แนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking)

Page 1

แ น ว คิ ด เ ชิ ง คํา น ว ณ

COMPUTATIONAL

THINKING

การย่ อ ยปญหา

Decomposition ยอยปั ญหาหรือระบบที่ซับซอนออกเป็ นสวนเล็ก ๆ เพื่อใหงายตอการจัดการและแกปัญหา เชน หากตองการเขาใจวาระบบของจักรยานทํางานยัง ไง ทําไดโดยการแยกจักรยานออกเป็ นสวน ๆ แลว สังเกตและทดสอบการทํางานของแตละองคประกอบ จะเขาใจไดงายกวาวิเคราะหจากระบบใหญที่ซับซอน

ความคิ ด ด้ า นนามธรรม

การจดจํา รู ป แบบ

Pattern recognition เป็ นทักษะการหาความสัมพันธที่เกี่ยวของ แนว โน ม และลักษณะทัว ่ ไปของสิ่งตาง ๆ เชน เมื่อมีการทํางานของโปรแกรมที่หลากหลาย แบบ แตทวามีรูปแบบที่แนนอนซํ้า ๆ กัน เราสามารถ ยุบโคดมาอยูในฟั งกชน ั ่ เดียวกันได หรือเขียนเป็ น โปรแกรมวนลูป ใหอยูในลูปเดียวกัน เป็ นตน

ABSTRACTION การมุงความคิดไปที่ขอมูลสําคัญ และคัดกรอง สวนที่ไมเกี่ยวของออกไป เพื่อใหจดจอเฉพาะสิ่งที่ เราตองการจะทํา เชน แมวาแมวแตละตัวจะมีลักษณะเหมือนกัน แตมันก็มีลักษณะเฉพาะตัวที่ตางกัน เชน มีตาสี เขียว ขนสีดํา ชอบกินปลาทู

การออกแบบอั ล กอริ ทึ ม

algorithm design การพัฒนาแนวทางแกปัญหาอยางเป็ นขัน ้ เป็ นตอน หรือสรางหลักเกณฑข้ น ึ มาเพื่อดําเนินตามทีละขัน ้ ตอนในการแกไขปั ญหา เชน เมื่อตองการสัง่ คอมพิวเตอรใหทํางานบางอยาง เราตองเขียนโปรแกรมคําสัง่ เพื่อใหมันทํางานไปตาม ขัน ้ ตอน คอมพิวเตอรจะทํางานไดดีเพียงใด ขึ้นอยู กับชุดคําสัง่ อัลกอริท่ ม ึ ที่เราสัง่ ใหมันทํางาน

จั ด ทํา โ ด ย น า ง ส า ว ผ ริ ต า สั ง เ ก ต กิ จ ม . 4 / 4 เ ล ข ที 1 2 ข


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.