯ ตามแนวทางการพัฒนา ที่เชื่อมั่นใน “คน” “การให้โอกาสผู้พลั้งพลาด” และ “การพัฒนา”

“เข้ า ใจ เข้ า ถึ ง พั ฒ นา” เป็น “ศาสตร์พระราชา” ทีพ่ ระบาทสมเด็จ

พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช บรมนาถบพิ ต ร ทรงใช้ เ ป็ น แนวทางในการ ทรงงานพั ฒ นามาตลอดรั ช สมั ย ส� ำ หรั บ พระองค์ แ ล้ ว “คน” คื อ หั ว ใจส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของการพัฒนา ทรงตรัสกับคนใกล้ชิดเสมอว่า ในการพั ฒ นาจะต้ อ ง “ระเบิ ด จากข้ า งใน” นั่นหมายความถึงว่า เมื่อต้องการพัฒนาหรือ จะเข้าไปแก้ปัญหาให้กับพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งแล้ว 6

ต้ อ งเริ่ ม จากการเข้ า ไปสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ ค น ให้ มี ค วามพร้ อ มรั บ การพั ฒ นาและ ต้ อ งสร้ า งปั ญ ญาให้ ค น มิ ใช่ น� ำ ความรู ้ ห รื อ จากบุคคลภายนอกเข้าไปโดยที่คนไม่มีโอกาส เตรียมตัวหรือมีความรู้ที่จะเข้าถึงความรู้และ โอกาสที่น�ำไปให้ ตลอดหลายปี ที่ ผ ่ า นมาด้ ว ยส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ กระทรวงยุ ติ ธ รรม ไ ด ้ น ้ อ ม น� ำ พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ แ ล ะ แ น ว ท า ง ในการพั ฒ นาดั ง กล่ า ว ในการพั ฒ นา “คน”


ทรงพระเจริญ

เพื่อแก้ปัญหาสังคมในหลากหลายมิติสอดคล้อง กับภารกิจของกระทรวงยุติธรรม ไม่ว่าจะเป็น การป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด การฟื้นฟู ผู้เคยกระท�ำความผิดไม่ให้กลับมากระท�ำผิดซ�้ำ ด้ ว ยการคื น คนดี สู ่ สั ง คม ฯลฯ ผ่ า นโครงการ ในพระราชด� ำ ริ แ ละพระด� ำ ริ ข องพระบรม วงศานุวงศ์ หลากหลายโครงการ อาทิ กองทุน แม่ของแผ่นดิน ห้องสมุดพร้อมปัญญา To Be Number One โครงการให้โอกาส สร้างคน : BBG Young Table – Tennis การส่งเสริมกีฬาเยาวชนไทย

โครงการก�ำลังใจฯ ฯลฯ ปัจจุบันโครงการมีความคืบหน้าอย่าง ต่อเนื่องเป็นล�ำดับ หลายโครงการเป็นบทเรียน ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นา และเป็ น แบบอย่ า ง ในการพัฒนางานในกระบวนการยุติธรรม ทั้งใน มิ ติ ข องการ “ป้ อ งกั น ” และการ “ฟื ้ น ฟู ” เพื่อหลุดออกจากวังวนปัญหา โดยมีแนวทาง และรายละเอียดผลการด�ำเนินงานดังนี้

7


เรื่องที่ 1

แม่ของแผ่นดิน

กองทุน

แก้ปัญหายาเสพติด โดยใช้คนเป็นศูนย์กลาง

เมื่อครั้งที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ได้เสด็จแปรพระราชฐาน ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือราวปี 2546 พระองค์ทรงมีความห่วงใยอย่างมากในเรื่องปัญหาของ ยาเสพติด ซึ่งขณะนั้นมีการแพร่ระบาดของยาบ้า จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้พลต�ำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์ เลขาธิการ ป.ป.ส. ในเวลานั้น น�ำไปใช้สนับสนุนกิจกรรมราษฎรอาสาป้องกันและปราบปรามยาเสพติดโดยหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่ง ในการช่วยแก้ปญ ั หา น่าจะดีกว่าและนัน่ เป็นจุดเริม่ ต้นของการจัดตัง้ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” เพือ่ แก้ไข ปัญหายาเสพติด เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2546

พระองค์ ท รงมี พ ระราชด� ำ รั ส เรื่ อ งนี้ กับผู้ที่เข้าเฝ้าฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2554 ความว่า “....ข้าพเจ้าไม่สบายใจเลย ที่มีข่าว ว่ามียาบ้าขายทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่ง ในโรงเรียน หรือในวัด ผู้ผลิตยาเสพติด และ ผู ้ ข ายก� ำ ลั ง ท� ำ ตั ว เป็ น ฆาตกร ฆ่ า ลู ก หลาน ไทยอย่ า งเลื อ ดเย็ น น่ า เป็ น ห่ ว งเหลื อ เกิ น 8

เมื่อปี พ.ศ. 2546 ข้าพเจ้าได้เคยมอบเงิน จ� ำ นวนหนึ่ ง ให้ แ ก่ ส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และ ปราบปรามยาเสพติ ด ได้ น� ำ เงิ น นี้ ไ ปสมทบ งบประมาณของส�ำนักงาน จัดตั้งเป็นกองทุน ยาเสพติ ด ขึ้ น โดยขอใช้ ชื่ อ ว่ า กองทุ น แม่ ของแผ่นดิน มอบให้หมูบ่ า้ นทีเ่ ข้าร่วมแก้ปญ ั หา ยาเสพติ ด ในปี พ.ศ. 2547 จ� ำ นวน 672 หมู่บ้าน”


ในปีงบประมาณ 2547 หลังส�ำนักงาน ป.ป.ส. ได้ รั บ พระราชทานพระราชทรั พ ย์ จากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ส�ำนักงาน ป.ป.ส.ได้นำ� พระราชทรัพย์ ดังกล่าวสมทบกับงบประมาณของส�ำนักงาน ป.ป.ส. จัดตั้งเป็น “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” ที่ ใช้ เ ป็ น ทุ น ตั้ ง ต้ น ในการรวมพลั ง ศรั ท ธา ของประชาชน และหน่ ว ยงานองค์ ก รภาคี ทุ ก ภาคส่ ว นที่ มี ต ่ อ พระองค์ แปลงให้ เ ป็ น พลั ง ความร่ ว มมื อ ในการจั ด การกั บ ปั ญ หา ยาเสพติ ด ในหมู ่ บ ้ า น ชุ ม ชน หรื อ เรี ย ก อี ก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า “หมู ่ บ ้ า นกองทุ น แม่ ของแผ่ น ดิ น ” จนปั จ จุ บั น มี ห มู ่ บ ้ า นที่ เข้ ม แข็ ง และสามารถแก้ ป ั ญ หายาเสพติ ด ได้อย่างยั่งยืนจ�ำนวนมาก กองทุนแม่ของแผ่นดิน จึงเปรียบเสมือน ยุทธศาสตร์พระราชทาน ที่สมเด็จพระนางเจ้า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ในรั ช กาลที่ 9 โดยใช้ แ นวคิ ด ในการท� ำ งานที่ เริ่ ม จากการ สนับสนุนให้คนในชุมชนมีพลังปัญญา และ ใช้ความรักสามัคคีของคนในหมู่บ้านในการ

ป้องกันและแก้ไขปัญหาด้วยแนวทางสันติวิธี แนวคิดในการด�ำเนินโครงการมุ่งเน้น กระตุน้ ให้คนในชุมชนตืน่ ตัวท�ำความดี ปกป้อง รั ก ษาชุ ม ชนให้ เข้ ม แข็ ง ห่ า งไกลยาเสพติ ด ในปี 2561 มี ห มู ่ บ ้ า น ชุ ม ชนกองทุ น แม่ ของแผ่นดิน ทั่วประเทศ จ�ำนวน 22,206 แห่ง โดยแต่ละปีจะมีการคัดเลือก “ต้นกล้ากองทุน แม่ของแผ่นดิน” จากหมู่บ้าน ชุมชน ที่เข้า ร่วมโครงการ จัดให้มีการเฝ้าระวังในหมู่บ้าน การช่วยค้นหาผู้เสพ เพื่อหาวิธีการป้องกัน แก้ ไขเรื่ อ งยาเสพติ ด จึ ง ได้ มี ก ารจั ด กองทุ น รองรับ และยังมีการประเมินตามเกณฑ์หมูบ่ า้ น ชุมชน เพื่อพัฒนาสร้างเครือข่ายศูนย์เรียนรู้ ระดับภาค จังหวัด อ�ำเภอ ปานชัย แก้วอัมพรดี ประธานกองทุน แม่ ข องแผ่ น ดิ น ชุ ม ชนริ ม ทางรถไฟสาย ท่าเรือ คลองเตย เล่าให้ฟังถึงสถานการณ์ ยาเสพติดของพื้นที่สลัมคลองเตยที่ถือเป็นหนึ่ง ในพื้นที่เสี่ยง เมื่อ 10 กว่าปีก่อนที่จะเข้าร่วม เป็นหนึ่งในกองทุนของแผ่นดิน เมื่อถูกถามถึง ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ว่า

9


“รุ น แรงครั บ เนื่ อ งจากเป็ น สลั ม เป็นบ้านที่ไม่ได้มีการพัฒนาไม่ว่าถนนหนทาง ไฟฟ้ า ประปา แม้ แ ต่ ที่ ต รงนี้ ก็ เ ป็ น กองขยะ เป็นสิ่งมั่วสุมหลายเรื่อง เรื่องยาเสพติดนี้จริงๆ แล้ ว มั น มี ม านาน ชุ ม ชนนี้ ติ ด กั น เยอะมาก พยายามเอากีฬาเข้ามาให้เด็กสนใจ ต่อมามี เรื่องกองทุนแม่ของแผ่นดินและทูบีนัมเบอร์วัน เข้ามาช่วย ท�ำมาได้ 10 กว่าปี น�ำเด็กเข้าอบรม เรื่องยาเสพติด มีงบสัมมนาพาเด็กและชาวบ้านไป ซึ่งได้ผลพอสมควร ต�ำรวจเจ้าหน้าที่ให้ความ ร่วมมือดี” “เราได้รบั เงินพระราชทานเริม่ ต้น 8,000 บาท น�ำมาต่อยอดให้เพิ่มขึ้นเกือบ 20,000 บาท และ เอาเงินนั้นถวายกลับคืนพระองค์ท่านไป ท่านก็ เห็นว่าเรามีความตั้งใจ จึงได้สมทบกลับมารวม 38,000 บาท แล้วน�ำมาจัดกิจกรรมให้เด็กๆ ห่างไกลยาเสพติด เช่น กีฬา ดนตรี การสัมมนา แหล่งเรียนรู้ พาเด็กเยาวชนไป 2 ครัง้ ต่อปี โดยออก ค่ า ใช้ จ ่ า ยทั้ ง หมด พอเด็ ก รู ้ ป ั ญ หายาเสพติ ด คืออะไร เสพแล้วเป็นอะไร แต่ถ้าผู้ปกครอง

10

ไม่ มี อ าชี พ ก็ หั น ไปค้ า ยา ลู ก หลานก็ ติ ด อี ก เลยทดลองมาช่วยเหลือเรื่องอาชีพ เช่น แม่บ้าน ติดยา สามีติดยา ตั้งใจอยากจะเลิกยาเสพติด มาบอกว่าอยากจะได้เงินทุนไปประกอบอาชีพ เราก็ช่วยเหลือ ถ้าตราบใดจะรณรงค์ปราบปราม ยังไงก็แล้วแต่ ถ้าเขาไม่มอี าชีพจะเอาเงินทีไ่ หน มาจั บ จ่ า ยใช้ ส อย เลี้ ย งลู ก เลี้ ย งครอบครั ว เขาก็ต้องหันกลับไปติดยา ค้ายาเสพติดอีก วนเวียนอยู่อย่างนี้ไม่จบสิ้น” จ า ก เ งิ น พ ร ะ ร า ช ท า น จ� ำ น ว น 8,000 บาท ของกองทุ น แม่ แ ห่ ง แผ่ น ดิ น ที่มอบให้แก่ชุมชนแห่งนี้ ชุมชนยังสามารถ น� ำ ไปต่ อ ยอดท� ำ ประโยชน์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกเหนื อ จากการสนั บ สนุ น กิ จ กรรม สร้ า งสรรค์ ส� ำ หรั บ เด็ ก เยาวชนให้ ห ่ า งไกล ยาเสพติ ด แล้ ว ยั ง เป็ น ทุ น เปลี่ ย นชี วิ ต ผูต้ ดิ ยาเสพติดให้กลับคืนสูส่ งั คม มีอาชีพสุจริต พึ่ ง พาตนเองบนวิ ถี ชี วิ ต พอเพี ย งด้ ว ยความ ภาคภูมิใจ


การพลิกฟืน้ สลัมคลองเตย จึงเป็นตัวอย่าง ของงานป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด ด้วยสันติวิธี ที่ใช้วิธีระเบิดจากข้างในโดยใช้คน เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา บน 3 หลักการ ในการท�ำงาน ประกอบด้วย 1 . ก า ร เ ส ริ ม ส ร ้ า ง ค ว า ม เข ้ ม แข็ ง ของหมู่บ้านและชุมชน สร้างพลังศรัทธาและ ใช้กองทุนเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ

หัวใจส�ำคัญ ของกองทุน แม่ของแผ่นดิน ฟื้นฟูทุนทางสังคม ของหมู่บ้าน/ชุมชน • พัฒนาจิตใจให้ พึ่งตนเองได้ • เสริมสร้างศักยภาพ ชุมชนไปสู่สังคม วัฒนธรรมใน แต่ละ พื้นที่

2.การฟืน้ ฟูทางสังคมของหมูบ่ า้ น โดยเริม่ จากพัฒนาคนให้พฒ ั นาจิตใจทีจ่ ะพึง่ พาตนเองได้ เชือ่ มโยงศักยภาพและวัฒนธรรมของแต่ละพืน้ ที่ 3.ความจงรักภักดีของราษฎรต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาในเชิง ยุทธศาสตร์ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญในการขับเคลื่อน กองทุ น แผ่ น ดิ น จนประสบความส� ำ เร็ จ และ สร้างชุมชนห่างไกลยาเสพติดในปัจจุบัน

เสริมสร้างความเข้มแข็ง ของหมู่บ้าน/ชุมชน • รวมพลังคนหมูบ่ า้ นชุมชนแก้ปญั หายาเสพติด • กองทุนแม่ของแผ่นดินยึดเหนี่ยวจิตใจ • ศูนย์รวมศรัทธาชุมชน จงรักภักดีของราษฎร ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ • ทรงเป็นหลักชัยของราษฎร์ • แก้ปัญหายาเสพติด น�ำความสงบมาสู่ชุมชน

ทรงพระเจริญ

11


เรื่องที่ 2

ห้องสมุดพร้อมปัญญา สร้างปัญญา เพื่อสร้างอนาคต

พร้อมเอย “พร้อมปัญญา” พร้อมด้วยสรรพศาสตร์วิชา ควรรู้ ประทานจากฟ้า มาสู่ ให้ผู้กระหายใคร่รู้ ได้อิ่มเอม

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงมี พ ระราชด� ำ รั ส เมือ่ ครัง้ เสด็จทอดพระเนตรติดตามงานโครงการ ในพระราชด�ำริฯ ณ ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษกลาง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2546 ความว่า “ถ้าสังคมไม่ให้โอกาส จะไม่มีคนดี กลับสู่สังคม” ในแนวพระราชด� ำ ริ ข องพระองค์ “การอ่าน” เป็นการเปิดโอกาส และการเปิดโลก ที่จะช่วยปรับมุมมอง เสริมสร้างทัศนคติและ ความรู้ทางอาชีพใหม่ๆ ให้กับผู้ต้องขัง ซึ่งเป็น กลุ ่ ม คนที่ ข าดโอกาส ในการเข้ า ถึ ง ความรู ้ และไม่สามารถขวนขวายได้จากสื่อออนไลน์ เช่นผู้คนในสังคมข้างนอก 12

การปรั บ ปรุ ง ห้ อ งสมุ ด ในเรื อ นจ� ำ ให้ อ ยู ่ ใ นสภาพที่ พ ร้ อ มให้ บ ริ ก าร และมี หนังสือใหม่ๆ เข้ามาหมุนเวียน จึงเริ่มต้นขึ้น

โดยกรมราชทัณฑ์ ได้น้อมน�ำพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทีท่ รงต้องการให้ทกุ ชุมชนมีแหล่งการเรียนรู้ ที่เพียบพร้อมให้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ในเรือนจ�ำ ภายใต้ “โครงการปรับปรุงห้องสมุด เรือนจ�ำ/ทั ณ ฑสถานเพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ 48 พรรษา ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับพระราชทานชื่อ ห้องสมุดในโครงการ พร้อมความหมายว่า “ห้ อ งสมุ ด พร้ อ มปั ญ ญา” หมายความว่ า “ถึงพร้อมด้วยปัญญา”


ปัจจุบันมี “ห้องสมุดพร้อมปัญญา” ที่เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดไปแล้ว 24 แห่ง โดย “ห้องสมุดพร้อมปัญญา” เรือนจ�ำอ�ำเภอธัญบุรี เมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2546 และล่าสุด คือ “ห้องสมุดพร้อมปัญญา” เรือนจ�ำกลางนครพนม เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2562

ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล และความห่วงใยที่ทรงมีต่อผู้ต้องราชทัณฑ์ ที่จะได้ใช้หนังสือ ในห้องสมุดให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง ให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอก และเพิม่ ความรู้ ทักษะชีวติ ทักษะวิชาชีพ ระหว่างต้องโทษ เพราะสิง่ เหล่านี้ อาจเป็นแรงบันดาลใจ ในการที่ จ ะเปลี่ ย นแปลงตั ว เอง ให้ คิ ด ดี ท� ำ ดี นอกจากนี้ การอ่ า นหนั ง สื อ ดี แ ละการจั ด กิจกรรมเสริมของห้องสมุด อาทิ การจัดกิจกรรมอบรม บรรยายให้ความรู้ ให้ค�ำปรึกษา ฯลฯ จะสามารถลดความเครียดในระหว่างถูกคุมขัง และเป็นการสร้างปัญญาให้ผู้ต้องขังมีความพร้อม กลับสู่สังคมสมดังชื่อของ “ห้องสมุดพร้อมปัญญา” จากพระราชปณิ ธ านที่ แ น่ ว แน่ การทรงงานอย่ า งหนั ก ต่ อ เนื่ อ งและยาวนานของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทย ทุกหมู่เหล่า ไม่ละเว้นแม้แต่ผู้ที่เคยกระท�ำความผิด นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่พระองค์ทรงมีต่อกรมราชทัณฑ์และผู้ต้องขัง น�ำมาซึ่งความปลื้มปีติยินดี แก่เจ้าหน้าที่และ ผู้ต้องขังทุกคน สร้างขวัญก�ำลังใจ เกิดความมุ่งมั่นในการปฏิบัติภารกิจ ท�ำให้งานด้านการพัฒนา พฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยเฉพาะในส่วนของการส่งเสริมการจัดการศึกษาและพัฒนาจิตใจ ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นล�ำดับมา ซึ่งจะช่วยให้ผู้ต้องขังซึ่งเป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสได้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ ประพฤตกลับตนเป็นพลเมืองดีมีคุณค่าเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาสังคม ประเทศชาติ ภายหลังพ้นโทษต่อไป

13


เรื่องที่ 3

TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่ง

โดยไม่พึ่งยาเสพติด โครงการ “TO BE NUMBER ONE” ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พรรณวดี เป็ น โครงการรณรงค์ แ ละแก้ ไขปั ญ หา ยาเสพติด ที่มุ่งการแก้ไขไปที่กลุ่มเด็กและเยาวชน

โครงการนี้เริ่มต้นขึ้นในช่วงเวลาหัวเลี้ยว หัวต่อของปัญหายาเสพติด ในปี 2542 ที่ปัญหา ยาเสพติดเปลี่ยนจาก “เฮโรอีน” ปัญหาที่ต�ำรวจ ต้องการปราบปรามให้สิ้นซาก มาเป็น “ยาบ้า” หรื อ แอมเฟตามี น ที่ ร ะบาดหนั ก ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ในโรงเรียน จนถึงระดับประเทศ ในเวลานัน้ มีการ พบว่ามีเยาวชนกว่า 600,000 คน เข้าสูว่ งั วนของ ยาบ้า ทั้งเป็นผู้ขายและผู้เสพ จากสถิตนิ กั โทษเด็ดขาดของกรมราชทัณฑ์ ที่ ถู ก จ� ำ คุ ก อยู ่ ต ามทั ณ ฑสถานทั่ ว ประเทศ ส� ำ รวจ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2543 มีจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 137,344 คน ในจ�ำนวนนี้ เป็ น นั ก โทษคดี ย าเสพติ ด เกิ น กว่ า ครึ่ ง คื อ ประมาณ 87,966 คน คิดเป็นร้อยละ 64.05 ในเวลานั้ น เด็ ก และเยาวชนถื อ เป็ น กลุ ่ ม เสี่ ย ง ที่ทูลพระหม่อมฯ ทรงเล็งเห็นว่าหากจะแก้ไข ปั ญ หานี้ ต ้ อ งแก้ ป ั ญ หาที่ เ ด็ ก และเยาวชน 14

อายุ ร ะหว่ า ง 6-24 ปี เป็ น หลั ก จึ ง รั บ เป็ น ประธานโครงการนี้ รวมถึ ง การท� ำ งาน ใกล้ ชิ ด กั บ เยาวชนที่ เ ป็ น กลุ ่ ม เสี่ ย งและ ก ลุ ่ ม เ ส พ อ ย ่ า ง เข ้ า ใจ แ ล ะ ใ ห ้ โ อ ก า ส “TO BE NUMBER ONE” หรือ “เป็นหนึ่ง โ ด ย ไ ม ่ พึ่ ง ย า เ ส พ ติ ด ” ซึ่ ง เ ป ็ น ชื่ อ ข อ ง โครงการมี ค วามหมายคื อ การเป็ น หนึ่ ง ทุกคนเป็นได้ เพราะทุกคนต่างมีดีอยู่ในตัวเอง หากค้ น พบสิ่ ง ที่ ตั ว เองชื่ น ชอบ สนใจและ มี ค วามถนั ด ส า ม า ร ถ ฝ ึ ก ฝ นแ ล ะ ท� ำ จน เป็ น ผลส� ำ เร็ จ ได้ ท� ำ แล้ ว มี ค วามสุ ข มี ค วาม เชื่ อ มั่ น และมี ค วามภาคภู มิ ใ จ กิ จ กรรม ในโครงการ “TO BE NUMBER ONE” จึ ง มี ห ลากหลาย ทั้ ง การเปิ ด พื้ น ที่ ใ นการ แก้ปัญหาอย่างกิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น” เป็ น บริ ก ารส� ำ หรั บ สมาชิ ก ชมรมทู บี นั ม เบอร์ วั น ทีเ่ สพหรือติดยา และมีความประสงค์จะรักษาตัว


เพื่ อ ให้ ห ายและเลิ ก เสพอย่ า งถาวร ในบาง กิจกรรมก็เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้เยาวชน เช่ น “ศู น ย์ เ พื่ อ นใจ TO BE NUMBER ONE” ซึง่ เป็นหนึง่ ในตัวอย่างของการออกแบบโครงการ ด้วยความเข้าใจเยาวชนเน้นการช่วยเหลือดูแล สมาชิ ก และพั ฒ นาสมาชิ ก ให้ มี คุ ณ ภาพและ มี ค วามสุ ข การด� ำ เนิ น งานภายใต้ แ นวคิ ด “ปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปัญหา พัฒนา EQ” ภารกิจของศูนย์นอกจากจะให้เยาวชนให้รู้จัก คุณค่าและความต้องการของตัวเอง มีความ ภาคภู มิ ใ จในตั ว เอง ยั ง มี ก ารจั ด บริ ก าร เพื่ อ ให้ โ อกาสส� ำ หรั บ การแสดงออกถึ ง พลั ง สร้ า งสรรค์ ที่ มี อ ยู ่ ของวั ย รุ ่ น ในสถานศึ ก ษา เพือ่ เสริมสร้างภูมคิ มุ้ กันทางจิต และป้องกันแก้ไข ปั ญ หาพฤติ ก รรมวั ย รุ ่ น เชิ ง รุ ก ในพื้ น ที่ ที่ เ สี่ ย ง ต่อการเกิดปัญหาวัยรุ่นได้ง่าย

โครงการด�ำเนินงานภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์ หลัก คือ 1. การรณรงค์ปลุกจิตส�ำนึกและสร้าง กระแสนิยมทีเ่ อือ้ ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด 2. การเสริ ม สร้ า งภู มิ คุ้ ม กั นทางจิ ตใจ ให้แก่เยาวชน 3. การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพือ่ การ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมา ทู ล กระหม่ อ มหญิ ง อุบลรัตนราชกัญญาฯ ยังให้มีการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในศูนย์ฝกึ และอบรมเด็ก และเยาวชน และสถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและ เยาวชน (ทีม่ สี ถานแรกรับ) ตัง้ แต่ ปี 2548 ปัจจุบนั มีชมรม TO BE NUMBER ONE ทัง้ สิน้ 95 ชมรม มีกองทุนสนับสนุน 3 ก 3 ยุทธศาสตร์

2 ก.ที่

1

ก.ที่

3

ก.ที่

กองทุน คณะกรรมการ

กิจกรรม

กองทุนสนับสนุน 3 ก 3 ยุทธศาสตร์ 15


ในศูนย์ฯ ภายในสถานพินจิ ฯ มีกจิ กรรม ให้ฝึกดนตรี เล่นกีฬา ศิลปะ รวมไปถึงการ อบรมให้ความรู้ยาเสพติด ตรวจสารเสพติด และจัดกิจกรรมต่างๆ กระตุ้นให้เด็กๆ คิดดี ท� ำ ดี และเห็ น โทษของยาเสพติ ด โดยใช้ โอกาสในวันส�ำคัญไม่วา่ จะเป็นวันงดสูบบุหรีโ่ ลก วั น ต ่ อ ต ้ า น ย า เ ส พ ติ ด วั น เ อ ด ส ์ โ ล ก ในการจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้รวมไปถึงการ เปิดพื้นที่ให้เด็กในสถานพินิจฯ ได้แสดงออก ซึ่ ง ความสามารถ และมี โ อกาสใช้ ค วามคิ ด สร้างสรรค์ นอกจากนี้ ยังสร้างเครือข่ายเพือ่ ป้องกัน แก้ไขยาเสพติด สนับสนุนให้วทิ ยากรมาแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE เป็นพี่เลี้ยง และที่ปรึกษา ในการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE แก่หน่วยงานอืน่ สนับสนุนวิทยากรในการอบรม ให้ความรูเ้ รือ่ งยาเสพติด เปิดโอกาสให้เด็กและ เยาวชนที่พ้นโทษเข้ามาท�ำงาน

ทางชมรม TO BE NUMBER ONE ของกรมพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ก และเยาวชน ยั ง ได้ คั ด เลื อ กชมรมเป็ น ตั ว แทนจั ง หวั ด เพื่อเข้าประกวดระดับภาค 47 ชมรม และ เข้ า รอบระดั บ ประเทศมาแล้ ว จ� ำ นวน 16

25 ชมรม และมี โ อกาสได้ เข้ า เฝ้ า รั บ เสด็ จ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นา พรรณวดี ในการเสด็จเป็นองค์ประธานเปิดชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ณ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก และเยาวชนเขต 8 นั บ เป็ น เกี ย รติ ป ระวั ติ ความภาคภูมิใจ และเป็นขวัญก�ำลังใจให้กับ ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ ในการปฏิบัติงาน สนับสนุนการด�ำเนินโครงการ TO BE NUMBER ONE ของกรมพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน เป็นอย่างมาก ปั จ จุ บั น ภายใต้ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลของ กรมพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก มี ช มรม TO BE NUMBER ONE รวมกันแล้ว จ�ำนวน 95 ชมรม ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE จ�ำนวน 51 ศูนย์ รวมสมาชิก จ�ำนวนทั้งสิ้น 18,443 คน ทั่วประเทศ พื้นที่ที่เกิดจากโครงการนี้จะช่วย สร้างกิจกรรมดีๆ ให้เยาวชนใช้เวลาว่างไปในทาง ที่ถูกต้อง ได้พบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดดีๆ ร่วมกัน เกิดความรัก ความสามัคคี และฝึก ในการรู้จักให้อภัย ถ้อยทีถ้อยอาศัย และเรียนรู้ การใช้ชีวิตในสังคมและเป็นคนดีเพื่อพร้อมกลับ ไปใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีคุณภาพอีกครั้ง


เรื่องที่ 4

“ให้โอกาส สร้างคน” BBG Young Table-Tennis เด็กๆ ในสถานพินจิ ฯ และศูนย์ฝกึ และอบรมฯ ที่ก้าวพลาดอาจไม่มีโอกาสเหมือนกับเด็กคนอื่นๆ ในสังคม การฟื้นฟูและให้โอกาสเด็กที่ก้าวพลาด ให้สามารถกลับมาก้าวเดินต่อไปโดยทีไ่ ม่กระท�ำผิดซ�ำ้ จึงเป็นโจทย์ส�ำคัญของกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน กระทรวงยุติธรรม ในการให้โอกาส และเตรียมความพร้อมเด็กๆ กลับสูโ่ ลกภายนอก

อย่างไรก็ตามส�ำหรับเด็ก การฟื้นฟูและ เตรี ย มความพร้ อ มเด็ ก มี ค วามซั บ ซ้ อ นกว่ า ผู้กระท�ำผิดที่เป็นผู้ใหญ่ การจะฝึกอาชีพหรือ มอบหมายงานอาชีพอาจติดขัดกฎหมายแรงงาน เนื่ อ งจากเด็ ก หลายๆ คนยั ง อายุ ไ ม่ ถึ ง ตาม กฎหมายก�ำหนดที่จะสามารถท�ำงานได้ ท�ำให้ ต้องย้อนกลับมาดูว่าจะท�ำอะไรได้บ้างเพื่อฟื้นฟู และคืนเด็กๆ สู่สังคมอย่างมีความพร้อม ในตอนนั้นพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภา จึงมีพระด�ำริว่า “กีฬานี่แหละ น่าจะเป็นหนทางที่ดี” จึงเป็นที่มาของการริเริ่ม โครงการให้โอกาส สร้างคน BBG Young Table Tennis ที่มีเป้าหมายให้ “กีฬา สร้างอาชีพ”

โ ด ย พ ร ะ เ ม ต ต า ข อ ง พ ร ะ เจ ้ า ห ล า น เ ธ อ พระองค์ เจ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา และมี ส โมสรกี ฬ า บี บี จี กลุ ่ ม เซ็ น ทรั ล และกรมพิ นิ จ และคุั ม ครอง เด็กและเยาวชน เป็นผู้ด�ำเนินการ โดยเลือกกีฬา เทเบิ้ลเทนนิส เนื่องจากความเหมาะสมในการใช้ พื้นที่ในสถานพินิจฯ และศูนย์ฝึกฯ โดยโครงการจะเปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก และ เยาวชนในสถานพินิจฯ และศูนย์ฝึกฯ ที่สนใจ ได้เรียนรู้ ฝึกฝนเทคนิค วิธเี ล่นกีฬาเทเบิล้ เทนนิส ที่ถูกต้องได้มาเรียนรู้และฝึกฝนทักษะ สามารถ มี เ ส้ น ทางในอนาคตทางกี ฬ า ตั้ ง แต่ ก ารเป็ น นักกีฬาอาชีพ มีโอกาสก้าวไปเป็นทีมชาติ กระทัง่ เป็นผู้ช่วยโค้ช หรือกรรมการตัดสิน 17


เสียงสะท้อนจากเด็กๆ ที่มีโอกาสเข้าร่วมโครงการบอกว่า ...เล่นปิงปองมาได้ 2 ปี รางวัลที่ภาคภูมิใจ คือ การได้ไป แข่งกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45 ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ขอบคุณศูนย์ฝึกฯ บ้านปรานี กรมพินิจฯ สโมสรบีบีจี ที่ท�ำให้ชีวิตหนูพัฒนาตนเอง เปลี่ยนแปลงชีวิตไป ในทางที่ดีขึ้น ... นักกีฬาเทเบิ้ลเทนนิส สโมสร บีบีจี

...ตอนนี้เป็นผู้ช่วยโค้ชอยู่สโมสรบีบีจี ผมได้ไปอบรม มาหลายที่ มีการฝึกซ้อมที่หนักมาก ตอนมาเล่นกีฬา เมื่อ 3 ปี ที่แล้ว ได้เข้าร่วมโครงการ ให้โอกาสสร้างคน บีบีจีเทเบิ้ลเทนนิส ... ผู้ช่วยโค้ช สโมสรบีบีจี

นอกจากการจะได้เป็นอาชีพ ในระยะสัน้ การฝึกกีฬาเทเบิล้ เทนนิส ท�ำให้สามารถเห็นการ เปลี่ยนแปลงได้อย่างชัดเจน ในเชิงพฤติธรรม ท�ำให้เด็กมีสมาธิมากขึ้นจากการจดจ่อกับการ เล่นกีฬา โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงส�ำคัญ ในเรือ่ งวินยั ในการใช้ชวี ติ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่าง เห็นได้ชดั ซึง่ จะเป็นรากฐานส�ำคัญส�ำหรับเด็กๆ ในอนาคต จากจุดเริ่มต้นของโครงการ ในศูนย์ฝึก และอบรมเด็ ก และเยาวชนชายบ้ า นมุ ทิ ต า ปัจจุบันมีเด็กร่วมโครงการกว่า 100 คน และ มีการสร้างบ้านเพื่อรองรับเด็กกลุ่มนี้มีจัดการ ศึกษาและจัดให้ฝึกซ้อมกันอย่างนักกีฬาตลอด 24 ชั่วโมง และนอกจากเส้นทางกีฬาเมื่อเด็ก 18

เหล่านีอ้ ายุครบ 22 ปี สามารถออกไปสมัครงาน กับบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลฯ และบริษัทเอกชน ต่างๆ เพื่อให้เด็กเหล่านี้มีอาชีพที่สุจริต และ เป็นนักกีฬาอย่างมืออาชีพ นับเป็นพระเมตตาของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์ เจ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา ในการประทาน โอกาสให้ เ ด็ ก และเยาวชนที่ มี ค วามสามารถ ด้านกีฬาได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ นอกจาก จะท�ำให้เด็กๆ กลุ่มนี้มีสุขภาพที่แข็งแรงและได้ พัฒนาร่างกายแล้ว ยังท�ำให้เด็กมี “โอกาส” รู้จักคุณค่าและนับถือตัวเอง รวมถึง “โอกาส” ทางอาชีพซึ่งสิ่งเหล่านี้จะกลายเป็นรากฐาน ส�ำคัญที่ให้พวกเขาสามารถยืนหยัดที่จะไม่กลับมา กระท�ำผิดซ�้ำอีก


เรื่องที่ 5

12 ปีโครงการก�ำลังใจ ก�ำลังใจในโลกหลังก�ำแพง

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงสนพระทัยในกิจการ และกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับสิทธิมนุษยชน ตั้งแต่เมื่อครั้งยังทรง เป็นนักศึกษากฎหมายโดยได้เสด็จมาที่ทัณฑสถานหญิงกลางเพื่อเยี่ยมเยียน และประทานสิ่งของแก่ผู้ต้องขังและเด็กติดผู้ต้องขังในปี 2544 ทรงได้ สัมผัสกับชีวิตผู้ต้องขังหญิงที่ขาดโอกาส ปราศจากความรักและความอบอุ่น ในครอบครัว และสัมผัสกับเด็กที่เกิดจากครรภ์ผู้ต้องขังซึ่งเป็นผู้บริสุทธิ์ จึงเป็นแรงบันดาลพระทัยให้มพี ระปณิธาแนวแน่ทจี่ ะประสานความช่วยเหลือ และให้ก�ำลังใจแก่บุคคลเหล่านี้ 19


ภายหลังจากทรงศึกษาจบปริญญาเอก จากมหาวิ ท ยาลั ย คอร์ เ นลล์ สหรั ฐ อเมริ ก า และเสด็ จ กลั บ ประเทศไทยจึ ง ทรงมี ด� ำ ริ ใ ห้ จั ด ตั้ ง โครงการก� ำ ลั ง ใจฯ ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 31 ตุ ล าคม พ.ศ. 2549 โดยประทานทุ น ส่ ว น พระองค์ 300,000 บาท เป็นทุนตัง้ ต้น เพือ่ จะได้ ช่วยเหลือและก�ำลังใจแก่ผกู้ า้ วพลาดได้มโี อกาส กลับมาด�ำเนินชีวิตเป็นคนดีของสังคม โดยมี เป้ า หมายในการด� ำ เนิ น กิ จ กรรมเสริ ม ที่ ไ ม่ ก ้ า วก่ า ยและไม่ ซ�้ ำ ซ้ อ นกั บ สิ่ ง ที่ ภ าครั ฐ ด� ำ เนิ น การอยู ่ แ ล้ ว มี ก ลุ ่ ม เป้ า หมายเป็ น ผู้ต้องขังหญิง เด็กติดผู้ต้องขัง เด็กและเยาวชน ที่กระท�ำความผิด และกลุ่มผู้ขาดโอกาสอื่นๆ ในกระบวนการยุติธรรม พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พัชรกิตติยาภาทรงมีพระด�ำรัส ตอนหนึง่ ความว่า “ก� ำ ลั ง ใจเป็ น ค� ำ ที่ ไ ม่ ห รู ห รา ไม่ ยุ ่ ง ยากแต่ ลึ ก ซึ้ ง เป็ น ค� ำ พู ด ที่ พู ด กั บ ใครก็ เ ข้ า ใจ และรู ้ สึ ก ดี ทุ ก คนจะต้ อ งผ่ า นวั น เวลา ที่ ย ากล� ำ บาก รู ้ สึ ก ท้ อ ห่ อ เหี่ ย ว ท� ำ อะไรก็ ไม่มีใครรัก ท�ำอะไรก็ไม่มีใครเห็นว่าดี คิดว่า ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ ก ้ า วพลาดไปก็ อ ยู ่ ใ นภาวะนี้ คื อ ถูกตราหน้าว่าเป็นคนผิด ต้องอยู่ในที่ซึ่งถูก จ� ำ กั ด เสรี ภ าพ ดู อ ย่ า งไรก็ ไ ม่ ดี ยิ่ ง ผู ้ ต ้ อ งขั ง รู้สึกไม่ดีกับตัวเอง ก็จะรู้สึกทางลบกับสังคม ไปด้วย การให้ก�ำลังใจไม่ใช่การเข้าข้างตนเอง หรือลืมความผิดพลาดของตนเอง แต่ต้องน�ำ ความผิดพลาดนั้นกลับมาทบทวน เพื่อจะได้ แก้ ไขไม่ ก ลั บ ไม่ ท� ำ ผิ ด พลาดอี ก ซึ่ ง ต้ อ งการ ก�ำลังใจที่เกิดขึ้นในตัวเองก่อนและถ้าสังคม ครอบครั ว ญาติ พี่ น ้ อ ง เพื่ อ นฝู ง ให้ โ อกาส 20

ให้ก�ำลังใจก็จะสามารถต่อยอดไปสู่สิ่งที่ดีได้” โครงการก�ำลังใจฯ ในช่วงแรกเน้นการ สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ กั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง หญิ ง ที่ ตั้งครรภ์และเด็กติดผู้ต้องขังเป็นหลัก มีการ จัดหลักสูตรอบรมดูแลการเลี้ยงบุตร สุขภาพ ไปจนการจัดสถานที่และระบบที่เอื้อต่อการ เลี้ยงดูเด็กติดผู้ต้องขัง

โครงการ

ก�ำลังใจฯ

สู่ผู้ต้องขังทั่วไทย

โครงการแม่และเด็ก 18 แห่ง โครงการน้อมน�ำปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมา ปรับใช้ในเรือนจ�ำ

โครงการก�ำลังใจฯ กับการฝึกอาชีพ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้ต้องขังภายใต้ แบรนด์ INSPIRE


และในเวลาต่ อ มาได้ มี ก ารขยาย ประเด็นออกไป ไม่เพียงปกป้องสิทธิมนุษยชน เพศหญิงที่ถูกคุมขังเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมถึง สิทธิมนุษยชนของผูต้ อ้ งขังทัง้ ชายหญิง ทีค่ วรมี คุณภาพชีวิตที่ไม่ให้เปลี่ยนแปลงหรือแตกต่าง ไปจากสภาพชีวิตที่อยู่นอกเรือนจ�ำ เว้นแต่ อิสรภาพที่ถูกจ�ำกัดลงเท่านั้น นอกจากนี้สิ่งที่ โครงการก�ำลังใจฯ ท�ำยังรวมถึงการรณรงค์ ส่งเสริม ให้สังคมไทยเป็นสังคมที่พร้อมเป็น ก�ำลังใจและให้โอกาสแก่บคุ คลทีเ่ คยก้าวพลาด แต่เรียนรู้ที่จะเริ่มต้นชีวิตใหม่ ในการเป็นคนดี ของสังคม

โครงการ ก�ำลังใจเชิงลึก

หลากหลายกิ จ กรรมที่ ข ยายออกไป ในช่วง 12 ปีที่ผ่านมา อาทิ การน้อมน�ำหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในเรือนจ�ำ การจัดค่ายพุทธบุตรพุทธธรรมให้แก่กลุ่มเด็ก และเยาวชน การใช้ศิลปะในการสร้างก�ำลังใจ และปรับทัศนคติอย่างยั่งยืน ผ่านละคร และ การเขียนเรื่องเล่าที่ปลดเปลื้องความรู้สึกผิด ที่ ฝ ั ง อยู ่ ใ นใจจนน� ำ มาซึ่ ง การให้ อ ภั ย ตั ว เอง และผู้อื่น ฯลฯ ด้วยกระบวนการดังกล่าว จากรายงาน การวิจัยเมื่อเดือนพฤษภาคม 2561 พบว่า ผู้ผ่านโครงการก�ำลังใจฯ เมื่อพ้นโทษกลับสู่ สังคมมีการกระท�ำผิดซ�้ำเพียงร้อยละ 10.16 เมื่อเทียบกับอัตราการท�ำผิดซ�้ำทั่วประเทศ ที่ ร ้ อ ยละ 23.74 และนั บ เป็ น ความส� ำ เร็ จ ของนวั ต กรรมใหม่ ใ นการพั ฒ นาสั ง คม ส�ำหรับผูข้ าดโอกาส ทีเ่ กิดขึน้ จากการด�ำเนินงาน ภายใต้ 12 ปีของโครงการก�ำลังใจฯ

โครงการปัญญาบ�ำบัด เป็นกิจกรรม “จิตตมนต์ผู้ต้องขัง”

โครงการพัชรธรรม (ธรรมะเพื่อชีวิตใน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ)

21


เรื่องที่ 5

น้อมน�ำ “ศาสตร์พระราชา” มาปรับใช้ในเรือนจ�ำ หนึ่ ง ในนวั ต กรรมของโครงการก� ำ ลั ง ใจฯ คื อ การเสนอแนวทางในการส่ ง ผู้ต้องขังที่กลับตนเป็นคนดีให้สามารถกลับคืนสู่สังคมอย่างเต็มภาคภูมิ ด้วยการน้อมน�ำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาปรับใช้กับผู้ต้องขัง

เรื อ นจ� ำ ชั่ ว คราวดอยฮาง จ.เชี ย งราย ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ 3 ต�ำบลดอยฮาง อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด เชี ย งราย เป็ น ตั ว อย่ า งหนึ่ ง ของ ความก้าวหน้าในเรื่องนี้ โดยเปิดรับผู้ต้องขังชาย ใกล้พ้นโทษมาเตรียมพร้อมก่อนออกไปเริ่มต้น ชีวิตใหม่เมื่อพ้นโทษ เรือนจ�ำเปิดริมแม่น�้ำกก แห่งนี้ถือเป็นพื้นที่ทดลองใช้ชีวิตและเป็นแหล่ง เรียนรู้ด้านการเกษตรและความรู้เกี่ยวกับทักษะ อาชี พ ต่ า งๆ โดยผู ้ ต ้ อ งขั ง กลุ ่ ม นี้ จ ะได้ เรี ย นรู ้ ด้านต่างๆ ตามฐานของโครงการตลอดระยะ เวลา 9 เดือนที่อยู่ในโครงการ จนถึงปัจจุบัน ผู้ต้องขังในโครงการก�ำลังใจฯ ในพื้นที่เรือนจ�ำ ชั่วคราวดอยฮางได้ด�ำเนินการมาแล้ว 8 รุ่น

22

ศาตรานนท์ บุ ญ อิ น เขี ย ว หั ว หน้ า เรือนจ�ำชั่วคราวดอยฮาง บอกว่า “ถ้าใคร ผ่านประตูเข้ามาก็จะได้เห็นว่าในเรือนจ�ำเรามี หลายสิ่ ง ให้ เ ที่ ย วและเรี ย นรู ้ งานเกษตรก็ ปลู ก พื ช ผั ก ตามฤดู ก าล มี โ รงปลู ก องุ ่ น คนที่ ส นใจปศุ สั ต ว์ ก็ มี ก ารเลี้ ย งไก่ ไข่ ไก่ ด� ำ และหมู ห ลุ ม เลี้ ย งปลา เลี้ ย งกบ มี ก าร ท�ำนาด้วย” พื้นที่ 75.5 ไร่ ของเรือนจ�ำชั่วคราว ดอยฮาง ถูกแบ่งซอยเป็นเขตย่อยๆ มีทั้งศูนย์ การเรียนรู้ บ่อเลี้ยงปลา โรงเพาะเห็ด โรงเรือน แปลงองุ่น โรงสีข้าว โรงปุ๋ยหมักชีวภาพ ฯลฯ “แปลงนาประมาณ 4 ไร่ น้ อ งๆ ผู ้ ต ้ อ งขั ง นั่นแหละเป็นคนท�ำ หว่านกล้าลงแขกท�ำนา ถึงหน้าเกีย่ วก็ลงแขกเกีย่ วข้าว เกีย่ วเสร็จก็นำ� มา


กองรวมแบบโบราณ แล้ ว นวดข้ า วด้ ว ยแรงคน ซึ่ ง ย้ อ นกลั บ ไปสู ่ ชี วิ ต ชาวนาสมั ย พ่ อ แม่ เรา ตามวิถีชาวนาไทยสมัยก่อน ตั้งแต่เริ่มปลูก ซึ่งชาวนาเดี๋ยวนี้ใช้รถปลูก แต่เรายังใช้แรงคน เขาใช้รถเกี่ยว แต่เราใช้คนเกี่ยวใช้คนนวด” ปลูกทั้งข้าวเจ้าและข้าวเหนียวสลับหมุนเวียนไป ตอนหลังบางปีปลูกข้าว ไรซ์เบอร์รีด้วย “ข้ า วเปลื อ ก บางส่ ว นเราก็ สี สี ใ ห้ น ้ อ งๆ แบ่ ง ให้ ต ามบ้ า นไปกิ น กั น และบางส่ ว น ก็ จั ด สวั ส ดิ ก ารอาหารมื้ อ กลางวั น เจ้ า หน้ า ที่ บางส่ ว นก็ ข ายไปเป็ น ต้ น ทุ น ค่ า เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วบ้ า ง อะไรบ้าง แบบเล็กๆ น้อยๆ” “เราจ� ำ ลองการปกครองโดยมี บ ้ า นสามหลั ง ตั้ ง ก� ำ นั น ขึ้ น มาแบบการปกครองแบบท้ อ งถิ่ น มีผู้ใหญ่บ้านแต่ละหลัง สมาชิกที่เหลือ 40 กว่าคนก็เฉลี่ยกระจายเป็นลูกบ้านตามบ้าน เวลาผมสั่งงาน ก็สั่งไปที่ก�ำนันกับผู้ใหญ่บ้าน น�ำไปกระจายถึงลูกบ้าน อยู่กินด้วยกัน ท�ำงานด้วยกัน เราจะแบ่งเขตพื้นที่ รับผิดชอบให้แต่ละบ้าน” แปลงผักมีทั้งที่เป็นแปลงรวมใหญ่ และแปลงตามบ้านก�ำลังใจ กลางวันมาท�ำ แปลงใหญ่ร่วมกัน เลิกงานกลับไปท�ำแปลงที่บ้าน ซึ่งสามารถเก็บเกี่ยวผลิตผลปรุงอาหารกินกันเองได้ การเปิ ด โอกาสให้ เรี ย นรู ้ ชี วิ ต อย่ า งอิ ส ระตามสมควรนี้ เ พื่ อ ให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ใกล้ พ ้ น โทษได้ ฝึกอาชีพเตรียมความพร้อมออกไปใช้ชวี ติ เยีย่ งสุจริตชน และคนเข้ามาเทีย่ วได้เรียนรู้ ผูต้ อ้ งขังจึงมีโอกาส ได้เรียนรู้หลายสิ่งหลายอย่างเพื่อปรับตัวกลับสู่สังคม

23


เรื่องที่ 5

คุกคอฟฟี่

ผ่านประตูเรือนจ�ำชั่วคราวดอยฮาง เข้ามาจะเห็นร้านกาแฟเป็นสิ่งแรก เพราะ ตั้งอยู่ด้านนอกสุด ซึ่งมีจุดเด่น ดึงดูดสายตาและความสนใจ อยู่บนระเบียงต้นไม้

ร้านอินสปาย หรือ Inspire by Princess ร้านกาแฟทีต่ งั้ อยูใ่ นเรือนจ�ำ ทีค่ นชง หรือ บาริสตา (barista) และคนที่ ท� ำ งานอยู ่ ใ นร้ า นทั้ ง หมด เป็ น ผู ้ ต ้ อ งขั ง ชายในเรื อ นจ� ำ ชั่ ว คราวดอยฮาง จังหวัดเชียงราย เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่ถูกวางไว้ ส�ำหรับการเป็นพื้นที่ทดลองในการฝึกอาชีพของ ผูต้ อ้ งขังและเป็นการน้อมนหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย งมาปรั บ ใช้ ใ ห้ เ ห็ น เป็ น รู ป ธรรมว่ า ความพอเพียงเป็นเรื่องเป็นไปได้ในชีวิตจริง “เป็ น ที่ นั่ ง จิ บ กาแฟบนระเบี ย งต้ น ไม้ ซึง่ ร้านกาแฟทัว่ ไปไม่มี เราเป็นทีแ่ รกของเชียงราย 24

สามารถสั่งกาแฟขึ้นไปนั่งดื่มบนต้นไม้ นั่งกินลม ชมวิวได้ ซึง่ ตอนนีก้ ไ็ ด้รบั ความสนใจจากคนทัว่ ไป พาลูกๆ มานั่งกินอาหารนั่งเล่นที่ร้านกาแฟนี้” หัวหน้าเรือนจ�ำชั่วคราวดอยฮางเล่า บลู (นามสมมุ ติ ) หนุ ่ ม วั ย 28 ปี เป็นหนึ่งในบาริสตา รุ่นที่ 2 พื้นเพเป็นชาวอ�ำเภอ เมืองเชียงราย โดนเกณฑ์ทหารปลดประจ�ำการ ออกมาไม่ มี ง านท� ำ เพื่ อ นเอายามาให้ ข าย บอกว่ารายได้ดี เขาท�ำอยู่ 2-3 เดือน รายได้ดีจริง ดังเพื่อนบอก แต่เขาโดนจับโดยเพื่อนคนนั้นเอง เป็นสายให้ต�ำรวจ เพื่อนโดนจับก่อน แต่รอดคุก


เพราะยอมเป็นสายให้ต�ำรวจ บลูต้องโทษอยู่ใน เรือนจ�ำกลางเชียงราย 1 ปี 5 เดือน ได้มาอยู่ เรือนจ�ำชั่วคราวดอยฮาง ซึ่งอยู่ห่างกันไม่ถึง 10 กิโลเมตร แต่ ส ภาพความเป็นอยู่และโอกาส ในการพัฒนาตัวเองต่างกันมาก

บลูประจ�ำอยู่บ้านพอเพียง หนึ่งในบ้าน 3 หลังในพื้นที่เปิดเรือนจ�ำชั่วคราวที่ทดลอง ให้ผตู้ อ้ งขังมาใช้ชวี ติ เขาเลีย้ งหมูเลีย้ งไก่มาเป็นปี แล้วจนมีการเปิดอบรมบาริสตารุน่ ที่ 2 เขาสมัคร เข้าร่วม ฝึกกับเทรนเนอร์จากร้านกาแฟดอยตุง ราว 15 วัน เขาก็ท�ำเป็น “ก่อนนั้นผมท�ำงานอยู่บ้านพอเพียงครับ เลี้ยงหมูเลี้ยงไก่ประมาณปีกว่าแล้ว มันจ�ำเจ เราไปหาประสบการณ์ต่างๆ ดูว่ามันจะเปลี่ยน ไปไหม พอมาท�ำก็ชอบครับ” “ช่วงหลังลูกค้าทีเ่ ป็นนักท่องเทีย่ วเยอะขึน้ ” ดิว (นามสมมุต)ิ บาริสตาทีเ่ ข้ามารุน่ เดียวกับบลู ให้ข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มลูกค้า “เขารู้ว่าเราเป็น ผู้ต้องขัง บางคนก็กลัว บางคนก็เฉยๆ ถ้าคุย เราจะบอกตรงๆ เลยครับ เขาถามว่าเราท�ำอะไรมา ก็บอกความจริงเลย ผมมาคดียา โทษ 3 ปี 14 เดือน คดี ย า 3 ปี 4 เดื อ น แต่ ก ่ อ นนั้ น ผมโดน

โทษปรับรอลงอาญา พอโดนโทษจ�ำคุกก็มา บวกกัน อยูเ่ รือนจ�ำใหญ่มา 2 ปี 9 เดือน แล้วมาอยู่ ดอยฮาง ท� ำ งานร้ า นกาแฟได้ 4 เดื อ นกว่ า เหลื อ อี ก 7 เดื อ น จะได้ ก ลั บ บ้ า นแล้ ว ” เขาจ�ำตัวเลขได้ชดั เจนเหมือนนับวันรออยูต่ ลอด แต่เขาบอกความจริงจากใจว่า “นับวันมันช้า ต้องนับเดือนนับปี” เมือ่ ได้ออกไปจะไปท�ำอะไร? “สมัครงานในร้านกาแฟมัง้ ครับ” ค�ำตอบของดิว ส่วนบลูบอกว่า การได้ท�ำงานในร้าน อิ น ส ป า ย ไ ด ้ ป ร ะ โ ย ช น ์ กั บ ชี วิ ต ม า ก “เป็นประโยชน์เยอะเลยครับ ช่วยผมเมือ่ ออกไป จะไม่ไปยุ่งกับยาเสพติด ชงกาแฟวันละ 350 เราก็อยู่ได้แล้วครับ ไม่ต้องไปพึ่งยาเสพติดอีก”

25


เรื่องที่ 5

เปิดเรือนจ�ำ เพื่อเปิดใจ ทุกกิจกรรมที่ด�ำเนินอยู่ในเรือนจ�ำชั่วคราวดอยฮางหัวหน้าศาสตรานนท์ กล่าวว่าทั้งหมด เพือ่ “ให้ประชาชนคนทัว่ ไปได้มารูม้ าเห็นว่า เรือนจ�ำได้มกี ารพัฒนา และสามารถเข้ามาเดินดูได้ ให้รเู้ ห็นว่า น้องๆ ผู้ต้องขังเขาท�ำอะไรกันบ้าง เป็นการเปิดตัวให้สังคมได้รับรู้ ว่าทุกวันนี้เขาท�ำนั่นโน่นนี่ จนเป็นที่ ยอมรับของคนทั่วไป”

“อย่ า งที่ ผ มท� ำ ร้ า นกาแฟนี้ ขึ้ น มา มีคนสนใจ บางคนมาดูแล้วสนใจอยากจะให้ผม น�ำแรงงานไปสร้างให้ แต่ผมก็ยังไปสร้างให้ ไม่ได้เพราะติดเรื่องระเบียบเรื่องอะไร แต่นี่ก็ จากที่เขาได้มาเห็นของจริง ไม่ใช่ดูเฉพาะข่าว ผู ้ ต ้ อ งขั ง ปล่ อ ยตั ว ออกไป ท� ำ ไม่ ดี อ อกข่ า ว ครึกโครมใหญ่โต แต่นั่นแค่คนเดียว ผู้ต้องขัง ร้อยคนที่ปล่อยตัวไปแล้วกลับตัวเป็นคนดี แต่ คนเดียวหรือ 10 คนไปท�ำ อีก 80 คนที่เรา คืนคนดีให้แก่สังคมไปนั้นไม่มีใครไปถามเขา เพราะฉะนัน้ เรามาท�ำให้เห็นอย่างนีด้ กี ว่า ให้คน ได้ รั บ รู ้ อี ก ด้ า นหนึ่ ง พลิ ก อี ก ด้ า นหนึ่ ง ขึ้ น มา เรื อ นจ� ำ สมั ย ก่ อ นแค่ ไ ด้ ยิ น ชื่ อ คนไม่ อ ยาก จะเข้ า แต่ เ ดี๋ ย วนี้ เรื อ นจ� ำ ของเรา คนทั่ ว ไป 26

พาลูกพาหลานมาเที่ยวเล่น มากินกาแฟ ที่เรือนจ�ำ มี กิ จ กรรมอี ก มากมายสามารถเดิ น เก็ บ ไข่ ไ ก่ เอากลั บ ไปกิ น ที่ บ ้ า นได้ ไข่ ส ดใหม่ จ ากเล้ า เดินเก็บเอาเองแผงละ 100 บาท เราเปิดโอกาสให้”


นับแต่ทำ� ร้านกาแฟมายังไม่มกี ารท�ำผิดระเบียบ ส�ำหรับหัวหน้าเรือนจ�ำชัว่ คราวดอยฮางเน้นดูแล แบบคนในครอบครัว

ทุ ก วั น นี้ ญ าติ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ ม าเพื่ อ การ เยี่ยมญาติ เรือนจ�ำชั่วคราวดอยฮางเปิดโอกาส ให้พบปะกันแบบเยี่ยมญาติใกล้ชิด “เปิ ด ให้ เ ยี่ ย มได้ ทุ ก วั น จั น ทร์ ถึ ง ศุ ก ร์ ครั้งละ 1 ชั่วโมงช่วงเที่ยงถึงบ่ายโมง สามารถ น�ำข้าวปลามากินร่วมกันได้ วันหยุดเราเปิด ให้เยี่ยมตั้งแต่ 9 โมงเช้าถึงบ่าย 3 จะมาเวลา ไหนก็ได้ ครั้งละ 1 ชั่วโมงเหมือนกัน มากินข้าว มานั่ ง คุ ย กั น ได้ ” เหมื อ นเป็ น ภาพที่ ขั ด แย้ ง เรื อ นจ� ำ เป็ น ที่ ค วบคุ ม เข้ ม งวดการติ ด ต่ อ แต่ เรื อ นจ� ำ นี้ เ ปิ ด การท่ อ งเที่ ย วให้ ค นนอก เข้ามาได้เหมือนพื้นที่เสรี “เรามีมาตรการในการควบคุม” หัวหน้า ศาสตรานนท์อธิบาย เมื่อถูกถามถึงเรื่องนี้ว่า โทรศัพท์เป็นสิ่งหนึ่งที่ผู้ต้องขังยังไม่มีสิทธิ์ใช้ เช่ น เดี ย วกั บ เงิ น ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในของต้ อ งห้ า ม ในเรือนจ�ำ แม้ว่าพนักงานในร้านกาแฟจะมี เงินผ่านมืออยูต่ ลอดทัง้ วัน “ขายได้เท่าไรก็ใส่กล่อง เย็ น มาก็ นั บ ตรวจสอบบั ญ ชี ย อดขายกี่ แ ก้ ว เป็ น เงิ น เท่ า ใด เสร็ จ แล้ ว มอบให้ พั ศ ดี เ วร เก็ บ รั ก ษา” หั ว หน้ า เรื อ นจ� ำ ยื น ยั น ด้ ว ยว่ า

“ปกครองในลักษณะพ่อแม่ จูงใจเขา แบบพี่แบบน้องมีอะไรคุยให้เขาฟัง มีปัญหา อะไรให้มาบอก เสร็จแล้วบางทีช่วยทั้งปัญหา ทีบ่ า้ น ปัญหาความเป็นอยูท่ เี่ น้นใช้หลักคุณธรรม ครับ” แต่ ใ นแง่ ม าตรการควบคุ ม ดู แ ลตาม ระเบี ย บเรื อ นจ� ำ ก็ มี อ ยู ่ ค วบคู ่ กั น ไปอย่ า ง ไม่ปล่อยปละ “มีพนักงานในการตรวจค้นอยู่ ระหว่างนั่งคุยเยี่ยมญาติเราก็จัดเจ้าหน้าที่เวร คอยดูแล เยี่ยมเสร็จของฝากก็ให้ เจ้าหน้าที่ ตรวจค้ น อี ก ครั้ ง เพื่ อ ป้ อ งกั น การลั ก ลอบ น�ำสิ่งของต้องห้ามเข้าเรือนจ�ำ”

27


เรื่องที่ 5

นวดเท้าไฟ สมาชิ ก โครงการก� ำ ลั ง ใจฯ น้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาปรั บ ใช้ ใ นเรื อ นจ� ำ รุ่นที่ 8 ของเรือนจ�ำชั่วคราวดอยฮาง ในปีนี้ มีโอกาสพิเศษกว่ารุ่นอื่นๆ ที่ได้เรียนรู้วิชานวดพื้นบ้านด้วย โดยพระอาจารย์เมธาวี แสนธิ หรือตุเ๊ ม จากโฮมฮอมผญา โฮงยาหมอเมือง ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมวัดพระธาตุ ดอยโอ่ง น�ำคณะภูมิปัญญาชาวบ้านมาสอนการตอกเส้น และย�่ำขาง ให้เป็นพิเศษ โดยน�ำนักเรียนจาก โรงเรียนเทศบาล 5 เชียงรายและเยาวชนจากสถานพินิจฯ เชียงรายมาร่วมด้วย

“เราเป็ น พระต้ อ งเป็ น แบบอย่ า งก่ อ น แบบอย่ า งของการให้ อ ภั ย ไม่ เ ลื อ กฝ่ า ย แบบอย่างของการเป็นผูใ้ ห้ นักบวชคือผูส้ ละก็เลย จะมาเป็นแบบอย่างของการเสียสละให้สังคม โดยไม่เลือกฝ่ายเราสามารถช่วยเหลือได้หมด โดยเฉพาะคนที่เขาก�ำลังอยู่ในมุมมืด เราไปจุด แสงสว่างให้เขา คนเหล่านี้ไม่ค่อยมีใครเห็นเขา เพราะอยู่ในที่มืด” พระอาจารย์เมธาวีเล่าแนวคิดที่ท�ำให้มา ช่วยคนด้อยโอกาส ท่านตระหนักในความจริงนี้ เพราะเคยผ่านประสบการณ์ด้านร้ายในท�ำนอง คล้ายๆ กันมาด้วยตัวเอง “เพราะพระก็ผ่านมาแล้ว สามปีผ่าน 28

จุดที่มืดบอดมาเหมือนกัน ก็เอาแสงแห่งธรรม มาพั ฒ นาตั ว เองได้ เ ลยมาท� ำ เป็ น ธรรมทาน ใช้วิชาการนวดมาเป็นสื่อ จริงๆ ทุกอย่างแทรก ด้ ว ยธรรมะ” ท่ า นเล่ า ย้ อ นที่ ม าของการได้ เข้ามาให้วิชาความรู้แก่คนในเรือนจ�ำชั่วคราว ดอยฮางว่ า ผู ้ อ� ำ นวยการโครงการก� ำ ลั ง ใจฯ เห็ น ท่ า นท� ำ กิ จ กรรมนี้ อ ยู ่ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย น ที่ บ ้ า นด� ำ ของอาจารย์ ถ วั ล ย์ ดั ช นี ก็ นิ ม นต์ ท ่ า น เข ้ า ม า ส อ น ใ น โ ค ร ง ก า ร ก� ำ ลั ง ใ จ ฯ เมื่ อ ต้ น เดื อ นตุ ล าคม 2561 ใครเห็ น คงเป็ น ต้องตื่นตากับการนวดตัวด้วยฝ่าเท้าที่เรียกว่า ย�่ ำ ขางคนรั บ การนวดนอนราบ คนนวด อยู ่ ใ นท่ า ยื น ที่ มี เ ตาถ่ า นติ ด ไฟแดงฉาน


วางอยู ่ ข ้ า งๆ กั บ กระบะน�้ ำ มั น งาและไพล หมอนวดใช้ เ ท้ า แตะสมุ น ไพรและน�้ ำ มั น งา แล้ ว แตะฝ่ า เท้ า บนแผ่ น เหล็ ก ร้ อ นที่ ว าง อยู่บนเตา ไฟลุกวาบ แล้วเอาฝ่าเท้าอุ่นๆ นั้น แนบลงบนตั ว คนรั บ การนวด คลายปวดเส้ น ปวดเมือ่ ยตัว ส่วนการตอกเส้นใช้แท่งไม้วางบนจุด ที่ น วดแล้ ว ใช้ ค ้ อ นไม้ ต อกเคาะเหมื อ นการ ตอกตะปู คุมความหนักเบาด้วยมือที่ช�ำนาญ ของคนนวด การนวดย่ำขาง

“ย�่ำขางกับตอกเส้น เป็นวิชาที่เอาเข้า ไว้ในหลักสูตรของ กศน. แล้วด้วย เพื่อจะได้ ออกใบประกาศที่รับรองโดยสภาหมอพื้นบ้าน ที่ เชี ย งราย ถื อ เป็ น ศาสตร์ ข องหมอพื้ น บ้ า น คนทีผ่ า่ นหลักสูตรนี้ 10 ปีขา้ งหน้าสามารถน�ำไป อ้างอิงการเป็นหมอพื้นบ้าน ซึ่งเริ่มนับได้ตั้งแต่ ปีนี้ไป ฝึกนวดเก็บเคสบันทึกไว้ เขาจะเป็นหมอ พื้ น บ้ า นได้ ใ นอนาคต” เป็ น การส่ ง ต่ อ วิ ช า สร้ า งโอกาส และสื บ ต่ อ ภู มิ ป ั ญ ญาโบราณ ไม่ให้สูญหายไปจากยุคสมัยด้วย “เพื่ อ จะเก็ บ ภู มิ ป ั ญ ญาล้ า นนาในทุ ก ด้า นเอาไว้ โดยเฉพาะโฮงยาหมอเมือง ซึ่งก็ โ ร ง พ ย า บ า ล ห ม อ พื้ น บ ้ า น นี่ แ ห ล ะ อั น นี้ เ ป ็ น อุ ด ม ค ติ ที่ อ ย า ก ส ร ้ า ง ขึ้ น

ม า จ ริ ง ๆ อ ย า ก ส ร ้ า ง โ ร ง พ ย า บ า ล หมอพื้ น บ้ า น แล้ ว ก็ ส ร้ า งธนาคารสมุ น ไพร ให้ เ ป็ น ทั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ละเป็ น ป่ า ไปด้ ว ย ต อ น นี้ ก� ำ ลั ง ห า กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ จ ะ ม า เชื่ อ มโยงให้ โ ครงการนี้ เ กิ ด ขึ้ น ให ้ เ ป็ น ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ขึ้ น มาจริ ง ๆ” สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในเรื อ นจ� ำ ชั่ ว คราวดอยฮางเป็ น นวั ต กรรม เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง ของความส� ำ เร็ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก พระวิ สั ย ทั ศ น์ พระปรี ช าญาณ น�้ ำ พระทั ย ของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตติยาภา ที่ ท รงงานผ่ า นโครงการก� ำ ลั ง ใจฯ จนเป็ น ที่ ประจักษ์ทั้งในระดับประเทศและเป็นที่ยอมรับ ในระดับโลก ด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ พระกรุณาธิคณ ุ และพระกรุ ณ าของเจ้ า นายทุ ก พระองค์ ที่ทรงเห็นความส�ำคัญของปัญหาหลายอย่าง ของประเทศที่เกี่ยวข้องกับงานของกระทรวง ยุติธรรม ท�ำให้ภารกิจของกระทรวงยุติธรรม ก้ า วเดิ น มาอย่ า งมั่ น คงและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อาทิ เ ช่ น การแก้ ป ั ญ หาเรื่ อ งยาเสพติ ด การเสริมสร้างความรู้และโอกาส รวมตลอด ถึงสิทธิมนุษยชนของผู้ต้องขัง การด�ำเนินการ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรมในเรื่ อ งเหล่ า นี้ จ ะ สามารถใช้เป็นบทเรียนเพือ่ พัฒนาและต่อยอด ขยายผลกิจการเหล่านั้นให้กว้างขวางออกไป ซึ่งนอกจากจะเกิดประโยชน์กับประเทศชาติ โดยตรงแล้ว ยังเป็นการสนองพระเดชพระคุณ เจ้านายทุกพระองค์ที่ทรงห่วงใยในทุกข์สุข ของอาณาประชาราษฎร์เสมอมาด้วย

29


ส่วนที่

2

เกื้อกูลความยุติธรรม

ยุติธรรมที่เท่าเทียม ปั ญ หาอาชญากรรมในปั จ จุ บั น มี ก าร เปลี่ยนแปลงรูปแบบที่หลากหลายและมีความ ซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ กระทรวงยุตธิ รรมจึงได้พฒ ั นา กระบวนการดูแลให้ความช่วยเหลือประชาชน และแนวทางในการป้ อ งกั น อาชญากรรมที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ เป็ น กรอบในการเชื่ อ มโยง ภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มีทิศทาง 30

การท�ำงานร่วมกันแบบบูรณาการ และสามารถ น�ำไปปฏิบัติงานได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึง การเผยแพร่ความรู้ด้านกฎหมายและความรู้ อื่ นๆ ที่ เ ป็ นการสร้ า งภู มิ คุ้ ม กั นให้ ประชาชน จากภัยสังคม โดยเฉพาะกลุ่มที่มี “รายได้น้อย” ซึ่ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลจากรั ฐ เพื่ อ ให้ สามารถเข้าถึงความยุติธรรมได้สะดวก รวดเร็ว และไม่ เ สี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยเกิ นสมควรและเชื่ อ ว่ า


ที่ ผ ่ า นมากระทรวงยุ ติ ธ รรมจึ ง มี ค วามริ เริ่ ม หลายประการภายใต้ ก รอบคิ ด การสร้ า ง การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม มากขึน้ เพราะเราเชือ่ ว่าการเข้าถึงความยุตธิ รรม ทีเ่ ท่าเทียมและเป็นธรรมจะเป็นส่วนส�ำคัญทีจ่ ะ ช่วยลดปัญหาความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคมไทย อาทิ กองทุนยุตธิ รรม การเยียวยาเหยือ่ อาชญากรรม

และแพะในคดี ต ่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ จากการด� ำ เนิ น คดี ท างอาญา ยุ ติ ธ รรมใส่ ใจ รวมไปถึ ง สายด่ ว น 1111 กด 77 บริ ก าร สายด่ ว น 24 ชม. เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารให้ ค� ำ ปรึ ก ษา เ กี่ ย ว กั บ ก ร ะ บ ว น ก า ร ยุ ติ ธ ร ร ม ฯ ล ฯ โดยการด�ำเนินงานในแต่ละเรื่องมีรายละเอียด โดยสรุปดังนี้ 31


เรื่องที่ 6

กองทุนยุติธรรม ช่วยเหลือผู้ยากไร้ ในกระบวนการยุติธรรม

มั ก มี ค� ำ กล่ า วว่ า “คนรวยนอนบ้ า น คนจนนอนคุ ก ” เพราะคนรวยย่ อ มมี โ อกาส เข้าถึงความยุติธรรมได้มากกว่าคนจน เนื่องจาก ภาวะความยากจนเป็ น อุ ป สรรคต่ อ การเข้ า ถึ ง ความยุ ติ ธ รรม มาจากกระบวนการด� ำ เนิ น คดี มีค่าใช้จ่ายสูง อาทิ ค่าใช้จ่ายในการจ้างทนาย ค่าธรรมเนียมศาล ค่าเดินทาง ค่าที่พัก ค่าใช้จ่าย ในการตรวจพิ สู จ น์ เป็ น ต้ น ส่ ง ผลให้ บ างครั้ ง ประชาชนผู ้ ย ากไร้ ต ้ อ งน� ำ ที่ บ ้ า นที่ น าไปจ� ำ นอง ขายฝาก ค�้ ำ ประกั น กู ้ ห นี้ น อกระบบ เพื่ อ เป็ น ค่าใช้จ่ายในกระบวนการยุติธรรม

การเข้าไม่ถึงความยุติธรรม ส่วนหนึ่ง ยั ง มาจากความไม่ เ ข้ า ใจในบทบั ญ ญั ติ ของกฎหมาย และสิ ท ธิ เ สรี ภ าพที่ พึ ง มี พึ ง ได้ โดยชอบธรรม ท� ำ ให้ บ ่ อ ยครั้ ง ประชาชนถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บและถู ก ล่ ว งละเมิ ด สิ ท ธิ จากบุคคลที่อยู่ในภาวะที่เหนือกว่าเนื่องจาก ความไม่รู้ บางกรณีส�ำหรับคนยากจน ต้องถึง ขนาดกู ้ ยื ม เงิ น มาสู ้ ค ดี ท� ำ ให้ ส ่ ง ผลกระทบ ต่อครอบครัว ไปจนถึงการสูญเสียอิสรภาพ “กองทุ น ยุ ติ ธ รรม” จึ ง เปรี ย บเสมื อ น กลไกที่มาช่วยลดช่องว่างในระบบยุติธรรรม 32

โดยมาช่วยเหลือคนยากไร้ที่เดือดร้อน ไม่ได้ รับความเป็นธรรม และเป็นการเปิดโอกาสให้ ประชาชนได้มโี อกาสเข้าถึงความเป็นธรรม และ เพิม่ โอกาสให้คนยากไร้ คนด้อยโอกาส ได้เข้าถึง กระบวนการยุติธรรม อย่างแท้จริง โดยกองทุนยุตธิ รรม จะท�ำหน้าทีใ่ ห้ความ ช่วยเหลือในขั้นตอนกระบวนการยุติธรรมกรณี มี ก ารด� ำ เนิ น คดี ครอบคลุ ม การให้ ค วาม ช่วยเหลือไม่ว่ากรณีผู้ขอรับความช่วยเหลือนั้น จะเป็นฝ่ายผู้เสียหายหรือผู้ถูกกล่าวหา


ในกรณีถ้าผู้ขอความช่วยเหลือเป็นฝ่ายโจทก์ ผู ้ เ สี ย หาย ถู ก ละเมิ ด สิ ท ธิ และต้ อ งการยื่ น ฟ้องร้องคดี กองทุนยุติธรรมจะให้การช่วยเหลือ ในการด�ำเนินคดี ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการ ด�ำเนินคดี เช่น ค่าจ้างทนายความ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าฤชาธรรมเนียม ตลอดจนค่าใช้จ่าย อื่นใดเกี่ยวกับการด�ำเนินคดี หรือหากผู้ขอรับ ความช่วยเหลือเป็นฝ่ายถูกกล่าวหา หรือจ�ำเลย ตามกฎหมายถ้าศาลยังไม่มีค�ำพิพากษาถึงที่สุด ถือว่ายังเป็นผู้บริสุทธิ์ กองทุนยุติธรรมจะให้ ความช่วยเหลือเช่นเดียวกับกรณีทเี่ ป็นผูเ้ สียหาย หรือโจทก์แล้ว และยังออกค่าใช้จา่ ยเงินประกันตัว ให้อีกด้วย นอกจากนี้กองทุนยุติธรรม ยังให้ความ ส�ำคัญกับให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน เพราะเชื่ อ ว่ า ความรู ้ ท างกฎหมายจะท� ำ ให้ คนสามารถคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของตน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น และไม่กระท�ำความผิด ด้วยเหตุแห่งการไม่รู้กฎหมาย รวมถึงรู้ระบบ และขั้นตอนในการด�ำเนินคดีในศาล สามารถ ปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง ตามระเบียบขั้นตอนที่ ก�ำหนด ฯลฯ

และเชื่ อ ว่ า กลไกของกองทุ น ฯ จะสามารถ ลดความขัดแย้งในสังคมอันเนื่องมาจากการ ขาดความรูค้ วามเข้าใจด้านกฎหมายในอนาคต

ยื่นค�ำขอ เจ้าหน้าที่แสวงหาข้อเท็จจริง เจ้าหน้าที่ท�ำรายงานความเห็น ผู้มีอ�ำนาจพิจารณาค�ำขอฯ

21 วัน

แจ้งผล

ท�ำสัญญา

ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือ

ติดต่อขอรับความช่วยเหลือ กรุงเทพมหานคร ติดต่อได้ที่ ส�ำนักงานกองทุนยุติธรรม ที่อยู่ 99/14 ม.4 อาคารซอฟต์แวร์ปาร์ค ชั้น 22 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลคลองเกลือ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 0-2502-6751-2, 0-2502-6318 ต่างจังหวัด ติดต่อได้ที่ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดทั่วประเทศ หรือศูนย์ยุติธรรมชุมชนใกล้บ้าน สายด่วนกระทรวงยุติธรรม โทร 1111 กด 77 www.jfo.moj.go.th กองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 33


เรื่องที่ 7

สชง.กับการเยียวยา เหยื่อในคดีอาญา-แพะ “อนาคตอันสดใสต้องจบสิ้นลง เพียงเพราะ “ยิงผิดตัว” ขอบคุณ “กระทรวงยุติธรรม” .... ที่ทวงความยุติธรรมให้กับหนู”

“น้องวันใหม่” น.ส.ณัฏฐ์ธมน ธนไตรสิทธิ์ วั ย 19 ปี อนาคตอั น สดใสต้ อ งจบลงจาก เหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ ค าดฝั น ขณะเรี ย นอยู ่ ชั้ น ม.6 ซึ่งเหลืออีกเพียงแค่ 2 เดือน วันใหม่จะจบ การศึกษาระดับชั้นมัธยมปลาย เหตุการณ์เมื่อ วันที่ 3 ธันวาคม 2558 วันใหม่ยังคงจดจ�ำได้ดี ขณะก�ำลังนั่งซ้อนรถจักรยานยนต์เพื่อนออกไป ทานข้ า วแถวบ้ า นผ่ า นรถจั ก รยานยนต์ ข อง กลุ่มหนึ่งที่จอดอยู่ข้างทาง วันใหม่ได้แต่มอง แต่ไม่ได้สนใจอะไร หลังจากนั้นเพียงไม่นาน วันใหม่ได้ยนิ เสียงตะโกนตามหลังมาว่า “เฮ้ย!!” วันใหม่ซ่ึงก�ำลังซ้อนรถจักรยานยนต์เพื่อนหัน ไปมองตามเสียง ชั่วเวลาแค่พริบตา...ทุกอย่าง มืดลง...อาการมึนๆ ชาๆ แบบไม่ทันตั้งตัว วันใหม่ถูกวัยรุ่นกลุ่มหนึ่งชักปืนลูกซอง ไทยประดิษฐ์ยิงเข้าใส่ใบหน้าและล�ำคอ 4 จุด ในระยะ 5 เมตร หลั ง จากเข้ า รั ก ษาตั ว ที่ โรงพยาบาลนานกว่า 4 สัปดาห์ พบบาดแผล 34

กระสุนปืนบริเวณใบหน้า และตาขวา กระดูก ใบหน้าแตกหลายชิน้ ส่งผลให้ตาบอดทัง้ สองข้าง สาเหตุเกิดจากการ “ยิงผิดตัว” ทีว่ นั ใหม่ตอ้ งมา รับกรรมแทน เหตุ ก ารณ์ ค รั้ ง นี้ ส ร้ า งความสู ญ เสี ย ให้กบั ชีวติ อันสดใสของวันใหม่ ความฝันทีจ่ ะเป็น “แอร์โฮสเตส” จบสิ้นลงนั่นรวมถึงอนาคตและ โอกาสในการประกอบอาชีพรวมถึงรายได้ที่จะ เลี้ยงตัวเองและครอบครัวในอนาคต ในฐา นะ “เ หยื่ ออาช ญาก รร ม” กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม ได้เข้าไปให้ความช่วยเหลือตามพระราชบัญญัติ ค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนแก่จ�ำเลย ในคดีอาญา พ.ศ. 2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2559 โดยมี ส� ำ นั ก งาน ช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจ�ำเลย กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม เป็นหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบโดยตรงในการบังคับ


ใช้กฎหมาย ในคดีอาญา และมีคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนผูเ้ สียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จา่ ยแก่จำ� เลยในคดีอาญา ซึง่ ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณาอนุ มั ติ ค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรือค่าใช้จ่ายตาม พระราชบัญญัตนิ ี้ กรณีของ “วันใหม่” เป็นตัวอย่างหนึ่ง ของผูเ้ สียหายกรณีทตี่ กเป็น “เหยือ่ อาชญากรรม” โดยที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกระท�ำความผิด ที่ ต ้ อ งได้ รั บ ค่ า ตอบแทนตามกฎหมาย ขณะเดียวกันกฎหมายดังกล่าวยังครอบคลุม ไปถึ ง กรณี ที่ ผู ้ เ สี ย หายตกเป็ น จ� ำ เลยและ ต้ อ งกลายเป็ น “แพะ” ติ ด คุ ก ทั้ ง ๆ ที่ ไ ม่ มี ความผิดในคดีอาญาอีกด้วย ปั จ จุ บั น ถื อ ได้ ว ่ า พระราชบั ญ ญั ติ ค่ า ตอบแทนผู ้ เ สี ย หายและค่ า ทดแทน แก่ จ� ำ เลยในคดี อ าญา พ.ศ. 2544 และ แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2559 มี ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า ใ น ก า ร คุ ้ ม ค ร อ ง สิ ท ธิ ผู ้ เ สี ย ห า ย แ ล ะ จ� ำ เ ล ย ใ น ค ดี อ า ญ า ทีต่ กเป็นเหยือ่ หลังจากมีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย ตัง้ แต่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2544 โดยกฎหมาย ยั ง มี ค วามครอบคลุ ม มากขึ้ น ในการแก้ ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ที่ได้ประกาศ ในราชกิจจานุเษกษา ในวันที่ 22 สิงหาคม 2559 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เป็ น ต้ น มา ซึ่ ง ในการแก้ ไขกฎหมาย ในครั้งนั้นท�ำให้การจ่ายค่าตอบแทนผู้เสียหาย

และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดี อาญาสามารถกระท�ำได้รวดเร็ว ครอบคลุม และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะใน ประเด็นส�ำคัญที่ กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ โดยส� ำ นั ก งานช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก่ ผู ้ เ สี ย หายและจ� ำ เลยในคดี อ าญา ได้ เ สนอ ให้แก้ไขกฎหมาย เมื่อ พ.ศ. 2559 ประการแรกคื อ การแก้ ไขเพิ่ ม เติ ม โดยให้ มี ก ารแจ้ ง สิ ท ธิ ก ารได้ รั บ ค่ า ตอบแทน ห รื อ ค ่ า ท ด แ ท น แ ล ะ ค ่ า ใช ้ จ ่ า ย ต า ม พระราชบั ญ ญั ติ นี้ แ ก่ ผู ้ เ สี ย หายหรื อ ทายาท ซึ่งได้รับความเสียหาย หรือแก่จ�ำเลยที่ศาล มี ค� ำ สั่ ง อนุ ญ าตให้ ถ อนฟ้ อ ง หรื อ ศาลมี ค� ำ พิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ว่ า จ� ำ เลยมิ ไ ด้ เ ป็ น ผู้กระท�ำความผิดหรือการกระท�ำของจ�ำเลย ไม่เป็นความผิด ประการต่ อ มาคื อ การปรั บ ปรุ ง องค์ ป ระกอบของคณะกรรมการพิ จ ารณา ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ ค่ า ใช้ จ ่ า ยแก่ จ� ำ เลยในคดี อ าญา และเพิ่ ม อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการในการแต่งตั้ง คณะอนุ ก รรมการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ผู ้ เ สี ย หาย และค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ ่ า ย แก่ จ� ำ เลยในคดี อ าญาตามความเหมาะสม รวมถึงก�ำหนดอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละการด�ำเนินการ

35


ของคณะกรรมการ รวมทั้งการใช้สิทธิอุทธรณ์ค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการดังกล่าว ตลอดจนก�ำหนด วิธีการยื่นค�ำขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทนหรือค่าใช้จ่ายและปรับปรุงรายการท้ายพระราชบัญญัติ ซึ่งท�ำให้จนปัจจุบัน พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนแก่จ�ำเลยในคดี อาญา พ.ศ. 2544 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ถือเป็นมิติใหม่ของงานในกระบวนการ ยุตธิ รรมในการสร้างการด�ำเนินงานเชิงรุกในการสร้างความเป็นธรรมให้ผตู้ กเป็นเหยือ่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จากกระบวนการยุติธรรม

ใครคือเหยื่อในคดีอาญา-แพะ ที่สามารถขอรับการเยียวยาจากรัฐได้ ประชาชนที่ตกเป็น “เหยื่ออาชญากรรม” โดยที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ กระท�ำความผิดหรือต้องกลายเป็น “แพะ” ติดคุกทั้งๆ ที่ไม่มีความผิด สามารถขอรับ การเยียวยาจากรัฐได้ โดยพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ ค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559) ให้ความคุ้มครองบุคคล 2 ประเภท

ผู้เสียหาย

คือ บุคคลที่ได้รับความเสียหายจากการกระท�ำ ผิดอาญาของผูอ้ นื่ โดยไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องสามารถ ขอรับค่าตอบแทนจากรัฐในกรณีดังต่อไปนี้ - ได้รับบาดเจ็บทางร่างกาย จิตใจ หรือถึง แก่ความตายเนื่องจากถูกท�ำร้ายร่างกาย ถู ก ท� ำ ให้ เ สี ย ชี วิ ต ถู ก ลู ก หลง ถู ก ท� ำ ให้ แท้ ง ลู ก ถู ก ข่ ม ขื น ถู ก กระท� ำ อนาจาร ถู ก ข่ ม ขื น ใจ ถู ก หน่ ว งเหนี่ ย ว กั ก ขั ง ถูกลักทรัพย์ ถูกวิ่งราวทรัพย์ ถูกกรรโชก ถูกรีดเอาทรัพย์ ถูกชิงทรัพย์ ถูกปล้นทรัพย์ หรือบุกรุก - ได้รบั บาดเจ็บสาหัสหรือตาย จากการกระท�ำ โดยประมาทของผู้อื่น - เด็ก คนชรา คนป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และถูกทอดทิ้ง 36

จ�ำเลย

คื อ บุ ค คล ซึ่ ง ถู ก พนั ก งานอั ย การฟ้ อ งต่ อ ศาลว่าได้กระท�ำความผิดอาญาและถูกจ�ำคุก ในระหว่ า งพิ จ ารณาคดี ต่ อ มาได้ มี ก าร ถอนฟ้ อ งหรื อ ศาลมี ค� ำ พิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ให้ ย กฟ้ อ งว่ า จ� ำ เลยไม่ มี ค วามผิ ด หรื อ ที่เรียกว่า “แพะ”


อัตรา การจ่ายเงิน แก่ผเู้ สียหาย ในคดีอาญา กรณี เสียชีวิต

กรณี ไม่เสียชีวิต ค่ารักษาพยาบาล ไม่เกิน 40,000 บาท

ค่าตอบแทน จ่ายตั้งแต่ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 100,000 บาท

ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ไม่เกิน 20,000 บาท

ค่าจัดการศพ จ่าย 20,000 บาท

ค่าขาดประโยชน์ท�ำมาหาได้ ตามอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ ในจังหวัดที่ท�ำงาน ไม่เกิน 1 ปี

ค่าขาดอุปการะเลี้ยงดู ไม่เกิน 40,000 บาท

ค่าตอบแทนความเสียหายอื่น ไม่เกิน 50,000 บาท

ค่าเสียหายอื่น ไม่เกิน 40,000 บาท

การขอรับบริการ ผู้เสียหายหรือทายาท สถานีต�ำรวจทั่วประเทศ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ส�ำนักงานยุติธรรมทั่วประเทศ

ยื่นค�ำขอ

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ส�ำนักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ (ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคเหนือ และภาคใต้)

ยื่นค�ำขอ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.rlpd.go.th สายด่วนยุติธรรม โทร 1111 กด 77 37


เรื่องที่ 8

Justice Care: ยุติธรรมใส่ใจ เมื่อผู้เสียหายสามารถเข้าถึงสิทธิ ความยุติธรรมได้ภายใน 24 ชม. “ยุ ติ ธรรมใส่ ใจ (Justice Care)” ถื อ เป็ น กรอบแนวคิดใหม่ในการท�ำงานที่กระทรวงยุติธรรม ริเริ่มขึ้นในการท�ำงานเพื่อที่จะช่วยเหลือผู้เสียหาย หรือเหยื่อที่ได้รับผลกระทบจากอาชญากรรมภายใน 24 ชั่วโมง และเป็นการปลดล็อคการท�ำงานในการ ให้ความช่วยเหลือผู้เสียหายในกระบวนการยุติธรรม ที่รวดเร็ว เป็นธรรมและทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

โ ด ย บู ร ณ า ก า ร ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบ และเพือ่ ให้ความช่วยเหลือผูเ้ สียหายและเหยือ่ ในระดับพื้นที่ ซึ่งมักเป็นผู้ด้อยโอกาสในสังคม ให้ ไ ด้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ด้ ว ยความรวดเร็ ว โดยให้สำ� นักงานยุตธิ รรมจังหวัดเป็นหน่วยงานหลัก ในการบูรณาการให้ความช่วยเหลือผู้เสียหาย หรือเหยื่อ

38

จากการด� ำ เนิ น การระหว่ า งวั น ที่ 5 พฤศจิกายน – 18 ธันวาคม 2561 ที่ผ่านมา ได้ ด� ำ เนิ น การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ประชาชน ไปแล้วใน 62 จังหวัด 164 เรื่อง ครอบคลุม กรณี ก ารขอรั บ ความช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก่ ผู ้ เ สี ย หายและจ� ำ เลยในคดี อ าญา การให้ ค�ำปรึกษากฎหมาย การขอรับความช่วยเหลือ จากกองทุนยุติธรรม การขอรับความช่วยเหลือ ในการคุม้ ครองพยาน การขอรับความช่วยเหลือ อื่นๆ ฯลฯ


เข้าถึงความเป็นธรรม ด้วย Justice Care ผลการด�ำเนินงานในการให้ความช่วยเหลือประชาชน ตัง้ แต่วนั ที่ 5 พฤศจิกายน - 18 ธันวาคม 2561 ทั้งสิ้น 62 จังหวัด จ�ำนวน 164 เรื่อง ได้แก่

77

หน่วย : เรื่อง

48 7

การขอรับความช่วยเหลือ ทางการเงินแก่ผู้เสียหาย และจ�ำเลยในคดีอาญา

การให้ค�ำปรึกษา กฎหมาย แก่ประชาชน

การขอรับ ความช่วยเหลือ จากกองทุนยุติธรรม

1

32

การขอรับ การขอรับ ความช่วยเหลือ ความช่วยเหลือ ในการคุ้มครองพยาน อื่นๆ

มีหลายกรณีตัวอย่างจากการท�ำงานของ กระทรวงยุติธรรม ภายใต้แนวทาง “ยุติธรรมใส่ใจ (Justice Care)” ที่สามารถช่วยให้การท�ำงานในการ ช่วยเหลือเหยื่อและผู้ได้รับผลกระทบจากอาชญากรรม มีความรวดเร็วและเข้าถึงความเป็นธรรม อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิ

กรณีที่ 1 ชายฉกรรจ์ยกพวกรุมท�ำร้ายร่างกายในร้านขายของช�ำทีจ่ งั หวัดสมุทรสาคร กระทรวงยุติธรรม ได้มอบหมายให้ยุติธรรมจังหวัดสมุทรสาคร พร้อมด้วยพนักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพและนิติกร ลงพื้นที่ให้ความ ช่วยเหลือนางสาวบุญรัตน์ กวางแก้ว ผู้เสียหาย ซึ่งเป็นเจ้าของร้านขาย ของช�ำที่เกิดเหตุ โดยให้ค�ำแนะน�ำในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และ หลักเกณฑ์การฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนทีก่ ำ� หนดไว้ตามประมวลกฎหมาย วิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 44/1 รวมทัง้ แจ้งสิทธิผเู้ สียหายในคดีอาญาให้แก่ ผู้เสียหายที่โดนท�ำร้ายร่างกาย ทั้ง 3 คน ตาม พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ให้ได้ทราบ พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้ร้องทราบว่า หากมีการข่มขู่ ให้ผู้ร้องไปแจ้งความด�ำเนินคดีได้ ประกอบกับ หากจะต้อง ไปเบิกความเป็นพยานในศาล ซึ่งหากผู้ร้องเกรงว่าจะไม่ได้รับความปลอดภัย สามารถยื่นเรื่องขอคุ้มครองพยานในคดีได้ 39


กรณีที่ 2 การให้ความช่วยเหลือ “ลูกหนี้”ผ่านกองทุนยุติธรรม และอี ก หนึ่ ง กรณี ช ่ ว ยเหลื อ นางสาวเอ (นามสมมุ ติ ) เนื่ อ งจากนายบี (นามสมมุ ติ ) ผู ้ เ ป็ น สามี ได้ ท� ำ การยื ม เงิ น คู ่ ก รณี เ ป็ น เงิ น จ� ำ นวน 200,000 บาท โดยใช้ บ ริ ษั ท ฯ ค�้ ำ ประกั น ตั้ ง แต่ เดือนมิถุนายน 2558 โดยมีก�ำหนดช�ำระหนี้ภายใน วั น ที่ 26 กรกฎาคม 2558 พอถึ ง ก� ำ หนดช� ำ ระ กลับจ่ายเช็คเด้ง ท�ำให้ไม่สามารถไปเบิกถอนได้จริง โดยธนาคารได้แจ้งว่าบัญชีนี้ได้ถูกปิดไปแล้ว ท�ำให้ เจ้ า หนี้ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หายยื่ น ฟ้ อ งร้ อ งต่ อ ศาล จนเกิ ด เป็ น คดี ค วามกั น ขึ้ น มา และไม่ มี เ งิ น จ่ า ย ค่ า หลั ก ประกั น จึ ง ท� ำ เรื่ อ งร้ อ งขอความช่ ว ยเหลื อ จากเงินกองทุนยุติธรรม หลั ง จากกองทุ น ยุ ติ ธ รรมรั บ เรื่ อ งร้ อ งทุ ก ข์ แ ละได้ ล งพื้ น ที่ ม าตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง พบว่ า นายบี (นามสมมุตื) และนางสาวเอ (นามสมมุติ) ได้ท�ำธุรกิจรถเช่าและยังไม่มีรายได้ในนามบริษัทฯ จึงไม่สามารถช�ำระคืนได้ และยังมีคา่ ใช้จา่ ยต่อเดือนไม่วา่ ค่าเช่าบ้าน ค่าเรียนลูกและค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตกต่อ เดือน 20,000 บาท และได้มีการไกล่เกลี่ยผ่อนช�ำระหนี้กับคู่กรณี เดือนละ 10,000 บาท โดยให้หลาน ช่ ว ยกู ้ ยื ม จากธนาคารออมสิ น มาให้ เพราะไม่ ส ามารถคื น เงิ น ก้ อ นได้ จึ ง ได้ ยื น เรื่ อ งนี้ ร ้ อ งขอให้ กระทรวงยุตธิ รรมช่วยเหลือ เมือ่ ตรวจสอบแล้วว่ามีภาระค่าใช้จา่ ยเยอะจริง และได้มนี ายเอ็ม (นามสมมุต)ิ พนักงานบริษทั แห่งหนึง่ เป็นผูร้ บั รองความประพฤติวา่ มีความประพฤติดี ไม่หนีคดี และไม่เคยมีประวัตเิ สีย ประวัติไม่ดีมาก่อน จึงให้ประกันตัวได้ เมื่อกองทุนยุติธรรมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ แล้วได้น�ำเรื่องนี้เข้าพิจารณาจากคณะกรรมการ กองทุนยุติธรรม เห็นว่าทางผู้ร้องขอไม่น่าจ่ายเงินหลักประกันเองได้ เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายต่อเดือน เป็นจ�ำนวนมาก และวิธกี ารเงือ่ นไขการขอปล่อยชัว่ คราว เข้าเงือ่ นไขของกองทุนยุตธิ รรมจึงได้ทำ� การอนุมตั ิ วางเงินประกันจ�ำนวน 100,000 บาท เพื่อช่วยเหลือกรณีดังกล่าว

ทั้ง 2 กรณีเป็นเพียงตัวอย่างนับร้อยกรณีของการท�ำงานภายใต้กรอบแนวทาง “ยุติธรรมใส่ใจ” (Jusctice Care) ที่เชื่อว่า “ความใส่ใจ” ที่มากขึ้นจะช่วยสร้างความเป็นธรรมและลดผลกระทบ ที่จะเกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินจากอาชญากรรมให้ได้มากที่สุด

40


เรื่องที่ 9

สายด่วนยุติธรรม 1111 กด 7

สายด่วนยุติธรรม 1111 กด 77 เป็นบริการ รับเรือ่ งร้องทุกข์ทกุ รูปแบบตลอด 24 ชัว่ โมง โดยประชาชน ที่เดือดร้อนสามารถโทรมาได้ที่หมายเลข 1111 กด 77 เพื่อร้องเรียนและเสนอข้อเสนอแนะต่างๆ โดยบริการ สายด่วนนีเ้ กิดขึน้ เพราะเชือ่ ว่า ความเสียหายในบางกรณี ต้องได้รับความช่วยเหลือและให้ข้อมูลได้อย่างทันท่วงที

อย่ า งกรณี นางสุ ธิ ษ า (ผู ้ ใช้ บ ริ ก าร) ที่โทรศัพท์มาที่สายด่วนยุติธรรม 1111 กด 77 สอบถามเกี่ยวกับวิธีการขอรับค่าเสียหาย ในกรณีที่ขับรถชนผู้อื่นถึงแก่ความตายว่าญาติ ผู้เสียชีวิตสามารถขอรับค่าเสียหายได้หรือไม่ และในทางคดีผู้ขับรถชนต้องชดใช้อะไรบ้าง และโดนข้อหาอะไรบ้าง เป็นต้น ตามขั้ น ตอนโดยปกติ ข อง สายด่ ว น ยุ ติ ธ รรม 1111 กด 77 หลั ง จากรั บ เรื่ อ ง ร้องเรียน เจ้าหน้าที่สายด่วนจะแยกประเภท เรื่องที่สอบถาม รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และให้ ค� ำ ปรึ ก ษากฎหมายหลายภาษา (ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) ภาษายาวี และภาษาไทย) ในกรณี ที่มากกว่าการขอรับค�ำปรึกษากฎหมาย และ เป็นเรื่องร้องเรียน ทางเจ้าหน้าที่ก็จะส่งเรื่องให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

ในกรณี ข อง นางสุ ธิ ษ า เจ้ า หน้ า ที่ สายด่ ว นได้ ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ ว่ า กรณี ดั ง กล่ า ว ญาติผู้เสียชีวิตสามารถขอค่าเสียหายจากการ กระท� ำ ความผิ ด อาญาได้ และในเรื่ อ งคดี ผู ้ ขั บ รถชนจะต้ อ งชดใช้ ค ่ า เสี ย หายในกรณี ละเมิด และความผิดฐานขับรถโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ซึ่งค�ำแนะน�ำ ดังกล่าวสามารถให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย เพื่อรับมือกับปัญหาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ยุตธิ รรมได้อย่างทันเวลา และเป็นการสนับสนุน แนวทางของกระทรวงยุติธรรมในการสร้างการ เข้าถึงยุติธรรมอย่างเท่าเทียม ทั้ ง นี้ ปั จ จุ บั น มี ผู ้ ใช้ บ ริ ก ารสายด่ ว น ยุติธรรม 1111 กด 77 จ�ำนวนมาก โดยจาก ข้อมูลพบว่าเฉพาะในปี 2561 มีผู้เข้ามาใช้ บริการสายด่วยยุติธรรมทั้งสิ้น 13,940 สาย

41


ขั้นตอนง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก ของบริการสายด่วนยุติธรรม 1111 กด 77 ขั้นตอน 1 เจ้าหน้าที่ Call Center รับเรื่องและสอบถามข้อมูล

ขั้นตอน 2 แยกประเภทเรื่ อ งที่ ส อบถาม รั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น ร้ อ งทุ ก ข์ และให้ ค� ำ ปรึ ก ษากฎหมายหลายภาษา (ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) ภาษายาวี และภาษาไทย) และส่งต่อ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอน 3 ประเมินความพึงพอใจ ในการให้บริการดังกล่าว

“ทุกปัญหา มีทางออก โทรมาบอก 1111 กด 77 สายด่วนยุติธรรม”

เพราะความทุกข์ รอกันไม่ได้ การได้รบั ค�ำตอบที่รวดเร็วจะช่วยคลายทุกข์ให้กบั ประชาชน

42


เรื่องที่ 10

ยุติธรรมที่ทั่วถึง

มากกว่าความเท่าเทียม กระทรวงยุติธรรมเชื่อว่าการอ�ำนวยความยุติธรรมที่ทั่วถึงจะเป็น พื้นฐานส�ำคัญที่จะช่วยลดความเหลื่อมล�้ำระหว่างคนรวยและคนจน คนเมืองและคนชนบท โดยใช้กลไกที่จะท�ำให้คนเข้าถึงความยุติธรรมได้อย่างทั่วถึงในทุกระดับ ภายใต้การด�ำเนินงาน ของกระทรวงยุติธรรมจึงมีการก�ำหนดแนวทางในการอ�ำนวยความยุติธรรมแต่ละพื้นที่ให้ทั่วถึง ด้วยการบริหารงานในรูปแบบต่างๆ อาทิ

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

กับภารกิจการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัด เป็นหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูแ้ ทน กระทรวงยุ ติ ธ รรมในพื้ น ที่ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ชาวบ้ า นให้ ไ ด้ รั บ ความยุ ติ ธ รรมอย่ า งทั่ ว ถึ ง โดยได้สร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน สร้างเครือข่ายยุติธรรมชุมชน ระดับชุมชน หมู ่ บ ้ า น และจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน เพื่อให้ความยุติธรรมกับทุกคนไม่ว่าจะยากดี มีจนโดยให้เป็นไปทิศทางเดียวกับการบริหาร ราชการในส่วนกลาง ส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด ได้ ใ ช้ หลั ก การยื ด หยุ ่ น มาจั ด การกั บ ปั ญ หาต่ า งๆ

ไม่ว่าจะเป็นการไกล่เกลี่ยคดีในชุมชน กรณี คดีเล็กน้อย คดีแพ่งและคดีทสี่ ามารถยอมความได้ และให้ค�ำปรึกษาทางเรื่องกฎหมาย ให้บริการ ร้องเรียน ร้องทุกข์ การร้องขอคุ้มครองพยาน การใช้ค่าตอบแทนให้แก่ผู้เสียหายและจ�ำเลย ในคดีอาญา เพือ่ ให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการ ยุตธิ รรมอย่างรวดเร็วและเท่าเทียม

43


คุณสมคิด เจริญสุข ผูท้ ไี่ ด้รบั ความช่วยเหลือจากกองทุนยุตธิ รรม ช่วยเหลือค่าทนายความในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา เล่าเหตุการณ์ให้ฟังว่า ...เราอยู ่ ใ นที่ ดิ น นี้ ม าตั้ ง แต่ เ กิ ด ตาซื้ อ ไว้ ใ ห้ เ ป็ น มรดกตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2499 เขามีหมายศาลมา ผมก็ไม่ยอมแพ้ เพราะถ้ายอมแพ้ก้อจะไม่มีที่อยู่ มีคนบอก ให้ไปที่ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ก็ได้รับความช่วยเหลือค่าทนาย ค่าวางศาล ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดี...

คุณศรสวรรค์ ผลวิชา ผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน ยุติธรรมขอรับการสนับสนุนหลักประกันในการปล่อยตัวชั่วคราว ผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยในศาลชั้นต้น เล่าเหตุการณ์ให้ฟังว่า ...เขาเข้ามาล็อคคอผม จะเชือดคอผม ผมเอาเหล็กฟาดเขาไปที สุดท้ายได้รับ การประกันตัว และผมไม่ทราบว่าเขาไปแจ้งความ กลายเป็นเราผิด ความรูส้ กึ ในใจ คนท�ำมาหากิน ถูกท�ำร้าย จะติดคุกเสียเอง ส�ำนักงานยุติธรรมสามารถ ช่วยเราได้ เพราะต้องประกันตัว มีคนบอกผมว่าให้ไปขอที่ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัด ดีใจที่มีหน่วยงานเข้ามาช่วยเหลือ...

ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัด (สยจ.) ให้บริการประชาชน

ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

สนับสนุนโครงการ ให้ความรู้กฎหมาย

ร้องเรียนความไม่เป็นธรรม

ปรึกษาปัญหากฎหมาย 44

ขอค่าตอบแทนผู้เสียหาย และจ�ำเลยในคดีอาญา

ไกล่เกลี่ย ระงับข้อพิพาท

ช่วยเหลือการด�ำเนินคดี

ประกันตัวชั่วคราว


เรื่องที่ 11

ศูนย์ยุติธรรมชุมชน เข้าถึง พึ่งได้

ดูแลจิตใจผู้ต้องขังและญาติในชุมชน “อยากบอกว่าไม่เคยคิดเลยว่าจะได้เยี่ยม ลูกชาย ไม่คิดว่าจะได้เห็นหน้ากัน อยากขอบคุณ เครือข่ายยุติธรรมชุมชนที่มีบริการดีๆ แบบนี้”

“ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน” เป็ น แนวคิ ด ที่ค่อนข้างใหม่ส�ำหรับประเทศไทยของการ ท�ำงานอย่างมีส่วนร่วม ระหว่างหน่วยงาน ในกระบวนการยุติธรรมกับชุมชน ที่เป็นการ ด� ำ เนิ น การโดยชุ ม ชนเพื่ อ ชุ ม ชน โดยรั ฐ มีหน้าทีเ่ ป็นหุน้ ส่วนร่วมกับชุมชน เพือ่ ป้องกัน และบรรเทาปัญหาอาชญากรรมในพืน้ ที่ ภารกิจของ “ศูนย์ยุติธรรมชุมชน” ในแต่ ล ะพื้ น ที่ นอกจากให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การท� ำ งานในเชิ ง ป้ อ งกั น อาชญากรรมแล้ ว ยังท�ำงานเกี่ยวกับการเยียวยาและเสริมพลัง เหยือ่ อาชญากรรม การให้กำ� ลังใจผูต้ อ้ งขังและ ญาติในชุมชน รวมไปถึงการรับผู้กระท�ำผิด กลับคืนสูช่ มุ ชน (reintegration)

จากบรรทัดนี้เป็นเรื่องเล่าจากสายบุรี...อีกบท บันทึกการท�ำงานของ “ศูนย์ยุติธรรมชุมชน” ในจังหวัดปัตตานี “ก๊ะเรียม” หญิงม่ายวัย 64 ปี อาศัยอยูใ่ น บ้านเล็กๆ คนเดียวในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอสายบุรี จังหวัด ปัตตานี ท�ำงานรับจ้างทั่วไปรายได้แค่พออยู่ พอกินไปวันๆ ก๊ะเรียมมีลกู ชายหนึง่ คน แต่เขาก็ ไม่มีโอกาสได้ดูแลก๊ะเรียม เพราะต้องโทษอยู่ใน เรือนจ�ำกลางสงขลา เธอคิดอยู่เสมอว่าอยากจะไปเยี่ยมลูก ทีเ่ รือนจ�ำกลางสงขลา อยากรูว้ า่ ลูกอยูส่ บายดีไหม เจ็บไข้ได้ปว่ ยหรือเปล่า และแม้วา่ จังหวัดปัตตานี กับจังหวัดสงขลาจะมีระยะทางไม่ไกลกั น นั ก

45


แต่สำ� หรับก๊ะเรียม ซึง่ อายุมากแล้ว มีโรคประจ�ำ ตัวทั้งเบาหวาน ความดัน ปวดเข่า เดินเหิน ไม่สะดวก แถมรายได้จากการรับจ้างทั่วไปก็ ไม่พอที่จะเดินทางไปเยี่ยมลูกชายที่เรือนจ�ำ คิดจะไปก็ต้องขาดรายได้อีก วั น หนึ่ ง ขณะที่ ก ๊ ะ เรี ย มก� ำ ลั ง รั บ จ้ า ง ถางหญ้าอยู่น้ัน ก็ได้ยินเสียงอึกทึก ดังใกล้ เข้ามาเรื่อยๆ และพยายามตั้งสติตั้งใจฟังเสียง ได้ยินเสียงพูดผ่านโทรโข่ง จับใจความได้ว่า “อัสลามุอาลัยกุม วันนี้พวกเราศูนย์ยุติธรรม ชุมชนอ�ำเภอสายบุรีเดินเท้ามาบ้านทุกท่าน มี ข องมาแจก ใครสนใจขอให้ อ อกมาร่ ว ม กิจกรรมกัน” ก๊ะเรียม ได้ยินก็ลุกขึ้นยืนเห็น กลุ่มคนถือป้ายผ้า “เครือข่ายยุติธรรมชุมชน” และแจกสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ง านบริ ก ารของ กระทรวงยุติธรรม เครือข่ายยุติธรรมชุมชน ได้แนะน�ำตัวกับก๊ะเรียม บอกว่ามาจากศูนย์ ยุติธรรมชุมชนอ�ำเภอสายบุรี ที่ศูนย์ยุติธรรม ชุ ม ชนมี บ ริ ก ารให้ ค� ำ ปรึ ก ษากฎหมาย ถ้ า มี เรื่ อ งอะไรจะร้ อ งทุ ก ข์ จ ะไกล่ เ กลี่ ย สามารถ ไปปรึกษาได้ที่ศูนย์ยุติธรรมชุมชน ก๊ะเรียม ก็ พ ยั ก หน้ า รั บ พร้ อ มกั บ ยิ้ ม ๆ เครื อ ข่ า ยยั ง บอกอีกว่า มีบริการให้เยี่ยมผู้ต้องขังทางไกล

46

ผ่าน VDO Conference ด้วยนะ ด้วยความสงสัยก๊ะเรียมไม่รอที่จะยิงค�ำถามว่า “บริการให้เยี่ยมผู้ต้องขังทางไกลผ่าน VDO คืออะไร” ทางเครือข่ายเจ้าหน้าที่ให้ความ ช่วยเหลือเป็นอย่างดี อธิบายให้เข้าใจว่า “VDO Conference เป็นกล้องกับจอทีวี ทีเ่ ราสามารถ พูดคุยโต้ตอบกับคนในเรือนจ�ำได้ ถ้าใครสนใจ จะเยี่ยมญาติที่อยู่ในเรือนจ�ำ ก็ให้มาติดต่อ ที่ศูนย์ยุติธรรมชุมชนได้” หัวใจน้อยๆ ของ ก๊ะเรียมเริ่มพองโต ภาพของลูกชายลอยมา “นานเท่าไรแล้วที่เราไม่ได้เจอลูก” ขณะที่ ความคิดต่างๆ แล่นผ่านเจ้าหน้าที่เครือข่าย ยุติธรรมจึงถามว่า “ก๊ะจะใช้บริการเยี่ยมญาติ ข้างในเรือนจ�ำใช่ไหม” ก๊ะเรียมรีบตอบทันที ใช่ๆ ลูกชายก๊ะเรียมอยู่ในเรือนจ�ำกลางสงขลา ก๊ะเรียมไม่ได้ไปเยี่ยม ไม่มีเงิน ขาก็ไม่ค่อยดี เดินเหินไม่สะดวก จะไปขึ้นรถหลายๆ ต่อ ก็ ไ ม่ ไ หว ก๊ ะ เรี ย มจะไปเยี่ ย มกั บ กล้ อ งที วี ได้ไหม ต้องท�ำยังไงบ้าง เครือข่ายยุตธิ รรมชุมชน เอาแผ่นพับประชาสัมพันธ์การให้บริการเยี่ยม ผูต้ อ้ งขังผ่านจอภาพ วีดโี อคอนเฟอเรนซ์มาแจก ให้กะ๊ เรียม พร้อมทัง้ อธิบายว่าก๊ะเรียมสามารถ มาติ ด ต่ อ ขอเยี่ ย มที่ ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนได้ และต้ อ งน� ำ บั ต รประชาชนหรื อ บั ต รอื่ น ๆ ที่ราชการออกให้มาด้วย แต่ต้องมีหมายเลข ประจ�ำตัว 13 หลัก มาแสดงด้วย ซึง่ เค้ามีการ ก� ำ หนดตารางวั น เยี่ ย มแต่ ล ะเรื อ นจ� ำ เอาไว้ เครือข่ายยุตธิ รรมชุมชนให้กะ๊ เรียมดูในแผ่นพับ พร้อมกับถามว่า “ลูกชายก๊ะอยู่เรือนจ�ำกลาง


สงขลาใช่มยั้ เค้าก�ำหนดตารางเยีย่ มไว้วนั อังคาร ก๊ะเรียมสามารถมาขอเยี่ยมได้ท่ีศูนย์ยุติธรรม ชุมชนเลยนะวันอังคารได้ทั้งวัน ก๊ะเรียมเอา แผ่ น พั บ เก็ บ ไว้ ด ้ ว ยนะ จะได้ ไว้ ดู เ พิ่ ม เติ ม ” วันอังคารสัปดาห์ตอ่ มาก๊ะเรียม เดินทาง มาทีศ่ นู ย์ยตุ ธิ รรมชุมชนอ�ำเภอสายบุรี ตัง้ แต่เช้า เพือ่ มาขอใช้บริการเยีย่ มลูกชายทีอ่ ยูใ่ นเรือนจ�ำ กลางสงขลา โดยมีเจ้าหน้าทีศ่ นู ย์ยตุ ธิ รรมชุมชน อ�ำนวยความสะดวก ก๊ะเรียมนั่งรออยู่หน้าจอ โทรทัศน์ นั่งมองจอภาพ มองกล้องและสายไฟ ด้วยความแปลกตา หัวใจเต้นตึกตักๆ สกั พักก็ได้ เห็นหน้าลูกชายผ่านจอภาพ ได้ยนิ เสียงลูกชาย ดังออกมา หัวใจอิม่ เอม น�ำ้ ตาไหลพร้อมรอยยิม้ ไม่ต้องถามเลยว่าก๊ะเรียมดีใจแค่ไหน น�้ำตา แห่ ง ความปลื้ ม บวกแรงคิ ด ถึ ง ที่ ไ ด้ คุ ย แบบ เห็นหน้าลูกชาย ท�ำให้กะ๊ เรียมถึงกับกลัน้ น�ำ้ ตา ไม่อยู่ น�ำ้ เสียงสัน่ เครือของก๊ะเรียมทีใ่ ห้กำ� ลังใจ ลูกชายกับถ้อยความที่เอ่ยไปว่า “ท�ำตัวดีๆ นะลู ก เดี๋ ย วก็ ไ ด้ อ อกมาอยู ่ ด ้ ว ยกั น แล้ ว ” และนี่ ก็ คื อ ประสบการณ์ ก ารเยี่ ย ม ลูกชายของก๊ะเรียม ต้องขอบคุณเจ้าหน้าที่ ศูนย์ยุติธรรมชุมชนครั้งแล้วครั้งเล่า บอกว่า

ไม่เคยคิดเลยว่าจะได้เยี่ยมลูกชาย ไม่คิดว่าจะ ได้เห็นหน้ากัน มีบริการนี้ดีมาก ก๊ะเรียมจะ ได้มาเยี่ยมลูกได้บ่อยๆ ซึ่งในแต่ละปีมีจำ� นวน กว่า 66,000 คน ถูกควบคุมตัวในเรือนจ�ำ เพียงเพราะไม่มีเงินประกันตัว ทั้งที่คนเหล่านี้ ยังไม่ถูกตัดสินว่า มีความผิดหรือคดีถึงที่สุด ผู้ประสบมรสุมชีวิตเหล่านี้ ขาดโอกาสในการ ลืมตาอ้าปาก แม้แต่ครอบครัวคนรอบข้าง ก็ สุ ด มื อ จะเอื้ อ มถึ ง เมื่ อ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการสู ้ ค ดี ค วามในกระบวนการ ยุ ติ ธ รรม ไม่ ว ่ า ฝ่ า ยโจทย์ ห รื อ ฝ่ า ยจ� ำ เลย ต้ อ งใช้ จ ่ า ยเพื่ อ เรี ย กร้ อ งความยุ ติ ธ รรม ให้ตนเอง ในขณะที่หลายครอบครัวตกเป็น “แพะ” มีชีวิตยากล�ำบาก หาเช้ากินค�่ำ ไม่มี เงิ น ประกั น ตั ว ไม่ มี เ งิ น แม้ แ ต่ จ ะไปเยี่ ย ม ลู ก หลาน ครอบครั ว ในเรื อ นจ� ำ การที่ มี ศูนย์ยุติธรรมชุมชนลงพื้นที่แบบนี้ จะช่วยให้ ผู้ต้องขังและญาติในชุมชนเชื่อมความสัมพันธ์ ที่ดีกันได้

47


เรื่องที่ 12

ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ฯ บนทางออกจาก “หนี้ที่ไม่เป็นธรรม” “หนี้ท่วมหัว” “ดอกเบี้ยโหด” “ถูกทวงหนี้ อย่างไม่เป็นธรรม” เป็นสถานการณ์ปัญหาอันเกิด จากหนี้ น อกระบบ ที่ เ กิ ด จากสั ญ ญาไม่ เ ป็ น ธรรม ไม่ว่าจะเป็นการเรียกดอกเบี้ยอันแสนโหดเกินกว่า กฎหมายก� ำ หนด ลู ก หนี้ ต ้ อ งจ� ำ ยอมรั บ ภาระหนี้ เกินความเป็นจริง เช่น ปล่อยดอกเบี้ยเป็นรายวัน ร้อยละ 3 เกินกว่าตามกฎหมายให้คิดได้ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี (หรืออัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน)

บางรายลู ก หนี้ ต ้ อ งส่ ง ดอกเบี้ ย เป็ น รายวันไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีเงินต้นมาช�ำระ ซึ่งเรียกกันว่า “ดอกลอย” เมื่อรวมดอกเบี้ย แล้ ว อาจมากกว่ า จ� ำ นวนเงิ น ต้ น ที่ กู ้ ม าถึ ง 10 เท่า หากลูกหนี้ผิดนัดมักแสดงพฤติกรรม ข่มขู่ท�ำร้ายร่างกาย บางรายถูกข่มขู่จนต้อง หลบหนีออกนอกพื้นที่ บางรายต้องฆ่าตัวตาย

48

ความรู้ไม่เท่าทันและความด้อยโอกาส ในการเข้าไม่ถึงแหล่งเงินทุนในระบบรวมถึง ความไม่เข้าใจกฎหมายและการท�ำสัญญาเงินกู้ ท�ำให้ลูกหนี้จ�ำนวนมากไม่สามารถเข้าถึงความ เป็นธรรมและกระบวนการยุติธรรม กระทั่ง ในหลายกรณี เจ้ า หนี้ น อกระบบสามารถใช้ ช่องทางกฎหมายในการฟ้องร้องบังคับคดีกับ ลูกหนีเ้ หล่านัน้ จนน�ำไปสูก่ ารถูกยึดทีด่ นิ ยึดทีอ่ ยู่ อาศัย สิ้นเนื้อประดาตัวไปในที่สุด กระทรวงยุติธรรม โดยศูนย์ช่วยเหลือ ลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม (ศนธ.ยธ.) จึงได้เข้ามาแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ และช่วยเหลือลูกหนี้ให้ได้รับความเป็นธรรม ในหลายกรณี


กรณี “หนี้ที่ไม่เป็นธรรม” จ.ชัยภูมิ กรณีหนีน้ อกระบบของจังหวัดชัยภูมิ กลุม่ เกษตรกร จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ เป็ น หนึ่ ง ในกลุ ่ ม ลู ก หนี้ ที่ ร ้ อ งเรี ย น มาทางศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ ฯ ว่ า ถู ก อดี ต ข้ า ราชการครู โรงเรี ย นภู เขี ย ว จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ ยึ ด ที่ ดิ น ขายทอดตลาด ท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เกษตรกรหลายรายเดื อ นร้ อ นกั น มาก โดยระหว่างปี พ.ศ. 2540 - 2547 มีนายหน้า จั ด หาคนงานเพื่ อ ส่ ง ไปท� ำ งานยั ง ประเทศ ไต้หวันเป็นเวลา 2 ปี ผ่านบริษัทจัดหางาน ชาวบ้านทีไ่ ม่มเี งินก็จะมากูจ้ ากเจ้าหนี้ เพือ่ เป็น ลูกหนีส้ ว่ นใหญ่เป็นผูส้ งู อายุ ลงลายมือชือ่ เงินส�ำรองใช้จา่ ยรายหัว ดอกเบีย้ ร้อยละ 3-5 บาท ในสั ญ ญากู ้ เ งิ น แต่ ไ ม่ ไ ด้ ก รอกตั ว เลขหรื อ ต่อเดือน จากเงิน 120,000 บาท โดยได้น�ำ ข้ อ ความใดๆ และให้ ผู ้ ที่ ต ้ อ งการเดิ น ทางไป โฉนดที่ดิน หรือ น.ส 3 มาเป็นหลักประกัน ต่างประเทศเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารพร้อม บั ต รเอที เ อ็ ม ให้ โดยตลอดระยะเวลา 2 ปี จะส่งเงินเข้าบัญชีเดือนละ 22,000 - 30,000 บาท โดยเจ้ า หนี้ จ ะกดไปทุ ก เดื อ นโดยรวมกด ไปแล้ ว จ� ำ นวนเงิ น กว่ า 180,000 บาท และภายหลั ง ถู ก เจ้ า หนี้ ห ลอกลวงยึ ด สมุ ด จนครบ 2 ปี และได้กลับมาขอโฉนดที่ดินคืน แต่ ถู ก เจ้ า หนี้ อ ้ า งว่ า ยั ง ช� ำ ระหนี้ ไ ม่ ค รบ ที่ ส ่ ง มา เป็นเพียงดอกเบี้ยต้องหาเงินมาช�ำระเพิ่มอีก 70,000 บาท และเสนอให้กลับไปท�ำงานทีไ่ ต้หวัน อีกโดยไม่มีค่าใช้จ่ายจนได้กลับไปท�ำงาน และ เมื่ อ ปี 2545 หลั ง จากกลั บ มาประเทศไทย เจ้าหนี้กลับแจ้งว่ามีหนี้ค้างอีก 300,000 บาท และกรณีอื่นๆ ยังใช้อุบายหลอกให้เซ็นสัญญา แล้วยึดโฉนดที่ดิน 49


โดยเจ้ า หนี้ น� ำ สั ญ ญาเปล่ า มากรอก จ�ำนวนเงินเอง แล้วไปฟ้องต่อศาล เพื่อจะ ยึดทรัพย์ผเู้ ฒ่าผูแ้ ก่ ผูท้ ไี่ ม่รกู้ ฎหมาย โดยอาศัย ความไม่รู้ของพวกเขาหาประโยชน์ส่วนตัวเอง พวกลู ก หนี้ ที่ ย อมท� ำ ตามยอมความ และมี อีกหลายรายที่ไม่ไปศาล ขาดนัดยื่นค�ำให้การ บางรายเดินทางไปศาลแต่เจ้าหนี้และพยาน พู ด จาให้ ห ลงเชื่ อ จึ ง เดิ น ทางกลั บ และไม่ ได้ พ บกั บ ศาล หลั ง จากกระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ แ ละประชาชน ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม ลงพื้นที่ยื่นเรื่อง แก่ส�ำนักงานศาลยุติธรรม และได้ตรวจสอบ ข้อมูลระหว่างปี 2549 - 2553 พบว่ามีคดี ถึงที่สุด แล้ ว และอยู ่ ใ นชั้นบังคับคดี จ�ำนวน 496 คดี ทุนทรัพย์กว่า 106 ล้านบาท

ทวงคืนความยุติธรรมให้ชาวบ้าน ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ฯ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ ลงพื้ น ที่ ต รวจสอบพยานหลั ก ฐานเพิ่ ม เติ ม ซึ่ ง พบว่ า มี ก ารปลอมแปลงสั ญ ญากู ้ เ งิ น ฟ้องต่อศาล และปลอมเอกสารสิทธิ จ�ำนวน 3 คดี จึงได้ส่งเรื่องฟ้องต่อศาล แต่พนักงาน อัยการจังหวัดภูเขียว มีคำ� สัง่ ไม่ฟอ้ ง เพราะตรวจ พบว่ า เจ้ า หนี้ เ คยเป็ น คู ่ ค วามฟ้ อ งร้ อ งคดี แ พ่ ง กันมาก่อน เป็นการฟ้องซ�้ำจึงได้จัดโครงการ ลงพื้นที่ให้ความรู้ ให้ค�ำปรึกษาด้านกฎหมาย และไกล่เกลี่ยกัน แต่เจ้าหนี้ไม่ให้ความร่วมมือ ชาวบ้านจึงหาทนายความฟ้องคดีอาญาต่อศาล ข้อหาปลอมแปลงเอกสาร และเจ้าหนีฟ้ อ้ งกลับ ชาวบ้านข้อหาฟ้องเท็จ 50

โดยคดี อ าญาที่ มี ก ารปลอมแปลง เอกสารสามารถช่วยให้ได้ที่ดินคืนมาได้ 4 คดี และไถ่ถอนที่ดินช่วยได้ 2 ราย อยู่ระหว่าง ด�ำเนินคดีอาญากับเจ้าหนี้เรื่องปลอมแปลง เอกสาร และฟ้องคดีแพ่งส่งมอบโฉนดที่ดินคืน และเรียกค่าเสียหาย 2 คดี เมือ่ คดีสนิ้ สุดไปแล้ว เจ้าหนี้น�ำมาใช้อ้าง จึงได้ท�ำการร้องเรียนอยู่ ในชัน้ บังคับคดี เพือ่ หาทางให้เจรจาไกล่เกลีย่ กัน แต่เจ้าหนีอ้ า้ งว่าโอนทรัพย์สนิ ทีย่ ดึ มาให้คนอืน่ ไปแล้ว ชาวบ้านจึงร้องเรียนหาความเป็นธรรม ตามยอดเงินค่าใช้จ่ายรายหัว ตามความจริง หักด้วยจ�ำนวนที่ช�ำระคืน ชาวบ้านไม่ยอมรับ ค�ำที่ศาลพิพากษาเพราะรู้สึกเสียเปรียบ จึงได้


น�ำมาตรการทางกฎหมายอาญาและภาษีมาบังคับใช้ และประสานสรรพากร ตรวจสอบภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ของเจ้าหนีพ้ บว่า มีความผิดเลีย่ งภาษีตงั้ แต่ 10 ล้านบาท ขึน้ ไป มีการฟอกเงินส่งข้อมูลให้สำ� นักงาน ปปง. ด�ำเนินการตามกฎหมาย (มาตรา 77 ตรี) พิจารณาโทษต่อไป และให้ผู้แทนกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ฯ เข้ามาร่วมในการไกล่เกลี่ย และได้ประสานงานธนาคารที่ดินหรือกองทุน หมุนเวียนเพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการไกล่เกลีย่ ช�ำระหนีใ้ ห้กบั เกษตรกร ผู้สูงอายุ ผู้มีฐานะยากจน ไม่รู้กฎหมาย ผ่อนปรนหาความเป็นธรรมให้แก่คนกลุ่มนี้จากปัญหานี้

เมื่อนักกฎหมายได้ลงมาช่วยชาวบ้านฟ้องกลับ เจ้ า หนี้ กั บ พวก และติ ด ตามเรี ย กทรั พ ย์ ทั้ ง หมดคื น ในปี พ.ศ .2554 ถึง 14 คดี สู้คดีกันจนถึงศาลฎีกา จนชาวบ้านชนะคดี ในปี พ.ศ. 2556 สิน้ สุดในชัน้ ศาลฎีกา 2 คดี และศาลอุทธรณ์ 1 คดี แต่ยงั มีอกี หลายครอบครัว ที่ยังได้รับความเดือดร้อนและไม่ได้รับความเป็นธรรม จากเจ้าหนี้นอกระบบไม่ยินยอมไกล่เกลี่ย เพราะถือว่า ได้ด�ำเนินคดีในชั้นศาลถึงที่สุดแล้ว ทางหน่วยงานจึงได้ ท�ำการช่วยเหลือแนวทางอืน่ ๆ ให้แก่ผสู้ ญ ู เสียทีด่ นิ และ ได้ด�ำเนินการทางกฎหมายเรื่องการหลีกเลี่ยงภาษีของ เจ้าหนีต้ อ่ ไป 51


เรือ่ งต้องรู:้ ค�ำแนะน�ำเบือ้ งต้นส�ำหรับการท�ำสัญญากูย้ มื เงิน

หากท่านใดที่มีปัญหาเงินๆ ทองๆ แล้วส่วนใหญ่ต้องกู้ยืมเงินเพื่อมาจุนเจือ ครอบครัว เพราะชีวิตมีความไม่แน่นอน บางที ห มุ น เงิ น ไม่ ทั น บางครั้ ง ก็ จ�ำ เป็ น ต้องกู้ หรือบางครั้งเราอาจเป็นผู้ให้กู้ ไม่ ว ่ า เราจะเป็ น ผู ้ กู ้ หรื อ ผู ้ ถู ก กู ้ อยากให้ท�ำสัญญาเอกสารการกู้กันก่อน เพราะมันมีผลทางกฎหมาย บางทีอาจไม่ เป็นไปตามที่ตกลงกันได้ ปัญหาส่วนใหญ่ ที่มักเป็นคดีความฟ้องร้องกัน เพราะกู้ มาแล้วไม่ใช้หนี้ ผู้กู้บางรายเวลาต้องการ ยืมเงินมักอ้างเหตุผลต่างๆ นานา ชักแม่นำ�้ ทั้งห้าสร้างความน่าสงสาร พอได้เงินแล้ว บอกไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย ยิ่งถ้าไม่มีสัญญา กู ้ ยื ม เงิ น ก็ จ ะถู ก ท้ า ทาย ด้ ว ยประโยค คลาสสิก “อยากได้ให้ไปฟ้อง” ภาษา ชาวบ้านมักเรียกกันว่า “โดนโกง” ดังนั้น การท�ำสัญญากู้ยืมจะท�ำให้ลดความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นได้ 52

ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และ พาณิชย์ มาตรา 650 บัญญัติว่า “อันว่ายืมใช้สนิ้ เปลืองนัน้ คือ สัญญา ซึ่งผู้ให้ยืมโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิด ใช้ไปสิ้นไปนั้นเป็นปริมาณมีก�ำหนดให้ไป แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สิน เป็นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกัน ให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมนั้น สัญญานี้ย่อม บริบูรณ์ต่อเมื่อมีการส่งมอบทรัพย์สินที่ยืม” ต้ อ งมี คู ่ ก รณี ส องฝ่ า ย ฝ่ า ย “ผู ้ กู ้ ” ตกลง กู้ยืมเงิน กับอีกฝ่าย “ผู้ให้กู้” และมีการตกลง ให้ “ดอกเบี้ย” เพื่อเป็นการตอบแทนให้แก่ ผู้ให้ยืมเงิน โดยในเอกสารสัญญากู้ยืมต้องมี 4 เรื่องส�ำคัญ คือมีคู่สัญญา เงินที่กู้ยืม สัญญา กู้ยืมเงินจะบริบูรณ์ต่อเมื่อส่งมอบเงินที่ยืม และสัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาแบบไม่มีแบบ


ืมเงิน

สัญญากู้ย

2,000

เช่ น นายแดงยื ม เงิ น นายด� ำ 10,000 บาท โดยตกลงจะคืนให้ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่ ที่มีการกู้ยืม ส่วนตอนที่จะคืนเงิน นายด�ำอาจ ไม่จ�ำเป็นต้องคืนเงินก็ได้ หากนายแดงยินดี รับเป็นทรัพย์สนิ หรือสิง่ ของ เพราะกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 656 บัญญัติว่า “ถ้าท�ำสัญญากู้ยืมเงินกัน และผู้กู้ยืม ยอมรับเอาสิ่งของ หรือทรัพย์สินอย่างอื่น แทนจ�ำนวนเงินนั้นไซร้ ท่านให้คิดเป็นหนี้ เงิ น ค้ า งช� ำ ระโดยจ� ำ นวนเท่ า กั บ ราคา ท้ อ งตลาดแห่ ง สิ่ ง ของ หรื อ ทรั พ ย์ สิ น นั้ น ในเวลาและ ณ สถานที่ส่งมอบ ถ้าท�ำสัญญากู้ยืมเงินกันและผู้กู้ยืม ยอมรั บ เอาสิ่ ง ของหรื อ ทรั พ ย์ สิ น อย่ า งอื่ น เป็ น การช� ำ ระหนี้ แ ทนเงิ น ที่ กู ้ ยื ม ไซร้ หนี้ อั น ระงั บ ไป เพราะการช� ำ ระเช่ น นั้ น ท่านให้คิดเป็นจ�ำนวนเท่ากับราคาท้องตลาด แห่งสิ่งของ หรือทรัพย์สินนั้นในเวลาและ ณ สถานที่ส่งมอบ ความตกลงกันอย่างใดๆ ขั ด กั บ ข้ อ ความดั่ ง กล่ า วมานี้ ท ่ า นว่ า เป็ น โมฆะ”

แต่สัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาแบบไม่มี แบบ กฎหมายไม่ได้บังคับให้ท�ำตามแบบ นิติกรรม แต่ในสัญญากู้ยืมเงินบางกรณี กฎหมายต้องการหลักฐานเป็นหนังสือ เพื่อเป็นหลักฐานฟ้องร้องบังคับคดีตาม มาตรา 653 วรรคแรก “การกู้ยืมเงินกว่าสองพันบาท ขึ้ น ไปนั้ น ถ้ า มิ ไ ด้ มีห ลั กฐานแห่ งการ กู้ยืมเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลง ลายมือชือ่ ผูย้ มื เป็นส�ำคัญ จะฟ้องร้องให้ บังคับคดีหาได้ไม่” หมายความว่าถ้ากูเ้ งินแค่ 2,000 บาท จะพอดีหรือน้อยกว่า ไม่ต้องท�ำหนังสือ สั ญ ญาก็ ไ ด้ ห ลั ก ฐานหนั ง สื อ ไว้ ยื น ยั น ในการฟ้องร้องคดีกันเท่านั้น เช่น นายด�ำ ให้เงินนายแดงไป 2,000 บาท ยังไม่ได้ ท� ำ สั ญ ญา แต่ ม าท� ำ สั ญ ญาภายหลั ง แบบนี้ก็ได้แค่เพียงท�ำสัญญาก่อนที่จะมี การฟ้องร้องกัน เป็นอันยืน่ เรือ่ งได้ตามกฎหมาย

53


ข้อแนะน�ำในการเขียนสัญญาที่ดี 1 ชื่อสัญญา

สัญญากูยืมเงิน

ในการเขี ย นสั ญ ญา ควรมี ชื่ อ ของสั ญ ญาให้ ชั ด เจนว่ า เป็ น สั ญ ญา เกี่ยวกับเรื่องอะไร เช่น ซื้อขาย ค�้ำประกัน ชื่อของสัญญายังบอกถึง วัตถุประสงค์ในการท�ำสัญญาด้วย 2 สถานที่ท�ำสัญญา

เพื่ อ จะได้ รู ้ ว ่ า ท� ำ ขึ้ น ที่ ไ หน เวลามี ป ั ญ หาทางคดี มี ค วามส� ำ คั ญ ในแง่กฎหมายว่าอยู่ในเขตอ�ำนาจของศาลไหนจะได้พิจารณาคดี ได้ถูกรวมถึงกรณีมีการติดอากรแสตมป์ด้วย 3 วันที่ท�ำสัญญา

เป็นวันเริม่ ต้นทางสัญญากัน จะได้นบั ระยะเวลาได้ถกู จะได้ตกลงกันว่า จะมีกำ� หนดใช้คนื ตามระยะเวลาเท่าไร 30 วัน 1 ปี เมือ่ เกิดปัญหาจะได้ รูว้ า่ สัญญาเริม่ ต้นและสิน้ สุดเมือ่ ใด ประเด็นอายุความมีความส�ำคัญมาก ควรระบุให้ชัดเจน 4 ชื่อและที่อยู่คู่สัญญา

ระบุให้ชัดเจนว่าเป็นสัญญาระหว่างใครกับใคร โดยอาจเป็นบริษัท กั บ บริ ษั ท หรื อ ระหว่ า งบริ ษั ท กั บ บุ ค คล หรื อ บุ ค คลกั บ บุ ค คล ในกรณีของบริษทั หรือนิตบิ คุ คล ต้องระบุผมู้ อี ำ� นาจกระท�ำการแทน นิติบุคคลนั้นด้วย ในกรณีของบุคคลธรรมดา ควรมีการระบุเลขที่ บัตรประชาชนของบุคคลนั้นๆ ด้วย 5 เนื้อหาของสัญญาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคู่สัญญา

การท� ำ สั ญ ญากู ้ ยื ม เงิ น ควรลงลายมื อ ระบุ ใ ห้ ชั ด ว่ า มี ก ารกู ้ ยื ม เงิ น ระหว่างกัน ระบุเงื่อนไขของสัญญา ดอกเบี้ย การช�ำระหนี้ การผิดนัด ช�ำระหนี้ รวมถึงวัตถุประสงค์การยืมเงินต้องไม่นำ� ไปใช้ในทางผิดกฎหมาย เช่น นายแดงท�ำสัญญากู้ยืมเงินนายด�ำ โดยที่นายด�ำรู้อยู่แล้วว่าเงินที่ ให้ไปนีน้ ายแดงจะน�ำไปลงทุนทายผลฟุตบอลโลก แบบนีห้ า้ มเด็ดขาด 54


6 ดอกเบี้ย

ในการกูย้ มื เงินกฎหมายให้คดิ ดอกเบีย้ กันได้ แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ เพือ่ ป้องกัน ไม่ให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบกัน กฎหมายได้ก�ำหนดจ�ำกัดอัตรา ดอกเบี้ยในการกู้ยืมเงินไว้คือ ให้คิดดอกเบี้ยได้ไม่เกินอัตราร้อยละ 15 ต่อปี (คืออัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือน) ยกเว้นกรณีเป็นสถาบัน การเงินหรือธนาคาร กฎหมายให้อ�ำนาจเรียกดอกเบี้ยได้สูงกว่าอัตรา ร้อยละ 15 ต่อปีได้ แต่ตอ้ งเป็นไปตามประกาศข้อก�ำหนดของธนาคาร ซึง่ มีกฎหมายรองรับ (พระราชบัญญัตดิ อกเบีย้ เงินให้กยู้ มื ของสถาบัน การเงิน) 7 การช�ำระหนี้

ต้ อ งมี ห ลั ก ฐานเป็ น หนั ง สื อ ลงลายมื อ ชื่ อ ผู ้ ใ ห้ กู ้ เซ็ น รับรองไว้ด้วยและออกใบเสร็จเพื่อเป็นหลักฐาน กรณี ผิดค้างช�ำระสามารถฟ้องคดีได้ 8 ส่วนท้ายของสัญญา

ลงลายมือชือ่ ทัง้ คู่ เพือ่ แสดงให้เห็นว่าทัง้ คูต่ กลงท�ำสัญญาร่วมกันแล้ว มีผลทางกฎหมาย และควรมีพยานในการท�ำสัญญา พยานรับรู้และ รับรองการท�ำสัญญา เพื่อความน่าเชื่อถือ หากมีการโต้แย้ง พยานจะ ได้ยืนยันความถูกต้องได้ 9 การด�ำเนินการเมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา

สั ญ ญาควรบอกอย่ า งชั ด เจนว่ า เมื่ อ คู ่ สั ญ ญาฝ่ า ยใด ฝ่ า ยหนึ่ ง ผิ ด สั ญ ญา จะมี ก ารด� ำ เนิ น การอะไรกั บ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง และอย่ า งไร และควรมี ข ้ อ ความระบุ ใ ห้ อี ก ฝ่ายยอมรับการด�ำเนินการนั้นๆ ด้วย เช่น จะปรับเป็น จ�ำนวนเงินเท่าไร และเพื่อเป็นหลักประกันการท�ำผิด สัญญา ควรมีการก�ำหนดให้มีการท�ำประกันอย่างใด อย่างหนึ่งไว้เสมอ 55


ตัวอย่างแบบสัญญากู้ยืมเงิน

สัญญากูย้ มื เงิน สัญญาฉบับนี้ท�ำขึ้นเมื่อวันที่ .................... เดือน ........................................ พ.ศ. .................... ณ เลขที่ ............................ หมู่บ้าน/อาคาร ........................... ตรอก/ซอย ......................................................... ถนน .......................................................................... ต�ำบล/แขวง ...................................................... อ�ำเภอ/เขต ..................................................... จังหวัด .................................................... ระหว่างข้าพเจ้า ..................................................................................................................... อายุ .................... ปี สัญชาติ ........................ เลขประจ�ำตัวประชาชน ................................................................................... ออกโดย .............................................................................. วันที่ออกบัตร ......................................................... วันบัตรหมดอายุ ......................................................... อยู่บ้านเลขที่ ...................... หมู่บ้าน/อาคาร ........................................................................ ตรอก/ซอย .................................................................................................... ถนน .................................................................................................. ต�ำบล/แขวง .............................................................................................. อ�ำเภอ/เขต ................................................................................... จังหวัด .......................................................................................................... ซึ่งต่อไปในสัญญาเรียกว่า “ผู้ให้กู้” ฝ่ายหนึ่ง กับข้าพเจ้า ............................................................................................................................... อายุ .................... ปี สัญชาติ ........................ เลขประจ�ำตัวประชาชน ................................................................................... ออกโดย .............................................................................. วันที่ออกบัตร ......................................................... วันบัตรหมดอายุ ......................................................... อยู่บ้านเลขที่ ...................... หมู่บ้าน/อาคาร ........................................................................ ตรอก/ซอย .................................................................................................... ถนน .................................................................................................. ต�ำบล/แขวง .............................................................................................. อ�ำเภอ/เขต ................................................................................... จังหวัด .......................................................................................................... ซึ่งต่อไปในสัญญาเรียกว่า “ผู้กู้” อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายตกลงท�ำสัญญากัน โดยมีข้อความส�ำคัญดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ผู้กู้ได้กู้ยืมเงินจากผู้ให้กู้เป็นเงินจ�ำนวน .................................................................................................... บาท ( ................................................................................................................................) โดยผู้ให้กู้ได้ส่งมอบเงินที่กู้ยืมด้วยวิธีการดังนี้

ผู้ให้กู้ได้โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ............................................................................................................................ ชื่อบัญชี ............................................................................ สาขา .................................................... ประเภท...................................................... เลขที่ .................................................................. จ�ำนวน ................................................................ บาท (.............................................................) ลงชื่อ ...................................................................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ............................................................................................ ผู้ให้กู้ ผู้ให้กู้ได้ส่งมอบเช็คของธนาคาร ...................................................... ประเภท....................................................................... เช็คเลขที่ ............................................................. จ�ำนวน ................................................................ บาท (.............................................................) ผูใ้ ห้กไู้ ด้สง่ มอบเงินให้แก่ผกู้ ตู้ อ่ หน้าเจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงานยุตธิ รรมจังหวัด (ผูก้ แู้ ละเจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงานยุตธิ รรม จังหวัดลงชือ่ ก�ำกับความข้อนี)้ ด้วยวิธกี ารส่งมอบเงินทีก่ ยู้ มื ดังกล่าวข้างต้น ผูก้ ไู้ ด้รบั เงินดังกล่าวเรียบร้อย แล้วตัง้ แต่เวลา ท�ำสัญญาฉบับนี้ ข้อ 2 ผู้กู้ตกลงช�ำระดอกเบี้ยให้แก่ผู้ให้กู้ในอัตราร้อยละ ..................................... ต่อปี จนถึงวันที่ช�ำระหนี้เสร็จสิ้น 56


ข้อ 3 ผู้กู้ตกลงยินยอมช�ำระหนี้เงินกู้ยืมให้แก่ผู้ให้กู้ด้วยวิธีการดังนี้ ช�ำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยภายในวันที่ .................... เดือน .................................................... พ.ศ. .................... ช�ำระเงินต้นภายในวันที่ .................... เดือน .................................................... พ.ศ. .................... ส่วนดอกเบี้ยช�ำระเป็นรายเดือนๆ ละ ...................................................................... บาท ( ............................................................) ภายในวันที่ ............................................. ของทุกๆ เดือน ผ่อนช�ำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือนๆ ละ .................................................................................... บาท (....................................................................................) โดยจะช�ำระภายในวันที่ .................... ของทุกๆ เดือน เริ่มช�ำระ งวดแรกในวันที่ .................... เดือน .................................................... พ.ศ. .................... ทั้งนี้ เมื่อผู้ให้กู้ได้รับช�ำระหนี้งวดหนึ่งงวดใดด้วยวิธีการดังกล่าวข้างต้น ผู้ให้กู้จะออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ ผู้กู้ไว้เป็นหลักฐานหนึ่งฉบับทันที ข้อ 4 ในกรณีที่ผู้กู้ช�ำระเงินต้นคืนทั้งหมดให้แก่ผู้ให้กู้ก่อนเวลาที่ก�ำหนดไว้ในสัญญานี้ การคิดดอกเบี้ยให้ คิดเพียงวันที่ช�ำระต้นเงินกันเท่านั้น ลงชื่อ ...................................................................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ............................................................................................ ผู้ให้กู้ ข้อ 5 ผู้ให้กู้จะไม่มีการคิดเบี้ยปรับ ค่าธรรมเนียม หรือประโยชน์อย่างอื่นนอกจาก ดอกเบี้ย ไม่ว่าจะเป็น เงินหรือสิ่งของ หรือโดยวิธีการใดๆ จากผู้กู้ เพื่อช�ำระหนี้ทั้งหมดหรือบางส่วน ข้ อ 6 ในกรณี ที่ ผู ้ กู ้ จ ะช� ำ ระหนี้ เ งิ น ต้ น และหรื อ ดอกเบี้ ย ให้ แ ก่ ผู ้ ใ ห้ กู ้ ไม่ ว ่ า ทั้ ง หมด หรื อ งวดหนึ่ ง งวดใด แต่ผู้ให้กู้ปฏิเสธการรับช�ำระหนี้เงินต้นและหรือดอกเบี้ยโดยปราศจากมูลเหตุ อันจะอ้างกฎหมายได้ ผู ้ กู ้ ส ามารถช� ำ ระหนี้ ดั ง กล่ า วโดยการวางทรั พ ย์ ณ ส� ำ นั ก งานวางทรั พ ย์ และผู ้ กู ้ จ ะบอกกล่ า วการช� ำ ระหนี้ โดยการวางทรัพย์ให้ผู้ให้กู้ทราบโดยพลัน ข้อ 7 เพื่อเป็นประกันการช�ำระหนี้ ผู้กู้ได้มอบ ............................................................................................ ซึ่งทรัพย์สินดังกล่าว ผู้กู้เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์โดยชอบด้วยกฎหมายน�ำมาจ�ำน�ำให้ไว้แก่ผู้ให้กู้ โดยยินยอมให้ผู้ให้กู้เป็นผู้ดูแลรักษาหรือบุคคลอื่น ที่ ผู ้ ใ ห้ กู ้ ม อบหมายเป็ น ผู ้ ดู แ ลรั ก ษา และหากผู ้ กู ้ ผิ ด สั ญ ญา ผู ้ กู ้ ยิ น ยอมให้ ผู ้ ใ ห้ กู ้ บั ง คั บ จ� ำน� ำ เอาแก่ ท รั พ ย์ สิ น ดังกล่าวได้ทันที โดยไม่จ�ำเป็นต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ผู้ให้กู้ต้องรับผิดในความเสียหายเมื่อทรัพย์สินซึ่งจ�ำน�ำนั้น สูญหาย บุบสลาย ช�ำรุดบกพร่อง วินาศภัย หรือความเสียหายอย่างใดๆ ซึ่งทรัพย์สินที่จ�ำน�ำอันอยู่ในความครอบครอง ดูแลรักษาของผู้ให้กู้หรือบุคคล อืน่ ใดซึง่ ผูใ้ ห้กไู้ ด้มอบหมายให้ดแู ลรักษาแทน หากความเสียหายนัน้ เกิดขึน้ จากความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรงจากผู้ให้กู้หรือบุคคลอื่นใดซึ่งผู้ให้กู้ได้มอบหมาย ให้ดูแลรักษาแทน ผูก้ ขู้ อให้ ............................................................................................ เป็นผูค้ ำ�้ ประกันสัญญานีต้ อ่ ผูใ้ ห้กู้ โดยท�ำหนังสือ ค�้ำประกันต่างหากให้ผู้ให้กู้ยึดถือไว้เป็นประกัน ข้อ 8 การจ�ำหน่ายหรือการโอนสิทธิเรียกร้องในสัญญาของผู้ให้กู้ ไม่ว่าทั้งหมด หรือแต่บางส่วนให้ แก่บุคคลภายนอก ผู้ให้กู้จะแจ้งเป็นหนังสือไปยังผู้กู้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหนึ่งงวดของการช�ำระหนี้เงินต้น หรือดอกเบี้ย หรือจะต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้กู้มิเช่นนั้นจะยกเป็นข้อต่อสู้ผู้กู้มิได้ ลงชื่อ ...................................................................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ............................................................................................ ผู้ให้กู้ ข้อ 9 การส่งค�ำบอกกล่าวซึง่ ตามกฎหมายหรือตามสัญญาก�ำหนดให้ตอ้ งแจ้ง หรือต้องบอกกล่าวเป็นหนังสือ ให้สง่ ทางส่งไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับตามทีอ่ ยูท่ รี่ ะบุในสัญญา หรือทีอ่ ยูท่ ผี่ กู้ แู้ ละผูใ้ ห้กแู้ จ้งการเปลีย่ นแปลงไว้เป็น หนังสือหลังสุด การแจ้งเปลี่ยนแปลงที่อยู่ตามที่ระบุในสัญญานี้ ให้แจ้งแก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ทราบภายในก�ำหนด 15 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนแปลงที่อยู่ 57


ข้อ 10 หากผู้กู้ผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด ผู้กู้ยินยอมรับผิดในความเสียหายของบรรดา ที่ผู้ให้กู้จะพึงได้รับจาก การผิดสัญญาของผู้กู้ รวมถึงการบังคับหนี้จนครบเต็มจ�ำนวนหนี้และดอกเบี้ย ข้อ 11 ในสัญญาฉบับนี้ ไม่มีข้อความที่มีลักษณะหรือมีความหมายท�ำนองเดียวกัน ดังต่อไปนี้ 11.1 ข้อสัญญาที่เป็นการยกเว้นหรือจ�ำกัดความรับผิดจากการผิดสัญญาของผู้ให้กู้ 11.2 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้บอกเลิกสัญญากับผู้กู้ หรือเรียกร้อง ให้ผู้กู้ช�ำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บาง ส่วนก่อนก�ำหนดเวลาในสัญญา โดยผู้กู้มิได้ผิดนัดช�ำระหนี้ หรือ ผิดสัญญา หรือผิดเงื่อนไขอันเป็นสาระส�ำคัญข้อใด ข้อหนึ่งในสัญญา 11.3 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้เลิกสัญญากับผู้กู้ได้โดยไม่ต้องบอกกล่าว เป็นหนังสือไปยังผู้กู้ 11.4 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้เปลี่ยนแปลงค่าอัตราค่าบริการต่างๆ เกี่ยวกับสัญญากู้ยืมเงิน ข้อ 12 เมื่อผู้กู้ได้ช�ำระหนี้เงินกู้ให้แก่ผู้ให้กู้เสร็จสิ้นตามสัญญาแล้ว ผู้ให้กู้จะเวนคืนหรือแทงเพิกถอน ลงในสัญญากู้ยืมเงินให้แก่ผู้กู้ ข้อ 13 ผู้กู้และผู้ให้กู้ตกลงให้การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อสัญญาแห่งสัญญากู้ยืมเงิน ต้องท�ำเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อผู้กู้เป็นส�ำคัญ ลงชื่อ ...................................................................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ............................................................................................ ผู้ให้กู้ ข้อ 14 หากผูก้ หู้ รือผูใ้ ห้กผู้ ดิ สัญญาข้อหนึง่ ข้อใด คูส่ ญ ั ญาฝ่ายนัน้ ยินยอมรับผิด ในความเสียหายของบรรดา ที่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งพึงได้รับจากการผิดสัญญา ข้อ 15 ผู้ให้กู้จะส่งมอบส�ำเนาหรือคู่ฉบับสัญญากู้ยืมเงินให้แก่ผู้กู้ไว้เป็นหลักฐาน หนึ่งฉบับทันทีที่ผู้กู้ ลงนามในสัญญา สั ญ ญานี้ ท� ำ ขึ้ น สองฉบั บ มี ข ้ อ ความถู ก ต้ อ งตรงกั น คู ่ สั ญ ญาอ่ า นและเข้ า ใจข้ อ ความ ในสั ญ ญา โดยตลอดดีแล้ว จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานต่อหน้าพยานเป็นส�ำคัญ ลงชื่อ ...................................................................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ........................................................................................ ผู้ให้กู้

(......................................................................................) (......................................................................................)

ลงชื่อ ...................................................................................... พยาน ลงชื่อ ........................................................................................ พยาน

(......................................................................................) (......................................................................................)

ลงชื่อ ......................................................................................

(......................................................................................) เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

ค�ำเตือนส�ำหรับคู่สัญญา 1. กอ่ นทีจ่ ะลงนามในสัญญากูย้ มื เงิน คูส่ ญ ั ญาควรอ่านและตรวจสอบรายละเอียดของสัญญา ให้เข้าใจชัดเจน หากคูส่ ญ ั ญามีขอ้ สงสัยใด ๆ ควรปรึกษาเจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงานยุตธิ รรมจังหวัด 2. สัญญากู้ยืมเงินต้องปิดอากรแสตมป์จ�ำนวนหนึ่งบาทของจ�ำนวนเงินต้นทุกๆ สองพันบาท หรือเศษของสองพันบาท ดาวน์โหลดได้ที่ www.moj.go.th 58


เรื่องที่ 13

กรมสอบสวนคดีพิเศษ คดีประวัติศาสตร์

ทวงคืนที่ดินให้ชาวเลราไวย์ กรณี ท วงคื น ที่ ดิ น ให้ ช าวเลราไวย์ เมื่อปี 2559 นับเป็นคดีประวัติศาสตร์ที่เกิดจาก ความร่ ว มมื อ ครั้ ง ส� ำ คั ญ ระหว่ า งกรมสอบสวน คดี พิ เ ศษ (ดี เ อสไอ) สถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ กรมศิลปากร สถาบันวิจัยเพื่อสังคม จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ผู ้ เชี่ ย วชาญของศาลยุ ติ ธ รรม ด้านการอ่านแปลวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศ มูลนิธิชุมชนไทในการรวบรวมหลักฐานปัจจุบัน และหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ในการทวงคืนสิทธิ ในการเป็นเจ้าของที่ดินให้กับชาวเลไวย์ ในพื้นที่ ที่มีการก่อตั้งรกรากมายาวนานกว่า 7 ชั่วอายุคน หลังจากที่ชาวเลราไวย์ ในจังหวัดภูเก็ต กว่า 2,067 คน จ�ำนวน 247 ครัวเรือนในพื้นที่ 19 ไร่ ถู กฟ้อ งขับ ไล่จากนายทุนให้ออกไป จากที่ดินของตัวเองที่ชาวเลราไวย์อยู่มาตั้งแต่ ครั้งบรรพบุรุษ โดยเป็นการออกโฉนดที่ดิน ทับพื้นที่ จ�ำนวน 15 ไร่ ในพื้นที่ของพวกเขา โดยบุ ค คลภายนอกที่ เ ข้ า มาอยู ่ ภ ายหลั ง ใช้ประโยชน์ทางกฎหมายไปแจ้งการครอบครอง สิทธิก ารท� ำ ประโยชน์ ใ นการใช้ ที่ ดิ น และ ก่ อ นหน้ า ที่ ก รมสอบสวนคดี พิ เ ศษจะเข้ า ไป ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ศาลพิ พ ากษาชั้ น ต้ น ก็ ไ ด้ พิ พ ากษาขั บ ไล่ ช าวเลราไวย์ ทั้ ง 9 ราย

ซึ่งคดีนี้ยังอยู่ระหว่างการอุทธรณ์ค�ำพิพากษา เพราะชาวเลราไวย์ไม่สามารถไปหาหลักฐาน ก่อนที่มีการออก ส.ค.1 ก่อนปี 2549 มายืนยัน สิทธิและเจ้าหน้าที่กรมที่ดิน ยังได้ยืนยันอีกว่า ได้ อ อกที่ ดิ น ดั ง กล่ า วให้ ถู ก ต้ อ งตามระเบี ย บ ของกรมที่ ดิ น จึ ง ท� ำ ให้ ศ าลพิ พ ากษาว่ า เอกสารสิทธิของฝ่ายโจทย์เป็นเอกสารมหาชน ที่ออกให้โดยรัฐ เมื่อชาวเลราไวย์ไม่สามารถ หาพยานหลักฐานมาโต้แย้งสิทธิได้ สิทธิที่ดิน ตรงนั้นจึงต้องตกเป็นของโจทย์ จึงมีค�ำสั่งให้ ชาวเลราไวย์ออกจากพื้นที่ 59


กรมสอบสวนพิเศษค้นหลักฐานร้องศาลพิจารณาความเป็นธรรม ดูเหมือนว่าชาวเลราไวย์ตอ้ งยอมจ�ำนน กั บ ค� ำ พิ พ ากษานั้ น แต่ ก ระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยกรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้สืบสวนเรื่องนี้ เพือ่ หาพยานหลักฐานใหม่ เพือ่ ให้ความเป็นธรรม แก่ชาวเลราไวย์ จึงสืบเสาะหาหลักฐานอีกครั้ง และได้ พ บหลั ก ฐานที่ ส ามารถพิ สู จ น์ ไ ด้ ว ่ า ชาวเลราไวย์ได้อาศัยอยู่ก่อนการออก ส.ค.1 และโฉนดทีด่ นิ ของโจทก์ ไม่วา่ จะเป็นภาพถ่าย ทางอากาศย้อนอดีต โครงกระดูกที่ขุดค้นพบ ทีพ่ นื้ ทีพ่ พิ าทซึง่ ตรวจ DNA แล้วมีความสัมพันธ์ กับคนในชุมชนในลักษณะเครือญาติโดยเฉพาะ เจ้าของบ้านที่ท�ำการขุดค้น ทะเบียนนักเรียน เล่ ม แรกของโรงเรี ย นวั ด สว่ า งอารมณ์ ที่ พ บ รายชื่อชาวเลราไวย์เข้ามาศึกษาก่อนปี พ.ศ. 2497 (ก่อนออก ส.ค.1) และยังมีชีวิตอยู่บางส่วน รวมถึ ง พยานหลั ก ฐานอื่ น ๆ มาประกอบ เพื่อเสนอต่อศาลจังหวัดภูเก็ต เมือ่ วันที่ 13 ธันวาคม 2559 ศาลจังหวัด ภูเก็ตจึงได้ยกฟ้องคดีนายทุนขับไล่ชาวเลราไวย์ ถึง 7 คดี เพราะมีพิรุธน่าสงสัยหลายอย่าง

60

ในหลักฐาน ไม่ว่าจะเป็น ส.ค 1 และใบไต่สวน ในการออกโฉนดที่ดินแปลงพิพาท เพราะมี การเพิ่มเติมข้อความเป็นเท็จ และไม่กรอก ข้อความที่ส�ำคัญว่ามีชาวเลราไวย์อาศัยอยู่ใน พื้นที่มาก่อนการออกโฉนด ท�ำให้ศาลสงสัยว่า ผูท้ มี่ ชี อื่ ในโฉนดทีด่ นิ เป็นผูท้ มี่ สี ทิ ธิในทีด่ นิ หรือไม่ เมือ่ มีเหตุอนั ควรสงสัย ศาลจึงพิพากษายกฟ้อง แม้ ว ่ า คดี นี้ ก รมสอบสวนคดี พิ เ ศษ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเข้ามาช่วยเหลือ ชาวเลราไวย์ แต่คดีก่อนหน้าที่ชาวเลราไวย์ ต้องแพ้คดี และคดีถึงที่สุดแล้ว ต้องถูกบังคับ ให้ รื้ อ บ้ า น ทั้ ง ที่ มี พ ยานหลั ก ฐานเหมื อ นกั บ คดีที่ชนะ แต่ไม่มีช่องทางน�ำพยานหลักฐาน เข้าสู่การพิจารณา แต่อย่างน้อยความพยายาม ในการทวงคื น ความยุ ติ ธ รรมครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ ชาวเลราไวย์ไม่นอ้ ยกว่า 1500 ชีวติ ได้มโี ฉนดทีด่ นิ เลขที่ 8324 กว่า 12 ไร่ และได้สิทธิครอบครอง แบบถูกกฎหมาย ในพื้นที่ทพี่ วกเขาอยูม่ าตัง้ แต่ ครั้งบรรพบุรุษ เป็นการทวงสิทธิที่พวกเขาพึงมี พึงได้อย่างเป็นธรรม


เรื่องที่ 14

สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ การตรวจสารพันธุกรรมDNA เพื่อคืนสิทธิในฐานะคนไทย

ก�ำแพงเรือนจ�ำ... ไม่อาจปิดกั้นความเป็น พ่ อ ลู ก ผู ้ ต ้ อ งขั ง ชายคนหนึ่ ง ยิ้ ม อย่ า งมี ค วามสุ ข เมื่ อ เข้ า รั บ การจั ด เก็ บ สารพั น ธุ ก รรม เพื่ อ เปรี ย บ เทียบความเป็นพ่อกับลูกสาววัย 12 ปี ที่รอคอย ผลการตรวจสารพั น ธุ ก รรมนี้ ไ ปประกอบการ พิ จ ารณาการมี สั ญ ชาติ ไ ทย เขาได้ ท� ำ หน้ า ที่ ของความเป็นพ่อให้กบั ลูกสาว ซึง่ จะต้องเข้าเรียนต่อ แต่ขาดหลักฐานส�ำคัญ “ผมได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นนักโทษ ชั้นดีด้วยครับ อีกไม่นานผมจะได้ไปอยู่กับแม่ และลูก ขอบคุณมากนะครับ” เสียงแห่งความดีใจ ที่ ไ ด้ ท� ำ หน้ า ที่ พ ่ อ เพื่ อ พิ สู จ น์ สั ญ ชาติ ใ ห้ ลู ก เชือ่ ว่ายังมีคนจ�ำนวนอีกไม่นอ้ ยทีเ่ กิดมา “ไม่ม”ี เอกสารรับรองสัญชาติไทย และยังไม่มีบัตร ประชาชนอีกด้วย สาเหตุอาจเกิดจากตกส�ำรวจ

พ่อแม่ไม่แจ้งเกิด ถูกทอดทิง้ ขาดความรูค้ วามเข้าใจ ในการรั บ รองสถานะทะเบี ย น รวมถึ ง ไม่ มี เอกสารหรือบุคคลเป็นพยานเพือ่ ยืนยันสัญชาติ หลายคนต้องกลายเป็นคน “ไร้สัญชาติ” เพราะไม่มี บัตรประชาชน ท�ำให้ไม่ได้รับสิทธิที่คนไทย ควรได้

สิทธิที่คนไทยควรได้ การศึกษา

การรักษาพยาบาล

การสมัครงาน

สวัสดิการพื้นฐานอื่นๆ

การเดินทางไปต่างประเทศ

รับราชการ 61


กระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยสถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ จึ ง จั ด โครงการตรวจสารพั น ธุ ก รรม DNA เพื่ อ ยื น ยั น การมี สั ญ ชาติ ไ ทยและเปิ ด โอกาสให้ ข อรั บ การตรวจสารพั น ธุ ก รรมได้ โดยไม่ มี ค่าใช้จ่ายให้แก่คนที่ไร้สถานะมีปัญหาทางทะเบียนราษฎร โดยได้น�ำการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม มาเปรี ย บเที ย บความสั ม พั น ธ์ กั บ คนในครอบครั ว เพื่ อ ใช้ ใ นการแก้ ป ั ญ หาทะเบี ย นราษฎรและ ได้ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยเหลือชาวบ้าน ซึ่งมีผู้ขอตรวจพิสูจน์ปีงบประมาณละ 1,600-2,000 ราย โดยนอกจากจะให้ ผู ้ ข อรั บ การตรวจเพื่ อ เข้ า รั บ การจั ด เก็ บ สารพั น ธุ ก รรม ที่สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ (กรุงเทพมหานคร) แล้ว สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ยังให้บริการจัดเก็บสาร พันธุกรรมในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ กรณีทไี่ ม่สามารถเข้ารับการตรวจได้ เช่น กรณีการจัดเก็บสารพันธุกรรมของผูต้ อ้ งขัง ในเรือนจ�ำ อย่างในกรณีผู้ต้องขังชายข้างต้น การใหสัญชาติเท่ากับเป็นการคืนสิทธิขั้นพื้นฐานให้กับ ประชาชน ในเรื่องการศึกษา การสมัครงาน การเดินทางไปต่างประเทศ ตลอดจนสิทธิขั้นพื้นฐานอื่นๆ อย่างการรักษาพยาบาล การให้สิทธิในการตรวจสารพันธุกรรม DNA แบบไม่มีค่าใช้จ่ายที่สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ท�ำอยู่ ในทางหนึ่งก็เป็นการเปิดโอกาสในการเข้าถึงความเป็นธรรมเช่นเดียวกัน เพราะส�ำหรับบางคน คงไม่ตอ้ งพูดถึงค่าใช้จา่ ยในการตรวจสารพันธุกรรม แค่เพียงค่าเดินทางยังต้องใช้เวลา หลายเดือนเพือ่ รวบรวมเงินมาเป็นค่าใช้จา่ ย คุณย่าผูเ้ ลีย้ งหลาน 12 ปี คนหนึง่ ทีล่ กู ชายอยูใ่ นเรือนจ�ำ คุณย่า บอกกับเจ้าหน้าทีว่ า่ “รอย่าวิดบ่อปลาข้างบ้านก่อน ก็นา่ จะพอมค่ารถ เดินทางพาหลานไปตรวจค่ะ” 2 เดือน ผ่านไป เจ้าหน้าที่แจ้งว่า “คุณย่าคะ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ มีโครงการที่ลงพื้นที่ ไม่ไกลจากบ้านคุณย่า จะได้ไม่ต้องเดินทางมาให้เสียค่าใช้จ่าย” แต่คุณย่าปฏิเสธ ยืนยันว่าจะวิดบ่อปลาสัปดาห์หน้าและต้องการ เดินทางมาเพราะจะได้พาหลานไปเยี่ยมลูกชายในเรือนจ�ำด้วย นีค่ อื อีกหนึง่ ครอบครัวทีต่ อ้ งดิน้ รนเพือ่ การได้มสี ญ ั ชาติไทย และการมีโอกาสเพือ่ จะได้รบั สิทธิ พื้นฐานของการเป็นคนไทย

ขั้นตอนการขอรับบริการตรวจสารพันธุกรรม

ผู้ที่ต้องการขอรับบริการตรวจสารพันธุกรรม สามารถติดต่อขอรับบริการได้ที่ ที่ว่าการอ�ำเภอ ส�ำนักงานเขต มูลนิธิฯ ยุติธรรมจังหวัด จัดส่งหนังสือเพื่อขอความอนุเคราะห์ตรวจสารพันธุกรรม จากสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ เมื่อผ่านการตรวจสอบข้อมูลและเมื่อได้รับการอนุมัติแล้ว เจ้าหน้าที่ จะนั ด หมายผู ้ ข อรั บ การตรวจเพื่ อ เข้ า รั บ การจั ด เก็ บ สารพั น ธุ ก รรมที่ ส ถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ (กรุงเทพมหานคร) หรือนัดหมายการจัดเก็บสารพันธุกรรมในพื้นที่ต่างๆ หากพื้นที่นั้นมีผู้รับการตรวจ เป็นจ�ำนวนมาก หรือกรณีที่ไม่สามารถเข้ารับการตรวจได้ เช่น ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ

ขั้นตอนการจัดเก็บสารพันธุกรรม

62

1 การลงทะเบียนจัดท�ำข้อมูลประวัติรายบุคคลของผู้เข้ารับการตรวจ และการลงนามยินยอม

ให้ตรวจสารพันธุกรรม 2 การพิมพ์ลายพิมพ์นิ้วมือ/ฝ่ามือ เพื่อประกอบข้อมูลประวัติรายบุคคล 3 การถ่ายภาพของผู้เข้ารับการตรวจ 4 การจัดเก็บสารพันธุกรรม


การรายงานผลการตรวจสารพันธุกรรม สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จะแจ้งผลการตรวจกลับไปยังหน่วยงาน ที่ร้องขอเป็นเอกสารลับและจัดส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน มีรายงาน ผลการตรวจ ดังนี้ 1 หนังสือแจ้งผลการตรวจ 2 รายงานการจัดเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจพิสูจน์และ ภาพประกอบรายงานการตรวจพิสูจน์ 3 รายงานผลการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรมและภาพถ่าย ประกอบรายงานผลการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม โดยใช้ระยะเวลาในการด�ำเนินการเฉลี่ยประมาณ 55 วัน ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของการตรวจพิสูจน์

ติดต่อสอบถาม กลุ่มนิติเวชคลินิก กองนิติวิทยาศาสตร์บริการ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 : 0 2142 3571 63


เรื่องที่ 15

กรมบังคับคดี ปลดล็อคปัญหาหนี้ชั้นบังคับคดี ด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทฯ

ไม่มีใครอยากเป็นลูกหนี้ แต่เพราะความ “ไม่ มี ” ไม่ ว ่ า จะเป็ น หนี้ สิ น ที่ เ กิ ด จากครั ว เรื อ น หนี้รายย่อย หนี้บัตรเครดิต หนี้ กยศ. กลายเป็น “หมุนเงิน” ไม่ทัน จนต้องขึ้นโรงขึ้นศาล ต้องถูก ยึ ด ทรั พ ย์ อายั ด ทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ น� ำ มาช� ำ ระหนี้ ในท้ายทีส่ ดุ

หนี้

ผลจากการบังคับคดีท�ำให้ลูกหนี้ต้องจมอยู่กับความเครียดกับดอกเบี้ยที่ต้องรับผิดชอบ และยิ่งไม่มี ทรัพย์สินลูกหนี้ก็จะยิ่งทวีความเครียด โครงการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี กรมบังคับคดี จึงเสมือนการปลดล็อคในการแก้ปัญหา และเป็นการช่วยให้เจ้าหนี้ได้รับช�ำระหนี้ ช่วยให้ลูกหนี้ ไม่ต้องถูกบังคับคดี ถูกฟ้องร้องล้มละลาย ลดปัญหาครัวเรือนของประเทศ ทั้งยังให้ความยุติธรรม อย่างเท่าเทียมกันทั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้ หนึ่ ง ในลู ก หนี้ ที่ เข้ า กระบวนการไกล่ เ กลี่ ย ข้ อ พิ พ าทฯ เล่ า ว่ า “จากหนี้ ที่ เราไม่ มี เ งิ น ผ่ อ นแบงก์ เริ่ ม จากมี บ ริ ษั ท บริ ษั ท หนึ่ ง ที่ เราท� ำ เกี่ ย วกั บ ไร่ อ ้ อ ยเขาเอาหลั ก ทรั พ ย์ ข องเราไปบั ง คั บ เราขายฝาก แล้ ว ที นี้ เราก็ โ ดนคดี นี้ ว ่ า เราไม่ มี ผ ่ อ น แล้ ว ที นี้ เราจะผ่ อ นเขา เขาบั ง คั บ ให้ เราถ้ า จะผ่ อ นให้ ผ่อนให้ครบ เป็นเงินจ�ำนวนสองล้าน วันที่จะไปผ่อนเขา เขาเพิ่มขึ้นอีกเป็นหลักแสน วันนี้ขึ้นแสนนึง จากเป็ น หนี้ น อกระบบเราก็ เ ลยไปขอ บสก. ท่ า นก็ เ ลยส่ ง เรามาที่ นี่ แล้ ว เรามาประนอมหนี้ ที่ นี่ ตอนแรกเราคิดนะคะว่าเราจะไปอยู่ที่ไหนจะพาลูกพาหลานไปอยู่ที่ไหน ไปนอนที่ไหน ไม่มีที่นอน ไม่มีบ้านอยู่ แล้วทีนี้มาเจอแบบนี้ประทับใจมาก ท่านให้เราผ่อนตามความสามารถของเรา เราก็เลยยื่น ไปว่า สองล้านบาท และอีกส่วนหนึ่ง แปดแสนบาท ดอกเบี้ยท่านจะคิดเริ่มต้นที่ล้านสอง ให้เราผ่อนแค่ ล้านสอง เราขอผ่อน 7 ปี ท่านเสนอให้เราส่งเดือนละหมื่นสอง เราภูมิใจมาก พอใจมาก ประทับใจมาก เราถึงกับน�ำ้ ตาไหลเลยค่ะ พูดกับท่านน�ำ้ ตาไหลเลยว่า ตอนนีเ้ รามีบา้ นอยูแ่ ล้ว เราจะขยันเพิม่ ขึน้ เราเป็นคน ท�ำเกษตร และทีนเี้ ราขอระยะเวลา 7 ปี เราจะพยายามสองล้านให้หมดจะไม่ให้ใครเสียใจ เราอยากได้บา้ นเราคืน เราจะไม่ยอมขายให้ใคร ถ้าใครจะซือ้ จะไม่ยอมขายจะอาศัยความขยันของเราเพิม่ ขึน้ ครอบครัวนีจ้ ะขยันเพิม่ ขึน้ 64


เรื่องที่ 11

ในงาน “โครงการมหกรรมไกล่ เ กลี่ ย ข้ อ พิ พ าทชั้ น บั ง คั บ คดี จั ง หวั ด นครราชสี ม า” เมื่ อ วั น ที่ 21 กรกฎาคม 2561 เธอเป็ น หนึ่ ง ในลูกหนี้ที่เข้าร่วมโครงการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ชั้ น บั ง คั บ คดี โดยกรมบั ง คั บ คดี นั บ ตั้ ง แต่ ปี 2540 ที่ มี ค ดี ค ้ า งอยู ่ ก ว่ า 400,000 คดี นี่ เ ป็ น แนวทางหนึ่ ง ที่ ไ ม่ เ พี ย งช่ ว ยให้ ล ดภาระ การด� ำ เนิ น การบั ง คั บ คดี ในเวลาเดี ย วกั น ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายและช่วยในเรื่องผลกระทบ ต่อภาพรวมของเศรษฐกิจประเทศ ที่ผ่านมาเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ชั้นบังคับคดี กรมบังคับคดี ได้ด�ำเนินการในเรื่อง ต่างๆ ได้แก่ 1. จัดให้มีการไกล่เกลี่ยกัน เพื่อช่วยเหลือ ลูกหนี้ที่มีรายได้น้อย พวกเกษตรกร ต้องเป็น หนี้นอกระบบ 2. ช่วยให้เจ้าหนี้ได้รับช�ำระหนี้ 3. ช่ ว ยให้ ลู ก หนี้ ไ ม่ ต ้ อ งถู ก บั ง คั บ คดี ถูกฟ้องร้องล้มละลาย 4. ลดปัญหาครัวเรือนของประเทศ 5. ให้ความยุตธิ รรมอย่างเท่าเทียมกันทัง้ เจ้า หนี้และลูกหนี้ 6. เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการแก้ ป ั ญ หาให้ มี คุณภาพชีวิตที่ดี 7. ให้ ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเรื่ อ งกฎหมาย เช่น กู้ยืม ค�้ำประกัน จ�ำน�ำ จ�ำนองขายฝาก 8. ลงพื้นที่ให้ความรู้ทางกฎหมายน�ำนอง จ�ำน�ำ ขายฝาก ค�ำ้ ประกัน การวางทรัพย์ ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท 9. ให้ความรู้ทางการเงินและค�ำปรึกษา กฎหมาย 10. คุณภาพชีวิตลูกหนี้ดีขึ้น

“ขอบคุ ณ มากขอบคุ ณ โครงการนี้ ท� ำ ให้ เรา มี ก� ำ ลั ง ใจ ท� ำ ให้ เ รามี ที่ อ ยู ่ มี ส มาธิ ใ นการ ครองตั ว และก็ ท� ำ งาน ให้ ค รอบครั ว เราเข้ ม แข็ ง ขึ้ น ขอบคุ ณ มาก ขอบคุ ณ จริ ง ๆ ค่ ะ ฝากถึ ง ทุ ก คนที่ เ ป็ น หนี้ อย่ า ท้ อ ถอยแต่ ใ ห้ สู ้ ต ่ อ ยั ง ไง มันก็หมด ท่านขยายเวลาให้เราแล้ว เราอย่าไป พยายามเบี้ยวหนี้ มีเท่าไหร่รีบส่ง ถ้าไม่มีก็ต้องไป ติดต่อ คือเราจะไม่ขาดการติดต่อแล้ว ขอบคุณมาก” ลู ก หนี้ ท่ี เข้ า ร่ ว มโครงการมหกรรมไกล่ เ กลี่ ย ข้อพิพาทชั้นบังคับคดีจังหวัดนครราชสีมา กล่าว และนี่เป็นเพียงเสียงสะท้อนเล็กๆ จากหลายหมื่น หลายพั น คดี ข องลู ก หนี้ ที่ ไ ด้ รั บ การไกล่ เ กลี่ ย ข้อพิพาท

ขั้นตอนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ชั้นบังคับคดี ยื่นค�ำร้อง ขอไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

30 นาที

1 2 3

ตรวจสอบข้อมูล และตั้งส�ำนวน

เจรจาไกล่เกลี่ย ข้อพิพาท

10 นาที

รับค�ำร้อง ขอไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

จัดท�ำหนังสือแจ้งวันนัด 4 ให้คคู่ วาม ผูม้ สี ว่ นได้เสีย แจ้งวันนัดผูไ้ กล่เกลีย่

20 นาที

5 6

บันทึกผลไกล่เกลี่ย และข้อตกลง

5

นาที

65


เรื่องที่ 16

ยุติธรรมที่พึ่งได้

ในขณะที่ปัญหาอาชญากรรมมีความรุนแรงและโหดร้ายมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการฆาตกรรม การทะเลาะวิวาท การข่มขืนกระท�ำช�ำเราทางเพศ จากสิง่ ทีป่ รากฏให้เห็นในข่าวยังพบว่า ผูก้ อ่ เหตุมอี ายุ น้อยลง มีพฤติกรรมเลียนแบบ ขณะที่วิธีการเริ่มโหดเหี้ยมมากขึ้นเรื่อยๆ หลายคดีที่เศร้าสะเทือนใจ พบว่า เด็กที่ก่ออาชญากรรมในฐานะ “ผู้กระท�ำ” และตกเป็นผู้ต้องหากระท�ำความผิดนั้นมาจาก การขาดความรักความอบอุ่นเด็กไม่ได้อยู่กับพ่อแม่อย่างใกล้ชิด การลดอาชญากรรมและความรุนแรง จึงต้องเริ่มตั้งแต่ในบ้าน โรงเรียนและสังคม ดังนั้น ในนโยบายของการ “ป้องกันอาชญากรรม” จึงให้ความส�ำคัญอย่างมากกับการท�ำงานอย่างมีสว่ นร่วมกับ ทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็น พ่อแม่ ครู ฯลฯ เพื่อให้ปัญหาเหล่านี้ลดลงในอนาคต ภายใต้กรอบการท�ำงาน แนวนโยบายป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่จะท�ำให้เป็นที่พึ่งส�ำหรับประชาชน

กระทรวงยุติธรรม กับนโยบายป้องกันอาชญากรรม กรอบแนวทาง 6 ด้านสู่การแก้ปัญหา

คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) ได้ เข้ า มาให้ ค วามรู ้ ดู แ ลเพื่ อ ป้ อ งกั น อาชญากรรม ในด้านบังคับใช้กฎหมายให้ความยุตธิ รรมส�ำหรับประชาชนได้ให้ กรอบแนวทางในการป้องกันอาชญากรรมไว้ 6 ด้าน ได้แก่

1 ด้านสภาพแวดล้อม ได้จดั ท�ำพืน้ ทีล่ ดความเสีย่ งการเกิดอาชญกรรม เช่น ติดไฟฟ้าให้แสงสว่างเพียงพอ ปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยว ไม่ให้ประชาชนรูส้ กึ หวาดกลัว ติดกล้อง CCTV ทุกพืน้ ทีท่ ี่ เสีย่ ง เข้มงวดสถานบันเทิงแหล่งมัว่ สุมเพือ่ ไม่ให้เกิด ปัญหาอาชญกรรม 66

อาสาสมัคร

2 การมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลชุมชน จัดเครือข่ายยุติธรรมชุมชน อาสาสมัคร เพื่อดูแลแจ้งเบาะแสหากเกิดเรื่องไม่ดี


3 ป้องกันการกระท�ำผิดซ�ำ้ ดูแลช่วยเหลือผู้ติดยาเสพติด ผู้ที่เพิ่งออกจากเรือนจ�ำ จัดการ อบรมให้คำ� ปรึกษา จัดหาแหล่งทุน แหล่งงานและปรับทัศนคติ ให้คิดดีท�ำดี มีอาชีพที่สุจริต 4 เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสท�ำผิด คอยจั บ ตาคนติ ด ยาเสพติด ไม่มีอาชีพ ท�ำมาหากิน พวกนักเลงอันธพาล กลุ่มนี้ เป็นกลุ่มเสี่ยงมีโอกาสกลับไปท�ำผิดซ�้ำอีก

5 ลดโอกาสการตกเป็นเหยื่อ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้นักท่องเที่ยวต่างชาติ เด็ก สตรี คนชรา ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อ จัดระบบ ป้องกันอาชญากรรม และพัฒนาศูนย์รบั แจ้งเหตุ

6 การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรในการป้องกันอาชญากรรม น� ำ เทคโนโลยี เ ก็ บ ข้ อ มู ล อาชญากรรม พั ฒ นาเจ้ า หน้ า ที่ มีความรู้และจะมีการตรวจสอบทั้ง 6 ด้านนี้ยังใกล้ชิด ให้ยุติธรรม จังหวัดนั้นๆ เป็นผู้ดูแล

ตรวจสอบมาตราการต่างๆ ของกรอบแนวทางการป้องกันอาชญากรรม Step 1

ตรวจสอบ มาตรการต่างๆ

ภารกิจของ ยุติธรรมจังหวัด และภารกิจหน่วยงานอื่น รับผิดชอบ

Step 2

จัดท�ำ แผนโครงการ ระยะสั้น 1 ปี ระยะยาว 2 - 4 ปี ต้องใช้งบประมาณ หรือไม่

Step 3

ด�ำเนินการ งบประมาณ

Step 4

ด�ำเนินกิจกรรม โครงการ

เสนองบท้องถิ่นจังหวัด หรือกระทรวงยุติธรรม

67


น�ำร่องมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแข่งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ มาตรการป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หา การแข่งรถยนต์และรจักรยานยนต์ ถือเป็นหนึง่ ในโครงการน�ำร่องภายใต้แนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติ ให้ เ ป็ น ไปตามค� ำ สั่ ง หั ว หน้ า คณะรั ก ษา ความสงบแห่งชาติที่ 22/2558 ศอ.กต จึงได้มมี าตรการทีเ่ ข้มงวดกับร้านทีจ่ ำ� หน่ายสุรา โดยเฉพาะสถานบริการ ร้านที่ขายแอลกอฮอล์ อยู่บริเวณสถานศึกษา รวมไปถึงร้านแต่งรถ โดยทั้งหมด จะสามารถน�ำมาเก็บไว้ในระบบข้อมูล และมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพือ่ ให้ ศอ.กต. ท� ำ งานง่ า ยขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง การเปิ ด ให้ ป ระชาชนทั่ ว ไปสามารถแจ้ ง เหตุ ร้องเรียน เช่น เมาทะเลาะวิวาท เมาแล้วซิ่งแข่งรถ โดยสามารถชี้จุดเป็นภาพถ่าย และวิ ดิ โ อ โดยน� ำ ข้ อ มู ล ในที่ เ กิ ด เหตุ ม าแชร์ แ ละเป็ น ข้ อ มู ล ในการป้ อ งกั น และ ปราบปราม เพื่อป้องกันปัญหาการก่ออาชญากรรมในวัยรุ่นต่อไป โดยขั้นตอน การแจ้งเหตุ สามารถด�ำเนินการได้ตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนการแจ้งเหตุ 1. scan QR-CODE หรือ ป้อน URL Browser www.gistda.or.th/iza 2. บันทึกเหตุการณ์ผ่านแบบฟอร์มในระบบฯ 3. Upload รูปภาพหรือวิดีโอ 4. บนั ทึกต�ำแหน่งของจุดเกิดเหตุ เจ้าหน้าทีด่ แู ลระบบฯ จะท�ำการคัดกรองข้อมูลและด�ำเนิน ขั้นตอนตามกระบวนการทางกฎหมายต่อไป *ระบบนี้ เป็นระบบฯ Demo (ไม่สามารถใช้ในการเอาความกฎหมายได้จริง) จั ด ขึ้ น มาเพื่ อ ให้ ป ระชาชนน� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาระบบฯ เพื่ อ ใช้ ในการด�ำเนินการ ทางกฎหมายได้จริงในอนาคต หากมีคำ� ถามสงสัย สามารถสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ gis.22.2558@gmail.com

แจ้งเหตุการณ์ การกระท�ำผิดกฎหมายร้านจ�ำหน่ายสุราและ สถานบันเทิง : www.gistda.or.th/iza

68


เรื่องที่ 17

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน สร้างแนวร่วมสถานศึกษาเครือข่ายฯ ป้องกันการกระท�ำผิดในเด็ก

จากแนวโน้ ม อาชญากรรมที่ ผู ้ ก ระท� ำ ความผิดมีอายุลดลง ข้อค้นพบที่น่าสนใจกว่านั้น ยั ง พบว่ า เด็ ก ที่ ก ระท� ำ ความผิ ด ส่ ว นใหญ่ มักเป็นเด็กที่ต้องออกจากสถานศึกษากลางคัน เด็ ก กลุ ่ ม นี้ จึ ง ถื อ เป็ น เด็ ก กลุ ่ ม เสี่ ย งที่ ค วรได้ รั บ การดูแลเพื่อป้องกันเด็กและเยาวชนออกจาก ระบบการศึกษาและเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม วิ ธี ก า ร ป ้ อ ง กั น ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ที่ ส า ม า ร ถ ล ด จ� ำ น ว น เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ที่ ก ระท� ำ ผิ ด กฎหมายได้ ย ่ อ มท� ำ ให้ สั ง คม มีความปลอดภัย สงบเรียบร้อย ลดความเสี่ยง ส� ำ หรั บ ตั ว เด็ ก และผู ้ ป กครองเองในอนาคต ต ล อ ด จ น ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง สั ง ค ม ที่ มี ต่ออาชญากรรม กระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยกรมพิ นิ จ และ คุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน จึ ง ได้ จั ด โครงการ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น สถานศึ ก ษาร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ย เพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาพฤติ ก รรมเสี่ ย ง ของเด็กๆ โดยร่วมกับสถานศึกษาในเครือข่าย ในการท� ำ งานในเชิ ง ป้ อ งกั น และติ ด ตาม เพื่ อ ลดภาวะเสี่ ย ง รวมไปถึ ง การปรั บ เปลี่ ย น พฤติ ก รรมเด็ ก ด้ ว ยการให้ ค วามรู ้ ต ่ า งๆ แก่เด็กนักเรียน นักศึกษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับ กระบวนการยุ ติ ธ รรมต่ า งๆ โทษและพิ ษ ภั ย ยาเสพติด บุหรี่ รวมถึงเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกัน ปัญหาท้องในวัยเรียน ซึ่งเป็นความรู้ที่ท�ำให้เด็ก สามารถเอาตัวรอดเมื่อเจอปัญหา ในโครงการ ยังมีการให้ค�ำปรึกษาเป็นรายบุคคล และร่วมกับ

คุณครูในการช่วยดูแล สังเกตประเมินพฤติกรรม เด็กนักเรียนว่าพฤติกรรมเสี่ยงหรือไม่ และให้ แนวทางหรือค�ำแนะน�ำกับเด็ก โรงเรียนนารีรตั น์ จังหวัดแพร่ เป็นหนึง่ ในสถานศึกษาเครือข่าย ที่เข้าร่วมโครงการฯ โดยท�ำงานร่วมกันใกล้ชิดระหว่างโรงเรียนและ สถานพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก จั ง หวั ด แพร่ ในการเข้าไปอบรม จัดกิจกรรมให้ความรู้ และ ใช้เครื่องมือคัดกรอง SDQ ประเมินพฤติกรรม นักเรียนแต่ละคน และสามารถให้คำ� แนะน�ำในวิธี การแก้ ป ั ญ หาให้ เ ด็ ก ๆ รายบุ ค คลในการน� ำ ไปปรั บ ใช้ กั บ ชี วิ ต และลดปั ญ หาการเข้ า ไป ยุง่ เกีย่ วกับยาเสพติด โดยโครงการได้รบั ผลตอบรับ ที่ ดี ม ากและเชื่ อ ว่ า การท� ำ งานในเชิ ง ป้ อ งกั น จะช่วยลดปัญหาอาชญากรรมได้ อย่างไรก็ตาม แม้ ว่ า ทางภาครั ฐ จะเข้ า มาช่ วยเหลื อ แต่ เ ป็ น เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง แต่ ร ากฐานที่ จ ะช่ ว ยสร้ า ง ความเข้มแข็งและลดความเสี่ยงต้องเริ่มจาก “ครอบครั ว ” ปลู ก ฝั ง จิ ต ส� ำ นึ ก ให้ ค วามรั ก ความอบอุ ่ น ปลู ก ฝั ง เรื่ อ งการรู ้ ถู ก รู ้ ผิ ด และ ไม่ปกป้องลูกในทางที่ผิด 69


เรื่องที่ 18

โครงการ

โรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ กระทรวงยุตธิ รรมได้ดำ� เนินโครงการโรงเรียนยุตธิ รรมอุปถัมภ์ มาตัง้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ บูรณาการ ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งกระทรวงยุ ติ ธ รรม กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร กระทรวงมหาดไทย และกรุงเทพมหานคร ในการพัฒนาเด็กและ เยาวชนของประเทศให้มีความพร้อมในการเติบโตอย่างมีคุณภาพ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและปลูกฝังจิตสานึกให้กับเด็กและ เยาวชนในสถานศึกษาในเรื่องกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม การมีวินัย การเคารพและไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น การสร้างภูมิคุ้มกัน ในการป้องกันตนเองมิให้ตกเป็นเหยือ่ ของยาเสพติด ภัยอาชญากรรม หรื อ ต้ อ งตกเป็ น ผู ้ ก ระท� ำ ความผิ ด และเสริ ม สร้ า งสั ง คมเคารพ กฎหมาย (Culture of Lawfulness) โดยให้หน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุ ติ ธ รรม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ สถานศึ ก ษาในพื้ น ที่ เพื่อการขับเคลื่อนงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ ดังนี้ ปีงบประมาณ 2561

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ได้ร่วม ด�ำเนินโครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ โดยมี โรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั่วประเทศ 881 โรงเรียน และมีผู้เข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 135,777 คน โดยน�ำกรอบเนือ้ หาการด�ำเนินงานทัง้ 4 กรอบเนือ้ หา ลงไปด�ำเนินกิจกรรมในโรงเรียน รวมทัง้ กรอบเนือ้ หา เฉพาะด้าน เช่น ความรู้ในงานนิติวิทยาศาสตร์ ลงไปด�ำเนินกิจกรรมในโรงเรียน

ปีงบประมาณ 2562

ส�ำนักงานกิจการยุตธิ รรมในฐานะหน่วยงานกลาง ได้ ร วบรวมข้ อ มู ล โรงเรี ย นที่ เข้ า ร่ ว มโครงการ โรงเรียนยุตธิ รรมอุปถัมภ์ โดยมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 858 โรงเรียน และมีแผนการด�ำเนินงาน เพือ่ ขยายผลให้ครอบคลุมมากยิง่ ขึน้ โดยมีเป้าหมาย 1,100 โรงเรียน ภายในเดือนกันยายน 2562

กระทรวงยุติธรรม มีความคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์จะสามารถ เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เกิดความตระหนักของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้ามาช่วยกันบ่มเพาะและ เสริมสร้างการเติบโตอย่างมีคุณภาพของเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ มีทัศนคติที่ดี และมีเกราะป้องกันภัยจากภัยอาชญากรรมและปัญหายาเสพติด ให้สมกับค�ำขวัญของโครงการที่ว่า “เด็กดีมีภูมิคุ้มกัน รู้ทันภัยสังคม” 70


เรื่องที่ 19

รากแก้วของชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย

หากค� ำ เปรี ย บเปรยที่ ว ่ า “เยาวชน” คื อ “อนาคต ของชาติ” วันนีไ้ ม่ผดิ นักถ้าจะบอกว่า “อนาคตของชาติ” ก�ำลัง ถูกท�ำร้ายด้วยยาเสพติด โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น อายุระหว่าง 13-20 ปี จากข้ อ มู ล ผู ้ เข้ า รั บ การบ� ำ บั ด รั ก ษายาเสพติ ด ในปี 2557 พบว่าเด็กในช่วง 16-20 ปี เข้ารับการบ�ำบัดรักษา ยาเสพติ ด เป็ น จ� ำ นวนมาก คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 32.8 คน ต่อประชากร 1,000 คน แม้ ว ่ า ที่ ผ ่ า นมาภาครั ฐ บาลจะหา แนวทางวิ ธี ป ้ อ งกั น โดยเฉพาะกลุ ่ ม เสี่ ย ง “นักเรียนชั้นประถมศึกษา”แต่ยังไม่เพียงพอ และทันต่อสภาพปัญหายาเสพติดที่ปัจจุบัน เข้าถึงกันได้ง่าย สามารถซื้อขายกันได้สบาย ผ่านสื่อออนไลน์ และด้วยพื้นฐานของแต่ละ ครอบครั ว แตกต่ า งกั น การที่ จ ะแก้ ป ั ญ หา ในช่ ว งวั ย รุ ่ น วั ย หั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ จึ ง อาจจะช้ า เกินไป ส�ำนักงาน ป.ป.ส ที่มีภารกิจทั้งงาน ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จึงมองเห็น หนทางใหม่ในการท�ำงานเชิงรุกในด้านการ ป้ อ งกั น ยาเสพติ ด ที่ ค วรเริ่ ม ท� ำ งานเรื่ อ งนี้ กับเด็กอายุระหว่าง 3-6 ปี หรือ “เด็กปฐมวัย” เพื่อสร้าง “รากแก้ว” นับเป็นแนวทางใหม่ การท�ำงานโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ทางสมองในการป้องกันยาเสพติด

จากการท�ำงานในเชิงป้องกันและปราบปราม ยาเสพติ ด ที่ ผ ่ า นมา พบว่ า สาเหตุ ใ หญ่ ข อง ปัญหายาเสพติด มาจากเรื่องหลักๆ 2 ส่วน 1.สภาพแวดล้อมในครอบครัว - การมีแบบ ตัวอย่างที่ดีจากคนในครอบครัวที่ไม่ยุ่งเกี่ยว กับยาเสพติด 2.การตกเป็นเหยื่อเพราะความ อยากรู้และอยากลอง – ที่สามารถแก้ปัญหา ด้วยการพัฒนาทักษะให้เด็กสามารถรู้ถูกผิด และรู้เท่าทันเมื่อเผชิญหน้ากับสิ่งยั่วยุเกี่ยวกับ ยาเสพติ ด ในอนาคต อย่ า งไรก็ ต ามประเด็ น ส� ำ คั ญ ของการท� ำ งานในเชิ ง ป้ อ งกั น อย่ า งมี ประสิทธิภาพยังอยู่ที่ ช่วงวัยของการท�ำงาน กั บ เด็ ก ที่ จ ะให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ งาน ด้านการป้องกันยาเสพติดให้ได้มากที่สุด

71


อัตราการพัฒนา EF ตามช่วงอายุ

0

1

2

3

4

5

6

6-8 9-1 0 12 -1 20 5 -24 25 -2 30 9 -3 40 5 -49 50 -60 65 -69 70 -75 76 -80 81 -85

ช่วงอายุ (ปี)

ที่มา : http://developingchild.harvard.edu/key_concepts/executive_function/

จ า ก ง า น วิ จั ย ด ้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ ด้านสมองพบว่า การสร้างจิตส�ำนึกที่ดีที่สุด ต้ อ งเริ่ ม จากวั ย นี้ เพราะเป็ น ช่ ว งวั ย ที่ มี ก าร พัฒนา EF ในสมองที่จะมีส่วนส�ำคัญต่อการ คิ ด หรื อ ตั ด สิ น ใจ รวมถึ ง การรั บ หรื อ ปฏิ เ สธ มากที่สุดอย่างที่ผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัย มหิ ด ล ได้ ใ ห้ ค� ำ ตอบเรื่ อ ง “EF ในสมอง” ว่ า มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ การคิ ด และการตั ด สิ น ใจ เด็ ก จะเปิ ด รั บ หรื อ ปฎิ เ สธมี ผ ลต่ อ EF ในสมองมาก เพราะสมองส่วนหน้าจะมีเส้นใย ประสาทที่แตกแขนงเยอะมาก ยิ่งเส้นใยเหล่านี้

เชื่อมต่อกันมากเท่าไร การเชื่อมโยงความคิด มีผลดีมากขึ้นเท่านั้นและการพัฒนาของเส้นใย สมองนี้จะเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เกิดจนถึงวัยหนุ่มสาว ตอนต้น หรืออายุ 20 ปี โดยเฉพาะช่วงอายุ 3-6 ปี จัดเป็นช่วงที่มีการพัฒนา EF สูงที่สุด หรือ ในช่วง “เด็กปฐมวัย” หรือหมายความว่า ในการ ปลูกฝังเรื่องการปฏิเสธยาเสพติด ของเด็กดี ที่สุดต้องเริ่มจากวัยนี้ เพื่อลดปัญหาที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญที่จะสามารถสร้าง ภูมิคุ้มกันให้เด็กในท้ายที่สุด ถือเป็นก้าวส�ำคัญในการยกระดับการ ท�ำงานป้องกันยาเสพติดเพื่อก้าวต่อในการลด ปัญหายาเสพติดในอนาคต

ป.ป.ส. เปิดช่องทางแจ้งเบาะแสยาเสพติด 1 สายด่วน 1368 ตลอด 24 ชม. 72

2 แจ้งด้วยตนเอง ป.ป.ส. ส่วนกลาง/ภูมิภาค

3 หนังสือร้องเรียน ป.ป.ส. ส่วนกลาง/ภูมิภาค

4 www.1368.oncb.go.th


เรื่องที่ 20

สิทธิมนุษยชนและ การส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ ถอดรหัสวาระแห่งชาติ 4+3+2+1= Goal กุญแจสู่สังคมสันติสุข

แม้คนส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะไม่มี ปัญหาในเรื่องความไม่เสมอภาคระหว่างชาย หญิง ในแง่ของการได้รับสิทธิ ความเท่าเทียม ที่เพิ่มมากขึ้นในที่ท�ำงานและสังคม ทว่าใน ความจริงแล้ว สถานการณ์เรือ่ งนีใ้ ประเทศไทย ยังคงพบความไม่เสมอภาพระหว่างชายหญิง อยู่มาก อาทิ บทบาทของผู้หญิงในที่ท�ำงาน ซึง่ ยังไม่เท่าเทียมในระดับองค์กรส่วนใหญ่ผนู้ ำ� หรือหัวหน้ายังเป็นผู้ชายโดยเฉพาะผู้บริหาร ระดั บ สู ง รวมไปถึ ง ทั ศ นคติ ใ นสั ง คมที่ ช าย ยั ง เป็ น ใหญ่ เช่ น ความคิ ด ว่ า ลั ก ษณะของ ผู้หญิงไม่เหมาะกับการท�ำงานบริหาร หรือ แม้แต่ในการใช้ชีวิตยังมีทัศนคติหลายอย่างที่ ชายมีบทบาทน�ำ ตั้งแต่การเลือกใช้นามสกุล ตัวเองเมื่อแต่งงาน การใช้นามสกุลของลูกก็ยัง คงใช้นามสกุลครอบครัวผู้ชายเป็นต้น ทั้งๆ ที่ ในเวลาที่ ผ ่ า นมาในทางกฎหมายมี ก าร ปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มสิทธิความเสมอภาค เช่น การให้ผู้หญิงสามารถเลือกใช้นามสกุล เป็นต้น

ในฐานะที่ ป ระเทศไทยเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของสมาชิกองค์การสหประชาชาติล�ำดับที่ 55 และยังเป็น 1 ใน 48 ประเทศที่ให้ความสนใจ เรื่ อ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน การพั ฒ นาเรื่ อ งความ ยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะประเด็น ในเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ จึงกลายเป็น วาระใหญ่ ของรั ฐ บาลภายใต้ ก ารน� ำ ของ นายกรั ฐ มนตรี พลเอกประยุ ท ธ์ จั นทร์ โ อชา ที่เคยกล่าวว่า “เราจะเดินหน้าไปด้วยกันและ ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง) (Stronger, Together and Leave No one Behind) ในวันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 จึงได้ มี ก ารประกาศวาระแห่ ง ชาติ “สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ร่ ว มขั บ เคลื่ อ น Thailand 4.0 เพื่ อ การ พัฒนาที่ยั่งยืน” เพื่อให้คนในประเทศได้รับ ความคุ้มครอง ความยุติธรรมกับสิทธิมนุษยชน ภายใต้ ก รอบ “ถอดรหั ส วาระแห่ ง ชาติ 4+3+2+1= Goal กุ ญ แจสู ่ สั ง คมสั น ติ สุ ข ” ซึง่ ประกอบด้วย 4 สร้าง 3 ปรับ 2 ขับ 1 ลด ดังนี้ 73


“ถอดรหัสวาระแห่งชาติ 4+3+2+1 = Goal กุญแจสู่สังคมสันติสุข” 4 สร้าง 1. จิตส�ำนึก สิทธิหน้าที่ ให้เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน 2. สร้างระบบติดตาม มีพลังเครือข่ายช่วยกันป้องกันดูแล 3. สร้างวัฒนธรรมให้เคารพซึ่งกันและกัน 4. สร้างเสริมพัฒนาเครือข่ายทุกส่วนให้มีศักยภาพในการท�ำงานด้านสิทธิมนุษยชน 3 ปรับ 1. ปรับปรุงระบบข้อมูล เรื่องการละเมิดสิทธิ ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ แก้ไขปัญหาการละเมิด 2. ปรับทัศนคติเจ้าหน้าที่ ไม่ใช่แค่ตรวจสอบ แต่เกิดจากใจมุ่งมั่นท�ำงานเพื่อสร้างสังคมสงบสุข 3. ปรับปรุงกฎหมายการละเมิดสิทธิ เสนอให้รัฐบาลแก้ไข 2 ขับ 1. ขับเคลื่อนองค์กรจังหวัดให้เป็นต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน น�ำบทเรียนอื่นๆ มาพัฒนาการ ท�ำงานให้ดีขึ้น 2. ขับเคลื่อนแผนให้ไปสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่สนับสนุนด้านสิทธิมนุษยชน 1 ลด ลดปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละปีอย่างต่อเนื่อง กรมส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ ถือเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนภารกิจนี้ และเราหวังว่าจะเป็น จุดเริ่มต้นส�ำคัญของการเดินทางและความก้าวหน้าในประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนในอนาคต ผ่านการ ขับเคลือ่ นประเด็นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน สิทธิเด็กละเยาวชน รวมถึงอนุสญ ั ญาและสัญญาระหว่างประเทศ ต่างๆ ในเรื่องสิทธิ มีรายละเอียดดังนี้ 74


เรื่องที่ 20

ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน

(Business and Human Rights) ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน เป็นประเด็นหนึ่ง ที่ ส� ำ คั ญ ภายใต้ ว าระแห่ ง ชาติ “สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 เพื่อการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืน” พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวในตอนหนึ่งถึงนโยบายการดูแลและแก้ปัญหา สิทธิมนุษยชนในประเทศว่า “ต่อจากนี้ไปรัฐบาลจะ จัดท�ำแนวทางและให้ค�ำแนะน�ำภาคธุรกิจเพื่อไม่ให้ เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในการด�ำเนินกิจการ ของตนอีกทั้งดูแลให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ หน้าที่อย่างสอดคล้องกับหลักการ UNGPs และเป็น ไปในทิศทางเดียวกัน”

หลังจากทีผ่ า่ นมา ประเทศไทยได้กลายเป็น หนึง่ ในหลายๆ ประเทศทีป่ ระสบปัญหาการละเมิด สิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวาง ซึง่ เป็นผลพวงจาก ระบบเศรษฐกิจของโลก ท�ำให้ต้องมีการแข่งขัน พัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ยกระดับความเป็นอยูข่ องคน ภายในประเทศ ซึ่งแม้จะส่งผลดีท�ำให้ประชาชน มีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้น เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัยหรือเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน แต่ในขณะเดียวกันก็สง่ ผลให้เกิดปัญหาการ กระจายรายได้ทไี่ ม่เท่าเทียมกัน ความเสือ่ มโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งเกิดการละเมิด สิทธิมนุษยชน เช่น สิทธิดา้ นแรงงาน สิทธิในทีด่ นิ ท�ำกิน สิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

โดยเฉพาะจากการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ หรื อ กิ จ การ ขนาดใหญ่ ที่ เ กิ ด การละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน จนกระทบต่อความเป็นอยู่ของชุมชนท้องถิ่น และเกิดการเรียกร้องให้ผดู้ ำ� เนินธุรกิจรับผิดชอบต่อ ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจ�ำนวนมาก จากสถานการณ์ข้างต้นน�ำมาสู่การตื่นตัว ของประชาคมระหว่างประเทศในการสร้างมาตรฐาน ระหว่ า งประเทศเพื่ อ คุ ้ ม ครองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ในภาคธุรกิจขึน้ จนกระทัง่ น�ำมาสูก่ ารจัดท�ำ “หลักการ สหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” (UN Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) ซึง่ ประกาศใช้เมือ่ วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2011 เพือ่ ก�ำหนดความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ 75


ของรัฐและความรับผิดชอบของภาคธุรกิจในการ “คุม้ ครอง (Protect) เคารพ (Respect) เยียวยา (Remedy)” ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน จากการประกอบธุรกิจ ประกอบกับประเทศไทย ก็ เ ป็ น หนึ่ ง ในกลุ ่ ม ประเทศที่ พ บว่ า มี ส ถิ ติ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ ปั ญ หาการละเมิ ด สิทธิมนุษยชน ถึงส�ำนักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในช่วงปีทผี่ า่ นมาเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะข้อร้องเรียนเกีย่ วกับปัญหาการละเมิด สิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นผลจากการด�ำเนินงาน ทางภาคธุรกิจและรัฐวิสาหกิจ ดังนั้นรัฐบาลจึงมีนโยบายปฏิบัติตาม หลักการ UNGPs ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยมอบหมายให้กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม เป็นหน่วยงานหลักด�ำเนินการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับประเด็นธุรกิจกับ สิทธิมนุษยชน หลักการ UNGPs ให้กบั หน่วยงาน ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคธุรกิจเอกชนอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มทั้ ง ร่ ว มกั บ ภาคส่ ว นต่ า งๆ จัดท�ำแผนปฏิบตั กิ ารระดับชาติวา่ ด้วยธุรกิจกับ สิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human Rights: NAP)

76

เมื่อด�ำเนินการจัดท�ำแผนปฏิบัติการฯ แล้วเสร็จ กระทรวงยุตธิ รรม โดยกรมคุม้ ครองสิทธิ และเสรีภาพจะน�ำแผนปฏิบตั กิ ารฯ ไปเผยแพร่ ยังหน่วยงานต่างๆ และจัดท�ำคูม่ อื การด�ำเนินงาน ตามแผนปฏิบตั กิ ารฯ เพือ่ ให้บรรลุผลอย่างเป็น รูปธรรม พร้อมทัง้ จัดให้มกี ารพิจารณาทบทวน แผนปฏิบตั กิ ารฯ เป็นระยะๆ เพือ่ ปรับปรุงและ พัฒนาให้มคี วามสอดคล้องกับสถานการณ์และมี ความเป็นปัจจุบนั เห็นได้ว่าการด�ำเนินการของกระทรวง ยุติธรรม โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ได้สะท้อนความมุ่งมั่นตั้งใจของรัฐบาลไทย ที่จะปฏิบัติตามหลักการ UNGPs ให้เกิดผล อย่างเป็นรูปธรรม อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ อย่างยิง่ ในการเสริมสร้างความเชือ่ มัน่ ของไทย ในด้ า นการลงทุ น กระตุ ้ น พั ฒ นาการของ ภาคธุรกิจ ท�ำให้ภาคธุรกิจเคารพสิทธิมนุษยชน คุ้มครองไม่ให้ประชาชนถูกละเมิดสิทธิ และ เปิ ด โอกาสให้ ภ าคประชาสั ง คมมี ส ่ ว นร่ ว ม ในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน อันจะส่ง ผลดีตอ่ ระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้ เติบโตได้อย่างมัน่ คงยัง่ ยืน และท�ำให้สถานการณ์ สิทธิมนุษยชนในประเทศเป็นไปในทิศทางทีด่ ขี นึ้ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล


เรื่องที่ 20

สิทธิเด็กและเยาวชน

การก�ำหนดอายุขั้นต�่ำในการรับผิดทางอาญาของเด็ก จากอายุสิบปีไปเป็นสิบสองปี ประเด็นสิทธิมนุษยชนของเด็กและเยาวชนผู้กระท�ำผิด เป็นหนึ่งในประเด็น ที่กระทรวงยุติธรรมให้ความส�ำคัญ แม้จะเชื่อว่ากระบวนการยุติธรรมผู้กระท�ำผิดต้อง รับโทษเมื่อกระท�ำความผิดไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ แต่ประเด็นหนึ่งที่ได้รับหยิบยก มาพูดถึงและถกเถียงในกระบวนการยุติธรรม คือเรื่องอายุการรับโทษทางอาญาของเด็กที่ “ต�่ำเกินไป”

กระทรวงยุติธรรมจึงได้เสนอกฎหมายใหม่ โดยเพิ่มเกณฑ์อายุการรับโทษจากเกิน 17 ปี มาเป็นเกิน 12 ปี แต่ทางคณะกรรมาธิการคุม้ ครอง สวัสดิภาพเด็ก ต้องการให้ทำ� ในกลุม่ เด็กวัย 10 ปีกอ่ น แล้วค่อยเพิ่มไปเป็น 12 ปี เพราะกลัวว่าเด็ก จะถูกใช้เป็นเครื่องมือให้ท�ำผิด และไม่มั่นใจว่า การคุม้ ครองเด็กกลุม่ นีจ้ ะท�ำให้ดหี รือไม่ กฎหมายอาญา มาตรา 73 ระบุว่า หาก เด็กคนนั้นอายุไม่เกิน 10 ปี ถ้าท�ำผิดจะไม่ได้ รับโทษ ตามกฎหมายคุ้มครองเด็ก ในมาตรา 74 หากเด็กคนนั้นอายุเกิน 10 ปีแต่ไม่ถึง 15 ปี เด็กไม่ต้องรับโทษ แต่จะโดนว่ากล่าวตักเตือน และศาลจะเรียกพ่อแม่ของเด็กมาตักเตือนด้วย เพื่อไม่ให้เด็กไปก่อเหตุร้าย ท�ำผิดกฎหมายอีก แต่หากอายุครบ 18 ปี ในวันก่อเหตุ หากคดีไม่ร้ายแรงโทษจ�ำคุกสูงสุดไม่เกิน 5 ปี

หากเด็กคนนัน้ ท�ำตัวดีมปี ระโยชน์ โทษจากทีต่ อ้ ง ประหารชีวติ หรือจ�ำคุกตลอดชีวติ อาจลดโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 15 ปี ในปี 2561 ที่ ผ ่ า นมา มี ค ดี ข องเด็ ก และเยาวชนที่กระท�ำผิด ทั้งหมด 11,172 คน โดยโทษจากการกระท�ำผิดของเด็กจะไม่รุนแรง ถึ ง ขั้ น ประหารชี วิ ต หรื อ จ� ำ คุ ก ตลอดชี วิ ต เพราะส� ำ หรั บ เด็ ก และเยาวชนนี่ เ ป็ น หนึ่ ง ใน ประเด็นสิทธิมนุษยชน ในการเปิดโอกาสให้ เขากลั บ ตั ว และกลั บ มามี ชี วิ ต ใหม่ สามารถ ได้รบั โอกาสทีด่ เี มือ่ พ้นโทษออกจากคุก ปัจจุบนั นอกจากจะมีบ้านฉุกเฉินไว้รองรับเมื่อพ้นโทษ หากไม่มสี ถานทีอ่ ยู่ นอกจากนีย้ งั มีศนู ย์ฝกึ อาชีพ ไว้ฝกึ อาชีพสร้างรายได้และมีแนวทางการติดตาม จัดหางานท�ำหลังพ้นโทษให้อกี ด้วยเพือ่ ให้โอกาส ในการสร้างชีวิตที่ดีและลดการกลับมากระท�ำ ผิดซ�ำ้ 77


เรื่องที่ 20

การด�ำเนินการว่าด้วยอนุสัญญาการต่อต้านการทรมานฯ และการคุ้มครองบุคคลจากการบังคับให้หายสาบสูญ

หนึ่งในความก้าวหน้าของความมุ่งมั่น เรื่องสิทธิมนุษยชนความเป็นมนุษย์ของประเทศไทย คือ การได้เข้าร่วม ภาคีอนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ำยีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment: CAT) และประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 ห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่รัฐทรมานท�ำโทษโหดร้ายกับผู้ต้องขัง

ขณะเดียวกันประเทศไทยได้ลงนามรับรอง สัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยการคุ้มครอง บุ ค คลทุ ก คนจากการหายสาบสู ญ โดยถู ก บังคับ (International Convention for the Protection of all Persons from, Enforced, disappearance : ICPPED) เมือ่ วันที่ 10 มีนาคม 2560 เกีย่ วกับการป้องกัน ปราบปราม ทรมาน ท�ำให้คนสูญหายอีกด้วย 78

ภายใต้ อ นุ สั ญ ญาดั ง กล่ า ว กระทรวง ยุตธิ รรม โดยกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ได้รา่ ง พ.ร.บ ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการ กระท�ำให้บคุ คลสูญหายได้เสนอให้คณะกรรมาธิการ วิสามัญกิจการสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (วิป สนช.) ทบทวนร่าง พ.ร.บ เพื่อให้หลักคุ้มครองสิทธิ์แก่ ประชาชน และยังมีการรับเรือ่ งร้องทุกข์ ตรวจสอบ ติดตามช่วยเหลือแก่ผรู้ อ้ งทุกข์ เพือ่ ท�ำการตรวจสอบ ให้ความยุตธิ รรมต่อไป


เรื่องที่ 20

ดีเอสไอ : การป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมพิเศษฯ ความยุติธรรมที่พึ่งได้

ในภารกิ จ ของการป้องกันและปราบปราม กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือดีเอสไอ เป็นกลไกส�ำคัญ คล้ายกับที่เราเคยดูในหนังฝรั่งแนวสืบสวนสอบสวน จะมีหน่วย FBI เข้ามาท�ำการสืบค้นคดี ในประเทศไทย หน่วยนี้ คือ “กรมสอบสวนคดีพิเศษ” หรือ ดีเอสไอ เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม

ถอดรหัส DSI

เป็นองค์กรชั้นน�ำ ด้านการสืบสวนสอบสวน

มีมาตรฐาน ในระดับสากล

ดีเอสไอ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษ กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2545 มี ภ ารกิ จ เกี่ ย วกั บ การป้ อ งกั น ปราบปราม และควบคุมคดีพิเศษที่มีผลกระทบ ต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และ

ได้รับความเชื่อมั่น ในการบังคับใช้กฏหมาย

บังคับใช้กฏหมาย ด้วยความเป็นธรรม

ความปลอดภัย และเน้นด�ำเนินคดีเพือ่ ปกป้อง และรั ก ษารายได้ ข องรั ฐ รวมทั้ ง ป้ อ งกั น ปราบปราม ขบวนการทุจริต และอาชญากรรม ข้ามชาติ โดยมีพระราชบัญญัติการสอบสวน คดีพเิ ศษ พ.ศ. 2547 เป็นเครือ่ งมือส�ำหรับการ ปฏิบตั งิ าน 79


ตลอดระยะเวลา 16 ปี ที่ ผ ่ า นมา กรมสอบสวนคดีพเิ ศษได้มกี ารปรับปรุงภารกิจ และอ�ำนาจหน้าที่เพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องกับ ภารกิจที่เพิ่มขึ้นและเหมาะสมกับสภาพของ งานที่เปลี่ยนแปลงไป โดยปัจจุบันมีการแบ่ง ส่วนราชการตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษ กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2560 และมีการปรับปรุงการปฏิบตั งิ าน ตามนโยบายรัฐบาลและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุตธิ รรม ในสาม ประเด็นหลัก คือ 1. การมุ ่ ง เน้ น การปฏิ บั ติ ง านแบบ สหวิชาชีพ 2. ท� ำ คดี พิ เ ศษให้ มี ค วามชั ด เจน ไม่ซ�้ำซ้อนกับงานต�ำรวจ 3. อ�ำนวยความยุตธิ รรมคดีอาญาอืน่ ด้วย เพือ่ ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ตามนโยบายรัฐบาล ซึง่ ได้ น�ำนโยบายดังกล่าวมาเป็นกรอบในการทบทวน บาทบาทหน้าที่ด้านงานคดีพิเศษ และปรับ ลดงานคดีพเิ ศษทีห่ มดความจ�ำเป็นต้องใช้วธิ กี าร สืบสวนและสอบสวนโดยใช้วธิ กี ารพิเศษจากเดิม ทีเ่ กีย่ วข้องกับกฎหมายจ�ำนวน 37 ฉบับ กว่า 100 ฐานความผิด เหลือเพียง 23 กฎหมาย ประมาณ 50 ฐานความผิด ซึง่ คณะกรรมการ คดีพเิ ศษได้เห็นชอบตามแนวทางดังกล่าวแล้วและ อยูร่ ะหว่างออกประกาศ กคพ.ก�ำหนดรายละเอียด ของลั ก ษณะของการกระท� ำ ความผิ ด ที่ เ ป็ น คดี พิ เ ศษตามมาตรา 21 วรรคหนึ่ ง (1) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารสอบสวนคดี พิ เ ศษ พ.ศ. 2547 เพือ่ ใช้บงั คับต่อไป 80

อาชญากรรม 4 กลุ่มคดี ที่กรมสอบสวนคดีพิเศษ รับไว้ด�ำเนินการ อาชญากรรมเศรษฐกิจ ด้านการเงิน การธนาคาร การภาษีอากร การ ฟอกเงิน การกูย้ มื เงินทีเ่ ป็นการฉ้อโกงประชาชน และอาชญากรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบเศรษฐกิจ การคลัง

คุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม อาชญากรรมที่ มี ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

อาชญากรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และทรัพย์สนิ ทางปัญญา อาชญากรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศและการกระท�ำความผิด เกี่ยวกับทรัพยสินทางปัญญา

อาชญากรรมระหว่างประเทศและอาชญากรรม อาชญากรรมที่ มี ค วามผิ ด ข้ า มชาติ องค์ ก รอาชญากรรม การประกอบธุ ร กิ จ ของคนต่ า งด้ า ว การเสนอราคาต่ อ หน่วยงานของรัฐ การค้ามนุษย์ อาชญากรรมที่กระทบต่อ ความมั่นคงประเทศ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี ของประชาชนและอาชญากรรมพิเศษอื่นๆ

โดยคดีพิเศษที่ด�ำเนินการแล้วเสร็จนั้น เมื่ อ น� ำ มาค� ำ นวณมู ล ค่ า ความเสี ย หาย/ ผลประโยชน์ ที่ ป กป้ อ ง รั ก ษา เรี ย กคื น ให้ แก่รัฐ เอกชน และประชาชนแล้ว มีมูลค่าถึง 402,738.4483 ล้านบาท ในขณะที่แต่ละปี กรมสอบสวนคดีพเิ ศษใช้งบประมาณเฉลีย่ ปีละ 1,000 ล้านบาทเศษ เท่านัน้


เรื่องที่ 20

ก้าวไปข้างหน้า

ปราบปราม สืบสวนสอบสวนอาชญากรรมพิเศษ ในอนาคตกรมสอบสวนคดีพเิ ศษได้กำ� หนดทิศทางการท�ำงานเพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และกระทรวงยุตธิ รรม โดยมุง่ เน้นการป้องกันปราบปรามสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทีม่ ลี กั ษณะพิเศษ ในหลายๆ ด้าน รวมทั้งให้สอดคล้องกับ นโยบาย Thailand 4.0 ดังนี้

ด้านทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยเฉพาะทีเ่ กีย่ วกับนวัตกรรม ด้านเทคโนโลยี ทีเ่ ป็นผลผลิตจากนโยบาย Thailand 4.0

ด้านการค้ามนุษย์ และอาชญากรรมข้ามชาติ

ด้านการกูย้ มื เงินอันเป็นการฉ้อโกงประชาชน และระบบสถาบันการเงิน การฟอกเงิน

การพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ ความสามารถ ความเชีย่ วชาญเฉพาะด้านให้เท่าทัน กับอาชญากรรมทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต รวมถึง ให้เกิด การพัฒนาในเรือ่ งความเชีย่ วชาญด้านการสืบสวน สอบสวน และมุ่งสร้างคนที่มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา อย่างเป็นรูปธรรม สอดรับกับการ สืบสวนสอบสวนคดีพเิ ศษได้อย่างมีประสิทธิภาพ และท� ำ งานเป็ น ที ม ในรู ป แบบ “สหวิ ช าชี พ ” นอกจากนั้นแล้วจะมุ่งเน้นในเรื่องการประสาน ความร่วมมือระหว่างประเทศเพือ่ สร้างความร่วมมือ ในระดับภูมภิ าค ในกลุม่ ประเทศอาเซียนและกลุม่

3

4 2

5

1

ด้านคอมพิวเตอร์ ซึง่ จะ เข้ามาเป็นส่วนส�ำคัญในการ ขับเคลือ่ น Thailand 4.0

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และการคุม้ ครองสิง่ แวดล้อม

ประเทศอื่นๆ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล อย่างเป็นรูปธรรม ในการป้องกันและปราบปราม อาชญากรรมทีม่ ลี กั ษณะเป็นคดีพเิ ศษร่วมกันต่อไป รวมถึงการสนับสนุนบุคลากร องค์ความรู้ให้กับ ส่วนราชการอืน่ ๆ เพือ่ ร่วมกันป้องกันปราบปราม อาชญากรรมอืน่ ๆ เพือ่ อ�ำนวยความยุตธิ รรมและ ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคมต่อไป 81


ส่วนที่

3

น�ำคนดีคืนสู่สังคม สภาวะ “ผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำ”(prison overcrowding) หรือ “คนล้นคุก” ก� ำ ลั ง เป็ น ปั ญ หาที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ส� ำ หรั บ ประเทศไทย ปั จ จุ บั น ประเทศไทย มีผู้ต้องขังทั้งสิ้น 356,470 คน (ข้อมูลกรมราชทัณฑ์ ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2561) ท� ำ ให้ คุ ก ไทยกลายเป็ น คุ ก ที่ จ องจ� ำ นั ก โทษสู ง ที่ สุ ด ในเอเชี ย อาคเนย์ และมี จ� ำ นวน ผู ้ ต ้ อ งขั ง สู ง เป็ น อั น ดั บ 6 ของโลก และท� ำ ให้ ค วามสามารถในการรองรั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง เกินความจุของเรือนจ�ำไปถึง 2 เท่า

82


การยกระดับการฟื้นฟูผู้กระท�ำความผิด ทั้งในเรื่องการออกแบบโปรแกรมการฟื้นฟู การพั ฒ นาจิ ต ใจ และการสร้างทัก ษะอาชีพ ที่ เ อื้ อ ให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ได้ มี โ อกาสสร้ า งชี วิต ใหม่ อย่างแท้จริง จึงเป็นโจทย์ส�ำคัญเพื่อไม่ให้ผู้ต้องขังที่พ้นโทษไปแล้ว กลับไปกระท�ำความผิดซ�้ำ เพราะในหลายกรณีที่การเคยถูกจ�ำคุกนั้นเป็นตราบาป และเป็นที่รังเกียจจากญาติมิตร และสังคม รวมถึงการขาดทักษะอาชีพและขาดโอกาสการมีงานท�ำ ความล้มเหลวในการ สร้างชีวติ ใหม่หลังออกจากเรือนจ�ำ จึงเป็นเหตุผลส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ผพู้ น้ โทษบางส่วนหันกลับไปกระท�ำ ความผิดอีก ที่ผ่านมากระทรวงยุติธรรม จึงได้ด�ำเนินนโยบายและมีพัฒนากระบวนการยุติธรรม ในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนากฎหมาย การจ�ำแนกแยกแยะและวิเคราะห์ผู้กระท�ำ ความผิดเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะราย การให้โอกาสทางการศึกษา และการพัฒนาอาชีพ เพื่อที่ จะคืนคนดีกลับสู่สังคม (reintegration) ซึ่งจะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาการกลับไปกระท�ำผิดซ�้ำ และแก้ปัญหาคนล้นคุกอย่างยั่งยืน โดยมีรายละเอียดในการด�ำเนินการ ดังนี้

83


เรื่องที่ 21

การพัฒนากฎหมาย เพื่อก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน ในกลุ่มภารกิจด้านพฤตินิสัย ในเวลาที่ ผ ่ านมามีก ฎหมายที่เ กี่ยวข้องหลายฉบั บ เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ต ้ อ งขั ง นั้ น ล้ า สมั ย ไม่ ส อดคล้ อ ง กั บ สถานการณ์ ป ั จ จุ บั น รวมถึ ง การปฏิ บั ติ ต ามแนวทาง หลักสากล กระทรวงยุติธรรมจึงได้มีการพัฒนากฎหมาย เพื่ อ ก� ำ หนดแนวทางการด� ำ เนิ น งานในกลุ ่ ม ภารกิ จ ด้ า น พฤตินิสัย จ�ำนวน 3 ฉบับ (พระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 และ พระราชบัญญัติว่าด้วยการบริหารการแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟูเด็ก และเยาวชนที่กระท�ำผิด พ.ศ. 2561)

อย่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พุ ท ธศั ก ราช 2479 ที่ ไ ด้ ใช้ บั ง คั บ มาเป็ น เวลานาน มีบทบัญญัติบางประการไม่สอดรับ กับนโยบายทางอาญาในปัจจุบนั ยิง่ มีกฎหมาย และกฎเกณฑ์ ใ นระดั บ สากลมาเกี่ ย วข้ อ ง กับการปฏิบตั กิ บั ผูต้ อ้ งขังรวมถึงเจ้าหน้าทีด่ ว้ ย ท�ำให้ต้องปรับปรุงพระราชบัญญัติขึ้นมาใหม่ เพราะเมื่อสหพันธ์เพื่อสิทธิมนุษยชน สากล FIDH ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศ เห็นว่าประเทศไทยมีนักโทษเป็นจ�ำนวนมาก ติดอันดับ 6 ของโลก แต่ไม่ได้มาตรฐานสากล ในด้านการละเมิดสิทธิและสุขอนามัยต่างๆ 84

มี พื้ น ที่ น อนคั บ แคบ อาหารและห้ อ งน�้ ำ ไม่ ส ะอาด การรั ก ษาพยาบาลไม่ เ พี ย งพอ โดยเฉพาะการดูแลหญิงตั้งครรภ์ รวมถึ ง บางมาตรายั ง ไม่ ส อดรั บ กั บ มาตรการระหว่ า งประเทศ ไม่ ว ่ า จะเป็ น การอนุ ญ าตให้ ใช้ เ ครื่ อ งพั น ธนาการหรื อ โซ่ตรวนกับผู้ต้องขัง การยกเว้นโทษทางแพ่ง และทางอาญากั บ เจ้ า หน้ า ที่ พนั ก งาน ในเรือนจ�ำ การอนุญาตให้ขังเดี่ยวนาน 15 วัน ติ ด ต่ อ กั น รวมถึ ง การอนุ ญ าตให้ คุ ม ขั ง หรื อ ควบคุมผู้ต้องขังในค่ายทหารหรือสถานที่อื่นๆ ที่ไม่ใช่เรือนจ�ำ


จึงท�ำให้มีการแก้ไขปรับปรุง จนเมื่อ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 ราชกิจจานุเบกษา ได้ มี ป ระกาศว่ า สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พ.ร.บ. ขึน้ ใหม่โดยพระราชบัญญัตริ าชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้มาตัง้ แต่วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2560 ที่ผ่านมา ราง พ.ร.บ.

ราชทัณฑ พ.ศ. 2560

ยกระดับการราชทัณฑไทย

ใหม

ในทุกม

ิติ

โดยหัวใจส�ำคัญใน พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ 2560 มีการแก้ไขปรับปรุงเนื้อหาและมาตราต่างๆ ที่ ทั น สมั ย และค� ำ นึ ง ถึ ง หลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน เพิม่ ขึน้ จากพระราชบัญญัตริ าชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 ไม่วา่ จะเป็นการติดตามจับกุมผูต้ อ้ งขังหนีจากเดิม 24 ชั่ ว โมง เป็ น 48 ชั่ ว โมง มี ก ารจั บ กุ ม แยกผู้ต้องขัง ห้ามไม่ให้น�ำเหล้าของมึนเมา และอาวุ ธ เข้ า เรื อ นจ� ำ รวมถึ ง โทรศั พ ท์ และ ยกเลิกใช้ “นช.เด็ดขาดชั้นเลว” เปลี่ยนเป็น “ชั้นต้องปรับปรุง” เพื่อไม่ให้เป็นการตอกย�้ำ ความผิ ดของผู้ต้องขัง ที่สามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมได้ สามารถเป็นคนดีของสังคมได้ เมื่อพ้นโทษไปแล้ว

พ.ร.บ. ได้มีการระบุเรื่อง การปรับปรุง สภาพความเป็นอยู่เรือนจ�ำให้ดีขึ้น โดยเฉพาะ เรื่ อ งสุ ข ภาพอนามั ย และการรั ก ษาพยาบาล มีการจัดที่นอนยางพาราให้ผู้ต้องขังแทนจากเดิม ที่เอาผ้าห่มปูนอน เน้น 3 ส. คือ ส.สะอาด ส.สุจริต ส.เสมอภาค ยกเลิกอาหารฝากขาย ของผู้คุมและครอบครัวในเรือนจ�ำ เพราะมี ผลประโยชน์ ทั บ ซ้ อ น และประกาศห้ า ม ไม่ ใ ห้ ผู ้ คุ ม ซ้ อ มทรมาน หรื อ ละเมิ ด ศั ก ดิ์ ศ รี ความเป็นมนุษย์ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชน พร้ อ มช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ พ ้ น โทษหางาน เพื่ อ ลดโอกาสนั ก โทษ กลับมาท�ำผิดซ�้ำอีก น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง พระราชบัญญัตกิ ารบริหารการแก้ไขบ�ำบัดฟืน้ ฟู เด็ ก และเยาวชนที่ ก ระท� ำ ผิ ด พ.ศ. 2561 โดยประกาศใช้เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2561 และ จะมี ผ ลใช้ บั ง คั บ เมื่ อ พ้ น 60 วั น หรื อ มี ผ ล ใช้ บั ง คั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 พฤษภาคม 2561 เพื่ อ แก้ ไ ขบ� ำ บั ด ฟื ้ น ฟู เ ด็ ก และเยาวชน มีการติดตามหลังจากที่พ้นคดี และห้ามไม่ให้ ใส่โซ่ตรวนแก่เด็กๆ เว้นแต่จ�ำเป็นถ้าหลีกเลี่ยง ไม่ได้ เช่น ลักลอบหนี อ อกจากสถานพิ นิ จ ฯ โดยจะมี ก ารฟื ้ นฟู บ�ำ บั ด ฝึ ก อาชี พ ให้ กั บเด็ ก เพื่อให้เด็กและเยาวชนเป็นคนดีกลับสู่สังคม ได้ต่อไป การปรั บ ปรุ ง กฎหมายทั้ ง 3 ฉบั บ ถื อ เป็ น การปฏิ รู ป กฎหมายในการปฏิ บั ติ ต่อผู้ต้องโทษครั้งส�ำคัญ ที่จะเป็นแนวทางไปสู่ การแก้ ไขปั ญ หาการฟื ้ น ฟู ค นดี ก ลั บ สู ่ สั ง คม ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นในระยะยาว 85


เรื่องที่ 22

การพัฒนากระบวนการจัดเก็บข้อมูลสถิติ และวิเคราะห์การกระท�ำความผิดซ�้ำ เพื่อฟื้นฟูผู้กระท�ำความผิด ถือเป็นมิติใหม่ที่ “ชุดข้อมูลทางสถิติ” ถูกน�ำมาใช้เป็นเครื่องมือ ในการวิ เ คราะห์ แ ละออกแบบโปรแกรมการฟื ้ น ฟู ผู ้ ก ระท� ำ ความผิ ด ในรายบุคคลเพื่อไม่ให้กลับมากระท�ำผิดซ�้ำ โดยคณะท�ำงานพัฒนาข้อมูล การกระท�ำผิดซ�ำ้ ได้มาดูแลในเรือ่ งนี้ เก็บข้อมูลการกระท�ำผิดซ�ำ้ เข้าระบบ ที่ตรวจสอบได้ และเป็นเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับ เพื่อน�ำมาประเมินว่า กลุ ่ ม ผู ้ ต ้ อ งขั ง เหล่ า นี้ สามารถกลั บ ตั ว สู ่ สั ง คมได้ ห รื อ ไม่ โดยพั ฒ นา หลายๆ ด้าน ส� ำ ห รั บ กา รวิ เ คราะ ห์ ก ารก ระ ท� ำ ความผิ ด ซ�้ ำ ของผู ้ ที่ ผ ่ า นการแก้ ไขฟื ้ น ฟู โ ดยจะ วิ เ คราะห์ จ ากประวั ติ ก ารกระท� ำ ผิ ด จ� ำ นวน ครั้ ง ในการกระท� ำ ผิ ด การใช้ ส ารเสพติ ด ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ ความก้าวร้าว/พฤติกรรม นิยความรุนแรงการควบคุมตนเอง/อารมณ์หนุ หัน พลันแล่น ปัจจัยทางครอบครัว ความผูกพันของ ครอบครัว พฤติกรรมของสมาชิกในครอบครัว กรอบที่ 1

ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ การคบเพื่อน การมี ง านท� ำ สภาพที่ อ ยู ่ อ าศั ย ปั จ จั ย ด้ า น การศึ ก ษา เพื่ อ ช่ ว ยฟื ้ น ฟู ไ ด้ ถู ก จุ ด จั ด เก็ บ ข้อมูลผ่านระบบไว้เป็นข้อมูลใหญ่เพื่อท�ำนาย การกระท� ำ ผิ ด ซ�้ ำ และวางแผนฟื ้ น ฟู ไ ด้ อ ย่ า ง เหมาะสม เพื่อลดปัญหาการท�ำ “ผิดแล้วผิดอีก” ของผู้ต้องขังเมื่อพ้นโทษในระยะยาว

แนวทางการพัฒนาข้อมูลการกระท�ำผิดซ�ำ้ กรอบที่ 2 กรอบที่ 3

การก�ำหนดนิยามและแนวทาง การติดตามข้อมูลการกระท�ำผิดซ�้ำ

การจ�ำแนกประวัติภูมิหลัง ผู้กระท�ำผิดเพื่อการจัดเก็บข้อมูล

การพัฒนาระบบการจัดเก็บ และเชื่อมโยงข้อมูล

- ชั้นจับกุม - ชั้นพิพากษา - ชั้นเข้าสู่ระบบพัฒนาพฤตินิสัย

ภูมิหลังเพื่อวิเคราะห์สาเหตุ การท�ำผิดซ�้ำและจะได้วางแผน ฟื้นฟูได้เหมาะสม

- เชื่อมโยงประวัติข้อมูล ภูมิหลัง - น�ำข้อมูลมาประมวลวิเคราะห์ การท�ำผิดซ�้ำ

86


เรื่องที่ 23

ให้โอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม ส�ำหรับเด็กและเยาวชนในโลกหลังก�ำแพง เพราะเชือ่ ว่า “การศึกษา” จะเป็นใบเบิกทางทีส่ ำ� คัญและเป็นการ พัฒนาตัวเองหลังพ้นโทษของเด็กและเยาวชนที่ต้องโทษ ภายใต้ความ ดูแลของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ท�ำให้มีความพยายาม ออกแบบจัดการศึกษาส�ำหรับเด็กและเยาวชนที่ต้องขังให้มีโอกาสในการ เข้าถึงการศึกษา ปัจจุบนั กรมพินจิ ฯ จึงจัดหลักสูตรการศึกษานอกระบบ (กศน.) และลงนามความร่วมมือในการพัฒนาเครือข่ายในการจัดการศึกษา ร่วมกับ 4 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยราชมงคล รัตนโกสินทร์ ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย (กศน.) วิทยาลัยชืน่ ชมไทย-เยอรมัน เพือ่ เป็นทางเลือก ให้เด็กทีต่ อ้ งขัง ไม่ตอ้ งละทิง้ การเรียน และมีการศึกษาอย่างเท่าเทียม กับเด็กและเยาวชนทีอ่ ยูน่ อกโลกหลังก�ำแพง

พัฒนาหลักสูตร ยกระดับ

พัฒนา หลักสูตร กศน. นอกจากการจั ด การศึ ก ษาในระบบ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ยังได้ ร่ ว มเครื อ ข่ า ยภาคการผลิ ต หรื อ ภาคบริ ก าร รับเด็กและเยาวชนพัฒนาทักษะและฝึกอาชีพ ในสถานที่ ท� ำ งานจริ ง ให้ ค วามรู ้ ทั้ ง ทฤษฎี แ ละ เรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ จ ากการลงมื อ ท� ำ จริ ง โดยเด็กและเยาวชนจะได้มีโอกาส “ฝึกงาน” ได้ ล องท� ำ อาชี พ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ด้ า นบริ ก าร การค้าขาย งานท�ำบัญชี งานช่างต่างๆ อาทิ บาริสต้า งานด้านอาหาร ฯลฯ ซึ่งที่ผ่านมา สามารถพั ฒ นาความรู ้ แ ละทั ก ษะอาชี พ ให้เด็กและเยาวชนในความดูแลของกรมพินิจฯ

พัฒนาหลักสูตร ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส�ำหรับเด็ก และเยาวชน

จัดเวทีสัมมนา

การปฏิรูป การศึกษา

ได้เป็นอย่างดี ที่ส�ำคัญได้รับความสนใจจาก เด็กและเยาวชนที่ต้องขังมาก โดยที่ผ่านมา มีผมู้ าลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร รวมทัง้ สิน้ 5,265 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 75.62 จากจ�ำนวน เด็กและเยาวชนรวม 6,962 คน โปรแกรมการฟื้นฟูด้วยการให้โอกาส การศึกษาและการพัฒนาอาชีพอย่างเท่าเทียม กับเด็กในโลกภายนอก อาจเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี ทีจ่ ะช่วยสร้างแรงบันดาลใจและมองไปข้างหน้า เพือ่ เตรียมพร้อมให้พวกเขากลับสูโ่ ลกความจริง และไม่ให้กลับมากระท�ำความผิดซ�ำ้ อีก 87


เรื่องที่ 24

IDOL คนต้นแบบ กอดที่ยิ่งใหญ่ ของ“โรนัลดินโญ่ เกาโช่” บรรยากาศภายในศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนสิรนิ ธร ต�ำบลคลองโยง อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม คึกคักเป็นอย่างยิ่งในวันที่ โรนัลดินโญ่ เกาโช่ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติบราซิล และ อดีตนักเตะสโมสรบาร์เซโลน่า ซึ่งถือเป็นบุคคลต้นแบบที่มีช่ือเสียงระดับโลก ด้านกีฬาฟุตบอล เดินทางมาเยือนประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2561 โดยเข้าร่วมพิธีเปิดกิจกรรม “ส่งเสริมกีฬา เยาวชนไทย เสริมสร้างแรงบันดาลใจด้วย Idol” ภายใต้โครงการ “ปันฝัน ปันยิ้ม” ร่วมกับกรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม

ถื อ เป็ น ความพิ เ ศษของกิ จ กรรมที่ ต้องการสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กและเยาวชน ในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายสิรินธร จากคนต้นแบบด้านกีฬาที่จะสามารถเป็นแบบ อย่างที่ดี ให้กับเด็กๆ ในวันนั้นมีผู้มาเข้าร่วมงานกว่า 150 คน และส�ำหรับ โรนัลดินโญ่ การมาเมืองไทยครั้งนี้ มี ค วามพิ เ ศษและมี ค วามหมายมากที่ เขาได้ มี โอกาสมาให้ก�ำลังใจเด็กๆ ในสถานพินิจฯ และ เป็ น ครั้ ง แรกในรอบ 18 ปี ข องโรนั ล ดิ น โญ่ หลังจากทีเ่ ขาเคยมีโอกาสเดินทางมาประเทศไทย เมื่อ 18 ปีก่อน 88

โรนัลดินโญ่ เกาโช่ กล่าวว่า ตัวเริ่มต้น เล่นฟุตบอลตั้งแต่ 7 ปี เมื่ออายุ 11 ปี เคยร่วม ทีมเยาวชนท้องถิ่นบ้านเกิดยิงได้ 23 ประตู ภายในเกมเดียว ซึ่งอยู่ในครอบครัวฟุตบอล มาตั้ ง แต่ เ ด็ ก ท� ำ ให้ เ ล่ น ฟุ ต บอลเป็ น กิ จ วั ต ร ประจ�ำวันมาเรือ่ ยๆ จนพัฒนาไปสูน่ กั เตะอาชีพ บางครั้ ง อาจเจออุ ปสรรคทางสภาพร่ า งกาย บาดเจ็บ และสภาพจิตใจตกต�่ำ แต่ก็พยายาม โฟกั ส และซ้ อ มต่ อ เนื่ อ งมา รวมทั้ ง สร้ า ง แรงบันดาลใจเรื่อยๆ และไม่หยุดที่จะสู้ พัฒนา ตัวเองมาอย่างต่อเนื่อง จึงอยากฝากเป็นก�ำลังใจ ถึงเด็กและเยาวชนทุกคน


ถ้าเรามีความฝันก็ต้องไล่ตามๆ ไปเรื่อยๆ ให้พยายามฝึกซ้อม และอย่าหยุด อย่ายอมแพ้ ง่ายๆ โดยอยากฝากถึงเด็กและเยาวชนไทย เหล่านี้ว่า สิ่งส�ำคัญคือ ถ้าเรารู้ความ ผิดพลาดแล้วก็ไม่กลับไปท�ำผิดซ�้ำอีก และ เดินหน้าไปสู้การเริ่มต้นชีวิตใหม่ของตัวเอง

ที่ผ่านมา กรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน มีการส่งเสริมด้านกีฬากับเด็กและ เยาวชนในสภานพินิจฯ และศูนย์ฝึก โดยเปิด โอกาสให้เขาเรียนรู้ ฝึกฝนและพัฒนาทักษะ ด้ า นกี ฬ าหลายประเภท อาทิ กี ฬ าฟุ ต บอล เทเบิลเทนนิส ฟุตซอล และแบดมินตัน ฯลฯ โดยได้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น อย่ า งดี จ ากภาคี เครื อ ข่ า ยต่ า งๆ อาทิ สโมสรกี ฬ าบี บี จี ในพระด� ำ ริ พ ระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เจ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา สมาคมกี ฬ าแบดมิ น ตั น แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคม กีฬาเทเบิลเทนนิสแห่งประเทศไทย สโมสร ฟุตบอลศุลกากร ยูไนเต็ด มูลนิธิ ไร้ท์ ทู เพลย์ (ประเทศไทย) เป็ น ต้ น โดยมี แ นวคิ ด หลั ก ใ น กา รมองเรื่ อ ง “ กี ฬ า” เ ป็ น อาชี พ ไปพร้อมกับการเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชน “ค้ น พบ” ศั ก ยภาพและคุ ณ ค่ า ในตั ว เอง และหวังว่ากีฬาจะเป็นการพัฒนาที่ควบคู่กัน

ทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย จิ ต ใจ ทั ศ นคติ สติ ป ั ญ ญา ได้ ดี ที่ สุ ด บนสถานการณ์ แ ละวั น เวลา ในสถานพินิจฯ ก่ อ นเดิ น ทางกลั บ โรนั ล ดิ น โญ่ ได้ เ ปิ ด กล่ อ งก� ำ ลั ง ใจ และเขี ย นข้ อ ความ บนป้ายให้ก�ำลังใจแก่เด็กและเยาวชนบ้าน สิรนิ ธร โดยเขียนข้อความว่า “กอดทีย่ งิ่ ใหญ่” เพื่อสื่อความหมายถึงให้เด็กเหล่านี้กอดกัน ให้กลมเกลียวด้วยความสามัคคีก่อนก้าวสู่ ชีวิตใหม่ต่อไป และเป็นกอดที่ยิ่งใหญ่ที่มี ความหมายยิ่งใหญ่อย่างยิ่งส�ำหรับเด็กๆ 89


เรื่องที่ 25

สร้างโอกาสผู้กระท�ำความผิด ได้มค ี วามรูแ้ ละอาชีพภายหลังพ้นโทษ “โอกาส” เป็นปัจจัยส�ำคัญส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ผู้ที่พ้นโทษสามารถกลับคืนสู่สังคมและกลับมา มีชีวิตใหม่อีกครั้งโดยไม่ต้องกลับไปกระท�ำผิดซ�้ำ ที่ผ่านมากระทรวงยุติธรรมได้มีความริเริ่มใหม่ๆ รวมถึงโมเดลระบบฟื้นฟูผู้ต้องขังที่จะเตรียมพร้อมกลับสู่สังคม โดยไม่ได้มุ่งเน้นแต่การสร้างอาชีพ แบบเหมารวม แต่ยงั มีกระบวนการสร้างการเรียนรูใ้ นเชิงคุณค่า ทักษะชีวติ รวมไปถึงการพัฒนาทักษะอาชีพใหม่ๆ บนพื้นฐานของความหลากหลายในความสนใจของผู้กระท�ำความผิด ไม่ว่าจะเป็นโครงการน�ำร่องใน การน้อมน�ำ“ศาสตร์พระราชา” มาใช้ในเรือนจ�ำที่เรือนจ�ำชั่วคราวเขากลิ้ง การพัฒนาแบบองค์รวม ของกระบวนการยุติธรรมตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำของกาฬสินธุ์โมเดล รวมไปถึงการพัฒนาอาชีพใหม่ๆ อย่างนักชงกาแฟหรือบาริสต้า เชฟของหวาน ที่ร้านกาแฟ วังจันทร์ cook&coff ต้นแบบธุรกิจกาแฟ ซึ่งสร้างโอกาสให้คนหลังก�ำแพงในเรือนจ�ำจังหวัดพะนครศรีอยุธยา ฯลฯ โดยแต่ละโครงการมีข้อค้นพบ ส�ำคัญที่น่าสนใจที่จะพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูผู้กระท�ำความผิดและสามารถขยายผลต่อไปในอนาคต

กาฬสินธุ์โมเดล

แก้ปัญหาคนล้นคุกจากต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ กระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยกรมพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน ได้ วิ เ คราะห์ สถานการณ์ ก ารกระท� ำ ผิ ด ของเด็ ก และ เยาวชนในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ และก�ำหนด แนวทางการบริหารการอ�ำนวยความยุติธรรม อย่างบูรณาการผ่าน “กาฬสินธุโ์ มเดล ; กาฬสินธุ์ แฮปปี ้ เ นส 2019” โดยมี เ ป้ า หมายในการ สร้ า งสั ง คมแห่ ง ความปลอดภั ย ตลอดจน การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดโดยท�ำงาน ในเชิงป้องกัน ตั้งแต่ “ต้นน�้ำ” ในการเฝ้าระวัง ร่วมกันกับชุมชน และท�ำการแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟู ในการสร้างโอกาสและสร้างอาชีพให้เด็กและ เยาวชนที่ ต ้ อ งโทษในการพั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ 90

หรือ “กลางน�ำ้ ” และมีการติดตามและสงเคราะห์ ภายหลังปล่อยตัวเมื่อเด็กและเยาวชนพ้นโทษ หรือทีใ่ นโมเดลนีเ้ รียกว่า “ปลายน�ำ้ ” โดยติดตาม และให้ความช่วยเหลือในรายกรณีเพื่อให้แน่ใจ ว่าพวกเขาจะสามารถกลับคืนสู่สังคมได้อย่าง ปกติ และลดความเสี่ ย งในการกระท� ำ ความ ผิดซ�้ำ “กาฬสินธุ์โมเดล” จึงถือเป็นต้นแบบ ในการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมอย่างบูรณาการ ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาระยะยาวเรื่อง “คนล้นคุก” และท�ำให้ “การคืนคนดีสสู่ งั คม” มีประสิทธิผลมากขึน้ และนีอ่ าจจะเป็นโมเดลหนึง่ ทีเ่ ป็นค�ำตอบในการ ออกจากวังวนปัญหาอาชญากรรมและยาเสพติด ในระยะยาว


ผลการด�ำเนินงานกิจกรรมภายใต้ “กาฬสิ น ธุ ์ โ มเดล”

ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานภายใต้ “กาฬสินธุ์โมเดล” ประกอบด้วย ผลการด�ำเนินงานของคณะท�ำงาน ด้านการอ�ำนวยความยุติธรรม (ต้นน�้ำ)

กิจกรรมเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาอาชญากรรมและยาเสพติด มีการ ด�ำเนินโครงการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายสถานศึกษาในการป้องกัน ปัญหาพฤติกรรมและการกระท�ำผิดของเด็กและเยาวชน มีผู้เข้าร่วม กิจกรรม ในปี พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 736 คน กิ จ กรรม “โครงการศู น ย์ ป ระสานงานสถานพิ นิ จ กับชุมชน” ในปี พ.ศ. 2561 มีเป้าหมายปีละ 7 แห่ง และ เพิม่ ขึน้ ปีละ 7 แห่ง โดยก�ำหนดให้ครอบคลุมทุกอ�ำเภอในเขต จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งมีการด�ำเนินการไปแล้ว จ�ำนวน 7 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนต�ำบลเจ้าท่า องค์การ บริหารส่วนต�ำบลนาดี องค์การบริหารส่วนต�ำบลหมูม่น เทศบาลต�ำบลโนนบุรี เทศบาลต�ำบลค�ำนง เทศบาลต�ำบลเหนือ และเทศบาลต�ำบลโพนงาม

กิจกรรมออกตรวจสถานบริการ และการป้องกันการแข่งรถ ในทาง ตามค�ำสั่ง คสช.ที่ 22/2558 ซึ่งสามารถลดปัญหา กลุ่มวัยรุ่นรวมตัวมั่วสุมเพื่อแข่งรถในทางได้ โดยจากสถิติคดี ของการด�ำเนินคดีข้อหาการแข่งรถในทางที่ส่งมาด�ำเนินคดี ยังสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดกาฬสินธุ์ ลดลง ในปี 2661 ไม่มีคดีแข่งรถ กิจกรรมเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาอาชญากรรมและยาเสพติด “โครงการ ส่งเสริมเครือข่ายและสนับสนุนเครือข่ายสถานศึกษาในการป้องกันปัญหา พฤติกรรมและการกระท�ำผิดของเด็กและเยาวชน” 91


ผลการด�ำเนินงานของคณะท�ำงาน ด้านการแก้ไขบ�ำบัดฟื้นฟู (กลางน�้ำ) กิจกรรมส่งเสริมด้านการศึกษา เด็กและเยาวชน ได้รับการจัดการศึกษาภาคบัง คับและเรี ยนต่อ ในระดับที่สูงขึ้น กิจกรรมสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ โดยมีโครงการ ฝึกวิชาชีพระยะสั้น และโครงการฝึกอาชีพภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดกาฬสินธุ์ ร่วมกับสถานประกอบการในจังหวัดกาฬสินธุ์ 3 แห่ง คือ อู ่ วิ ไ ลเจริ ญ ยนต์ ร้ า นมงคลการช่ า ง และร้ า นชาบู อิ ส าน พาเพลิน โดยการส่งเยาวชนเข้าร่วมฝึกอาชีพ ในโครงการ สร้างงานสร้างอาชีพ ให้เยาวชนออกไปฝึกงานแบบเช้าไป เย็นกลับ ซึ่งเยาวชนจะได้รับค่าตอบแทน และมีการเก็บ รักษาไว้ในบัญชีเงินฝาก ซึ่งโครงการนี้ได้สร้างความภาคภูมิใจ ให้ กั บ เยาวชนเป็ น อย่ า งมาก และท� ำ ให้ เ ยาวชนมี เ งิ น จ�ำนวนหนึ่งส�ำหรับเลี้ยงชีพภายหลังจากได้รับการปล่อยตัว ไปแล้ว

ผลการด�ำเนินงานของคณะท�ำงาน ด้านการสร้างสังคมแห่งความปลอดภัย (ปลายน�้ำ) โครงการติดตามและสงเคราะห์ภายหลังปล่อย มีการด�ำเนินการติดตามเด็กและเยาวชน ภายหลังปล่อย โดยเยาวชนได้ประกอบอาชีพที่อู่ซ่อมรถยนต์ มีรายได้วันละ 300-350 บาท เยาวชนร่วมกับผู้ปกครองประกอบอาชีพค้าขายก๋วยเตี๋ยว มีรายได้วันละ 500-1,500 บาท ด้านการให้การสงเคราะห์ มีการส่งต่อข้อมูลเด็ก และเยาวชน จ�ำนวน 2 ราย ที่มีฐานะยากจน ให้กับพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ด�ำเนินการสงเคราะห์เด็ก 1 ราย ที่ ค รอบครั ว มี ฐ านะยากจนและอยู ่ ร ะหว่ า ง ตั้ ง ครรภ์ ใ ห้ กั บ บ้ า นพั ก เด็ ก และครอบครั ว จังหวัดกาฬสินธุ์ หลังจากได้รับการปล่อยตัว 92


เรื่องที่ 25

เรือนจ�ำชั่วคราวเขากลิ้ง

กับการน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้อย่างได้ผล เมื่อพูดถึงเรือนจ�ำ ใครหลายคนอาจคิดว่า ต้องมีก�ำแพงสูง รั้วกั้นหนามเป็นดินแดนกักขัง ค น ท� ำ ผิ ด เ ห มื อ น ใ น ล ะ ค ร “ ขั ง แ ป ด ” แต่ในโลกแห่งความเป็นจริง ไม่ได้โหดร้ายขนาดนัน้ อย่างเรือนจ�ำชั่วคราวเขากลิ้ง โดยรวม คล้ายรีสอร์ตหรู ทีน่ เี่ ป็นศูนย์เตรียมความพร้อม ก่อนปล่อยผู้ต้องขัง เรือนจ�ำชั่วคราวแห่งนี้ เป็นทีแ่ รกๆ ทีไ่ ด้นอ้ มน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรับใช้ในเรือนจ�ำ โดยให้ความส�ำคัญ ในการพัฒนาทักษะอาชีพด้านเกษตรกรรม เกษตรทฤษฎี ใ หม่ ไ ปพร้ อ มกั บ พั ฒ นาระบบ คุณค่าภายในของผู้ต้องขัง เพื่อให้สามารถ เข้มแข็งและหยัดยืนได้ในอนาคต

เรือนจ�ำชั่วคราวเขากลิ้ง อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุ รี มี พื้ น ที่ ก ว้ า งกว่ า 600 ไร่ ที่นี้ไม่ได้ล้อมรั้วสูงใหญ่เหมือนเรือนจ�ำอื่นๆ มีต้นไม้ รั้วลวดหนามเล็กๆ และมี “บ้านดิน” ร้านกาแฟ ห้องสมุด แม้แต่ที่นอนผู้ต้องขัง ก็ ท� ำ จากดิ น ส� ำ หรั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ จ ะเข้ า มา ปรับตัวในศูนย์แห่งนี้ ต้องเป็นคนที่ต้องโทษ ครัง้ แรกและรับโทษมาแล้ว 1 ใน 4 หรือเหลือโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี ก็จะได้รบั พิจารณาให้เข้ามาอยู่ ในเรือนจ�ำแห่งนี้ และสถานที่แห่งนี้กลายเป็น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วแหล่ ง เรี ย นรู ้ บ ้ า นดิ น ให้ประชาชนได้เยีย่ มชมได้ การเปิดให้คนนอก เข้ามาสัมผัสกับบรรยากาศเรือนจ�ำ ในฐานะ แหล่งท่องเที่ยว ย่อมเป็นเหมือนการเปิดใจ ต่อความคิดที่คนมีต่อผู้ต้องขัง ขณะเดียวกัน ก็เป็นการเปิดใจผู้ต้องขังเอง ที่ต้องปรับตัว เพือ่ รับมือกับการกลับสูส่ งั คมในอนาคตอันใกล้

93


เรื่องที่ 25

โครงการประชารัฐ

ร่วมสร้างงาน สร้างอาชีพผู้ต้องขัง โครงการประชารัฐ ร่วมสร้างงาน สร้างอาชีพผูต้ อ้ งขัง เป็นการ ลงนามความร่วมมือระหว่างกรมราชทัณฑ์ กรมการจัดหางาน กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เพื่อสร้างอาชีพให้ผู้ต้องขัง ให้พวกเขามีงาน ไม่กลับไปท�ำผิดซ�้ำอีก

โดยที่ผ่านมา มีผู้เข้าร่วมโครงการและ สามารถออกไปท�ำงานประกอบอาชีพสุจริต ตามเป้ า หมายของโครงการแล้ ว 782 คน จากเรือนจ�ำ 45 แห่ง ทัว่ ประเทศ (ข้อมูล ณ วันที่ 27 กันยายน 2561) โครงการนีไ้ ม่เพียงแต่เป็นความก้าวหน้า ในการยกระดับความร่วมมือในเรื่องของระบบ การฟื้นฟูผู้ต้องขัง แต่ยังเป็นแนวทางส�ำคัญ 94

ในการปลดล็ อ คระบบในสั ง คม ที่ ป ั จ จุ บั น ยั ง ปิ ด โอกาสคนพ้ น โทษ เนื่ อ งจากระบบ กฎหมาย ระเบียบขององค์กรทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนในปัจจุบัน ยังปิดกั้นไม่ให้คนที่เคย ต้องโทษได้มีสิทธิ เสรีในการประกอบอาชีพ เช่นคนทั่วไป ท�ำให้พวกเขาไม่สามารถมีโอกาส ในการยกระดับการงานอาชีพของตัวเองได้ ในอนาคต


เรื่องที่ 25

สมภพเสวนา อาชีพ = โอกาส

สมภพ หรื อ โครงการส่ ง เสริ ม สั ม มาชี พ และ พัฒนาผลิตภัณฑ์ เป็นความริเริม่ ของกระทรวงยุตธิ รรม เพื่อให้กลุ่มนักโทษที่ผ่านกระบวนการบ�ำบัดพัฒนา พฤตินิสัยมีโอกาสกลับสู่ระบบแรงงาน และใช้ชีวิต อย่างปกติในสังคม

กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร นี้ น อ ก เ ห นื อ จากการเตรี ย มความพร้ อ มพั ฒ นาทั ก ษะ ด้านอาชีพต่างๆ เพื่อให้พร้อมกลับคืนสู่สังคม อย่างปกติแล้ว การให้ ‘โอกาส’ ก็ถือเป็นอีก ปัจจัยหนึ่งที่มีความส�ำคัญให้ผู้พ้นโทษสามารถ กลับสู่สังคม ซึ่งโอกาสดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ ก็ตอ่ เมือ่ สังคมมอบให้ โดยคนในสังคมเองก็ตอ้ ง รับรู้และมีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อผู้พ้นโทษ ปรับเปลีย่ นทัศนคติในการช่วยเหลือในฐานะ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ใ ห้ ผู ้ พ ้ น โทษกลั บ มามี โ อกาส ใช้ชีวิตอย่างปกติในสังคมต่อไป กิ จ กรรมในโครงการนอกเหนื อ จากการสร้ า งโอกาสและอาชี พ ให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง จึ ง ยั ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การสื่ อ สารเพื่ อ การ เปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ ที่ มี ต ่ อ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ผ่ า น กิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดกิจกรรม “สมภพเสวนา”

โดยส� ำ นั ก งานกิ จ การยุ ติ ธ รรม กระทรวง ยุติธรรม เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2561 ทีผ่ า่ นมา ในหัวข้อ “หนึง่ ค�ำ..ล้านความหมาย คลายปม คนพ้นโทษ” เพื่อสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคม ณ The Jam Factory กรุงเทพมหานคร ข้อมูลจากเวทีเสวนา ระบุวา่ ทีผ่ า่ นมา พบว่า 1 ใน 3 ของคนที่พ้นโทษจากเรือนจ�ำ จะกลับเข้ามาในเรือนจ�ำอีกภายในเวลา 3 ปี เหตุผล คือ คนที่เคยมีประวัติอาชญากรรม เมื่อออกไปใช้ชีวิตในสังคม โอกาสบางอย่าง ถูกปิดกั้น และยากที่จะได้รับความไว้วางใจ เพราะฉะนั้ น สิ่ ง นี้ จึ ง ท� ำ ให้ พ วกเขาไม่ มี ที่ ไ ป ก็เลยหันกลับเข้าสู่วังวนเดิม สิ่งนี้ดูเป็นเรื่อง ที่ควรแก้ไข และหาทางออกร่วมกันว่าจะท�ำ อย่างไรให้เราสามารถอยู่ร่วมกันได้ 95


เรื่องที่ 25

กาแฟเปลี่ยนชีวิต กรมราชทั ณ ฑ์ ไ ด้ จั ด ท� ำ โครงการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ เพื่อคืน คนดีสู่สังคม โดยได้รับความอนุเคราะห์จาก บริษัท เนสท์เล่ (โพรเพชชันนัล) ไทย จ�ำกัด ให้การสนับสนุนวิทยากรในการฝึกอาชีพขาย กาแฟและไอศกรีม “เนสกาแฟนักชงมืออาชีพ” ให้แก่ผู้ต้องขัง และสนับสนุนทุนประกอบอาชีพ แก่ผู้พ้นโทษ

ซึ่ ง ขณะต้ อ งโทษได้ รั บ การฝึ ก อาชี พ หลักสูตรดังกล่าว โดยได้มกี ารจัดอบรมฝึกอาชีพ ให้แก่ผตู้ อ้ งขังในเรือนจ�ำต่างๆ จ�ำนวน 58 แห่ง ทัว่ ประเทศ ในช่วงปี 2558 - 2561 และมีผตู้ อ้ งขัง ที่ผ่านการฝึกอบรมแล้ว 8,183 คน ซึ่งได้มี การขยายผลในการเปิดร้านขายกาแฟ และ เบเกอรี่ฝีมือผู้ต้องขัง เพื่อให้บริการแก่บุคคล ทั่ ว ไปในบริ เวณพื้ น ที่ ข องเรื อ นจ� ำ จ� ำ นวน 33 แห่ ง ซึ่ ง ได้ มี ก ารปั ก หมุ ด ลงในแผนที่ Google map เพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว หรื อ ผู ้ ที่ เ ดิ น ทางผ่ า นไปมาสามารถแวะมา อุดหนุนได้โดยสะดวก นอกจากนี้ ยังมีตัวอย่างของเรือนจ�ำ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาที่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การ ปรับปรุงเรือนจ�ำเก่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้กลายเป็นร้านกาแฟ “วังจันทร์ cook&coff” ภายใต้ แ นวคิ ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ มี ชี วิ ต และร้ า น 96

กาแฟสร้างโอกาสให้คนหลังก�ำแพง โดยได้ จ�ำลองและตกแต่งร้านในรูปแบบห้องขัง และน�ำ ผูต้ อ้ งขังหญิงทีม่ คี วามสามารถทางด้านชงกาแฟ ท�ำขนม มีโอกาสได้ฝึกทักษะและฝีมือ โดยมี เจ้ า หน้ า ที่ ข องเรื อ นจ� ำ คอยดู แ ลควบคุ ม อย่างใกล้ชิด นี่เป็นอีกตัวอย่างของความพยายาม ในการพั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ ที่ ห ลากหลายขึ้ น และใช้ร้านกาแฟเป็นจุดเชื่อมโยงที่จะน�ำไปสู่ จุดเปลี่ยนในการสร้างทัศนคติใหม่ของผู้คน ที่มีกับผู้ต้องขังและผู้ที่เคยต้องโทษ


“แต๊ก The Voices” โอกาสหลังก�ำแพง แรงบันดาลใจของคนเคยคุก

ผมเสพยาตั้ ง แต่ เ ด็ ก พอโดนจั บ ผมก็ เ หมื อ นจะคิ ด ได้ แต่เปล่า กลับกลายเป็นขยับไปเสพสิ่งที่รุนแรงขึ้นไปอีก ผมท�ำผิด มาหลายรอบ เข้าเรือนจ�ำ 5 ครั้ง รวมโทษแล้ว 12 ปี เป็นคดี ยาเสพติดทั้งหมด มันผิดซ�้ำๆ จนคนที่เคยรักเรา เขาเริ่มที่จะออก ห่างเราไปเรื่อยๆ สิ่งดีๆ ในชีวิตที่เคยได้รับ คนที่ช่วยเหลือเรา หายไปพร้อมกันหมด เพราะเราพ้นโทษไปไม่นาน ก็กลับมาอีก

นายอานนท์ วัชรีวงศ์ ณ อยุธยา หรือที่หลายๆ คน รู้จักในนาม แต๊ก The Voices เคยหลงผิด ถู ก จั บ กุ ม ข้ อ หายาเสพติ ด หลายคนตี ต ราหน้ า เป็ น คนขี้ คุ ก จนวั น นี้ ก ลั บ ตั ว กลั บ ใจเป็ น คนดี ข องสั ง คม “ชีวิตในเรือนจ�ำ มีคนหยิบยื่นโอกาสให้ตลอด แต่ผมเองที่ท�ำลายโอกาสนั้น จนพ้นโทษออกมา เพื่อนถามว่า “เอาหรือเปล่า” ผมก็กลับไปเสพอีก ผมหลงเดินทางผิด ท�ำลายโอกาสรอบข้างที่ให้มา ท�ำลายมิตรภาพ ท�ำลาย สุขภาพและท�ำลายชีวิตด้วยมือผมเอง” “ตอนนัน้ ไม่มใี ครเชือ่ ถือผมแล้ว เพราะผมเองทีเ่ ป็นคนท�ำลายโอกาสตัวเอง ครูโฉมฉาย คือคนทีท่ ำ� ให้ชวี ติ ผมมีค่า ครูสอนผมร้องเพลง ผมได้รับความเมตตาเป็นอย่างมากจากครู ผมไปหาครูเมื่อผมพ้นโทษ ได้มีโอกาส ไปร้องเพลงตามคอนเสิร์ตต่างๆ ผู้คนต่างชื่นชมความสามารถของผม ทั้งๆ ที่ผมเคยเป็นนักโทษ สิ่งดีๆ มากมาย เข้ามาในตอนนั้น สุดท้ายผมหลงระเริง ขาดความรับผิดชอบ กลับไปเสพอีก จนต้องกลับเข้าคุกไปอีก 2 ปี” ความผิดซ�้ำๆ เดิมๆ ท�ำให้เข้าๆ ออกๆ เรือนจ�ำ และสิ่งที่ทรมานมาก คือ การไม่ได้มีโอกาสได้จับเครื่องดนตรี หรือร้องเพลงเลย อาจเป็นเพราะทุกคนเริ่มหมดศรัทธา โอกาสที่เคยได้รับเริ่มหมดไปพร้อมกับอายุที่มากขึ้น จนวันหนึง่ ได้ดรู ายการ THE VOICE ในเรือนจ�ำ ท�ำให้รสู้ กึ ขึน้ มาทันทีเลยว่า “นีแ่ หละทีเ่ ราต้องไป” ท�ำให้ เลิกละสิง่ เลวๆ ทุกอย่าง เพือ่ เตรียมพร้อมร่างกาย เริม่ ออกวิง่ ในสนามตะกร้อทีเ่ รือนจ�ำ เพือ่ เป้าหมาย THE VOICE ซีซั่น 5 เพราะจะพ้นโทษตอนนั้นพอดี “จุดที่ท�ำให้ผมกลับมาเข้มแข็ง คือ วันที่วงบอดี้สแลมมาเล่นคอนเสิร์ตที่เรือนจ�ำ ผมได้มีโอกาสขึ้นไปร้อง เพลงกับพี่ตูน บอดี้สแลม พี่ตูนชื่นชมในพรสวรรค์ของผม ผมให้สัญญากับพี่ตูนว่า ผมจะกลับตัว มันท�ำให้ผม มุ่งมั่นตั้งใจที่จะท�ำตามความฝันให้ได้ ผมไป THE VOICE ทันทีที่ออกมา ตอนที่โค้ชก้องเลือกผม มันแทบจะยืน ไม่ไหว สิ่งที่ผมตั้งใจสู้มามันไม่ได้สูญเปล่า พี่ตูนเข้ามาหาผมหลังจากผมถูกโค้ชก้องเลือก พี่เขามาพร้อมกับเสื้อ ที่ผมเขียนให้เขาที่เรือนจ�ำ ค�ำสัญญาที่ให้พี่ตูนผมท�ำได้ครับ ผมกลับตัวได้แล้ว” “โอกาสนั้นส�ำคัญมาก ถ้าคุณได้รับมันคุณต้องให้ความส�ำคัญกับมันจริงๆ อย่ารอให้ถึงวันที่วันที่ไม่มีใคร หยิบยื่นมันให้คุณแล้ว ถ้าผมไม่ได้รับโอกาส ก็คงกลับมาเรือนจ�ำอีกทั้งชีวิต หรือไม่ก็ตายไปเพราะยาเสพติด” “ฝากถึ ง คนที่ ห ลงทางอยู ่ คุ ณ ท� ำ มั น ได้ ค รั บ ไม่ มี ใ ครท� ำ ไม่ ไ ด้ เว้ น แต่ คุ ณ ไม่ คิ ด จะท� ำ ” ปัจจุบัน แต๊ก The Voice เป็นนักร้องสังกัดค่ายเพลง Born To Be 97


ส่วนที่

4 สมัยนิยมทันยุค “Thailand 4.0” เป็นวิสัยทัศน์ เชิ ง น โ ย บ า ย ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ประเทศไทย หรือ โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของ รั ฐ บาล ภายใต้ ก ารน� ำ ของพลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี แ ละหั ว หน้ า คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ (คสช.) 98

ในการสร้างเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) บนฐานนวั ต กรรมความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละการบริ ก าร ซึ่ ง สอดคล้ อ ง กับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในระดับ พลิ ก ผั น ของเทคโนโลยี (Disruptive Technologies) ที่ เ กิ ดขึ้ น ทั่ วโลกซึ่ งเป็ น


ทั้งโอกาสและภัยคุกคามใหม่ ภายใต้เป้าหมาย ดังกล่าว จ�ำเป็นต้องมีการ “ปรับ จัดระบบ และ ปรับทิศทาง” ของทุกภาคส่วนรวมถึงระบบ งานราชการเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลง ค�ำถามภายใต้ เป้าหมาย “Thailand 4.0” คือ ระบบกฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธ รรมไทย

ในยุ ค ใหม่ จะเปลี่ ย นไปในทิ ศ ทางไหน ส่ ว นหนึ่ ง ของค� ำ ตอบอยู ่ ใ นการปรั บ ตั ว ในหลายๆ ด้ า นของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ในช่วงที่ผ่านมาโดยเฉพาะการน�ำเทคโนโลยี มาใช้มากขึ้นในกระบวนการยุติธรรม 99


เรื่องที่ 26

CARE SUPPORT การพัฒนาระบบรายงานผล

การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ผู้พ้นโทษ ผู้ถูกคุมประพฤติ CARE SUPPORT เป็นระบบรายงานผล การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพผู้พ้นโทษ ผู้ถูก คุมความประพฤติ ที่พัฒนาขึ้นโดยกระทรวง ยุติธรรม เพื่อใช้ส�ำหรับติดตามและรายงาน ผลการติ ด ตามการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ จาก

ภาคราชการในการประกอบอาชี พ ของ ผู ้ ถู ก คุ ม ประพฤติ หรื อ ผู ้ พ ้ น โทษ ภายใต้ การท� ำ งานร่ ว มกั น ระหว่ า งกรมราชทั ณ ฑ์ กรมคุมประพฤติ กรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน

ระบบดังกล่าวเป็นระบบที่ท�ำขึ้นเพื่อ ส นั บ ส นุ น ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง ศู น ย ์ C A R E ภายในเรื อ นจ� ำ ทั ณ ฑสถาน และส� ำ นั ก งาน คุ ม ประพฤติ ทั่ ว ประเทศ จ� ำ นวน 256 แห่ ง ที่ให้ความช่วยเหลือด้านการมีงานท�ำเป็นหลัก เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง มี ง านและอาชี พ สุ จ ริ ต ท� ำ เมื่ อ พ้ น โทษเพื่ อ ติ ด ตามผลและ ให้ความช่วยเหลือผูต้ อ้ งขังอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ลด

การกระท�ำผิดซ�้ำ โดยช่วยให้ผู้พ้นโทษสามารถ ตั้งหลักและประกอบอาชีพสุจริต และสามารถ ค่อยๆ ปรับตัวอยู่ในสังคมภายหลังจากพ้นโทษ ซึ่งจะเป็นการสนับสนุนระบบการพัฒนาอาชีพ แบบปกติ โดยศู น ย์ CARE จะท� ำ งานกั บ ผู้ประกอบการในท้องถิ่นเพื่อหาต�ำแหน่งงาน และยังให้ทนุ ส�ำหรับผูพ้ น้ โทษทีต่ อ้ งการประกอบ อาชีพอิสระ ไม่วา่ จะเป็นค้าขายข้าวเหนียวไก่ยา่ ง

100


ลูกชิน้ ปิง้ ช่างตัดผมชาย เลีย้ งวัวขุน ค้าขายอาหาร ตามสั่ง ก๋วยเตี๋ยว และการท�ำไร่ผักกาดเขียว ซึ่ ง ในการด� ำ เนิ น การตามแนวทางดั ง กล่ า ว ต้องใช้ระบบติดตามมากกว่าปกติ ซึ่ง CARE SUPPORT จะช่วยสนับสนุนงานและอ�ำนวย ความสะดวกให้ กั บ เจ้ า หน้ า ที่ คุ ม ประพฤติ มากขึ้น ระบบดังกล่าวยังสนับสนุนผู้พ้นโทษ ในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้นด้วย

จากการใช้ระบบ CARE SUPPORT ในการติดตามผล พบว่า จากจ�ำนวนผู้พ้นโทษ ทีไ่ ด้รบั การติดตาม 13,700 คน มีคนทีม่ งี านท�ำ จ�ำนวนมากถึง 11,583 คน หรือคิดเป็น 84.5% และมีอตั ราในการกระท�ำผิดซ�ำ้ เพียง 112 คน หรือ คิดเป็น 0.8% ซึ่งเป็นเป้าหมายในการพัฒนา ระบบติดตามผล CARE SUPPORT เพื่อลด ปัญหาการกระท�ำผิดซ�้ำต่อไป

ผลความคืบหน้าการติดตามผู้พ้นโทษด้วยระบบ CARE SUPPORT ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 จาก 137 แห่ง มีผู้พ้นโทษได้รับการติดตาม 13,700 คน รายละเอียดดังนี้

จ�ำนวน (คน) 11,583

คิดเป็นร้อยละ

2.3%

0.8%

6.7% 5.6% 84.5%

915 771

มีงานท�ำ

ไม่สามารถ อยู่ระหว่าง ติดต่อได้ การติดตาม

319 ว่างงาน

112 การท�ำผิดซ�ำ้

101


เรื่องที่ 26

ระบบเยี่ยมผู้ต้องขังทางไกล ผ่าน Skype และ LINE ด้ ว ยข้ อ จ� ำ กั ด ของเศรษฐสถานะทางสั ง คม และการเป็นผู้มีรายได้น้อยของครอบครัวผู้ต้องขัง การเดินทางไปเยี่ยมลูกหลานยังเรือนจ�ำทัณฑสถาน หรือในสถานพินจิ ฯ และศูนย์ฝกึ อบรม ฯลฯ ในต่างพืน้ ที่ ถือเป็นภาระใหญ่ในแง่ค่าใช้จ่าย การจะพบหน้ากัน แต่ ล ะครั้ ง จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ย ากล� ำ บาก ขณะที่ หลายครอบครั ว แทบไม่ มี โ อกาสพบหน้ า กั น เมื่อคนในครอบครัวต้องโทษอยู่ในเรือนจ�ำ ซึ่งส่งผล กระทบส� ำ คั ญ กั บ โปรแกรมการฟื ้ น ฟู ผู ้ ต ้ อ งขั ง เพราะครอบครั ว ถื อ เป็ น ก� ำ ลั ง ใจส� ำ คั ญ และเป็ น ความหวังที่จะให้ผู้ต้องขังมีก�ำลังใจในการกลับตัว และพัฒนาตัวเองเพื่อเตรียมความพร้อมกลับสู่สังคม เพื่อแก้ปัญหานี้กระทรวงยุติธรรม จึงได้ ริ เริ่ ม น� ำ เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารทางไกล VDO Conference & Skype และแอปพลิเคชันไลน์ มาให้บริการญาติผตู้ อ้ งขัง เพือ่ ให้ญาติและผูต้ อ้ งขัง มีโอกาสสื่อสารและเห็นหน้าโดยไม่จ�ำเป็นต้อง เดินทางไกล ปั จ จุ บั น มี ร ะบบที่ น� ำ มาใช้ 2 ระบบ ในการสื่อสารทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ช่วยเหลือผูต้ อ้ งขังและครอบครัว ได้แก่ ระบบ Skype ของกรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน และระบบแอปพลิเคชันไลน์ ของกรมราชทัณฑ์ 102

ที่ ผ ่ า นมากรมพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน ได้จัดโครงการเยี่ยมญาติผ่านระบบ ทางไกลทางหน้ า จอด้ ว ยโปรแกรม Skype น� ำ ร่ อ ง 3 จั ง หวั ด หลั ก ๆ คื อ ศู น ย์ ฝ ึ ก และ อบรมเด็ ก และเยาวชนเขต 1 จั ง หวั ด ระยอง สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด จันทบุรี และสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชนจั ง หวั ด ตราด ได้ เ สี ย งตอบรั บ ดี ม าก โดยสถิติผู้มาใช้บริการตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 – 30 กันยายน 2561 มีการใช้บริการเยี่ยม ทางไกลผ่านหน้าจอภาพกว่า 12,907 ครั้ง


ขณะที่ ร ะบบเยี่ ย มญาติ ท างไกล แบบเห็ น หน้ า โดยใช้ ร ะบบวิ ดี โ อคอลผ่ า น แอปพลิเคชันไลน์ของกรมราชทัณฑ์ ก็ได้รับ การตอบรั บ ที่ ดี ม ากเช่ น กั น โดยที่ ผ ่ า นมา มีการทดลองใช้ระบบดังกล่าวใน 5 เรือนจ�ำ ได้แก่ เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก เรือนจ�ำกลาง ระยอง เรือนจ�ำกลางเชียงใหม่ เรือนจ�ำกลาง คลองไผ่ และเรือนจ�ำกลางนครศรีธรรมราช และ ได้เปิดให้บริการเพิ่มเติมส�ำหรับทัณฑสถาน บ�ำบัดพิเศษกลางอีกด้วย ส� ำ หรั บ ขั้ น ตอนการขอเยี่ ย มญาติ ระบบทางไกลผ่ า นทางจอภาพ หรื อ วิ ดี โ อ แอปพลิ เ คชั น ไลน์ ล� ำ ดั บ แรกญาติ จ ะต้ อ ง เดินทางไปยังกรมราชทัณฑ์ ณ ศูนย์บริการร่วม กรมราชทั ณ ฑ์ (call center) ในวั น และ

เวลาราชการ เพือ่ ลทะเบียน ส่วนเอกสารทีต่ อ้ ง เตรียมไปยื่นลงทะเบียนด้วย คือ บัตรประจ�ำตัว ประชาชนและส�ำเนาทะเบียนบ้าน เพื่อจองคิว ทะเบี ย นไว้ โดยคนที่ ม าลงทะเบี ย นเยี่ ย ม ต้องมายื่นเรื่องด้วยตนเอง และเมื่อถึงวันนัดหมาย ญาติ ส ามารถมาเยี่ ย มผ่ า นระบบวิ ดี โ อ ทีก่ รมราชทัณฑ์ โดยคนทีไ่ ม่มบี ตั รทีเ่ จ้าหน้าทีอ่ อกให้ จะไม่ได้รับสิทธิ์เข้าเยี่ยม และคนลงทะเบียน กับคนเยี่ยมจริงต้องเป็นคนเดียวกันเท่านั้น และนี่เป็นส่วนหนึ่งของความพยายาม ในการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานที่ตระหนัก ในเรื่ อ งสิ ท ธิ ผู ้ ต ้ อ งขั ง และความพยายาม ที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาโปรแกรมฟื้นฟูผู้ต้องขัง ได้ดีขึ้นในอนาคต

การให้บริการเยี่ยมญาติทางไกล Video Conference & Skype

เปิดให้บริการ

การให้บริการ สามารถช่วยให้พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ประหยัดค่าเดินทาง และค่าทีพ่ กั ในการไปเยีย่ มเยาวชนได้ อีกทัง้ ยังช่วยลดอุบตั เิ หตุทอี่ าจจะเกิดขึน้ ในขณะเดินทางได้

1 2 ผู้ปกครอง เตรียมเอกสาร ยื่นบัตรประจ�ำตัว หลักฐาน กรอกเอกสาร ประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ ยื่นค�ำร้องขอเยี่ยมเยาวชน ยื่นเอกสารผูข้ อเยี่ยม เยาวชน QR Code ลงทะเบียนเยี่ยมเด็ก/เยาวชน

3 ตรวจเอกสารว่า มีสิทธิ์เยี่ยมได้หรือไม่ ติดต่อสถานควบคุม เบิกตัวเยาวชน

วันจันทร์ - ศุกร์ ตั้งแต่เวลา

8.30-16.00 น.

4 ด�ำเนินการเยี่ยม ผ่านทาง Video

Conference & Skype

ไม่เกิน 15 นาที

สามารถติดต่อขอเยี่ยมได้ที่ ศูนย์ฝึกฯ และสถานพินิจฯ ใกล้บ้านท่าน 103


เรื่องที่ 27

การเปิดระบบฝากเงินผู้ต้องขัง ผ่านบัญชีธนาคารพาณิชย์ ในอดี ต หากญาติ ต ้ อ งการฝากเงิ น ให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ต้ อ งเดิ น ทางไปที่ เ รื อ นจ� ำ ทุ ก เดื อ นด้ ว ยตั ว เอง โดยระบบแบบเก่ า ใช้ ผู ้ คุ ม เป็ น ผู ้ น� ำ ฝากและเก็ บ รั ก ษาเงิ น ให้ นั ก โทษ ซึ่ ง มี ขั้ น ตอนที่ ยุ ่ ง ยาก เป็ น ภาระงานส� ำ หรั บ เจ้ า หน้ า ที่ อี ก ทั้ ง ยั ง มี โ อกาส ที่สร้างช่องทางความไม่โปร่งใส ปัจจุบันกรมราชทัณฑ์ จึงพัฒนาระบบรับฝากเงินให้เข้ากับยุค Thailand 4.0 เป็ น โครงการน� ำ ร่ อ งโดยธนาคารกรุ ง ไทย ที่ เข้ า มา เปิดบัญชีเงินฝากและออกบัตรกดเงินให้ผู้ต้องขัง

ทุ ก วั น นี้ ส� ำ หรั บ ทั ณ ฑสถานน� ำ ร่ อ ง ญาติไม่ต้องเดินไปเรือนจ�ำทุกเดือนเพื่อฝากเงิน ให้ผู้ต้องขังอีกแล้ว แต่สามารถฝากเงินผ่าน ธนาคารกรุ ง ไทยหรื อ โอนผ่ า น E-Banking ได้ โ ดยตรง โดยจะมี ร ะบบตั ด ลดวงเงิ น ฝาก จากยอดใช้จา่ ยประจ�ำวันของผูต้ อ้ งขังโดยจ�ำกัด เพดานไว้ที่ 300 บาท ต่อวัน เงินฝากในบัญชี ธนาคารของผู้ต้องขังยังจะได้รับการค�ำนวณ ดอกเบี้ ย เงิ น ฝากในอั ต ราที่ ส ถาบั น การเงิ น ก�ำหนดอีกด้วย

104

ปั จ จุ บั น มี ก ารทดลองใช้ ร ะบบนี้ แ ล้ ว ที่เรือนจ�ำทัณฑสถาน 3 แห่ง ได้แก่ เรือนจ�ำ กลางคลองเปรม เรือนจ�ำกลางเพชรบุรี และ ทัณฑสถานหญิงธนบุรี และในอนาคตเตรียม ที่จะขยายให้บริการเงินฝากผ่านทางธนาคาร กับเรือนจ�ำทัณฑสถานทั่วประเทศ ที่มีนักโทษ รวมกว่า 367,000 ราย และตัง้ เป้าว่าภายในปี 2563 จะขยายบริการ ไปอีก 18 แห่ง เพื่อลดขั้นตอน และอ�ำนวยความสะดวกให้กบั ญาติและผูต้ อ้ งขัง เพิ่มมากขึ้นในอนาคต


เรื่องที่ 28

ก�ำไล EM เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ควบคุมการปล่อยชั่วคราว

“ก� ำ ไล EM” เป็ น ชื่ อ เรี ย กสั้ น ๆ ของ กํ า ไลอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic Monitoring: EM) มี ก ารน� ำ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ มาใช้ แ ทนการวางเงิ น ประกั น หรื อ จ� ำ กั ด การเดิ น ทางของบุ ค คลมาใช้ ในการปล่อยชั่วคราวของศูนย์ควบคุมและติดตามการปล่อยตัวชั่วคราว

เหตุผลที่ต้องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ติ ด ตามตั ว ส่ ว นหนึ่ ง เพื่ อ ช่ ว ยลดความแออั ด ของผู ้ ต ้ อ งขั ง ในเรื อ นจ� ำ ทั่ ว ประเทศและ เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาผู ้ ต ้ อ งหาหรื อ จ� ำ เลยหลบหนี ในชั้นปล่อยชั่วคราว รวมไปถึงการลดปัญหา ความเหลือ่ มล�ำ้ ของสังคม อย่างบางกรณีผตู้ อ้ งหา ยากจนไม่มีเงินประกันตัว ท�ำให้เสียโอกาสได้รับ การปล่อยชั่วคราว เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์นี้ จะท�ำให้ผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยเข้าถึงกระบวนการ ยุ ติ ธ รรมได้ ง ่ า ยขึ้ น การน� ำ เครื่ อ งมื อ ดั ง กล่ า ว มาใช้ยังท�ำให้ลดปริมาณผู้ต้องขังหรือผู้ต้องโทษ ในเรือนจ�ำอีกด้วย ในทางเทคนิ ค เครื่ อ งมื อ นี้ จะสามารถ จับทุกความเคลือ่ นไหวของผูท้ สี่ วมใส่ในทุกฝีกา้ ว สามารถใช้จ�ำกัดพื้นที่หรือควบคุมผู้กระท�ำผิด

โดยไม่ ต ้ อ งอยู ่ ใ นเรื อ นจ� ำ โดยเครื่ อ งมื อ อิเล็กทรอนิกส์ในการควบคุมตัวประกอบไปด้วย ตั ว อุ ป กรณ์ ส ่ ง สัญญาณ มีลกั ษณะคล้ายนาฬิกา หรือสายรัดข้อมือ/ข้อเท้า ตัวอุปกรณ์รบั สัญญาณ จี พี เ อสและศู น ย์ ค วบคุ ม กลางที่ ใช้ ติ ด ตามตั ว ดั ง นั้ น เมื่ อ สวมใส่ อุ ป กรณ์ ที่ ข ้ อ มื อ /ข้ อ เท้ า หรืออวัยวะส่วนอืน่ ติดตัวตลอด สามารถตรวจสอบ การเดินทางของผู้สวมใส่ได้

105


ทีผ่ า่ นมาในประเทศไทย กรมคุมประพฤติ เริม่ น�ำอุปกรณ์ทวี่ า่ นีม้ าทดลองใช้กบั กลุม่ ผูท้ อ่ี ยู่ ในระหว่ า งคุ ม ประพฤติ โ ดยไม่ ต ้ อ งถู ก ขั ง ในเรือนจ�ำตั้งแต่ปี 2544 โดยอุปกรณ์สามารถ รั บ -ส่ ง สั ญ ญาณ แจ้ ง พิ กั ด ว่ า ผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติอยู่ตรงไหน ออกนอกควบคุม พื้ น ที่ ที่ ก� ำ หนดหรื อ ไม่ นอกจากนี้ ยั ง ศึ ก ษา แนวทางจากประเทศต่ า งๆ ที่ น� ำ อุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้ เช่น บราซิล อิ ส ราเอล เกาหลี ใ ต้ อั ง กฤษ แคนาดา สิงคโปร์ ฯลฯ มาปรับใช้ในการด�ำเนินการ ในประเทศไทย ปัจจุบันกระทรวงยุติธรรมได้น�ำก�ำไล EM มาใช้กับแล้วกับผู้ต้องขัง 2 ประเภท 1. กลุ่มที่ท�ำผิดต้องโทษในเรือนจ�ำ ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว และกลุ่มถูกคุม ความประพฤติ ไ ด้ รั บ การประกั น ตั ว โดยมี เงื่อนไขให้ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว 2. กลุ ่ ม ผู ้ ต ้ อ งขั ง ได้ รั บ การพั ก /ลด วันต้องโทษจ�ำคุก ผู้ได้รับปล่อยตัวจากเรือนจ�ำ ก่อนก�ำหนด

106

อย่ า งไรก็ ต ามก� ำ ไล EM จะใช้ ไ ด้ ในชัน้ ปล่อยตัวชัว่ คราว ซึง่ ก็คอื ชัน้ ทีย่ งั ไม่พพิ ากษา เท่านัน้ โดยดูจากพฤติการณ์ของผูต้ อ้ งหาเป็นหลัก เจ้าหน้าที่จะต้องประเมินความเสี่ยงในการ ปล่อยตัวชั่วคราวก่อน เช่น มีความเสี่ยงในการ หลบหนี ความเสีย่ งในการก่อเหตุซำ้� ความเสีย่ ง ที่ก่อให้เกิดอันตรายในสังคม ความเสี่ยงที่จะ เข้าไปยุ่งกับพยานหลักฐาน และประเมินจาก ฐานข้อมูลพฤติกรรมส่วนบุคคลเป็นส�ำคัญ ยกเว้ น ความผิ ด ในคดี อุ ก ฉกรรจ์ สะเทือนขวัญ และคดียาเสพติดทีม่ คี รอบครอง และจ�ำหน่ายจ�ำนวนมาก หรือผู้ต้องหาที่มี แนวโน้ ม จะหลบหนี สู ง เช่ น กลุ ่ ม ผู ้ ต ้ อ งหา ที่มีหมายจับซ�้ำๆ กระท�ำความผิดซ�้ำๆ และ เคยหลบหนี ม าก่ อ น มี ถิ่ น ฐานที่ ไ ม่ แ น่ น อน ย้ายถิ่นตลอดเวลา ฯลฯ เท่านั้นที่จะไม่มีการ พิจารณาน�ำมาใช้ก�ำไล EM จากการศึกษาในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมาเกีย่ วกับ การทดลองใช้อปุ กรณ์ EM พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่ ว นใหญ่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ การใช้ อุ ป กรณ์ EM เข้ า มาควบคุ ม ติ ด ตาม โดยระบุ ว ่ า เป็ น การสร้ า งโอกาสทางสั ง คม ให้ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด มี โ อกาสกลั บ ตนเป็ น คนดี ซึ่ ง ควรเลื อ กใช้ ให้เหมาะสมกับแต่ละประเภทคดี ไม่ควรเกิน 1 ปี และรัฐบาลควรเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ ซึง่ เป็นอีกหนึง่ โครงการทีท่ างภาครัฐบาล ได้เล็งเห็นและให้ความส�ำคัญกับผูต้ อ้ งขังเพือ่ ให้ ได้รบั โอกาสในการได้รบั การปล่อยตัวชัว่ คราวและ เป็นการเปิดโอกาสให้ได้ใช้เวลาอยูก่ บั ครอบครัว ของตนเองได้ดงั่ เดิมอีกด้วย


เรื่องที่ 29

Big Data เพื่อการพัฒนาการให้บริการงาน ยุติธรรมให้ทั่วถึงและเท่าเทียม ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ท� ำ ให้ ก าร จัดเก็บข้อมูลประมวลผล ปัจจุบันถูกปรับเปลี่ยน เป็นน�ำไปสู่ระบบ Cloud Computing ซึ่งหน่วยงาน ภาครัฐเองได้ให้การสนับสนุน และส่งเสริมให้เกิด การพั ฒ นา Private Cloud Computing เพื่ อ ท� ำ งานได้ ส ะดวกรวดเร็ ว ขึ้ น จนท� ำ ให้ เ กิ ด เป็นคลังข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data ที่สามารถ เก็บข้อมูลและส่งถ่ายข้อมูลได้ง่าย ท�ำให้หน่วยงาน องค์กรต่างสังกัดสามารถดึงข้อมูลมาใช้ระหว่างกัน เพื่อแก้ปัญหาหรือสืบค้นต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ที่ ผ ่ า นมากระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ พั ฒ นา งานดังกล่าว โดยจัดท�ำโครงการศึกษาการใช้ Big Data เกี่ยวกับข้อมูลการใช้บริการ สอบถาม ความคิดเห็นของผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการสืบสวน การฟ้องร้อง การพิจารณาคดี และการลงโทษ โดยน�ำข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับมาจากทุกช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลในโลกออนไลน์ ทางสังคม หรือแม้แต่ภายในองค์กร มาจัดท�ำระบบสถิติ ด้ า นงานยุ ติ ธ รรม เพื่ อ น� ำ มาจั ด ท� ำ ข้ อ มู ล เชิงสถิติ และปรับปรุงบริการให้เกิดประโยชน์ และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน มากที่ สุ ด โดยการใช้ ข ้ อ มู ล จะให้ ค วามส� ำ คั ญ

101 0110 1011

กั บ การใช้ ข ้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล (Data Privacy) ในการวางระบบระวังความปลอดภัยของข้อมูล ไม่ให้ขอ้ มูลเกิดการรัว่ ไหล และใช้การจัดการข้อมูล อย่างเป็นไปตามหลักกฎหมายและจริยธรรม นอกจากนี้ยังมีการใช้ Big Data ส�ำหรับ งานกลุ่มภารกิจพัฒนาพฤตินิสัย เพื่อน�ำข้อมูล ที่ มี น้ั น มาวิ เ คราะห์ และแก้ ป ั ญ หาลดภาวะ การกระท�ำผิดซ�ำ้ ให้ดยี ง่ิ ขึน้ ในอนาคต และจะเป็น ส่วนหนึง่ ทีจ่ ะช่วยปรับปรุงงานในระบบยุตธิ รรมและ การอ�ำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชนทุกคน อย่างเท่าเทียม 107


เรื่องที่ 30

การพัฒนา Application เพื่อยกระดับการเข้าถึงบริการ ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ

“ตรวจสอบสถานะเรื่องร้องเรียน”

กรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นหนึ่ง ใ น ห น ่ ว ย ง า น ที่ มี ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า ในการน� ำ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ มาปรั บ ใช้ ในการให้ บ ริ ก ารประชาชน ที่ ผ ่ า นมา มีการจัดท�ำแอปพลิเคชัน (Application) ต่างๆ ทัง้ ในระบบ web page www.dsi.go.th และ ในระบบโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เคลื่ อ นที่ Smart Phone เพื่อเข้าถึงประชาชน มากขึ้น โดยผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลด ข้อมูลได้ตามรายละเอียดดังนี้

ประชาชนผู้ร้องสามารถตรวจสอบสถานะ เรื่องร้องเรียนได้ โดยต้องยืนยันตัวบุคคล ด้วยการกรอกเลขทีบ่ ตั รประจ�ำตัวประชาชน 13 หลักของผู้ร้องในการเข้าถึงข้อมูล

“แจ้งเบาะแส ร้องเรียน ร้องทุกข์”

เป็ น Application ที่ ป ระชาชนสามารถติ ด ต่ อ “แจ้งเบาะแส ร้องเรียน ร้องทุกข์” มายังกรมสอบสวน คดี พิ เ ศษ โดยข้ อ มู ล ที่ แจ้ ง จะต้ อ งเป็ น ความจริ ง ทุกประการ เพือ่ ป้องกันการใช้ขอ้ มูลของผูอ้ นื่ มาแอบอ้าง 108

“ตรวจสอบสถานะคดีพิเศษ”

ประชาชนผู้ร้องสามารถตรวจสอบสถานะคดีพิเศษได้ โดยต้องยืนยันตัวบุคคลด้วยการกรอกเลขทีบ่ ตั รประจ�ำตัว ประชาชน 13 หลักของผู้ร้อง ในการเข้าถึงข้อมูล


“DSI MAP” คือ ระบบแอปพลิเคชันเพื่อใช้ในการ ตรวจสอบการบุกรุกทีด่ นิ ของรัฐทีส่ ามารถใช้งานได้ อยู่บนระบบ Web Browser ทั่วไปที่ใช้งานได้ บนคอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง โต๊ ะ หรื อ คอมพิ ว เตอร์ Note book หลักการท�ำงาน คือ โปรแกรมสามารถ แสดงแนวเขตที่ดินของรัฐประมาณ 10 ชั้นข้อมูล ที่ซ้อนทับกับข้อมูลแผนที่ของ Google Map โดย การใส่คา่ พิกดั แผนทีข่ องต�ำแหน่งทีต่ อ้ งการตรวจสอบ หลั ง จากนั้ น โปรแกรมจะรายงานผลออกมาว่ า อยู่ในเขตที่ดินของรัฐหรือไม่อย่างไร ซึ่งฐานข้อมูล แนวเขตที่ ดิ น ของรั ฐ ที่ บ รรจุ อ ยู ่ ใ นโปรแกรม DSI MAP ยังเป็นฐานข้อมูลแผนทีเ่ ก่าของกระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง ยั ง มี ความคลาดเคลื่อนสูงมาก

“DSI MAPEXTEND” คื อ ระบบแอปพลิ เ คชั น เ พื่ อ ใช ้ ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ก า ร บุ ก รุ ก ที่ ดิ น ของรั ฐ ซึ่ ง พั ฒ นาอยู ่ บ นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ระบบ แอนดรอยด์ ที่สามารถติดตั้งได้ฟรี เป็นการพัฒนา ต่อเนื่องมาจากโปรแกรม DSI MAP เดิม ซึ่งยังมี ข้อจ�ำกัดในการตรวจสอบต�ำแหน่ง เนือ่ งจากปัจจุบนั โทรศัพท์มือถือสามารถตรวจสอบต�ำแหน่ง GPS ได้ โ ดยตรงท� ำ ให้ ผู้ ใช้ ง านสามารถตรวจสอบผ่ า น โทรศัพท์ได้แบบทันที (Real Time) และยังสามารถ ส่ ง รายละเอี ย ดร้ อ งเรี ย นโดยแนบภาพถ่ า ยพื้ น ที่ เกิ ด เหตุ ส่ ง มายั ง กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษได้ ทั น ที ซึง่ ระบบดังกล่าวในอนาคตสามารถเชือ่ มโยงแนวเขต ที่ดินของรัฐจากโครงการ One Map ของรัฐบาล ได้โดยตรงเนื่องจากเป็นการบริการข้อมูลแผนที่ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet GIS)

1-2 ปีที่ผ่านมา มีกรณีหลอกลวงแชร์ลูกโซ่ หลายคดี หากปล่ อ ยไปจะมี ป ระชาชนตกเป็ น เหยื่ อ เพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษ จึงพัฒนาแอปพลิเคชั่นเพื่อตรวจสอบพฤติการณ์ ว่ า การลงทุ น ที่ มี ผู ้ ม าชั ก ชวนเป็ น แชร์ ลู ก โซ่ หรือไม่ ซึ่งธุรกิจแชร์ลูกโซ่ แตกต่างจากธุรกิจ ขายตรงที่ค่าสมัครจะมีราคาสูง และไม่มีสินค้า หรือสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ส�ำหรับแอปพลิเคชัน ดั ง กล่ า ว สามารถโหลดได้ ท างระบบ IOS ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งพั ฒ นาให้ ส ามารถใช้ ไ ด้ ในระบบแอนดรอยด์ 109


เรื่องที่ 31

DSI MAP นวัตกรรมเพื่อปกป้อง

การบุกรุกทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และที่ดินของรัฐ กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษได้ คิ ด ค้ น นวั ต กรรมการ ตรวจสอบความถูกต้องของที่ดินด้วยตนเอง ในรูปแบบ Application ชื่อ DSI Map จัดท�ำขึ้นมาเพื่อตรวจสอบ และค้นหาแนวขอบเขต ป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่า และ ทรัพยากรธรรมชาติทั่วไป สามารถเข้าถึงโปรแกรมได้ง่าย เพียงแค่คลิก ผ่านอินเตอร์เน็ตสามารถรู้สิทธิในที่ดินนั้นได้ โดยสามารถดาวน์โหลดได้ทั้งระบบ Android และ IOS

DSI Map จะแสดงข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวกับ ขอบเขตของพืน้ ทีส่ ำ� คัญ อย่างเขตอุทยานแห่งชาติ เขตป่าสงวนแห่งชาติ เขตป่าไม้ถาวร เขตรักษา พันธ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขตป่าชายเลน เขตทีด่ ินปฏิรปู เกษตรกรรม เขตนิคมสร้างตนเอง เขตประทานบัตรเหมืองแร่ ทัง้ นี้ ใน Application ยังมีการเก็บฐานข้อมูลในระบบสามารถตรวจสอบ พิกัด ขอบเขต โดยประชาชน หรือหน่วยงานรัฐ 110

สามารถเข้ า ใช้ บ ริ ก ารได้ โ ดยวิ ธี ก ารใช้ ง าน หลักการของ DSI MAP คือการน�ำชั้นข้อมูล (Layer) ในแต่ละข้อมูล มาซ้อนทับกัน (Overlay) เพือ่ แสดงผล ในตัวอย่างจะประกอบด้วย 3 ชัน้ ข้อมูล คือ ชัน้ ข้อมูลแผนทีฐ่ าน (base map) ชั้นข้อมูล พื้นที่ สปก. และชั้นข้อมูล เขตป่าสงวน โดยมี ขั้นตอนการใช้งานดังนี้


ขั้นตอนการใช้งาน DSI MAP

ขั้นตอน 1 เปิดหน้าเว็บ dsi-map > เลือกพื้นที่ ที่ต้องการจะตรวจสอบ

ขั้นตอน 2 ขยับเพื่อความชัดเจนของพื้นที่

ขั้นตอน 3 คลิกถูกที่เลเยอร์ พื้นที่ สปก. > จะเห็นได้ว่า มีแสดงพืน้ ทีส่ ขี าวโปร่งแสง ซึง่ จะเป็นการแสดง อาณาเขตพืน้ ที่ ส.ป.ก. ตามภาพ คือ สนามแข่งรถ อยู่ในพื้นที่ ส.ป.ก. แน่ๆ

111


ขั้นตอน 4 ลองคลิกดูที่เลเยอร์ เขตป่าสงวน > จะเห็น ไ ด ้ ว ่ า แ ส ด ง พื้ น ที่ สี เขี ย ว โ ป ร ่ ง แ ส ง ซึ่งจะเป็นการแสดงอาณาเขตพื้นที่ป่าสงวน

ขั้นตอน 5 ลองคลิกเลือกทัง้ 2 เลเยอร์ พร้อมกัน คือ พื้นที่ สปก. และ เขตป่าสงวน

ส� ำ ห รั บ ก า ร พั ฒ น า D S I M a p ด้ ว ยการน� ำ เทคโนโลยี ภู มิ ส ารสนเทศ หรื อ GIS มาประยุกต์ใช้ดา้ นบริหารเขตพืน้ ทีแ่ ละการ ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ซึ่งข้อมูลชุดนี้ ใช้ระยะเวลาและการท�ำงานที่ค่อนข้างซับซ้อน ใช้เวลานานในการจัดท�ำข้อมูล ดังนั้นการเปิด ให้ใช้ข้อมูลโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจึงเป็นไปเพื่อ ประโยชน์สงู สุดของประชาชน และเพือ่ ลดวังวน ซ�้ำซากของปัญหาการบุกรุกผืนป่า ตลอดจน การคืนความเป็นธรรมให้ประชาชน ที่ไม่ได้รับ ความเป็นธรรมเกี่ยวกับที่ดินและสิ่งแวดล้อม เช่น กรณีหากถูกหลอกให้ซอื้ -ขาย พืน้ ทีต่ อ้ งห้าม ก็สามารถน�ำฐานข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการ วิ เ คราะห์ และประชาชนทั่ ว ไปจะสามารถ 112

ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้ได้ด้วยตนเอง ได้ในอนาคต ปั จ จุ บั น กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษยั ง อยู ่ ในระหว่างก�ำลังเสนอระบบ DSI MAP กับ โครงการ ONE MAP ของรั ฐ บาล และน� ำ ฐานข้ อ มู ล ตามโครงการ ONE MAP มาใช้ เพื่อปรับปรุงแนวแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ ซึ่งมาจากข้อมูลของหลายหน่วยงาน ให้มาอยู่ ในระบบและมาตรฐานเดี ย วกั น ทั้ ง ประเทศ เพื่อลดปัญหาความคลาดเคลื่อนของต�ำแหน่ง มีความสะดวกสบายขึน้ และสามารถแก้ปญ ั หา การบุกรุกที่ดินและการบังคับใช้ทางกฎหมาย ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในอนาคต


เรื่องที่ 32

กรมบังคับคดี 4.0 กับ

6 Application

เพื่อบริการที่ง่ายขึ้น กรมบังคับคดีได้รบั คัดเลือกจากส�ำนักงาน ก.พ. ให้เป็นหน่วยงาน ต้ น แบบการสร้ า งและพั ฒ นาก�ำ ลั ง คนภาครั ฐ เชิ ง กลยุ ท ธ์ เพื่ อ การ ไปสู่ก ารเป็ น “ดิ จิ ทั ล ไทยแลนด์ ” เพื่ อ มุ ่ ง สู ่ เ ป้ า หมายในการเป็ น ราชการ 4.0 ในเวลาที่ ผ ่ า นมาจึ ง มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นและยกระดั บ การท�ำงาน โดยน�ำเทคโนโลยีและระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจน นวัตกรรมต่างๆ มาใช้เป็นเครื่องมือในการท�ำงาน เพื่อเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบังคับคดี ลดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงบริการให้กับประชาชน จึงมีความ ริเริ่มใหม่ๆ ที่ใช้ Mobile Application ของการพัฒนาการให้บริการ ทั้งในด้านของการพัฒนาช่องทางในการให้ข้อมูล การประสานงาน ตลอดจนการรั บ บริ ก ารของกรมบั ง คั บ คดี และการสั่ ง ซื้ อ ผ่ า น ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่

Mobile Application

ที่ใช้เป็นช่องทางในการให้บริการข้อมูลและการติดต่อ ประสานงาน มี Application ต่างๆ ประกอบด้วย

LED Property แอปพลิเคชันที่ให้บริการในการค้นหาทรัพย์ขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี ที่มีการประกาศขายทั่วประเทศ โดยสามารถค้นหาได้จากสถานที่ตั้งทรัพย์ หรือเลขคดีแดง ทั้งนี้ โปรแกรมจะแสดงรายละเอียดภาพ สถานที่ตั้งทรัพย์ และก�ำหนดวัน เวลา ทีท่ ำ� การขาย ในปี 2561 มีผใู้ ห้ความสนใจเข้ามาใช้บริการ ดาวน์โหลด จ�ำนวน 24,468 ครั้ง 113


LED Property Plus

LED Debt InFo

แอปพลิเคชัน ส�ำหรับการค้นหาทรัพย์หอ้ งชุด ต า ม แนว รถไ ฟฟ้ า ที่ ข ายทอดตลาด ของกรมบังคับคดีเพื่อความสะดวกในการ ค้นหาข้อมูลห้องชุดทีร่ อการขาย ตอบโจทย์ คนท�ำงาน ผู้ใช้ชีวิตในสังคมเมืองที่ต้องการ ที่ พั ก อาศั ย ที่ มี ค วามสะดวกสบายในการ เดินทาง มีผู้ให้ความสนใจเข้ามาใช้บริการ ดาวน์โหลดในปี 2561 จ�ำนวน 7,851 ครั้ง

แอปพลิเคชัน ส�ำหรับค้นหาและตรวจสอบ ข้อมูลอายัดเงินในคดีและยอดหนี้คงเหลือ ส� ำ หรั บ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ในการบั ง คั บ คดี เพื่ อ ตรวจสอบข้ อ มู ล การอายั ด ยอดหนี้ คงเหลือ ที่สามารถตรวจสอบได้ด้วยตนเอง สะดวก ประหยั ด รวดเร็ ว ในปี 2561 มีผใู้ ห้ความสนใจเข้ามาใช้บริการดาวน์โหลด จ�ำนวน 2,786 ครั้ง

LED ABC แอปพลิเคชัน ค้นหาและตรวจสอบข้อมูลการล้มละลายโดยสามารถ • ตรวจสอบข้อมูลบุคคลที่อยู่ระหว่างการล้มละลาย • ตรวจสอบข้อมูลนิติบุคคลที่อยู่ระหว่างการล้มละลาย • สามารถตรวจสอบได้จาก ชื่อ-สกุล เลขประจ�ำตัวประชาชน • เพิ่มความปลอดภัยในการท�ำนิติกรรม เพราะบุคคล/นิติบุคคล ที่อยู่ระหว่างพิทักษ์ทรัพย์หรือล้มละลาย ไม่สามารถจัดกิจการ ทรัพย์สินได้ มีผู้ให้ความสนใจเข้ามาใช้บริการดาวน์โหลด ในปี 2561 จ�ำนวน 1,891 ครั้ง 114


999,999LED Streaming แอปพลิเคชัน ส�ำหรับรับชมการ ถ่ า ยทอดสดการขายทอดตลาด ทรั พ ย์ จ ากห้ อ งขายทอดตลาด ตึกอสีติพรรษ กรมบังคับคดี และ ส�ำนักงานบังคับคดีในส่วนภูมภิ าค จ�ำนวน 25 จังหวัด

LED QUEUE ระบบการรั บ จองคิ ว การบั ง คั บ คดี ล ่ ว งหน้ า จั ด ท� ำ ขึ้ น เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารประชาชน หรื อ ผู ้ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในคดี สามารถค้ น หาส� ำ นวน สามารถเลื อ กบริ ก ารและก� ำ หนด วั น ที่ ต ้ อ งการติ ด ต่ อ เข้ า ขอใช้ บ ริ ก าร เพื่ อ ให้ ส� ำ นั ก งานบั ง คั บ คดี ต ่ า งๆ ตรวจสอบว่ า สามารถให้ บ ริ ก ารในวั น ดั ง กล่ า วได้ ห รื อ ไม่ หากได้ ระบบจะท� ำ การตอบกลั บ ไปยั ง ประชาชน ทั้ ง ทาง SMS E-Mail และช่ อ งทางอื่ น ๆ ที่ ไ ด้ ก� ำ หนดไว้ แต่ ห าก เจ้ า หน้ า ที่ ไ ม่ ส ามารถให้ บ ริ ก ารได้ ใ นวั น นั้ น ระบบจะแจ้ ง ไปยั ง ประชาชนว่ า วั น ดั ง กล่ า ว ไม่สามารถให้บริการได้ และแจ้งเลื่อนก�ำหนดวันที่สามารถให้บริการ โดยแอปพลิ เ คชั น ดั ง กล่ า วเป็ น ช่ อ งทางหนึ่ ง ในการอ� ำ นวยความสะดวก ให้กับประชาชนผู้สนใจให้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และเป็นการแสดงถึงความโปร่งใส ในการขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี 115


LED 4.0 e-Service การยื่นค�ำร้อง ค�ำขอในคดีผ่านทางระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้ประชาชน โดยผู ้ ที่ จ ะมาใช้ บ ริ ก ารสามารถที่ จ ะท� ำ ระบบนั ด ล่ ว งหน้ า หรื อ ยื่ น ค� ำ ร้ อ งต่ า งๆผ่ า นระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ครอบคลุ ม การให้บริการตั้งแต่

4.0

LED e-Service

1) การลงระบบนัดล่วงหน้าส�ำนวนคดีแพ่ง 2) ระบบตรวจสอบบุคคลล้มละลายและสถานะคดีแพ่ง ผ่านทางเว็บไซต์กรมบังคับคดี 3) แบบแสดงความประสงค์ขอรับเงินผ่านบัญชีธนาคาร e - Payment 4) แบบแสดงความประสงค์ขอวางเงินค่าใช้จ่ายเพิ่ม 5) EDC Payment วางหลักประกันเข้าซื้อทรัพย์ขายทอดตลาด 6) การน�ำระบบบัตรคิวอัตโนมัติมาให้บริการ 7) การตรวจสอบประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทางเว็บไซต์กรมบังคับคดี

ระบบการการส่งค�ำสั่งซื้อทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Offering Auction System) เป็ น การอ� ำ นวยความสะดวกให้ กั บ ผู ้ ซื้ อ ทรั พ ย์ จ ากการขายทอด ตลาดที่ต้องการซื้อทรัพย์ที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร แต่ไม่สะดวกในการ เดินทาง สามารถส่งค�ำสั่งซื้อผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ ส�ำนักงานบังคับคดี เครือข่าย 4 แห่ง ได้แก่ นครราชสีมา ขอนแก่น เชียงใหม่ และสงขลา ไปยังห้อง ขายทอดตลาด กรมบังคับคดี เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เพิ่มกลุ่ม ผู ้ ซื้ อ ทรั พ ย์ ใ ห้ ม ากขึ้ น ท� ำ ให้ เ กิ ด การแข่ ง ขั น ราคาและ ขายได้ ม ากขึ้ น โดยระบบดังกล่าวได้รับรางวัลเลิศรัฐ ประเภทพัฒนาการบริการระดับดี ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 “การเข้าร่วมประมูลซือ้ ทรัพย์ทางระบบ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสิ่งที่ดี ท�ำให้ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง สามารถซื้อทรัพย์ ในกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยของ บุตรหลานในการเข้าไปศึกษาต่อ โดยทราบ การขายทอดตลาดผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จากประกาศขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี 116

ซึง่ จะมีทงั้ หมด 4 ศูนย์ ผ่านระบบออนไลน์ ระบบ ดังกล่าว ท�ำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว และ ประหยัด” เป็นเสียงสะท้อนจากประสบการณ์ ของผูเ้ ข้าร่วมซือ้ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Offering Auction System) ที่ ส� ำ นั ก งานบั ง คั บ คดี จังหวัดเชียงใหม่ และเป็นผู้ประมูลทรัพย์ในเขต กรุงเทพมหานครได้


ระบบการรับ-ส่งเงินอายัดทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ บ ริ ก ารการน�ำส่งเงินอายัดส�ำหรับ บริ ษั ท ที่ ต ้ อ งการส่ ง เงิ น อายั ด ของลู ก จ้ า ง โอนมายังกรมบังคับคดี จากเดิมบริษัทนายจ้าง ของลูกหนี้ที่มีหน้าที่ส่งเงินอายัด ต้องท�ำเช็ค และหนังสือน�ำส่งเป็นรายบุคคล ไปยังส�ำนักงาน บังคับคดีที่มีอยู่ทั่วประเทศ จ�ำนวน 116 แห่ง ทางไปรษณี ย ์ ห รื อ น� ำ ส่ ง ด้ ว ยตนเอง และ ส�ำนักงานบังคับคดีตอ้ งออกใบเสร็จเป็นรายคดี ซึ่ ง ปริ ม าณคดี อ ายั ด ทั่ ว ประเทศมี จ� ำ นวน มากกว่าสองแสนคดี การพัฒนาครั้งนี้ช่วยให้บริษัทนายจ้าง สามารถส่งเงินอายัดผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ และสามารถออกใบเสร็ จ จากระบบได้ เ อง ช่วยลดขัน้ ตอนของกรมบังคับคดี จาก 5 ขัน้ ตอน คงเหลือ 1 ขั้นตอน บริษัทนายจ้างที่เข้าร่วม โครงการสามารถลดขั้นตอนจาก 9 ขั้นตอน คงเหลือ 4 ขั้นตอน ลดค่าใช้จ่ายคดีละ 80 บาท เป็นเงินกว่า 590,000 บาท ต่อปี ในส่วนของกรมบังคับคดีลดค่าใช้จ่าย ในคดีจ�ำนวนคดีละ 50 บาท ลดปริมาณการใช้ กระดาษ คดีละ 3 แผ่น ในเบือ้ งต้นกรมบังคับคดี สามารถลดปริมาณการ ใช้กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 7 ล้าน แผ่นต่อปี ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทเข้าร่วม ในการใช้ระบบรับ–ส่ง เงินอายัดทางอิเล็กทรอนิกส์ จ�ำนวน 87 หน่วยงาน (ข้อมูล ณ วันที่ 17 ธันวาคม 2561)

ส�ำหรับเป้าหมายในอนาคต กรมบังคับคดี พร้ อ มเป็ น หน่ ว ยงานดิ จิ ทั ล เพื่ อ พั ฒ นาไปสู ่ Thailand 4.0 ด้วยการมุ่งพัฒนาการให้บริการ ด้ า นการบั ง คั บ คดี ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพอย่ า ง ต่อเนือ่ ง เพือ่ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศและการพัฒนาอย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่ ง ยื น และมี เจตนารมณ์ ใ นการด� ำ เนิ น งาน ด้วยการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ควบคู่ กับการรักษาสิ่งแวดล้อม ด้วยการลดปริมาณ การใช้กระดาษ ภายใต้สโลแกน “LED 4.0 & Go green” พร้อมปักธงเป็นองค์กร Paperless ในทุกกระบวนงาน 1 ตุลาคม 2562 117


เรื่องที่ 33

E-Document /Paperless ระบบไร้กระดาษ ในราชการไทย

การท� ำ ธุ ร กรรมเอกสารต่ า งๆ ในอดี ต แต่ ล ะปี น อกจากจะใช้ ก ระดาษจ� ำ นวนมาก ทั้งสิ้นเปลืองและสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แล้ ว นั้ น ส� ำ หรั บ การใช้ ง านการเก็ บ เอกสาร ในรู ป แบบกระดาษยั ง สิ้ น เปลื อ งพื้ น ที่ ใ นการ จัดเก็บและยากต่อการค้นหาอีกด้วย

กระทรวงยุติธรรม จึงได้พัฒนาระบบ E-Document เพือ่ เข้ามาช่วยในการปฎิบตั งิ าน ด้านสารบรรณ ทั้งการร่าง รับและส่งหนังสือ ราชการของกระทรวงยุติธรรม ที่จะท�ำให้งาน ราชการมีความคล่องตัวและสะดวกรวดเร็ว มากขึ้น โดยปรับขั้นตอนการจัดการเอกสาร สามารถอ้ า งอิ ง ยื น ยั น รั บ รองความถู ก ต้ อ ง ทีส่ อดคล้องกับต้นฉบับได้ มัน่ ใจได้วา่ เอกสารนัน้ ยังคงไว้ซึ่งความลับความครบถ้วน และพร้อม ใช้งาน เนื่องจากเอกสารจะถูกแปลงข้อความ อยูใ่ นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เป็นขัน้ ตอนในการ จัดเก็บเอกสารเข้าระบบจึงมั่นใจได้ว่าข้อความ ไม่สูญหายหรือลักลอบแก้ไขเปลี่ยนแปลงจาก ผูอ้ นื่ ได้ 118

ความพิเศษของ E-Document ยังช่วย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ ให้ ส ามารถค้ น หา และแสดงเอกสารที่ถูกจัดเก็บในระบบได้ง่าย จัดการเอกสารโดยการ เพิ่ม ลบ แก้ไข ได้ง่าย จัดเก็บเอกสารโดยแยกระหว่างรายละเอียด ของเอกสารและไฟล์ ป ระกอบเอกสารนั้ น ๆ จัดการตูเ้ อกสารโดยการเพิม่ ลบ แก้ไข เพือ่ แยก หมวดหมู่ของเอกสารได้ นอกจากนี้ยังสามารถ ก�ำหนดสิทธิข์ องตูเ้ อกสารให้แต่ละ User ได้เพือ่ รักษาระดับชั้นของความปลอดภัยในเอกสาร


ที่ ผ ่ า นมากระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ น� ำ นโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นการรักษาความมัน่ คง และความปลอดภัยสารสนเทศฯ ภัยคุกคาม ที่แต่ละหน่วยงานได้พบเห็น รวมถึงผลกระทบ ต่ า งๆ วิ ธี ก ารแก้ ไขปั ญ หา และมาตรฐาน การรักษาความปลอดภัย ความมั่นคงระบบ สารสนเทศ ของกระทรวงยุติธรรม มารวมเก็บ ไว้ในรูปแบบ E-Document ในด้านความปลอดภัยยังจัดตัง้ ทีม CERT (Computer Emergency Response Team) ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อเตรียมรับมือกับภัย คุกคามไซเบอร์ที่จะเกิดขึ้นโดยมีผู้เชี่ยวชาญ ด้านความมั่งคงปลอดภัยไซเบอร์เข้ามาดูแล และเจ้ า หน้ า ที่ ทุ ก คนในหน่ ว ยงานจะเป็ น ฟั น เฟื อ งส� ำ คั ญ ในการรั ก ษาความปลอดภั ย ของข้อมูลในองค์กรด้วย ส�ำหรับการด�ำเนินงานระบบ E-Document ของกระทรวงยุ ติ ธ รรมในช่วงแรกเริ่มต้นจาก หน่วยงานในส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรมก่อน คือศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กองยุทธศาสตร์และแผนงาน และกองกลาง ซึ่งผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา สามารถลดงาน ด้านการจัดเก็บเอกสาร สนับสนุนการท�ำงาน แบบส�ำนักงานแบบไร้กระดาษ และผู้บริหาร สามารถติ ด ตามข้ อ มู ล การด� ำ เนิ น งานของ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น รวมถึ ง ลดปริ ม าณกระดาษที่ ใช้ ใ นส� ำ นั ก งาน ให้น้อยลง 119


ด้ ว ยแนวทางดั ง กล่ า วยั ง หวั ง ด้ ว ยว่ า การเปลี่ ย นผ่ า น กระทรวงยุติธรรมไปสู่ระบบไร้กระดาษยังส่งผลดีกับประชาชน ไปด้วย เวลาที่เกิดเรื่องทุกข์ร้อน หรือร้องเรียนอะไรจะสามารถ สืบค้นข้อมูลได้ง่าย ช่วยเหลือประชาชนได้รวดเร็วลดเวลาและ สร้างความพอใจให้กับประชาชนมากขึ้น โดยกระทรวงยุติธรรม มีเป้าหมายในการขยายการใช้ระบบ E-Document ให้ครอบคลุม ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรมภายในปี 2562 ตามเป้าหมาย ในการพัฒนาทีศ่ นู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงยุตธิ รรม ได้วางไว้ ทีน่ อกจากจะตอบโจทย์เป้าหมายกระทรวงยุตธิ รรม 4.0 แล้ว เทคโนโลยีและระบบอิเล็กทรอนิกส์ท่ีน�ำมาใช้ในหน่วยงานต่างๆ ยังเป็นไปเพื่อจะตอบโจทย์ภารกิจของกระทรวงยุติธรรม ในการ สร้างความยุติธรรมที่ทั่วถึงและเท่าเทียมได้ในท้ายที่สุด

120



OF

CE

M

Y

IN I S T R

JU S TI

เ รื่ อ ง เ ล า

กระทรวงยุติธรรม ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถนนแจงวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 สายดวนยุติธรรม 1111 กด 77 www.moj.go.th Facebook.com/mojthofficial


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.