สรุปผลการจัดกิจกรรม Gender Matters วันเสารที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพฯ
การอภิ ปรายเพื่ อแลกเปลี่ ยนประสบการณและต นแบบในการพั ฒนากฎหมายคูชีวิต/การสมรสของ บุคคลเพศเดียวกัน ผู ดํ าเนิ นรายการ (ดร.เสรี นนทสู ติ ผู แทนไทยในคณะกรรมาธิ การระหว างรั ฐบาลอาเซี ยนว าด วย สิทธิมนุษยชน) สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทยอยูระหวางการผลักดันรางพระราชบัญญัติการจดทะเบียนคูชีวิต พ.ศ. .... กระทรวงยุติธรรม ในฐานะหนวยงานเจาภาพหลัก จึงจัดการอภิปรายฯ ขึ้น เพื่อรับฟงประสบการณ และต น แบบที่ ดี ข องประเทศต า งๆ ในการพั ฒ นากฎหมายคู ชี วิ ต /การสมรสของบุ ค คลเพศเดี ย วกั น โดยในเบื้องตนไดกําหนดประเด็นอภิปรายฯ ไว ๓ ประเด็น ดังนี้ (๑) ความเปนมาและพัฒนาการของกฎหมาย คูชีวิต/การสมรสของบุคคลเพศเดียวกันในแตละประเทศ (๒) รูปแบบกฎหมายคูชีวิต/การสมรสของบุคคล เพศเดี ยวกั นในแต ละประเทศ (๓) มาตรการสร างความตระหนั กตอสาธารณชนในประเด็ นความเท าเที ยมและ ความหลากหลายทางเพศ ฟนแลนด (H.E.Mrs.Satu Suikkar i-Kleve เอกอัค รราชทูต ฟ น แลนด ประจํา ประเทศไทย) ยิ น ดีกับ ประเทศไทยต อ การพั ฒ นากฎหมายนี้ ซึ่ ง จะเป น ประเทศแรก ในภูมิภาคอาเซียนสําหรับฟนแลนดนั้น การรางกฎหมายคูชีวิต/ การสมรสของบุคคลเพศเดียวกัน เริ่มตนในป ๒๐๐๑ ในรูปแบบ ของกฎหมายคูชีวิต (Civil Partnership Law) ซึ่งอนุญาตเฉพาะ บุคคลเพศเดียวกั นเทานั้น จากนั้น ไดมีการเคลื่อนไหวในสังคม โดยนั ก รณรงค นั ก การเมื อ ง และสื่ อ มวลชนต า งๆ เพื่ อ ให เ กิ ด ความเท า เที ย มกั น ในการแต ง งาน นอกจากนั้ น ระบบรั ฐ สภา ของฟ น แลนด ไ ด เ ริ่ ม ใช ก ระบวนการให ป ระชาชนเป น ผู ริ เ ริ่ ม (Citizen Initiative) ในการจัดทําขอเสนอเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคม โดยประชาชนสามารถลงนาม ๕๐,๐๐๐ รายชื่อ เพื่อนําเสนอ เรื่องตางๆ ไปยังรัฐสภาได ซึ่งในประเด็นความเทาเทียมในการแตงงานนั้น มีความพิเศษตรงที่สามารถรวบรวมรายชื่อไดถึง ๙๐,๐๐๐ รายชื่อในหนึ่งวัน ทําใหเรื่องนี้ถูกเสนอเขาสูรัฐสภา โดยเร็ว แตเนื่องจากมีการโตแยงกันยาวนานในรัฐสภา ขอเสนอดังกลาวจึงไดรับความเห็นชอบเมื่อป ๒๐๑๔ และเนื่ องจากต อ งมี ก ารแก ไ ขกฎหมายอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข อ งด ว ย จึ ง ทํ า ให กฎหมายการสมรสที่ เ ท าเที ย มกั น สําหรับบุคคลทุกเพศสามารถบังคับใชไดจริงในป ๒๐๑๗ /จากพัฒนา...