Music Journal May 2021

Page 1


PENINSULA MOMENTS At The Peninsula Bangkok, world-class hospitality enriched with compelling Thai cultural experiences creates perfect memorable moments.



Volume 26 No. 9 May 2021

สวั​ัสดี​ีผู้​้�อ่า่ นทุ​ุกท่​่าน สถานการณ์​์การ แพร่​่ระบาดของโควิ​ิด-๑๙ ได้​้กลั​ับมาระบาด อย่​่างหนั​ักหน่​่วงอี​ีกครั้​้�งในช่​่วงเดื​ือนพฤษภาคม นี้​้� ถึ​ึงแม้​้วัคั ซี​ีนจะเริ่​่�มกระจายฉี​ีดในหลาย พื้​้�นที่​่�แล้​้ว แต่​่ทุกุ คนยั​ังต้​้องดำำ�เนิ​ินชี​ีวิติ อย่​่าง ระมั​ัดระวั​ังอยู่​่�ตลอด เพลงดนตรี​ี ฉบั​ับเดื​ือนพฤษภาคม นำำ�เสนอบทความเกี่​่�ยวกั​ับความเป็​็นมา ของโครงการนครปฐม เมื​ืองสร้​้างสรรค์​์ ด้​้านดนตรี​ีของ UNESCO โดยรายละเอี​ียด ที่​่�มาของโครงการนี้​้� รวมถึ​ึงโครงการด้​้าน ดนตรี​ีต่า่ ง ๆ สามารถพลิ​ิกไปอ่​่านได้​้ในเล่​่ม คอลั​ัมน์​์ Music Entertainment นำำ� เสนอบทความน่​่าสนใจ เพลงไทยสากล สร้​้างพลั​ังใจสู้​้�ภั​ัย COVID-19 โดยนำำ�เสนอ เกี่​่�ยวกั​ับบทเพลงทั้​้�งหมด ๖ บทเพลง ที่​่� ได้​้สร้​้างสรรค์​์จากหลากหลายศิ​ิลปิ​ิน เพื่​่�อ ให้​้กำำ�ลังั ใจผู้​้�คนและสั​ังคมในช่​่วงเวลาแห่​่ง วิ​ิกฤตโรคระบาดนี้​้�

เจ้าของ

ฝ่​่ายภาพ

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คนึงนิจ ทองใบอ่อน

บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ

จรูญ กะการดี นรเศรษฐ์ รังหอม

หัวหน้ากองบรรณาธิการ

พิสูจน์อักษรและรูปเล่ม

ธั​ัญญวรรณ รั​ัตนภพ

ธัญญวรรณ รัตนภพ

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

เว็บมาสเตอร์

ภรณ์ทิพย์ สายพานทอง

Kyle Fyr

ฝ่ายศิลป์

บทความดนตรี​ีไทยในฉบั​ับนี้​้� นำำ�เสนอ ๒ บทความน่​่าสนใจ บทความหนึ่​่�งเกี่​่�ยวกั​ับ วงปี่​่พ� าทย์​์ แตรวง คณะดุ​ุริยิ ะศิ​ิลป์​์ ก่​่อตั้​้�ง โดยนายบุ​ุญชู​ู สุ​ุวะยะ ในตำำ�บลไร่​่ขิ​ิง จั​ังหวั​ัดนครปฐม และอี​ีกบทความเกี่​่�ยวกั​ับ ที่​่�มาและความเป็​็นมาของเพลงกราวรำ�� ซึ่​่�งเป็​็นเพลงที่​่�สำำ�คั​ัญของดนตรี​ีไทย นอกจากนี้​้� บทความด้​้านดนตรี​ีวิทิ ยา และการเรี​ียนต่​่อต่​่างประเทศ ยั​ังมี​ีให้​้ ติ​ิดตามอี​ีกเช่​่นเคย ดวงฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิริ​ิ ิ

สำำ�นั​ักงาน

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วารสารเพลงดนตรี) ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่​่อ ๓๒๐๕ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ musicmujournal@gmail.com

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส�ำหรับข้อเขียนที่ได้รับการ พิจารณา กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะปรับปรุงเพื่อความเหมาะสม โดยรักษาหลักการและแนวคิดของผู้เขียนแต่ละท่านไว้ ข้อเขียน และบทความที่ตีพิมพ์ ถือเป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ขอรับผิดชอบบทความนั้น


สารบั ญ Contents Dean’s Vision

Music Entertainment

04

ปรั​ับปรุ​ุง เปลี่​่�ยนแปลง ซ่​่อมแซม พั​ัฒนา ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen)

Cover Story

38

เพลงไทยสากลสร้​้างพลั​ังใจ สู้​้�ภั​ัย COVID-19 กิ​ิตติ​ิ ศรี​ีเปารยะ (Kitti Sripaurya)

Musicology

06

Creative City of Music ดนตรี​ี ชุ​ุมชน และวั​ัฒนธรรม สู่​่�งานสร้​้างสรรค์​์ เพื่​่�อเครื​ือข่​่าย สั​ังคม เศรษฐกิ​ิจ และสุ​ุขภาวะ ที่​่�ยั่​่�งยื​ืน ณั​ัฏฐา อุ​ุทยานั​ัง (Nuttha Udhayanang)

City of Music

09

(ร่​่าง) โครงการพั​ัฒนานครปฐม เมื​ืองสร้​้างสรรค์​์สาขาดนตรี​ี ขององค์​์การยู​ูเนสโก (UNESCO Creative Cities Network - UCCN)

54

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๕ Samuel Coleridge-Taylor เจ้​้าของฉายา ‘African Mahler’ กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart)

Thai and Oriental Music

58

กราวรำำ� เพลงสำำ�คั​ัญ ในดนตรี​ีไทย เดชน์​์ คงอิ่​่�ม (Dejn Gong-im)

66

คณะดุ​ุริ​ิยะศิ​ิลป์​์ ปี่​่�พาทย์​์ แตรวง ในตำำ�บลไร่​่ขิ​ิง อำำ�เภอสามพราน จั​ังหวั​ัดนครปฐม ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin)

Study Abroad

70

การเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�น ปริ​ิญญาตรี​ี ในประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา (ตอนที่​่� ๓) ปริ​ิญธร ป่​่านแก้​้ว (Parintorn Pankaew)


DEAN’S VISION

ปรั​ับปรุ​ุง เปลี่​่�ยนแปลง ซ่​่อมแซม พั​ัฒนา เรื่​่�อง: ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen) คณบดี​ีวิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

เดื​ือนพฤษภาคมเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�ง เดื​ือนที่​่�ทางวิ​ิทยาลั​ัยมี​ีการเตรี​ียม พร้​้อมในการปรั​ับปรุ​ุงอาคารภู​ูมิพิ ล สั​ังคี​ีต ตั้​้�งแต่​่เริ่​่�มก่​่อตั้​้�งวิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์มาเป็​็นเวลา ๒๖ ปี​ี อาคารนี้​้�ยั​ังไม่​่เคยได้​้รับั การดู​ูแลหรื​ือ ซ่​่อมแซมจนถึ​ึงวั​ันที่​่�เกิ​ิดการทรุ​ุด โทรมจนต้​้องมี​ีการซ่​่อมบำำ�รุ​ุง ต้​้อง ขอบคุ​ุณทางมหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดลที่​่�ได้​้ ช่​่วยสนั​ับสนุ​ุนในการนำำ�เสนอแผนงบ ประมาณเพื่​่�อได้​้รับั การสนั​ับสนุ​ุนจาก งบประมาณแผ่​่นดิ​ินในการปรั​ับปรุ​ุง 04

อาคารในครั้​้�งนี้​้� ต้​้องขอบคุ​ุณที​ีมงาน ฝ่​่ายอาคารและสถานที่​่� รองคณบดี​ี ทุ​ุกคน โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งรองคณบดี​ี ฝ่​่ายบริ​ิหารที่​่�ต้​้องเตรี​ียมแผนในการ ย้​้ายสถานที่​่�ชั่​่�วคราวเพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการ จั​ัดการอย่​่างมี​ีระบบ เมื่​่�อมองเรื่​่�อง การซ่​่อมบำำ�รุ​ุงแล้​้ว เป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งหั​ัวใจ หลั​ักในการสร้​้างความก้​้าวหน้​้า องค์​์กรเองอาจจะเปรี​ียบได้​้เหมื​ือน อาคาร เมื่​่�อถึ​ึงเวลาหนึ่​่�งก็​็ย่อ่ มชำำ�รุ​ุด ทรุ​ุดโทรมเป็​็นธรรมดา คงต้​้องมี​ีเวลา ในการค้​้นหาสิ่​่�งที่​่�ต้​้องได้​้รับั การซ่​่อม

บำำ�รุ​ุงเพื่​่�อพั​ัฒนาองค์​์กรให้​้ไปต่​่อ ในการย้​้ายที่​่�ทำำ�งานชั่​่�วคราว แน่​่นอนคงต้​้องเกิ​ิดความขั​ัดข้​้องและ ไม่​่สะดวกสบายจากการขนย้​้าย หรื​ือแค่​่ต้​้องย้​้ายออกจากพื้​้�นที่​่�คุ้​้�น เคยไปทำำ�งานในพื้​้�นที่​่�ใหม่​่ ก็​็อาจจะ สร้​้างความวิ​ิตกกั​ังวลให้​้แก่​่ผู้​้�ที่​่�มีส่ี ว่ น เกี่​่�ยวข้​้อง ถ้​้ามองลึ​ึกลงไปจะเห็​็นได้​้ ว่​่าคนส่​่วนมากชิ​ินกั​ับการอยู่​่�ที่​่�เดิ​ิม ไม่​่ ชอบการเปลี่​่�ยนแปลง และที​ีมงาน ต้​้องพยายามทำำ�งานหนั​ักเพื่​่�ออำำ�นวย ความสะดวกเพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการย้​้ายพื้​้�นที่​่�


หรื​ือทำำ�ให้​้การเปลี่​่�ยนแปลงนี้​้�เกิ​ิดขึ้​้�น ได้​้โดยง่​่ายและมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ไม่​่ว่า่ จะวางแผนกั​ันมากขนาดไหนก็​็เป็​็นไป ได้​้ยากที่​่�จะทำำ�ให้​้ทุ​ุกคนรู้​้�สึ​ึกดี​ี โดย ปราศจากความลำำ�บากในการเคลื่​่�อน ย้​้าย องค์​์กรเองก็​็เช่​่นกั​ัน ทำำ�อย่​่างไร จึ​ึงจะสามารถสื่​่�อสารให้​้คนเข้​้าใจโดย เห็​็นความจำำ�เป็​็นขององค์​์กร เห็​็นเหตุ​ุ ว่​่าความไม่​่สะดวกสบายเพี​ียงชั่​่�วคราว เกิ​ิดขึ้​้�นเพราะการซ่​่อมบำำ�รุ​ุง เพื่​่�อให้​้ องค์​์กรไปต่​่อได้​้ในระยะยาว เหมื​ือน การซ่​่อมบำำ�รุ​ุงอาคาร ทำำ�อย่​่างไรที่​่� จะให้​้คนละทิ้​้�งการยึ​ึดติ​ิดกั​ับพื้​้�นที่​่� แล้​้วก้​้าวออกไปสู่​่�การเปลี่​่�ยนแปลง ในขณะที่​่�โลกมี​ีสิ่​่�งที่​่�เปลี่​่�ยนแปลง มากมาย ความสำำ�เร็​็จของสถาน ศึ​ึกษาที่​่�ไม่​่มี​ีอาคาร ไม่​่มี​ีครู​ูอาจารย์​์ เช่​่น Ecole 42 ในประเทศฝรั่​่�งเศส ที่​่�ขยายผลออกไปยั​ังประเทศอื่​่�น ๆ หรื​ือการเรี​ียนรู้​้�แบบ Agora School ที่​่�เนเธอร์​์แลนด์​์ ที่​่�ไม่​่แบ่​่งอายุ​ุของ นั​ักเรี​ียน ผสมผสานการเรี​ียนรู้​้�จาก องค์​์ความรู้​้�แบบมหาวิ​ิทยาลั​ัย การ เปิ​ิดโอกาสให้​้คิ​ิดตรึ​ึกตรองเหมื​ือน วั​ัดในศาสนาพุ​ุทธ สวนสนุ​ุกที่​่�ทุ​ุก คนจะได้​้เล่​่นอย่​่างสนุ​ุกสนาน และ เป็​็นตลาดกลางในการแลกเปลี่​่�ยน สิ่​่�งต่​่าง ๆ การเปลี่​่�ยนแปลงเหล่​่านี้​้� เป็​็นเรื่​่�องที่​่�หลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ในวงการ ศึ​ึกษา และจะเกิ​ิดขึ้​้�นมากขึ้​้�น เมื่​่�อ เราไม่​่ยอมปล่​่อยวางจากตึ​ึก อาคาร ยั​ังไม่​่อยากย้​้ายเปลี่​่�ยนเพื่​่�อซ่​่อม บำำ�รุ​ุง ในท้​้ายที่​่�สุ​ุด ตึ​ึกนี้​้�จะต้​้องพั​ัง ลง องค์​์กรจะเดิ​ินหน้​้าไม่​่ได้​้และต้​้อง

พั​ังลงเช่​่นกั​ัน การซ่​่อมบำำ�รุ​ุง ต้​้องมี​ีผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ มาให้​้ข้​้อคิ​ิดเห็​็น กำำ�กั​ับดู​ูแล ต้​้อง ซ่​่อมอะไรบ้​้าง ต้​้องบำำ�รุ​ุงอะไรบ้​้าง ต้​้องเปลี่​่�ยนอะไรบ้​้าง ในแง่​่องค์​์กร วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ได้​้ตั้​้�งคณะ กรรมการพิ​ิเศษขึ้​้�นมาใหม่​่ที่​่�ชื่​่�อว่​่า International Artist Advisory Council ซึ่​่�งประกอบด้​้วยศิ​ิลปิ​ิน และผู้​้�ที่​่�มี​ีความเชี่​่�ยวชาญในด้​้านการ ศึ​ึกษาดนตรี​ีในระดั​ับนานาชาติ​ิ เช่​่น Boston Brass, Prof. Chen Yi จาก University of Mussouri-Kansas City, Prof. Robert Beaser จาก Julliard School of Music และ Prof. Peter Tornquist จาก Norwegian Academy of Music เป็​็นต้​้น จุ​ุดมุ่​่�งหมายเพื่​่�อรวบรวม ข้​้อคิ​ิดเห็​็นจากศิ​ิลปิ​ินและผู้​้�ทรง คุ​ุณวุ​ุฒิ​ิในระดั​ับนานาชาติ​ิ เป็​็นจุ​ุด เริ่​่�มต้​้นของการรั​ับความคิ​ิดเห็​็นเพื่​่�อ ซ่​่อมบำำ�รุ​ุง ด้​้วยความคาดหวั​ังที่​่� วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหิ​ิดล จะพั​ัฒนาเข้​้าไปสู่​่�สถาบั​ันใน อั​ันดั​ับ Top 50 ของ QS World University Ranking by Subject ในสาขา Performing Arts ให้​้ได้​้ ภายในเวลา ๕ ปี​ีข้​้างหน้​้า การปรั​ับ เปลี่​่�ยนด้​้วยข้​้อคิ​ิดเห็​็นจากผู้​้�ที่​่�มี​ีความ รู้​้�และเชี่​่�ยวชาญด้​้านนี้​้�จึ​ึงมี​ีความ จำำ�เป็​็นอย่​่างยิ่​่�ง นอกเหนื​ือจากการ มองที่​่� ranking by subject แล้​้ว วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ยังั ตั้​้�งเป้​้าเพื่​่�อ เพิ่​่�ม reputation และ visibility

ของมหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดลอย่​่างสู​ูงสุ​ุด ด้​้วย เพื่​่�อมุ่​่�งหวั​ังตอบวิ​ิสัยั ทั​ัศน์​์ของ มหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�จะเป็​็นมหาวิ​ิทยาลั​ัย Top 100 ของ World University Ranking อี​ีกด้​้วย เมื่​่�อได้​้รั​ับข้​้อคิ​ิดเห็​็นเพื่​่�อการ ซ่​่อมบำำ�รุ​ุงแล้​้ว เราก็​็สามารถเริ่​่�มการ ปรั​ับปรุ​ุงได้​้ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ ได้​้เริ่​่�มสร้​้างหน่​่วยงาน Career Center เพื่​่�อสนั​ับสนุ​ุนนั​ักศึ​ึกษาและ สร้​้างความผู​ูกพั​ันกั​ับศิ​ิษย์​์เก่​่าในการ ประกอบอาชี​ีพ ได้​้ริเิ ริ่​่�มรางวั​ัลเพื่​่�อให้​้ กำำ�ลั​ังใจแก่​่พนั​ักงาน อาจารย์​์ และ นั​ักศึ​ึกษาทั้​้�งที่​่�สำำ�เร็​็จการศึ​ึกษาแล้​้ว และยั​ังศึ​ึกษาอยู่​่� เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดความ สั​ัมพั​ันธ์​์อั​ันดี​ีระหว่​่างคนในองค์​์กร การผลั​ักดั​ันเหล่​่านี้​้�อาจจะเกิ​ิดความ ตะกุ​ุกตะกั​ักบ้​้างในช่​่วงที่​่�กำำ�ลั​ังเริ่​่�ม ย้​้าย แต่​่การย้​้ายเหล่​่านี้​้�เต็​็มไปด้​้วย ความหวั​ังว่​่า เมื่​่�อเราซ่​่อมบำำ�รุ​ุง ทุ​ุกส่​่วนเสร็​็จเรี​ียบร้​้อย เราจะกลั​ับ มายั​ังอาคารที่​่�เราเคยทำำ�งานด้​้วย ประสิ​ิทธิ​ิภาพที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น ทำำ�ให้​้การ ทำำ�งานในอาคารนี้​้�มี​ีความสมบู​ูรณ์​์ มากขึ้​้�น คนที่​่�อยู่​่�ภายในอาคารนี้​้� มี​ีความสุ​ุขมากขึ้​้�นด้​้วย ในฐานะผู้​้�นำำ� องค์​์กรหวั​ังว่​่าการซ่​่อมบำำ�รุ​ุงครั้​้�งนี้​้�จะ เกิ​ิดขึ้​้�นด้​้วยความเข้​้าใจของทุ​ุกคนใน องค์​์กร และสามารถร่​่วมแรงร่​่วมใจ กั​ันในการช่​่วยขนย้​้ายสิ่​่�งต่​่าง ๆ เพื่​่�อ ไปดำำ�เนิ​ินงานในที่​่�ใหม่​่ชั่​่�วคราว เกิ​ิด การเรี​ียนรู้​้�ในการทำำ�งานร่​่วมกั​ันอย่​่าง มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ไม่​่ว่า่ จะอยู่​่�ที่​่�อาคาร เก่​่าหรื​ืออาคารใหม่​่ก็​็ตาม

05


COVER STORY

Nakhon Pathom: Creative City of Music ดนตรี​ี ชุ​ุมชน และวั​ัฒนธรรม สู่​่�งานสร้​้างสรรค์​์ เพื่​่อ� เครื​ือข่​่ายสั​ังคม เศรษฐกิ​ิจ และสุ​ุขภาวะที่​่ยั่​่� ง� ยื​ืน เรื่​่�อง: ณั​ัฏฐา อุ​ุทยานั​ัง (Nuttha Udhayanang) ผู้​้�จั​ัดการการตลาดและประชาสั​ั มพั​ันธ์​์ วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

ในยุ​ุคสมั​ัยปั​ัจจุ​ุบันั ที่​่�โลกแคบลง ด้​้วยความก้​้าวหน้​้าทางเทคโนโลยี​ี การ คมนาคม และการสื่​่�อสารที่​่�มี​ีการ พั​ัฒนาอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ก่​่อให้​้เกิ​ิดความ หลากหลายทางวั​ัฒนธรรมในสั​ังคม โลก องค์​์การศึ​ึกษาวิ​ิทยาศาสตร์​์และ วั​ัฒนธรรมแห่​่งสหประชาชาติ​ิ หรื​ือ UNESCO จึ​ึงได้​้มีปี ฏิ​ิญญาสากลว่​่าด้​้วย ความหลากหลายทางวั​ัฒนธรรม (The UNESCO Universal Declaration of cultural Diversity) ขึ้​้�น เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๑๑ กั​ันยายน พ.ศ. ๒๕๐๑ โดย เสนอให้​้ทุ​ุกประเทศมี​ีการยอมรั​ับ 06

และดำำ�เนิ​ินการในการสร้​้างบรรยากาศ แห่​่งความสร้​้างสรรค์​์และทำำ�ให้​้ วั​ัฒนธรรมเป็​็นปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญในการ พั​ัฒนาสั​ังคมนั้​้�น ๆ และได้​้ขยายผล ให้​้ทุ​ุกชาติ​ิทั่​่�วโลกได้​้คำำ�นึ​ึงถึ​ึงปั​ัจจั​ัย ด้​้านความหลากหลายทางวั​ัฒนธรรม เป็​็นหลั​ักในการพั​ัฒนาประเทศ เครื​ือ ข่​่ายเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์ขององค์​์การ ยู​ูเนสโก (UNESCO Creative Cities Network หรื​ือ UCCN) จึ​ึงถู​ูกก่​่อตั้​้�ง ขึ้​้�นในปี​ี พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่​่�อเสริ​ิม สร้​้างความคิ​ิดสร้​้างสรรค์​์ที่​่�ก่อ่ ให้​้เกิ​ิด การพั​ัฒนาอุ​ุตสาหกรรมสร้​้างสรรค์​์

(Creative Industries) และนำำ�ไปสู่​่� การพั​ัฒนาร่​่วมกั​ันทั้​้�งในระดั​ับชุ​ุมชน ประเทศ และนานาชาติ​ิ เครื​ือข่​่ายเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์ของ องค์​์การ UNESCO มี​ีทั้​้�งหมด ๗ กลุ่​่�ม ประกอบด้​้วย ๑. งานหั​ัตถกรรมและศิ​ิลปะ พื้​้�นบ้​้าน (Crafts and Folk Art) ๒. งานออกแบบ (Design) ๓. อาหาร (Gastronomy) ๔. วรรณกรรม (Literature) ๕. ภาพยนตร์​์ (Film) ๖. ดนตรี​ี (Music)


๗. สื่​่�อศิ​ิลปะ (Media Arts) ในส่​่วนของประเทศไทย มี​ีเมื​ือง ที่​่�เข้​้าร่​่วมเครื​ือข่​่ายทั้​้�งสิ้​้�น ๔ เมื​ือง ได้​้แก่​่ ภู​ูเก็​็ต (Gastonomy: 2015) เชี​ียงใหม่​่ (Craft and Folk Arts: 2017) สุ​ุโขทั​ัย (Craft and Folk Arts: 2019) และกรุ​ุ งเทพฯ (Design: 2019) เนื่​่�องจากจั​ังหวั​ัดนครปฐมนั้​้�น มี​ีศั​ักยภาพความพร้​้อมของการ เข้​้าร่​่วมเครื​ือข่​่ายเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์ เป็​็นต้​้นทุ​ุนอยู่​่�แล้​้วในหลายด้​้าน ไม่​่ ว่​่าจะเป็​็นทางด้​้านทรั​ัพยากรพื้​้�นฐาน ด้​้านการท่​่องเที่​่�ยวที่​่�หลากหลายเชิ​ิง ประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ มี​ีขนบธรรมเนี​ียม ประเพณี​ีวัฒ ั นธรรม และการละเล่​่น พื้​้�นเมื​ืองสำำ�คั​ัญที่​่�นิ​ิยมปฏิ​ิบัติั สืิ บื ทอด กั​ันมาแต่​่โบราณจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบันั ต้​้นทุ​ุน ทางวั​ัฒนธรรมมทางด้​้านดนตรี​ีไทย ที่​่�สื​ืบทอดมาอย่​่างยาวนาน รวมไป ถึ​ึงความพร้​้อมในการส่​่งเสริ​ิมและ พั​ัฒนาศิ​ิลปวั​ัฒนธรรมด้​้านดนตรี​ี

โดยนครปฐมมี​ีสถาบั​ันการศึ​ึกษาที่​่� จั​ัดการเรี​ียนการสอนในสาขาดนตรี​ีถึงึ ๓ สถาบั​ัน ประกอบด้​้วย วิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ซึ่​่�งเป็​็นสถาบั​ันที่​่�ได้​้รั​ับการรั​ับรอง มาตรฐานในระดั​ับนานาชาติ​ิจาก สถาบั​ัน MusiQuE และล่​่าสุ​ุดการ ประกาศผลการจั​ัดอั​ันดั​ับ QS World University Rankings by Subject 2021 สาขาวิ​ิชาที่​่�เข้​้าสู่​่�อั​ันดั​ับ Top 100 ครั้​้�งแรก คื​ือ Performing Arts ซึ่​่�งคิ​ิดคะแนนจากความมี​ีชื่​่�อเสี​ียงด้​้าน ดนตรี​ีเป็​็นที่​่�ยอมรั​ับในระดั​ับสากล สถาบั​ันบั​ัณฑิ​ิตพั​ัฒนศิ​ิลป์​์ กระทรวง วั​ัฒนธรรม มี​ีอัตั ลั​ักษณ์​์ของสถาบั​ัน คื​ือ สื​ืบสาน สร้​้างสรรค์​์งานศิ​ิลป์​์ มี​ี ส่​่วนราชการภายในกระจายอยู่​่�ทั่​่�วทุ​ุก ภู​ูมิภิ าคของประเทศอี​ีกจำำ�นวน ๑๗ หน่​่วยงาน และมหาวิ​ิทยาลั​ัยราชภั​ัฏ นครปฐม ที่​่�มี​ีการจั​ัดการเรี​ียนการ สอนในหลั​ักสู​ูตรครุ​ุศาสตรบั​ัณฑิ​ิต สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา

นอกจากนี้​้� นครปฐมยั​ังเป็​็น พื้​้�นที่​่�ชุ​ุมชนที่​่�เปิ​ิดโอกาสและให้​้ความ สำำ�คั​ัญกั​ับวั​ัฒนธรรมด้​้านดนตรี​ี โดย มี​ีการจั​ัดเทศกาลดนตรี​ี กิ​ิจกรรม ดนตรี​ีในระดั​ับชาติ​ิและนานาชาติ​ิ มี​ีเทศกาลดนตรี​ี กิ​ิจกรรมดนตรี​ี ตลอดทั้​้�งปี​ี อาทิ​ิ กิ​ิจกรรมดนตรี​ีในวั​ัง พระราชวั​ังสนามจั​ันทร์​์, Big Bang Swing Dance, งานสั​ังคี​ีตศาลายา, Thailand International Jazz Conference (TIJC) เทศกาลดนตรี​ี แจ๊​๊สนานาชาติ​ิเพื่​่�อการเรี​ียนรู้​้� ที่​่�จั​ัดมา อย่​่างต่​่อเนื่​่�องเป็​็นระยะเวลา ๑๒ ปี​ี, Thailand International Composition Festival (TIFC) โครงการเทศกาล การประพั​ันธ์​์ดนตรี​ีนานาชาติ​ิแห่​่ง ประเทศไทย โครงการต่​่อเนื่​่�องที่​่�ทาง วิ​ิทยาลั​ัยได้​้จั​ัดมานานกว่​่า ๑๕ ปี​ี, Thailand International Wind Symphonic Competition (TIWSC) โครงการประกวดวงดุ​ุริยิ างค์​์เครื่​่�องเป่​่า นานาชาติ​ิแห่​่งประเทศไทย ภายใต้​้

07


โครงการ คิ​ิง เพาเวอร์​์ ไทย เพาเวอร์​์ พลั​ังคนไทย ซึ่​่�งเป็​็นความร่​่วมมื​ือกั​ับ ภาคเอกชน เหล่​่านี้​้�เป็​็นเพี​ียงตั​ัวอย่​่าง เทศกาลที่​่�มี​ีการจั​ัดขึ้​้�นอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ในจั​ังหวั​ัดนครปฐม จากศั​ักยภาพและความพร้​้อม ของจั​ังหวั​ัดนครปฐมที่​่�มี​ีความเป็​็น เมื​ืองดนตรี​ีอยู่​่�แล้​้วนั้​้�น ในปี​ี ๒๕๖๓ ที่​่�ผ่​่านมา โครงการพั​ัฒนา “จั​ังหวั​ัด นครปฐมเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์สาขาดนตรี​ี ขององค์​์การยู​ูเนสโก” จึ​ึงได้​้เริ่​่�มต้​้น ขึ้​้�น โดยมี​ีแผนพั​ัฒนาโครงการ เช่​่น โครงการชุ​ุมชนสร้​้างสรรค์​์ที่​่�มี​ี สุ​ุขภาวะที่​่�ดี​ีผ่า่ นกิ​ิจกรรมดนตรี​ี: การ แสดงคอนเสิ​ิร์ต์ ของวงออร์​์เคสตราที่​่� เป็​็นการผสมผสานศิ​ิลปะวั​ัฒนธรรม พื้​้�นบ้​้านและดนตรี​ีตะวั​ันออกร่​่วมกั​ับ ตะวั​ันตก เพื่​่�อถ่​่ายทอดการผสมผสาน กลมกลื​ืนและความหลากหลาย ของวั​ัฒนธรรมให้​้แก่​่เยาวชน โดย หนึ่​่�งในการแสดงที่​่�มี​ีกำำ�หนดจั​ัดขึ้​้�น คื​ือ คอนเสิ​ิร์​์ตมหั​ัศจรรย์​์หุ่​่�นไม้​้ จั​ันทน์​์หอม เป็​็นการผสมผสานการ แสดงหุ่​่�นกระบอก ดนตรี​ีพื้​้�นบ้​้าน ศิ​ิลปิ​ินนครปฐม ร่​่วมบรรเลงกั​ับวง ออร์​์เคสตรา ซึ่​่�งเป็​็นการต่​่อยอดจาก การจั​ัดการแสดงในวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ แนวคิ​ิด และรู​ูปแบบเดี​ียวกั​ับการ แสดงคอนเสิ​ิร์​์ต Children’s Day Concert: Peter and The Wolf (2019) และ Sudsakorn: The musical fable (2020) โครงการส่​่งเสริ​ิมสุ​ุนทรี​ียะการ ฟั​ังดนตรี​ี ณ พระราชวั​ังสนามจั​ันทร์​์: โครงการความร่​่ ว มมื​ื อ ระหว่​่ า ง สำำ�นั​ักงานส่​่งเสริ​ิมเศรษฐกิ​ิจสร้​้างสรรค์​์ (องค์​์การมหาชน) จั​ังหวั​ัดนครปฐม พระราชวั​ังสนามจั​ันทร์​์ และวิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล เพื่​่�อพั​ัฒนาผู้​้�ฟังั และเพิ่​่�มสุ​ุนทรี​ียะใน การฟั​ังดนตรี​ี

08

โครงการดนตรี​ีและสุ​ุขภาวะ ที่​่�ดี​ี: โครงการมุ่​่�งเน้​้นส่​่งเสริ​ิมและ พั​ัฒนาความเป็​็นอยู่​่�และสุ​ุขภาวะที่​่� ดี​ีผ่​่านดนตรี​ีและการฟั​ังดนตรี​ี โดย โครงการได้​้จั​ัดเก็​็บข้​้อมู​ูลเพื่​่�อวิ​ิจั​ัย และศึ​ึกษาดนตรี​ีที่​่�จะมี​ีผลช่​่วยส่​่ง เสริ​ิมและพั​ัฒนาสุ​ุขภาวะโดยรวม ของเยาวชนและคนในสั​ังคม โครงการกิ​ิจกรรม “ดนตรี​ีในวั​ัง”: เป็​็นโครงการความร่​่วมมื​ือระหว่​่าง พระราชวั​ังสนามจั​ันทร์​์และวิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล จั​ัดกิ​ิจกรรมในวั​ันเสาร์​์ ณ พระราชวั​ัง สนามจั​ันทร์​์ โดยมี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ เพื่​่�อนำำ�สุ​ุนทรี​ียะทางด้​้านดนตรี​ีไปสู่​่� วิ​ิถี​ีชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ันของชาวนครปฐม และนั​ักท่​่องเที่​่�ยวที่​่�เดิ​ินทางมาเยี่​่�ยม ชมพระราชวั​ังสนามจั​ันทร์​์ อี​ีกทั้​้�ง ยั​ังเป็​็นการเปิ​ิดพื้​้�นที่​่�สร้​้างสรรค์​์ให้​้ แก่​่ศิ​ิลปิ​ิน นั​ักดนตรี​ี ผู้​้�มี​ีความรั​ักใน เสี​ียงดนตรี​ี ทั้​้�งผู้​้�เล่​่นและผู้​้�ชม ได้​้มี​ี พื้​้�นที่​่�แสดงออกอย่​่างสร้​้างสรรค์​์ จากการเริ่​่�มดำำ�เนิ​ินการโครงการ มาตั้​้�งแต่​่ปี​ี ๒๕๖๓ การทำำ�งานร่​่วม กั​ันของหน่​่วยงานต่​่าง ๆ ทั้​้�งภาค รั​ัฐและเอกชน เพื่​่�อขั​ับเคลื่​่�อนเมื​ือง นครปฐมเป็​็นเครื​ือข่​่ายเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์ ของ UNESCO ตลอดปี​ีที่​่�ผ่​่านมา จั​ังหวั​ัดนครปฐมจึ​ึงมี​ีความพร้​้อมและ ตั​ัดสิ​ินใจที่​่�จะสมั​ัครเข้​้าร่​่วมเป็​็นเครื​ือ ข่​่ายเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์สาขาดนตรี​ีของ องค์​์การยู​ูเนสโกในปี​ี ๒๕๖๔ นี้​้� โดย ได้​้มี​ีการจั​ัดงานแถลงข่​่าว Nakhon Pathom: Creative City of Music ขึ้​้�นเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒๕ มี​ีนาคม ๒๕๖๔ ที่​่� ผ่​่านมา ณ หอประชุ​ุมมหิ​ิดลสิ​ิทธาคาร มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล โดยได้​้รับั เกี​ียรติ​ิ จาก นายสุ​ุรศั​ักดิ์​์� เจริ​ิญศิ​ิริ​ิโชติ​ิ ผู้​้�ว่​่ า ราชการจั​ั ง หวั​ั ด นครปฐม ศาสตราจารย์​์ นพ.บรรจง มไหสวริ​ิยะ อธิ​ิการบดี​ีมหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล นาย

จิ​ิรวั​ัฒน์​์ สะสมทรั​ัพย์​์ นายกองค์​์การ บริ​ิหารส่​่วนจั​ังหวั​ัดนครปฐม อาจารย์​์ ดร.ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ คณบดี​ี วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหิ​ิดล และนายพิ​ิชิ​ิต วี​ีรั​ังคบุ​ุตร ผู้​้�อำำ�นวยการสำำ�นั​ั กพั​ั ฒนาพื้​้�นที่​่� เศรษฐกิ​ิจสร้​้างสรรค์​์ สำำ�นั​ักงานส่​่งเสริ​ิม เศรษฐกิ​ิจสร้​้างสรรค์​์ (องค์​์การมหาชน) เข้​้าร่​่วมแถลงข่​่าวในครั้​้�งนี้​้� โครงการ Nakhon Pathom: Creative City of Music ถื​ือเป็​็น จุ​ุดเริ่​่�มต้​้นของการร่​่วมมื​ือร่​่วมใจกั​ัน ของผู้​้�ฟังั ผู้​้�ชมและคนในวงการดนตรี​ี ที่​่�จะร่​่วมกั​ันสร้​้างสรรค์​์สังั คมที่​่�แข็​็งแรง โดยมี​ีดนตรี​ีเป็​็นสื่​่�อ นอกจากนี้​้� หาก จั​ังหวั​ัดนครปฐมได้​้เข้​้าร่​่วมเป็​็นเครื​ือ ข่​่ายเมื​ืองสร้​้างสรรค์​์สาขาดนตรี​ี จะ ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการแลกเปลี่​่�ยนองค์​์ความรู้​้� โดยมี​ีมหิ​ิดลสิ​ิทธาคารเป็​็นศู​ูนย์​์กลาง กิ​ิจกรรมดนตรี​ีของจั​ังหวั​ัดนครปฐม และประเทศไทย จั​ังหวั​ัดนครปฐม จะเป็​็นแหล่​่งสร้​้างสรรค์​์สิ​ินค้​้าและ บริ​ิการในอุ​ุตสาหกรรมสร้​้างสรรค์​์ ดนตรี​ี ทำำ�ให้​้ศักั ยภาพการแข่​่งขั​ันใน อุ​ุตสาหกรรมสร้​้างสรรค์​์สาขาดนตรี​ี ของไทยเติ​ิบโตในเวที​ีโลกได้​้อย่​่าง เต็​็มภาคภู​ูมิ​ิ


(ร่าง) โครงการพัฒนานครปฐมเมืองสร้างสรรค์สาขาดนตรี ขององค์การยูเนสโก (UNESCO Creative Cities Network - UCCN) เมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ UNESCO มีความตกลงว่าด้วย ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (The UNESCO Universal Declaration of cultural Diversity) เพื่อให้มีการ ก าหนดมาตรฐานนานาชาติที่ใ ช้เ ป็นเครื่ อ งมื อส าหรับ พิทัก ษ์ รัก ษาและส่ งเสริ มความหลากหลายท าง วัฒนธรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม

1

ในปีตอ่ มาองค์การ UNESCO ได้รเิ ริ่มโครงการพันธมิตรระดับโลกเพื่อยอมรับความหลากหลายทาง วัฒนธรรม (Global Alliance for Cultural Diversity) และก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างวัฒนธรรม องค์การ UNESCO พยายามดาเนินกิจกรรมสนับสนุนนโยบายส่งเสริมความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ

09


โลก จนในที่สุ ด ในปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) องค์ก าร UNESCO จึงได้เ สนอโครงการ “เครือข่ายเมือง สร้ า งสรรค์ ” Creative Cities Network) เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ (Creative Industries) ที่จะนาไปสู่รูปแบบใหม่ของความร่วมมือในระดับนานาชาติ ทั้งในส่วนของภาคประชาชน เอกชน สาธารณะ และประชาคมขึน้

ความหมายของเมืองสร้างสรรค์

10

2

เมืองสร้างสรรค์ (Creative City) หมายถึง เมืองที่มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย และมี ส่ว นส าคั ญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองนั้ นๆ มีรากฐานจากความมั่นคงทางสัง คมและ วั ฒนธรรม มีก ารรวมกลุ่ม กั น อย่ างหนาแน่น ของคนที่ท างานสร้า งสรรค์ คนและวัฒนธรรมท้ อ งถิ่ น มี ส่วนสาคัญที่ทาให้เมืองเป็นพื้นที่ในการแสดงออกของความคิดสร้างสรรค์ ทาให้เกิดการรวมตัวทางสังคม และความเป็ น ท้ อ งถิ่ น นี้ เ องที่ แ สดงออกหรื อ สื่ อ ออกมาทางศิ ล ปะในรู ป แบบต่ า งๆ และกิ จ กรรมทาง วัฒนธรรม ซึ่งนาไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมและความคิดสร้างสรรค์ การเข้าร่วมเครือข่าย ของเมืองสามารถทาให้เกิดการสนับสนุนเสริมสร้างการเรียนรู้จากกันและกันและทางานร่วมกันเพื่อการ พัฒนาเมืองของทุกประเทศ โดยการเสริมสร้างห่วงโซ่คุณค่าของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในท้องถิ่น เหนือ สิ่งอื่นใดการเป็นเมืองสร้างสรรค์ยังมีส่วนในการได้สร้างความร่วมมือกันด้านความคิดสร้างสรรค์เพื่อเป็น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นและเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการพั ฒ นาเมื อ งอย่ า งยั่ ง ยื น ช่ ว ยสนั บ สนุ น การสร้ า งงาน ส่ ง เสริ ม วัฒนธรรมบนพื้นฐานของความหลากหลายทางสังคม การเจรจาระหว่างวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ที่ดี ของประชาชน สร้ า งโอกาสที่ ดี ส าหรั บ เมื อ งผ่ า นกระบวนการเรี ย นรู้ และโครงการความร่ ว มมื อ


ระหว่างเมืองต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์เชิงสร้างสรรค์ที่มีอยู่อย่างเต็มที่ การทางานร่วมกันของ ภาคประชาชน สังคม ภาคเอกชน และภาครัฐเพื่อสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์และนักสร้างสรรค์งาน รวมถึงการมีส่วนร่วมของพลเมืองและผู้เกี่ยวข้องกับงานด้านวัฒนธรรมผ่านการทางานร่วมกัน การมีพื้นที่ สาธารณะ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาเมืองที่จะสามารถตอบโจทย์ให้แก่คนในท้องถิ่น เมืองเป็นของทุกคน และ การพัฒนาอย่างยั่งยืนของเมืองจึงเป็นหน้าที่ของทุกคน เมืองสร้างสรรค์ไม่ใช่เรื่องของการปรับปรุงหรือพัฒนาเมืองเพื่อการท่องเที่ยวอย่างเดียว แต่เป็น เมืองที่มีพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ให้เกิดกิจกรรมทางวัฒนธรรม ที่นาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจในพืน้ ที่ ซึ่งมาจากความคิดสร้างสรรค์และเป็นแหล่งรวมนักคิด ผูป้ ระกอบการสร้างสรรค์ทั้งจากในและต่างประเทศ ที่มาประกอบกิจการและก่อให้เกิดการจ้างงานและสร้างรายได้ แนวทางของการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์จึงต้องประกอบด้วยนโยบายและแผนการลงทุนของภาครัฐ ในหลายด้าน ตั้งแต่การลงทุนในสาธารณูปโภคในโครงสร้างพื้นฐานและการเรียนรู้ การปรับปรุงกฎระเบียบ และการสนับสนุนด้านการเงินให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและอยู่อาศัยของผู้ประกอบการสร้างสรรค์ นอกจากนี้ยังรวมถึงการจัดกิจกรรมระดับเมืองและระดับชาติที่หลากหลายเพื่อสะท้อนเอกลักษณ์และ ภาพลักษณ์ของเมืองอย่างสร้างสรรค์

ประเภทของเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์ก าร UNESCO มีทั้งหมด 7 กลุ่ม โดยเมืองใดที่จะเสนอเมือง เข้าร่วมเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ภายใต้การประกาศรับรองขององค์การ UNESCO จะต้องเลือกเสนอ ตนเองได้เพียงประเภทเดียวเท่านั้น เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ประกอบด้วย งานหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน (Crafts and Folk Art) งานออกแบบ (Design) อาหาร (Gastronomy) วรรณกรรม (Literature) ภาพยนตร์ (Film) ดนตรี (Music) สื่อศิลปะ (Media Arts)

วัตถุประสงค์ของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์

3

เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่ งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ/ภูมิภาค หรือ ระหว่างชุมชนท้องถิ่น ในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนเมือง การยอมรับการเป็นส่วนหนึ่ง ในสั ง คม และความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งทางวั ฒ นธรรม เป็ น การแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ความรู้

11


ทรัพยากรธรรมชาติที่มใี นแต่ละท้องถิ่น/ชุมชน ระหว่างประเทศสมาชิกหรือระหว่างเมืองเครือข่าย Creative Cities ด้วยกัน โดยเฉพาะความหลากหลายในด้านต่าง ๆ ตามยูเนสโกกาหนด โดยประเทศสมาชิกจะต้อง จัดทาข้อเสนอการเข้าเป็นเครือข่าย Creative Cities ตามหลักเกณฑ์ขององค์การยูเนสโก 1) strengthen international cooperation between เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ ระหว่าง cities that have recognized creativity as a เมืองที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นปัจจัยเชิงกลยุทธ์ strategic factor of their sustainable development. เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2) stimulate and enhance initiatives led by member cities to make creativity an essential component of urban development, notably through partnerships involving the public and private sectors and civil society

กระตุ้นและส่งเสริมการริเริ่มต่างๆ ที่นาโดยเมือง สมาชิกเพื่อให้ความคิดสร้างสรรค์เป็นองค์ประกอบ ที่ ส าคั ญ ของการพั ฒ นาเมื อ ง โดยเฉพาะความ ร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาสังคม

3) strengthen the creation, production, distribution เสริ ม สร้ า งการผลิ ต การจั ด จ าหน่ า ย และการ and dissemination of cultural activities, goods เผยแพร่กิจกรรมทางวัฒนธรรม เพิ่มมูลค่าสินค้า and services และบริการ 4) develop hubs of creativity and innovation พัฒนาการเป็นศูนย์กลางของความคิดสร้างสรรค์ and broaden opportunities for creators and และนวัตกรรม และขยายโอกาสสาหรับผู้สร้างสรรค์ professionals in the cultural sector และผูเ้ ชี่ยวชาญในด้านวัฒนธรรม 5) improve access to and participation in cultural life as well as the enjoyment of cultural goods and services, notably for marginalized or vulnerable groups and individuals

ปรับปรุงการเข้าถึงและการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรม ในชีวิต เช่นเดียวกับการเพลิดเพลินกับสินค้าและ บริการทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มคน ชายขอบและผูด้ ้อยโอกาส

6) fully integrate culture and creativity into local บูรณาการวัฒนธรรมและความคิดสร้างสรรค์เข้า development strategies and plans กับแผนพัฒนา แผนกลยุทธ์ของท้องถิ่น

ของเขตการดาเนินงานของเมืองสร้างสรรค์

12

4

ตามวัตถุประสงค์ของเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ถูกนามาใช้ทั้งในระดับเมือง สมาชิก และในระดับนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการดาเนินการ ต่อไปนี้ 1. sharing experiences, knowledge and best แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ค วามรู้ แ ละแนวทาง practices; ปฏิบัติที่ดีที่สุด


2. pilot projects, partnerships and initiatives associating the public and private sectors, and civil society; 3. professional and artistic exchange programs and networks; 4. studies, research and evaluations on the experience of the Creative Cities; 5. policies and measures for sustainable urban development; 6. communication and awareness raising activities.

จั ด ท าโครงการน าร่ อ งการมี ส่ ว นร่ ว ม และการ ริเริ่มที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ ภาคเอกชน และสังคม โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรกับเมืองเครือข่าย การศึกษาวิจัยและประเมินผลประสบการณ์ของ เมืองสร้างสรรค์ จัดทานโยบายและมาตรการเพื่อการพัฒนาเมือง อย่างยั่งยืน สร้างกิจกรรมด้านการสื่อสารและการสร้างจิดสานึก

เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืนขององค์การ UNESCO (Sustainable Development Goals –SDGs) From MDGs to SDGs เป้ า หมายการพั ฒ นาแห่ ง สหั ส วรรษ (Millennium Development Goals – MDGs) สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2558 UN จึงได้ริเริ่มกระบวนการหารือเพื่อกาหนดวาระการพัฒนาภายหลังปี พ.ศ. 2558 (post-2015 development agenda) ตามกระบวนทัศน์ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยประเด็นสาคัญ ของวาระการพั ฒ นาภายหลั ง ปี พ.ศ. 2558 คื อ การจั ด ท าเป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable Development Goals–SDGs)

ขจัดความยากจน: ขจัดความยากจนทุก รู ป แบบ ทุกสถานที่

5

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ข้อ 1. NO POVERTY: End poverty in all its forms everywhere

13


14

ขจัดความหิวโหย: ขจัดความหิวโหย บรรลุความ มั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี: รับรองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนในทุกช่วงอายุ การศึกษาที่เท่าเทียม: รับรองการศึกษาที่เท่าเทียม และทั่วถึง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน ความเท่าเทียมทางเพศ: บรรลุความเท่าเทียมทาง เพศ พัฒนาบทบาทสตรีและเด็กผู้หญิง การจัดการน้าและสุขาภิบ าล: รับรองการมีน้าใช้ การจัดการน้าและสุขาภิบาลที่ยั่งยืน พลั ง งานสะอาดที่ ทุ ก คนเข้ า ถึ ง ได้ : รั บ รองการมี พลังงานที่ทุกคนเข้าถึงได้ เชื่อถือได้ ยั่งยืนทันสมัย การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ: ส่ ง เสริ ม การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ ต่ อ เนื่ อ ง ครอบคลุมและยั่งยืน การจ้างงานที่มีคุณค่า อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน: พัฒนา โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ พ ร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน และทั่วถึง และสนับสนุนนวัตกรรม ลดความเหลื่อมล้า: ลดความเหลื่อมล้าทั้งภายใน และระหว่างประเทศ เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน: ทาให้เมืองและ การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างยั่งยืน แผนการบริ โ ภคและการผลิ ต ที่ ยั่ ง ยื น : รั บ รอง แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน การรั บ มื อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ: ด าเนิ น มาตรการเร่ ง ด่ ว นเพื่ อ รั บ มื อ กั บ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและผลกระทบ

6

2. ZERO HUNGER: End hunger, achieve food security and improved nutrition and promote sustainable agriculture 3. GOOD HEALTH AND WELL-BEING: Ensure healthy lives and promote well-being for all 4. QUALITY EDUCATION: Ensure inclusive and equitable quality education and promote lifelong learning opportunities for all 5. GENDER EQUALITY: Achieve gender equality and empower all women and girls 6. CLEAN WATER AND SANITATION: Ensure access to water and sanitation for all 7. AFFORDABLE AND CLEAN ENERGY: Ensure access to affordable, reliable, sustainable and modern energy for all 8. DECENT WORK AND ECONOMIC GROWTH: Promote inclusive and sustainable economic growth, employment and decent work for all 9. INDUSTRY, INNOVATION AND INFRASTRUCTURE: Build resilient infrastructure, promote sustainable industrialization and foster innovation 10. REDUCED INEQUALITIES: Reduce inequality within and among countries 11. SUSTAINABLE CITIES AND COMMUNITIES: Make cities inclusive, safe, resilient and sustainable 12. RESPONSIBLE CONSUMPTION AND PRODUCTION: Ensure sustainable consumption and production patterns 13. CLIMATE ACTION: Take urgent action to combat climate change and its impacts


14. LIFE BELOW WATER: Conserve and sustainably การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทาง use the oceans, seas and marine resources ทะเล: อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและ ทรัพยากรทางทะเลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 15. LIFE ON LAND: Sustainably manage forests, การใช้ป ระโยชน์จากระบบนิเ วศทางบก: ปกป้อง combat desertification, halt and reverse ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศ land degradation, halt biodiversity loss ทางบกอย่างยั่งยืน 16. PEACE, JUSTICE AND STRONG INSTITUTIONS: สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก: ส่งเสริมสังคม Promote just, peaceful and inclusive สงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก เพื่อการพัฒนาอย่าง societies ยั่งยืน 17. PARTNERSHIPS FOR THE GOALS: Revitalize ความร่ ว มมื อ เพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น : สร้ า งพลั ง the global partnership for sustainable แห่งการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระดับสากลต่อ development การพัฒนาที่ยั่งยืน

เมืองที่เป็นสมาชิกเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ของประเทศไทย มีทั้งสิน้ 4 เมือง ดังนี้

เชียงใหม่ (Crafts and Folk Art: 2017)

กรุงเทพฯ (Design: 2019)

สุโขทัย (Crafts and Folk Art: 2019)

7

ภูเก็ต (Gastronomy: 2015)

15


ความพร้อมเบื้องต้น เพื่อการพัฒนานครปฐมเมืองสร้างสรรค์สาขาดนตรี ขององค์การยูเนสโก (UNESCO Creative Cities Network - UCCN) ประวัติความเป็นมาของจังหวัดนครปฐม “นครปฐม” เป็นอู่อารยธรรมสาคัญที่มีประวัติความเป็นมายาวนานในแผ่นดินสุวรรณภูมิ จาก หลั ก ฐานทางประวัติศาสตร์ก ล่าวว่า เมืองนครปฐมแต่เ ดิมนั้นตั้งอยู่ริมทะเล เป็นเมืองเก่าแก่ มีความ เจริญรุ่งเรืองมานับตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ และเป็นราชธานีสาคัญในสมัยทวารวดี ในยุคนั้นนครปฐมเป็น แหล่ ง เผยแพร่ อ ารยธรรมจากประเทศอิ น เดีย ซึ่ ง รวมทั้ ง พุ ท ธศาสนา นครปฐมจึ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางของ ความเจริญ มีชนชาติตา่ งๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่เป็นจานวนมาก ต่อมาได้เกิดความแห้งแล้งขึน้ ในเมือง นครปฐม เพราะกระแสน้าที่ไหลผ่านตัวเมืองเปลี่ยนเส้นทาง ประชาชนจึงอพยพไปตั้งหลักแหล่งอยู่ริมน้า และสร้างเมืองใหม่ขึ้นชื่อ “เมืองนครไชยศรี” หรือ “ศรีวิชัย” นครปฐมจึงกลายเป็นเมืองร้างมาเป็นเวลา หลายร้อยปี จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่ทรงยังผนวชได้ธุดงค์ไปพบ พระ ปฐมเจดีย์ และทรงเห็นว่าเป็นเจดีย์องค์ใหญ่ไม่มีที่ใดเทียบเท่า ครั้นเมื่อได้ครองราชย์ จึงโปรดฯ ให้ ก่อ เจดีย์แบบลังกาครอบองค์เดิมไว้ โดยให้ชื่อว่า “พระปฐมเจดีย์” ทรงปฏิสังขรณ์สิ่งต่างๆ ในบริเวณ องค์ พระปฐมเจดีย์ให้มีสภาพดี และโปรดฯ ให้ขุดคลองเจดีย์บูชาเพื่อให้การเสด็จมานมัสการสะดวกขึ้น ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เริ่มก่อสร้างทางรถไฟสายใต้ผ่านเมืองนครปฐม ซึ่ง ขณะนั้นยังเป็นป่ารก พระองค์จึงโปรดฯ ให้ย้ายเมืองจากตาบลท่านา อาเภอนครชัยศรี มาตั้งที่บริเวณ องค์พระปฐมเจดีย์เหมือนเช่นครั้งสมัยโบราณ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ ให้สร้างพระราชวังสนามจันทร์เป็น ที่เสด็จแปรพระราชฐานและฝึกซ้อมรบแบบเสือป่า โดยโปรดฯ ให้ตัดถนนเพิ่มขึ้นอีกหลายสาย รวมทั้งสร้าง สะพานเจริญศรัทธาข้ามคลองเจดีย์บูชาเชื่อมระหว่างสถานีรถไฟกับองค์พระปฐมเจดีย์ ตลอดจนสร้าง พระร่วงโรจนฤทธิ์ทางด้านทิศเหนือขององค์พระปฐมเจดีย์และบูรณะองค์พระปฐมเจดีย์ให้สมบูรณ์สวยงาม ดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน และได้โปรดให้เปลี่ยนชื่อจากเมือง “นครไชยศรี” เป็น “นครปฐม”

ข้อมูลทั่วไปจังหวัด

16

8

 ที่ตั้ง จังหวัดนครปฐมเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางด้านตะวันตก ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็น พื้นที่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลาง โดยอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 13 องศา 45 ลิปดา 10 พิลิปดา เส้นแวงที่ 100 องศา 4 ลิปดา 28 พิลิปดา มีพื้นที่ 2,168.327 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,204 ไร่ เท่ากับร้อยละ 0.42


ของประเทศ และมี พื้ น ที่ เ ป็ น อั น ดั บ ที่ 62 ของประเทศ อยู่ ห่ า งจากกรุ ง เทพมหานครไปตามเส้ น ทาง ถนนเพชรเกษม 56 กิโลเมตร หรือตามเส้นทางถนนบรมราชชนนี (ถนนปิ่นเกล้า -นครชัยศรี) 51 กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟ 62 กิโลเมตร  อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอสองพี่นอ้ ง จังหวัดสุพรรณบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอกระทุ่มแบน อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร อาเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอไทรน้อย อาเภอบางใหญ่ อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เขตทวีวัฒนา เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอบ้านโป่ง อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี อาเภอท่ามะกา อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี  เขตการปกครอง จังหวัดนครปฐมแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อาเภอ 106 ตาบล 904 หมู่บ้ าน สาหรับการ บริ ห ารราชการส่ ว นท้ อ งถิ่ น ประกอบด้ ว ย องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด 1 แห่ ง เทศบาลนคร 1 แห่ ง เทศบาลเมือง 4 แห่ง เทศบาลตาบล 18 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตาบล 93 แห่ง  ระยะทางจากอาเภอเมืองไปยังอาเภอใกล้เคียง อาเภอนครชัยศรี 14 กิโลเมตร อาเภอพุทธมณฑล 20 กิโลเมตร อาเภอสามพราน 21 กิโลเมตร อาเภอกาแพงแสน 26 กิโลเมตร อาเภอดอนตูม 31 กิโลเมตร อาเภอบางเลน 46 กิโลเมตร  ระยะทางจากจังหวัดนครปฐมไปยังจังหวัดใกล้เคียง จังหวัดนนทบุรี 65 กิโลเมตร จังหวัดสมุทรสาคร 48 กิโลเมตร จังหวัดราชบุรี 43 กิโลเมตร จังหวัดกาญจนบุรี 112 กิโลเมตร จังหวัดสุพรรณบุรี 160 กิโลเมตร

9 17


แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม ด้วยการที่เป็นเสมือนอู่อารยธรรมสาคัญที่มีประวัติความเป็นมายาวนานในแผ่นดินสุวรรณภูมิ เป็น เมืองเก่าแก่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองด้านพระพุทธศาสนา จังหวัดนครปฐมจึงมีทรัพยากรพื้นฐานด้านการ ท่องเที่ยวที่หลากหลายทั้งเชิงประวัติศาสตร์ จังหวัดนครปฐม มีขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม และ การละเล่นพืน้ เมืองสาคัญที่นยิ มปฏิบัติสบื ทอดกันมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน รวมถึงงานที่จัดขึน้ เป็นประจา ทุกปี ดังนี้  งานนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ งานประเพณีที่มีมาแต่โบราณ จัดขึ้นระหว่างวันขึ้น 12 ค่ํา ถึง แรม 4 ค่ํา เดือน 12 ของทุกปี  งานเทศกาลอาหาร ผลไม้ และของดี น ครปฐม จั ด ขึ้ น ในช่ ว งเทศกาลตรุ ษ จี น ปลายเดื อ น มกราคมถึงต้นเดือนกุ มภาพันธ์ของทุกปีบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์เพื่อเป็นการประชาสั ม พันธ์ เผยแพร่ผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงของจังหวัด เช่น ส้มโอ มะพร้าว ําหอม น้ ฝรั่ง และกล้วย เป็นต้น ส่วนผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้แก่ กุ นเชีย ง หมูแผ่น หมูหย็ อง หมูหัน ข้าวหลาม ฯลฯ รวมทั้งอาหารโต๊ะจีนที่ขึ้นชื่อ ตลอดจนสินค้าทางอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยในงานจะมี การประกวดผลผลิตด้านการเกษตรประเภทต่างๆ  งานมหาธีรราชเจ้าราลึก มหกรรมวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม จัดขึน้ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ระหว่าง วันที่ 1-7 มกราคมของทุกปี ณ บริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ เริ่มจัดเมื่อปีพุทธศักราช 2545 จนถึง ปัจจุบัน โดยมีวัตถุ ป ระสงค์เ พื่อเทิดพระเกีย รติพระบาทสมเด็จพระมงกุ ฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สืบสานวัฒนธรรมไทย ในงานดังกล่าวจะมีกิจกรรมการประกวดต่างๆ การแสดงทางวัฒนธรรม พื้นบ้าน และการแสดงทางวัฒนธรรมของนักเรียน นิทรรศการพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ รัชกาลที่ 6 และกิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย การจาหน่ายสินค้าทางวัฒนธรรม ศูนย์อาหารของดี จังหวัดนครปฐม ตลอดจนการจาหน่ายสินค้าต่างๆ  ประเพณีการแห่ผ้าห่มองค์พระปฐมเจดีย์ การนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ที่พุทธศาสนิก ชน นิยมกระทา ได้แก่ การบูชาด้วยดอกไม้ ธูป เทียน ในวันธรรมดาเป็นปกติและในวันสาคั ญ ทาง ศาสนา เช่น วั นวิส าขบูชา วั นมาฆบูชา จะมีก ารบูชาด้วยการเดินเวีย นเทีย นทัก ษิณาวัต รรอบ องค์พระปฐมเจดีย์เพื่อเป็นการทาให้จิตใจสงบ

18

10

 ประเพณีลอยกระทง ตรงกับช่วงงานเทศกาลนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ จึงนับได้ว่าเป็นส่วนหนึ่ง ของงานองค์พระปฐมเจดีย์ด้วยในวันลอยกระทงคืนวันเพ็ญเดือน 12 นี้มีประชาชนมาเที่ย วงาน อย่างคับคั่งมากกว่าวันอื่นๆ เป็นประจาทุกปีจัดให้มีพิธีลอยกระทงบริเวณคลองเจดีย์บูชาทางด้าน สะพานเจริญศรัทธา


 ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ เป็นประเพณีพื้นบ้านและเป็นส่วนหนึ่งของงานเทศกาลสงกรานต์ซึ่ง ปฏิบัติสืบทอดกันมาช้านานในหมู่คนไทยเชื้อสายลาวครั่ง บริเวณเขตตาบลโพรงมะเดื่อ อาเภอ เมื อ งนครปฐม และในต าบลห้ ว ยด้ ว น ต าบลดอนรวก ต าบลล าเหย อ าเภอดอนตู ม การแห่ ธงสงกรานต์ เ ป็ นประเพณี เ กี่ย วกั บ พุ ท ธศาสนาที่ป ฏิ บัติ แ ตกต่ า งไปจากคนไทยกลุ่ม อื่ น ในช่วง เทศกาลของทุกปี  ประเพณีการแข่งเรือยาว เป็นงานประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปีบริเวณลุ่มแม่ํานครชั น้ ย ศรี ( แม่ ําท่ น้ า จี น ) หน้ า วั ด บางพร ะ อ าเภอนครชั ย ศ รี ป ระมาณช่ ว งอ อกพ รรษ า โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานโล่รางวั ลแก่ทีมชนะเลิศ นอกจากนั้น ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ํา เป็นต้นไป เป็นเวลา 1 เดือน จะมีการแข่งเรือในวันทอดกฐินตามวัดต่างๆ ที่ตงั้ อยู่รมิ แม่ํา น้ ซึ่ง ในช่วงดังกล่าววัดต่างๆ จะมีการทอดกฐินหรือถวายผ้าไตรจีวรพร้อมเครื่องอัฐบริขารแด่พระภิกษุ สงฆ์อันเป็นประเพณีสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ

ศิลปิน ต้นทุนทางวัฒนธรรม มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมดนตรีของจังหวัดนครปฐม  นางศรีนวล ขาอาจ: ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพืน้ บ้าน-ลาตัด) ประจาปี 2562

 นายหวังดี นิมา (หวังเต๊ะ): ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน) ประจาปี 2531 (เกิดที่อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี)  นางประยูร ยมเยี่ยม: ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพืน้ บ้าน-ลาตัด) ประจาปี 2537

 ตระกูลปี่พาทย์ “แก้วบูชา”: ตั้งอยู่ที่อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ตระกูลนักดนตรีเก่าแก่ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ได้สืบทอดและรักษาศิลปวัฒนธรรมทางด้านดนตรีไทยมาอย่างยาวนาน และ ถ่ายทอดความรูท้ ี่มอี ยู่ให้แก่ชนรุน่ หลัง  ดร.มนัส แก้วบูชา: อดีตอาจารย์โรงเรียนราชินีบูรณะ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา เล่นดนตรีได้รอบวง ทั้งปี่พาทย์ เครื่องสาย ขับร้อง และประพันธ์เพลง  นายมานพ แก้วบูชา: ผู้ประดิษฐ์เครื่องดนตรีไทยจากวัสดุวิทยาศาสตร์ (ไฟเบอร์กลาส) เป็น รายแรกของโลก โดยปลัดกระทรวงวัฒนธรรมเปิดเผยยกย่องเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2552 มีแนวคิด จากลดปัญ หาการตัด ไม้ และไม้หายาก จึงคิดค้นวัสดุอื่นที่เ ป็นการเลีย นแบบธรรมชาติ ขึ้ น มา ทดแทน เช่น รางระนาดเอก รางระนาดทุ้ม ร้านฆ้องมอญ

11

 นายจาเนียร ศรีไทยพันธุ์ : (21 ตุลาคม 2463 - 27 มิถุนายน 2541) อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจาปี 2536 โดดเด่นในการเป่าปี่ และขลุ่ย ขับร้อง เล่นดนตรีได้รอบวง พิธีกรอ่านโองการไหว้ครู

19


 นายจิรัส อาจณรงค์ : (เกิด 16 พฤศจิกายน 2475) อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ศิลปิน แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจาปี 2545 โดดเด่นในการบรรเลงระนาดเอกและ ฆ้องวงใหญ่ เล่นดนตรีได้รอบวง  ศาสตราจารย์พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ : อาจารย์ภาควิชานาฏยสังคีต สาขาวิชาสังคีตศิลป์ไทย คณะ อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดดเด่นในการสีซอสามสาย เป็นบุตรของศาสตราจารย์อุดม อรุณรัตน์ ศาสตราจารย์ซอสามสายคนแรกของประเทศไทย  นายสวาท มั่นศรีจันทร์: ตาบลบางแขม อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม คณะอนุกรรมการ วัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม เชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินดีเด่น สาขาทัศนศิลป์ ด้านดนตรีไทยของ จังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2542 มีความสามารถในด้านการแสดงดนตรีไทย สอนดนตรีไทย ผลิต ผืนระนาด และทากลองชนิดต่างๆ  นายเชาว์ ชาวนาเป้า: (เสียชีวิต 3 สิงหาคม 2562) อาเภอสามพราน มีฝีมือทางช่าง เป็นช่างทา ซอไทยของร้านดุริยบรรณ  นักร้องลูกทุ่ง บ้านเกิดจังหวัดนครปฐม: เจนภพ จบกระบวนวรรณ เดิมมารดาเป็นคนนครชัยศรี การเวก เสียงทอง วัดไผ่ล้อม นครปฐม ปัจจุบันอยู่บางบ่อ สมุทรปราการ แทน นครปฐม ตาบลบางแขม อาเภอเมืองนครปฐม กุหลาบดา หนามคม วัดตาก้อง อาเภอเมืองนครปฐม ปัจจุบันอยู่แถวจรัญฯ วิษณุกร นครปฐม อาเภอบางเลน ปัจจุบันอยู่กรุงเทพฯ สุบิน ทิพวัฒน์ อาเภอบางเลน ปัจจุบันอยู่ปทุมธานี ภูพาน เพชรปฐมพร ศิลปินลูกทุ่ง คนนครปฐม อนงค์ ชฎาดา เกิดที่บ้านโป่ง ราชบุรี แต่ครอบครัวมาตั้งรกรากที่นครปฐม เสกสรรค์ แจกันทอง อาเภอเมืองนครปฐม มนต์ มาลัยแมน อาเภอกาแพงแสน  นางผ่องศรี วรนุช: (เกิด 5 มิถุนายน 2482) เกิดที่จังหวัดชัยนาท ปัจจุบัน อยู่ที่อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องลูกทุ่ง) ประจาปี 2535  นายขุนอิน ณรงค์ โตสง่า: การทางาน พ.ศ. 2528-2547 รับข้าราชการครู ที่โรงเรียนมัธยมวัด ห้ว ยจรเข้วิท ยาคม เป็นอาจารย์พิเ ศษ โรงเรีย นนายร้อยตารวจ สามพราน เป็นอาจารย์พิเ ศษ โรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาของจังหวัดนครปฐม

12

20


 แหล่งเรียนรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ลาตัดและเพลงพื้นบ้านภาคกลาง พ่อหวังเต๊ะ แม่ ศรีนวล: ตั้งอยู่ที่อาเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม เพื่ออนุรัก ษ์ภูมิปัญ ญา ส่งเสริม สืบ ทอด ถ่ายทอดองค์ความรู้ ต่อยอดมรดกวัฒนธรรมด้านเพลงพื้นบ้านภาคกลาง ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน  บ้านดนตรีไทย นายสนั่น แก้วบูชา: ปราชญ์ชาวบ้านด้านดนตรีไทย ศิลปินดีเด่นสาขาดนตรีไทย ประจาปี 2545 ของจังหวัดนครปฐม รับแสดงดนตรีไทย สอนดนตรีไทย  เพลงปรบไก่ (เพลงวง) บ้านสระกระเทียม: ตาบลสระกระเทียม อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัด นครปฐม เล่นกันมานานกว่า 100 ปี (แม่กุหลาบ เครืออยู่)  เพลงขอทาน บ้านลาวข่า : ตาบลบางระกา อาเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เล่นกันมานานกว่า 100 ปี ตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (นายบุญช่วง ศรีรางวัล นายบุญชู ศรีรางวัล)  ดนตรี พื้ น บ้ า น ชาติ พั น ธุ์ ล าวครั่ ง ชุ ม ชนห้ ว ยด้ ว น: ตาบลห้วยด้วน อาเภอดอนตูม จังหวั ด นครปฐม สืบทอดมาหลายรุ่น จากแคนเต้าเดียวประกอบการฟ้อนรา พัฒนามาเป็นวงดนตรีแคนวง ประยุกต์ บรรเลงในงานกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน

อัตลักษณ์ ความโดดเด่น ศักยภาพของจังหวัดนครปฐมที่สนับสนุนการเมืองสร้างสรรค์ สาขาดนตรี 

สถาบันการศึกษาดนตรีชั้นสูง

13

- วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ที่ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัด นครปฐม จัดเป็นสถาบันอุดมศึกษาทางดนตรีชั้นนาของประเทศไทย ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 ด้วย เป้าหมายที่จะพัฒนาให้กลายเป็นวิทยาลัยดนตรีชั้นนา (Conservatory) ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และก็ มิได้เป็นเพียงสถาบันสอนดนตรีระดับอุดมศึกษาที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง แต่วิทยาลัยยังมีพันธ กิจ (Mission) ทางดนตรีในทุกๆ มิติอย่างครบวงจร ไม่ว่าจะเป็น o ผลงานสร้ า งสรรค์ (Creative Works): การแสดงดนตรีทั้ งในระดับ มื ออาชี พ โดย วง Thailand Philharmonic Orchestra (TPO) หรื อ การแสดงโดยวงดนตรี ช นิ ด ต่ า งๆ ของ นักศึกษาในวิทยาลัย การสร้างสรรค์ทางด้านการประพันธ์เพลง การเรียบเรียงเสียง ประสาน และงานบันทึกเสียงการแสดงดนตรีในระดับมืออาชีพ o ผลงานการวิ จั ย (Research): การวิ จั ย ทางด้ า นดนตรี ศึ ก ษา ผลงานวิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ การ ตีพมิ พ์ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ o การศึกษาในด้านดนตรีอื่นๆ ที่ครบครัน ไม่ว่าจะเป็น ดนตรีวิทยา (Musicology) ดนตรี ศึกษา (Music Education) ดนตรีบาบัด (Music Therapy) ธุรกิจดนตรี (Music Business)

21


และเทคโนโลยีดนตรี (Music Technology) ซึ่งการศึกษาในทุกๆ สาขาวิชามีความพร้อม ที่จะนามาบูรณาการรับใช้สังคมในภาคปฏิบัติอย่างแท้จริง o ผลงานการประพันธ์ดนตรีชนิ้ ใหม่ๆ ที่ได้รับการนาออกแสดงในระดับนานาชาติ เพื่อพัฒนาการและความน่าเชื่อถือที่เป็นรูปธรรม ทางวิทยาลัยจึงได้เข้าสู่แผนการประเมินคุณภาพ โดยองค์กรทางการรับรองคุณภาพการศึกษาดนตรีในระดับนานาชาติ อันมีชื่อเสียงและเชื่อถือได้ นั่นก็คือ MusiQuE (Music Quality Enhancement) อันเป็นองค์กรเฉพาะที่รับรองคุณภาพทางด้านการศึกษาดนตรี เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 และมีแผนที่จะเสนอขอการรับรองให้ครบทุกหลักสูตรในปี พ.ศ. 2564 อันจะทาให้ วิทยาลัยได้รับการรับรองมาตรฐานสากลทั้งระดับสถาบันและหลักสูตรครบทุกระดับ เป็นสถาบันแรกใน ภูมิภาคอาเซียน ไม่เฉพาะด้านการศึกษา แต่เป็นการพัฒนาในทุกพันธกิจทั้งการศึกษา งานสร้างสรรค์ งานวิ จัย และงานบริก ารวิชาการ ผลการประเมินโดยสถาบัน “MusiQuE” ปรากฏออกมาว่า วิท ยาลัย นับ เป็น “สถาบันที่มีความเป็ นเลิ ศ อย่ า งยิ่ ง ” (Truly Exceptional Institution) โดยได้รับ ผลดีเ ยี่ย มในทุ ก ๆ มาตรฐานการประเมิน รวมไปถึงบทบาทต่ออุตสาหกรรมสร้างสรรค์และบทบาทในฐานะตัว แทนทาง วัฒนธรรมของประเทศไทย

- สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ...................... รวบรวมข้อมูล ระดมสมองเพิ่มเติมจากคณะกรรมการฯ ....................

14

22


พื้นทีส่ าหรับการฝึกซ้อม การแสดงดนตรี -

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร

บริเวณโดยรอบวัดได้มีการจัด เทศกาลทางวัฒนธรรม ประเพณี กิจกรรมดนตรีอย่างต่อเนื่อง อาทิ งาน เทศกาลนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ งานเต้นสวิงบนรถไฟนครปฐม “Big Bang: Swing Dancing at Nakhon Pathom” -

พระราชวังสนามจันทร์

15 23


-

พื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม

24

16

มหิ ด ลสิ ท ธาคาร (Prince Mahidol Hall) คื อ สถานที่ แ สดงดนตรี ที่ เ ป็ น ความภาคภู มิ ใ จใน ระดับประเทศในฐานะที่เป็นสังคีตสถาน (Concert Venue) อันมีความเป็นเลิศทางด้านคุณภาพการสะท้อน เสียง (Acoustic) ที่ดีเยี่ยม โดยได้รับคาชื่นชมประทับใจด้วยดีเสมอมาจากวงดนตรีที่เป็นอาคันตุกะมาเยือน ในโอกาสต่างๆ กัน ซึ่งสถานที่แห่งนี้เปรียบเสมือนห้องรับแขกที่ได้ต้อนรับวงออร์เคสตราชั้นนาจากทั่วโลก มาแล้ว ไม่ว่าจะเป็น วงเบอร์ลินฟี ลฮาร์โมนิก (Berlin Philharmonic: ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561) วง ลอนดอนซิมโฟนีออร์เคสตรา (London Symphony Orchestra: ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561) วงบีบีซีซิมโฟนี ออร์เคสตรา (BBC Symphony Orchestra) วงเวียนนาเรดิโอซิมโฟนีออร์เคสตรา(Vienna Radio Symphony Orchestra) วงโตเกี ย วซิ ม โฟนี อ อร์ เ คสตรา (Tokyo Symphony Orchestra) ฯลฯ ด้ ว ยความจุ ผู้ ช มระดั บ มาตรฐานถึง 2,016 ที่นั่ง พร้อมอาคารจอดรถเพิ่มเติมถึ ง 1,000 คัน และ Community Mall เพื่อความ สะดวกสบายสาหรับผูม้ าชมการแสดงดนตรี มหิดลสิทธาคารได้รับการจัดอันดับจาก Time out “The 21 best things to do in Thailand: อันดับ 12 - See the world-class Thailand Philharmonic Orchestra at Prince Mahidol Hall


นอกจากนี้ ในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล ยังมีสถานที่จัดการแสดงดนตรี ฝึกซ้อมดนตรี ทั้งภายใน และภายนอกอาคาร สามารถรองรับกิจกรรมดนตรีได้อย่างหลากหลาย

......... รวบรวมข้อมูล ระดมสมองเพิ่มเติมจากคณะกรรมการฯ ..........

17 25


ความพร้อมด้านการคมนาคมที่รองรับการพัฒนาเมือง - โครงข่ายรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ตลิ่งชัน – ศาลายา นครปฐม

-

โครงการพัฒนาสนามบินนครปฐม

18

26


เทศกาลดนตรีขนาดใหญ่ระดับชาติ ระดับนานาชาติ

- Thailand International Jazz Conference (TIJC): เทศกาลดนตรี แ จ๊ ส นานาชาติ เ พื่ อ การเรียนรู้ กิจกรรมนี้จัดขึ้นเป็นประจาทุกปีในเดือนมกราคม ซึ่งมิได้เป็นเพียงการแสดงดนตรีธรรมดาๆ แบบเทศกาลดนตรีทั่วๆ ไป หากแต่มกี ารนาเสนอประสบการณ์และให้ความรู้ใหม่ๆ ในลักษณะวิชาการและ กึ่ งวิชาการ กล่าวคือ การแบ่งเทศกาลออกเป็น 4 ส่วนคือ (1) การแสดงดนตรีแ จ๊ส (TIJC Performance Series) โดยศิลปินรับเชิญในระดับนานาชาติ และวงดนตรีแจ๊ สจากองค์กรสถาบันการศึกษาทั่วประเทศที่ ต่างให้ความสนใจส่งวงดนตรีเข้าร่วมงานเป็นประจา (2) กิจกรรมด้านการศึกษา (TIJC Education Series) การบรรยาย อบรม สัมมนา (3) การแข่งขันแสดงเดี่ยวดนตรีแจ๊ส (TIJC Solo Competition) (4) กิจกรรมค่าย ดนตรีแจ๊ส (TIJC Jazz Camp)

19

- กิจกรรมการประกวดเยาวชนดนตรี (SET) เป็นอีกโครงการหนึ่งที่นา่ ภาคภูมิใจ ที่ทางวิทยาลัย ดุริยางคศิลป์ได้ร่วมกับภาคเอกชน อย่างตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดขึ้นยาวนานต่อเนื่องกันเป็น ประจาทุกปีนานกว่าสองทศวรรษ เริ่มตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2540 ด้วยเอกลักษณ์การประกวดดนตรีที่ไม่เหมือนใคร นั่นคือการประกวดดนตรี (และการขับร้อง) ในทุกประเภท ทุกชนิด โดยมีกติกาเพียงแค่ว่า ขอให้เป็นการ บรรเลงเครื่องดนตรีที่ไม่ใช้ไฟฟ้าในการบรรเลง การประกวดจึงเป็นการเปิดโอกาสให้กับการแข่งขันเครื่อง ดนตรีทุกชนิด-ทุกประเภทในเวทีเดียวกัน อย่างไม่แบ่งแยก เยาวชนดนตรีจึงจาเป็นต้องสร้างความพิเศษ ความเป็นเลิศอันน่าประทับใจต่อผู้ช มและคณะกรรมการในแนวทางของตนเองให้ไ ด้ม ากที่สุด นับเป็น กิจกรรมการแข่งขันทางดนตรีที่ประสบความสาเร็จและมีผู้ให้ความสนใจเป็นจานวนมาก

27


- Thailand International Composition Festival (TIFC): โครงการเทศกาลการประพันธ์ ดนตรีนานาชาติแห่งประเทศไทย โครงการต่อเนื่องที่ทางวิทยาลัยได้จัดมานานกว่า 15 ปี เป็นกิจกรรมเพื่อ สนับสนุนการสร้างสรรค์งานประพันธ์ดนตรีชิ้นใหม่ๆ โดยศิลปินร่วมสมัยที่ยังมี ชีวิตอยู่ ภายในกิจกรรมนี้มี ทั้งการอบรมให้ความรู้ขั้นสูง (Master Class) การแข่งขันประพันธ์ดนตรี และการแสดงคอนเสิร์ตผลงาน ดนตรี ที่ ป ระพั น ธ์ ขึ้ น ใหม่ ๆ โดยได้ รั บ ความสนใจจากศิ ล ปิ น มากมายทั้ ง ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ยุ โ รป หรื อ สหรัฐอเมริกา เข้าร่วมในกิจกรรมนี้ต่อเนื่องมา นับเป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างการประพันธ์ดนตรีโดยคนรุ่น ใหม่อย่างแท้จริง

28

20

- Thailand International Wind Symphonic Competition (TIWSC): โครงการประกวด วงดุรยิ างค์เครื่องเป่านานาชาติแห่งประเทศไทย กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ ภายใต้โครงการ คิง เพาเวอร์ ไทย เพาเวอร์ พลังคนไทย ร่วมกับวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดการประกวดวงดุริยางค์ เครื่องเป่านานาชาติ ประจาปี 2563 หรือ Thailand International Wind Symphony Competition สร้างฝัน และจุดประกายให้เหล่านักดนตรีและผู้ฟังทั่วโลกได้เพลิดเพลินกับบทเพลงคลาสสิกและบทเพลงร่วมสมัย


บนสุดยอดเวทีแห่งการแข่งขันระดับมาตรฐานสากล ที่ผ่านมาถือว่าประสบความสาเร็จเป็นอย่างสูง มีผทู้ ี่มี หัวใจรักดนตรีทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้าร่วมแสดงพลังสุดยิ่งใหญ่ของวงดุริยางค์เครื่องเป่า ขับกล่อม เสียงดนตรีอันไพเราะบนเวทีนี้แล้วกว่า 2,600 คน แต่สิ่งที่น่าภูมิใจมากยิ่งขึ้นคือการได้เห็นหลายๆ วง นา ประสบการณ์จากเวทีการประกวดวงดุริยางค์เครื่องเป่านานาชาติแห่งนี้ ไปเป็นใบเบิกทางให้ พวกเขาได้มี แรงผลักดันในการต่อยอดด้านดนตรีต่อไป สะท้อนให้เห็นถึงความพร้อมและความสามารถด้านดนตรีของ คนไทย

21

- Thailand Philharmonic Orchestra (TPO): วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ในฐานะวงออร์เคสตราชั้นนาของประเทศ เป็นวงซิมโฟนีออร์เคสตราระดับมืออาชีพเต็มตัว ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2548 ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะให้เป็นวงออร์เคสตราชั้นนาของเมืองไทย มีการแสดงคอนเสิร์ตบทเพลง คลาสสิกสากลมาตรฐานระดับโลก จัดการแสดง ณ หอแสดงดนตรีมหิดลสิทธาคาร (Prince Mahidol Hall) ซึ่งถือเป็นสถานที่แสดงประจาของวงที่มีคุณภาพเสียงภายในอาคารดีเป็นอย่างยิ่ง รายการแสดงคอนเสิร์ต ของวง TPO ล้วนแต่เป็นบทเพลงคลาสสิกมาตรฐานสากลระดับมืออาชีพโดยแท้จริง นับแต่ผลงานดนตรีใน ศตวรรษที่ 18 อย่างโมซาร์ท (W.A. Mozart) เบโธเฟน (Ludwig van Beethoven) งานดนตรีในศตวรรษที่ 19 อย่าง บรามส์ (Johannes Brahms) ไชคอฟสกี (P. Tchaikovsky) เรื่อยไปจนถึงผลงานปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 อย่าง ชเตราส์ (Richard Strauss) มาห์เลอร์ (Gustav Mahler) และดนตรีในศตวรรษ ที่ 20 ไปจนถึงผลงานดนตรีคลาสสิก ร่วมสมัยที่ป ระพันธ์ขึ้นใหม่ๆ โดยนักแต่งเพลงในยุ คปั จจุบัน อาทิ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร ดร.ณรงค์ ปรางค์เจริญ นับเป็นการแสดงในระดับมืออาชีพ หรือระดับนานาชาติ อย่างแท้จริง ธรรมเนียมคลาสสิกตะวันตกที่ไม่เคยลืมรากแห่งความเป็นไทย วงTPO ได้สร้างธรรมเนียมประจาวงอันเป็นพิเศษประการหนึ่ง ที่โดดเด่นไม่เหมือนใคร นั่นก็คือ การบรรเลงบทเพลงเปิดรายการในลักษณะโหมโรง (Overture) ด้วยบทเพลงไทยขนบดั้งเดิม (แบบที่เรียก กันว่า “เพลงไทยเดิม”) ที่นามาเรียบเรียงเสียงประสานให้วงออร์เคสตราสากลใช้เป็นบทเพลงบรรเลงก่อน เปิดรายการคอนเสิร์ตทุกครั้ง นับเป็นการธารงรั กษาเพลงไทยให้ผสานเข้ากับวัฒนธรรมสากลโลกได้อย่าง ลงตัว และเผยแพร่บทเพลงไทยไปในขณะเดียวกันด้วย ความหลากหลาย ในแนวทางเพื่อผสานเชื่อมโยงกับคนรุ่นใหม่

29


• นอกจากการนาเสนอคอนเสิร์ตบทเพลงคลาสสิกมาตรฐานสากลแล้ว วง TPO ยังถือ เป็นพันธกิจในอันที่จะสืบสานดนตรีคลาสสิกสากลสู่ คนรุ่นใหม่ ด้วยการนาเสนอบทเพลงในรูปแบบสากล ร่วมสมัยในลักษณะต่างๆ ที่บรรเลงด้วยวงออร์เคสตราอย่างยิ่งใหญ่ ในหลากหลายรูปแบบ อาทิ • การนาศิลปินดนตรีสมัยนิยมรุ่นใหม่ๆ ขวัญใจวัยรุ่นมาร่วมแสดงดนตรีกับวง TPO ใน มาตรฐานดนตรี ต ะวั น ตกขั้ นสู ง ที่แ ฟนเพลงรุ่ นใหม่ ๆ วั ย เยาว์ ไ ม่ เ คยสั ม ผั ส ลิ้ม ลองมาก่อ น ซึ่ ง เป็ น การ ผสมผสานที่ได้รับผลการตอบรับเป็นอย่างดียิ่งทุกครั้ง • การแสดงบทเพลงประกอบภาพยนตร์ ที่ได้รับผลการตอบรับด้วยดี จากแฟนเพลงกลุ่ม ใหม่ๆ ที่ชื่นชอบภาพยนตร์ที่มีดนตรีประกอบชั้นดี โดยมีการคัดเลือกและนาเสนอในรูปแบบต่างๆ กันไป เพื่อให้กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่รักการชมภาพยนตร์จะได้มีโอกาสสัมผัสกับประสบการณ์ใหม่ๆ ในสรรพเสียงของ วงออร์เคสตราจากการบรรเลงจริง • ดนตรีป ระกอบเกมอนิเ มชัน นี่นับ เป็นการเปิดประสบการณ์ใ หม่ใ นเมือ งไทยอย่ า ง แท้จริงโดย ไม่เคยมีวงออร์เคสตราวงใดในเมืองไทยเคยกระทามาก่อน คนรุ่ นใหม่ที่เล่นเกมอนิเมชันอยู่กับ บ้านจะชินกับเสียงดนตรีประกอบเกมที่ประพันธ์ขึ้นใหม่เป็นการเฉพาะสาหรับเกมนั้นๆ บทเพลงเหล่านี้ ประพันธ์ขึ้นสาหรับการบรรเลงด้วยวงออร์เคสตราขนาดใหญ่อย่างแท้จริง เยาวชนหรือคนรุ่นใหม่ที่ผูกพัน กับการเล่นเกมเหล่านี้ จึงรักเสียงดนตรีอั นวิจิตรของวงออร์เคสตราไปโดยไม่รู้ตัว และเมื่อวง TPO จัด คอนเสิร์ตบทเพลงจากเกมเหล่านั้นที่เขาชื่นชอบ จึงให้ความสนใจในคอนเสิร์ตชนิดนี้ และในระยะเวลาต่อไป ภายภาคหน้าจึงคาดหวังว่าพวกเขาจะหันมาสนใจในบทเพลงคลาสสิกสากลที่บรรเลงด้วยวงดนตรีประเภท เดียวกันนี้อย่างแน่นอน

30

22

- กิจกรรมทางการแสดงละครเวที : ความพิเศษด้วยการสร้างสรรค์ละครเรื่องใหม่ๆ จากวรรณกรรม ภูมิปัญญาไทย และเรื่องราวพื้นบ้าน สาขาวิชาธุรกิจดนตรีของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ได้จัดรายการแสดงละครเวทีขึ้นเป็นประจาทุกปี เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ในภาคปฏิบัติให้ แก่นักศึกษา โดยให้พวกเขาได้มีโอกาสสัมผัสกับนักแสดงละครมืออาชีพที่มาร่วมงานด้วย นอกจากการแสดงละครเวที ในหลายๆ เรื่ อ งที่ เ ป็ น บทละครมาตรฐานที่ มี ศิ ล ปิ น ต่ า งประเทศได้ ส ร้ า งสรรค์ ไ ว้ แ ล้ ว ทางวิ ท ยาลั ย ดุริยางคศิลป์ ยังได้นาเสนอมิติใหม่ในศิลปะการละครเวทีเมืองไทย ด้วยการนาเอาเรื่องราวที่เป็นตานาน พื้นบ้านไทยที่มีอยู่แล้ว นามาสร้างสรรค์ใหม่ในรูปแบบของละครเวที ซึ่งถือเป็นการสร้างสรรค์ตัวบทละคร


และบทเพลงประกอบละครขึ้นมาใหม่ทั้งหมด โดยไม่ต้องไปซื้อลิขสิทธิ์จากของเดิมๆ ที่แสดงซ้าๆ ในรอบ หลายสิบปี อันเป็นการสร้างสรรค์ใหม่ที่ให้โอกาสแก่ศิลปินชาวไทยรุ่นใหม่ๆ อย่างแท้จริง อาทิ ละครเพลง เรื่องพญากง-พญาพาน (อันเป็นตานานองค์พระปฐมเจดีย์) ละครเพลงเรื่องอิน-จัน

พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางของกิจกรรมดนตรี

23 31


ส่งเสริมอุตสาหกรรมดนตรีในทุกมิติ

- ข้อตกลงร่วมมือกับองค์กรทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อการพัฒนาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในที่สาคัญๆ อาทิ 1. การท าข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น ดนตรี แ ห่ ง นครเซี่ ย งไฮ้ ( Shanghai Conservatory of Music) เพื่ อ การแลกเปลี่ ย นอาจารย์ นั ก ศึ ก ษา และการพั ฒ นา หลักสูตรร่วมกัน 2. บันทึก ข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในโครงการเพื่อผลสัมฤทธิ์ท างการศึก ษาด้าน ดนตรีของนักเรียนโรงเรียนดนตรียามาฮ่า ทั่วประเทศ ผ่านการแข่งขันและการแสดง ดนตรีประเภทต่างๆ 3. การร่วมประชุมสุดยอดสมาคมดนตรีแห่งภูมิภาคแปซิฟิก (ที่ประเทศเกาหลีใต้โดยกลุ่ม สถาบันดนตรีชั้นนา 14 แห่ง จากทั่วภูมภิ าคแปซิฟิก) เพื่อหารือเกี่ยวกับประเด็นปัญหา ร่วมกัน ทาข้อตกลงร่วมกัน และส่งเสริมพัฒนาการซึ่งกันและกัน 4. ความร่วมมือ The International Benchmarking Exercise (IBE)

24

32


- ส่ ง เสริ ม การน างานสร้ า งสรรค์ ด นตรี จั ด หาประโยชน์ ใ นเชิ ง พาณิ ช ย์ : “The Makerspace” เป็นการรวมผู้เชี่ยวชาญจากศาสตร์ต่างๆ มาร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานดนตรี ศิลปะ เพื่อ ขยายผลในระดับอุตสาหกรรม

25

หลายคนคงยังจาได้ถึงบทอาขยานที่เคยท่องกันในสมัยเรียนชั้นประถม ที่พระเจ้าตาสอนสุดสาครว่า “อย่า ไว้ใจมนุษย์” ในวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี ที่สอนให้เด็กรู้จักคิดไตร่ตรอง และหน้าที่ของลูกที่มีต่อพ่อแม่ ซึ่งถือเป็นหนึ่งในหน้าที่ของพลเมือง นาบทประพันธ์พืน้ บ้านแฟนตาซีสุดคลาสสิกของไทยเรื่องสุดสาคร มา ถ่ายทอดเรื่องราวในรูปแบบคอนเสิร์ต ซึ่งบรรเลงสดโดยวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ร่วมกับ การแสดงเชิ ด หุ่ น สาย ที่ มี ค วามอ่ อ นช้ อ ย คล้ า ยคลึ ง กั บ การเคลื่ อ นไหวของมนุ ษ ย์ ม ากที่ สุ ด จาก

33


คณะหุ่นสายเสมา ความน่าสนใจของนิท านเพลงสุ ดสาคร คือ การนาศิลปะหลายแขนงมาร่วมกั น เพื่อ ถ่ายทอดในรูปแบบของคอนเสิรต์ ร่วมสมัยที่จัดขึน้ เนื่องในวันเด็ก เพื่อให้คนทั้งครอบครัวได้มาสนุกร่วมกัน ศิลปิน ศิลปะแขนงต่างๆ ที่รว่ มการสร้างสรรค์งานในครั้งนี้ o นักดนตรี o นักประพันธ์เพลง o วาทยกร o ศิลปินสร้างสรรค์หนุ่ o ผูเ้ รียบเรียงบทประพันธ์ o ศิลปินวาดภาพทรายเล่าเรื่อง o นักแสดงเชิดหุ่น o ช่างเทคนิคระบบภาพ เสียง 

สนับสนุนความรู้ดนตรีแบบนอกห้องเรียน

- สนับสนุนกิจกรรมดนตรีแบบนอกห้องเรียน: เพื่อการนาเสนอและพัฒนากิจกรรมดนตรี เพื่อชุมชนในจังหวัดนครปฐมและจังหวัดอื่นๆ - ส่ งเสริม กิจกรรมดนตรีเ พื่อ พัฒนาเด็ก ไทยแห่งศตวรรษที่ 21: ในพื้นที่ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม - กิจกรรมดนตรีเพื่อส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัย : ดนตรีบาบัดที่เป็นการนาเอาดนตรีมาใช้เพื่อ วัตถุประสงค์ในการบาบัดรักษาผู้ป่วยทั้งทางกายและทางจิตใจ ที่ได้รับผลตอบสนองเป็นอย่างดี ดนตรี บาบัดเป็นการใช้ดนตรีในบทบาทของการบ าบัดรักษาผู้ป่วยในทุกเพศทุก วัย การใช้กิจกรรมดนตรี เพื่อ ส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงวัย จึงเป็นการตอบสนองต่อความต้องการของสังคมไทยในอนาคตได้เป็นอย่างดีใน ฐานะสังคมผู้สูงวัยในอนาคต

26

34


ภาคีเครือข่ายในการดาเนินโครงการ                        

จังหวัดนครปฐม มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม สานักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ จังหวัดนครปฐม สานักงานจังหวัดนครปฐม ท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม พาณิชย์จังหวัดนครปฐม อุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม วัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครปฐม คลังจังหวัดนครปฐม ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนครปฐม ศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม อาเภอพุทธมณฑล องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครปฐม เทศบาลนครปฐม เทศมนตรีตาบลศาลายา กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑล ชมรมท่องเที่ยวจังหวัดนครปฐม หอการค้าจังหวัดนครปฐม สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)

35


ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาโครงการ

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ดนตรีของไทย แข่งขันได้ในเวทีโลก

บุคลากรทางด้านดนตรี และอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องมีพ้ืนที่ในการสร้างสรรค์ นาเสนอผลงาน

สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางของ สหประชาชาติ

การศึกษาดนตรีสมู่ าตรฐานสากล ไทยเป็น ศูนย์กลางการศึกษาดนตรีของภูมิภาค

บทสรุป

36

28

นครปฐมเป็นจังหวัดที่มีความเพียบพร้อมในทุกๆ องค์ประกอบในฐานะที่จะเป็น “เมืองดนตรี ” ในระดับชาติและนานาชาติอย่างแท้จริง ทั้งจากประวัติความเป็นมาอันยาวนานเก่าแก่ ในฐานะเมืองแห่ง อารยธรรมนั บ แต่ ยุ ค สุ ว รรณภู มิ ทวารวดี เรื่ อ ยมาจนถึ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ใ นยุ ค ปั จ จุ บัน อี ก ทั้ ง ความ เพียบพร้อมในหน่วยงานองค์กร สถาบันดนตรีในเขตจังหวัดที่มีมาตรฐานสูงได้รับการยอมรับและรับรอง คุ ณภาพในระดั บ นานาชาติ อีก ทั้งประสบการณ์และผลงานในการจัดกิจกรรมทั้งการแสดงดนตรีและ กิจกรรมทางดนตรีอันเป็นคุณประโยชน์ต่อสังคมเสมอมานับสิบปี จึงจัดได้ว่าเป็นทั้งพื้นที่ สถานที่ และ องค์กรที่เชิดหน้าชูตาทางดนตรีให้กับประเทศไทยเสมอมา ด้วยความเพียบพร้อมในทุกองค์ประกอบที่กล่าว มาทั้งหมดนี้ จังหวัดนครปฐมจึงคู่ควรเป็นอย่างยิ่งในอันที่จะดารงตาแหน่งที่จะได้ชื่อว่า เป็น “เมืองดนตรี” สืบต่อไปในอนาคต


แผนการดาเนินงาน ก.พ.–มี.ค. 63

เม.ย.-มิ.ย. 63

ก.ค.-ก.ย. 63

• ศึกษาความเป็นไป ได้ เตรียมความ พร้อมในการ ดาเนินโครงการ • แสวงหาเครือข่าย ความร่วมมือ ประสานงานภาค ส่วน หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง • จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ พัฒนา City of Music

• ประชุม คณะกรรมการ พัฒนา City of music ครั้งที่ 1 • ลงพื้นที่เพื่อสารวจ ต้นทุนทาง วัฒนธรรมดนตรี กิจกรรมดนตรี

• ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนากิจกรรม / โครงการ ให้ ครบถ้วนตาม ประเด็นที่กาหนด • สัมมนาทาง วิชาการ City of Music • ประชุม คณะกรรมการ พัฒนา City of music ครั้งที่ 2

ต.ค.-ธ.ค. 63

ม.ค.- ก.พ. 64

• บูรณาการจัดทา แผนพัฒนา City of Music • ประชุม คณะกรรมการ พัฒนา City of music ครั้งที่ 3

• เสนอเมือง เครือข่าย Creative Cities ผ่านสานัก เลขาธิการ คณะกรรมการ แห่งชาติว่าด้วย การศึกษา สหประชาชาติ (Thai National Commission for UNESCO)

15 ก.ค. 64 • เสนอ Creatives Cities Application ต่อ ฝ่ายเลขาของ องค์การยูเนสโก

ข้อมูลอ้างอิง แผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม ฉบับทบทวน (พ.ศ. 2561-2565) https://www.bic.moe.go.th/index.php/unesco-others-menu/unesco-menu/uccn-8-7-2562 https://issuu.com/chiangmaicityofcraftsandfolkar/docs https://en.unesco.org/creative-cities/ https://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/ https://www.timeout.com/thailand/things-to-do/best-things-to-do-in-thailand

29 37


MUSIC ENTERTAINMENT

เพลงไทยสากลสร้​้างพลั​ังใจสู้​้�ภั​ัย

COVID-19 เรื่อง: กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya) อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาดนตรีสมัยนิยม วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

COVID-19 ณ วั​ันที่​่�เขี​ียนบทความนี้​้� (๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔) มี​ีการระบาดลุ​ุกลามขยายตั​ัวออกไปเกื​ือบทั่​่�วโลก ประเทศที่​่�ตั้​้�งรั​ับหรื​ือเตรี​ียมพร้​้อมไม่​่ทั​ันการณ์​์พากั​ันประสบ พบพานกั​ับพิ​ิษร้​้ายของมั​ัน สร้​้างหายนะในชี​ีวิ​ิตความเป็​็นอยู่​่� ของผู้​้�คน ทำำ�ให้​้ต้อ้ งมี​ีการกำำ�หนดวิ​ิถีกี ารดำำ�รงชี​ีวิติ กั​ันใหม่​่ เรี​ียก กั​ันว่​่า new normal กว่​่า ๑ ปี​ีแล้​้วที่​่� COVID-19 เริ่​่�มเป็​็นที่​่� รู้​้�จั​ักกั​ัน ตั้​้�งต้​้นที่​่�เมื​ืองอู่​่�ฮั่​่�นแดนดิ​ินถิ่​่�นประเทศจี​ีนแผ่​่นดิ​ินใหญ่​่ ระบาดเข้​้าสู่​่�ประเทศไทยตามข้​้อมู​ูล Cheung, Elizabeth (13 January 2020) “Thailand confirms first case of Wuhan virus outside China” และ Thairath Online (31

38


January 2020) “สธ. แถลง พบคนขั​ับแท็​็กซี่​่� ติ​ิดไวรั​ัสโคโรน่​่า เป็​็นคนไทยรายแรก ไม่​่มี​ีประวั​ัติ​ิไปจี​ีน” แสดง ว่​่าเชื้​้�อโรคนี้​้�มั​ันถู​ูกนำำ�พาเข้​้ามาโดยมนุ​ุษย์​์ ทางการไทยไหวตั​ัวทั​ัน ประกอบกั​ับเชื้​้�อโรคมั​ันยั​ังไม่​่ “ซ่​่า” มาก จึ​ึง พอสยบมั​ันได้​้ในระดั​ับหนึ่​่�ง ถั​ัดจากนั้​้�นไม่​่นานเกิ​ิดการแพร่​่ระบาดเป็​็นกลุ่​่�มจากสนามมวยดั​ังกลางกรุ​ุงเทพฯ และจากบ่​่อนพนั​ันเถื่​่�อน กลางเมื​ืองระยองแดนผลไม้​้ อาหารทะเล และแหล่​่งพั​ักผ่​่อนอั​ันหลากหลาย เจ้​้าเชื้​้�อโรคร้​้ายตั​ัวนี้​้�ออกเป็​็นวงกว้​้าง สู่​่�หลายจั​ังหวั​ัดที่​่�เซี​ียนมวยและเซี​ียนพนั​ันพำำ�นั​ักอยู่​่� ช่​่วงนั้​้�นโลกโซเชี​ียลคึ​ึกคั​ักกั​ันมาก มื​ือแชร์​์ข่า่ วเล่​่าพากั​ันแพร่​่ ข่​่าวลื​ือกระจายออกสู่​่�วงกว้​้างไปทั่​่�วสร้​้างความตื่​่�นตระหนกแก่​่สั​ังคมไทยอย่​่างมาก COVID-19 รอบนี้​้�หนั​ักกว่​่า ครั้​้�งแรก หน่​่วยงานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องออกหลายมาตรการเพื่​่�อรั​ับมื​ือและป้​้องกั​ัน ซึ่​่�งก็​็พอปั​ัดป้​้องไปได้​้บ้​้างในขณะที่​่�มั​ัน เริ่​่�มก้​้าวหน้​้าพั​ัฒนาความชั่​่�วร้​้ายกลายพั​ันธุ์​์�ตามธรรมชาติ​ิของมั​ัน นานาประเทศมหาอำำ�นาจต่​่างช่​่วยกั​ันคิ​ิดค้​้น พั​ัฒนาสู​ูตรตั​ัวยาหาวั​ัคซี​ีนมาเพื่​่�อสร้​้างภู​ูมิ​ิคุ้​้�มกั​ันให้​้แก่​่ผู้​้�คน การระบาดรอบที่​่� ๓ ของ COVID-19 เกิ​ิดขึ้​้�นเมื่​่�อประมาณต้​้นเดื​ือนเมษายน ๒๕๖๔ เป็​็นกลุ่​่�ม (cluster) เริ่​่�มต้​้นจากแหล่​่งอโคจรย่​่านทองหล่​่ออั​ันลื​ือเลื่​่�อง สายพั​ันธุ์​์�ใหม่​่นี้​้�ว่​่ากั​ันว่​่ามาจากอั​ังกฤษแดนไกลพร้​้อมจำำ�แลง กายกลายพั​ันธุ์​์�ทำำ�ให้​้มี​ีความโหดมากกว่​่าของเดิ​ิมจากจี​ีน cluster นี้​้�ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการเสี​ียชี​ีวิ​ิตเป็​็นรายวั​ันเพิ่​่�มขึ้​้�น ๆ ดั​ังรายงานการแถลงข่​่าวของหน่​่วยงานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง ตามภาพตั​ัวอย่​่างต่​่อไปนี้​้�

คณะทำำ�งานที่​่�เป็​็นหั​ัวหอกในการต่​่อต้​้านและรั​ับมื​ือกั​ับ COVID-19 ของบ้​้านเราคื​ือ “ศู​ูนย์​์บริ​ิหารสถานการณ์​์ แพร่​่ระบาดของโรคติ​ิดเชื้​้�อไวรั​ัสโคโรนา ๒๐๑๙” (ศบค.) คอยควบคุ​ุมดู​ูแลและสั่​่�งการที​ีมงานอั​ันประกอบด้​้วย บุ​ุคลากรทางการแพทย์​์ทั่​่�วประเทศ ศึ​ึกนี้​้�ใหญ่​่หลวงยิ่​่�งนั​ักเป็​็นที่​่�ประจั​ักษ์​์ชั​ัดว่​่าเขาเหล่​่านั้​้�นทำำ�งานกั​ันอย่​่างหนั​ัก หามรุ่​่�งหามค่ำำ��เอาชี​ีวิติ เข้​้าเสี่​่�ยง แรงพลั​ังใจจากปวงชาวไทยผู้​้�มี​ีจิติ ใจอั​ันเป็​็นปกติ​ิถูกู ส่​่งไปเสริ​ิมเพิ่​่�มแรงในรู​ูปแบบ ต่​่าง ๆ เช่​่น เสบี​ียง น้ำำ��ท่​่า ข้​้าวปลาอาหาร คำำ�อำำ�นวยอวยพร รวมถึ​ึงเสี​ียงเพลงที่​่�รั​ังสรรค์​์ขึ้​้�นโดยเฉพาะจาก ศิ​ิลปิ​ินระดั​ับแนวหน้​้าของบ้​้านเราหลายต่​่อหลายเพลง ข้​้าพเจ้​้าผู้​้�เขี​ียนบทความนี้​้�คั​ัดสรรนำำ�มาเสนอต่​่อท่​่านผู้​้�อ่​่าน จำำ�นวน ๖ บทเพลง ทุ​ุกเพลงมี​ีเนื้​้�อหาเสริ​ิมสร้​้างพลั​ังใจและกายให้​้แก่​่กลุ่​่�มคนที่​่�ต้​้องเผชิ​ิญกั​ับ COVID-19 ทั้​้�ง ทางตรงและทางอ้​้อม โดยถอดแนวทำำ�นองจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับบั​ันทึ​ึกเป็​็นโน้​้ตสากลพร้​้อมคำำ�ร้​้องและแนวทาง เดิ​ินคอร์​์ดตามหลั​ักการดนตรี​ีตะวั​ันตกผ่​่าน Sibelius music notation program เพื่​่�อท่​่านผู้​้�อ่​่านจะได้​้นำำ�ไป บรรเลงตามอั​ัธยาศั​ัย ดั​ังต่​่อไปนี้​้� 39


๑. จะไม่ทิ้งกัน (https://www.youtube.com/watch?v=FGkGdhh6yqs&t=38s)

บอย โกสิ​ิยพงษ์​์

ผลงานโดย บอย โกสิ​ิยพงษ์​์ นั​ักเพลงร่​่วมสมั​ัยระดั​ับแนวหน้​้า เจ้​้าของสมญา “เจ้​้าพ่​่อเพลงรั​ัก” ผลงานโดดเด่​่น เช่​่น แสงหนึ่​่�ง เพลงของพ่​่อ รั​ักเธอ ฤดู​ูที่​่�แตกต่​่าง Live and Learn ฯลฯ สำำ�หรั​ับเพลงนี้​้� “เจ้​้าพ่​่อเพลงรั​ัก” กล่​่าวว่​่า ผู้​้�จุ​ุดประกายในการสร้​้างเพลงนี้​้�นั้​้�น คื​ือ อาร์​์ม วิ​ิบูลู ย์​์ ลี​ีรัตั นขจร คนอยู่​่�เบื้​้�องหลั​ังความสำำ�เร็​็จของรายการ ครอบครั​ัวข่​่าว ๓ ร่​่วมด้​้วย ๗ ศิ​ิลปิ​ินเพลงชั้​้�นนำำ�ของบ้​้านเรา ได้​้แก่​่ ปุ๊​๊�-อั​ัญชลี​ี จงคดี​ีกิ​ิจ ป๊​๊อด-ธนชั​ัย อุ​ุชชิ​ิน เบน-ชลาทิ​ิศ ตั​ันติ​ิวุฒิ ุ ิ คิ​ิว-สุ​ุวีรี ะ บุ​ุญรอด กอล์​์ฟ-ฟั​ักกลิ้​้�งฮี​ีโร่​่ ตู​ูน-อาทิ​ิวราห์​์ คงมาลั​ัย และ ปู​ู-พงษ์​์สิทิ ธิ์​์� คั​ัมภี​ีร์​์ ช่​่วยกั​ันขั​ับขานสร้​้างตำำ�นานเพลงนี้​้�ขึ้​้�นมา

จากเนื้​้�อร้​้องที่​่�แบ่​่งท่​่อนตามหลั​ักดนตรี​ีป๊​๊อปปู​ูลาร์​์สากลเรี​ียบร้​้อย สำำ�เนาจาก Google ท่​่านผู้​้�อ่​่านสามารถ เปิ​ิดลิ​ิงก์​์เข้​้า YouTube รั​ับชมพร้​้อมฟั​ังได้​้เลยครั​ับ 40


Verse 1 (๑, ๒) จากวันนี้ไป ไมรูอะไรจะเกิดขึ้นบาง ไมรูหนทาง ที่วางขางหนา นั้นจะหนักหนา สักเทาไร? เรื่องที่เผชิญ ไมรูมันจะจบลงเมื่อไหร? ตองพบตองเจอะความทุกขยังไง แคไหน เพียงใด ไมมีใครจะตอบได

Pre Chorus (๓) แตสิ่งเดียวที่ฉันรู จากนี้ไปเราเทานั้น ที่ตองรวมชะตากรรมที่เราเจออยู จะปวดราวสักเพียงไหน จะทุกขทนสักเทาไร สิ่งที่พวกเรานั้นพอจะทําได

Chorus (๔, ๕) คือสงกําลังใจใหกันและกันกอน ในความทุกข รอนที่เราเจออยู จะดีรายสักเทาไหร แคไหน ก็ตองสู ถึงแมไมรูจะเจออะไร ขอสงกําลังใจใหเราไดเดินผาน ไมวาเหตุการณ เปนแบบไหน และถึงแมทุก ๆ อยาง นั้นตอง เริ่มใหม แตเธอและฉัน จะไมทิ้งกัน จําไว

Rap (๖) เราเหมือนเปนกวางในฤดูลาสัตว เหมือน หนังดรามาที่อยากใหภาพตัด วันที่ทุมเทและ เกหมดหนาตัก กลับกลายเปนสูญสลายและ กลายเปนกองซากปรัก กลายเปนลากหนัก มานานแลวติดแหงกเหมือนกับกาว กลายเปน สถานการณที่ตองอยูบานแลวหลับกันยาว เวลาเดินชาไปทั้งเข็มสั้นและทั้งเข็มยาว แตแลวเธอเชื่อหรือไมวาฟามืดจะยิ่งเห็นดาว ฉันเห็นแสงแพรวพราวปรากฏอยูในไมตรี เห็นความรับผิดชอบและกําลังใจผาน IG เรา จะสูหวัด C-O-V-I-D ดวยคําวามิตรภาพ ไมใชสงครามหรือไพรี ฟงใหดีวาโลกทั้งผอง คือพี่นองกัน ฝากเพลงนี้แทนกําลังใจใหเรา ไดรองกัน คืนอับแสงขอใหเธอมองแสงดาวที่ ลอมจันทร เฝารอแสงของเชาวันใหมที่จะมา ไปพรอม ๆ กัน

Chorus (๔, ๕) ใหเราสงกําลังใจใหกันและกันกอน ในความทุกขรอนที่เราเจออยู จะดีรายสักเทาไหร แคไหนก็ ตองสู ถึงแมไมรูจะเจออะไร ขอสงกําลังใจใหเราไดเดินผาน ไมวาเหตุการณเปนแบบไหน และถึงแมทุก ๆ อยาง นั้นตอง เริ่มใหม แตเธอและฉัน จะไมทิ้งกัน จําไว

คำำ�ร้​้องทั้​้�ง ๖ ท่​่อน สื​ืบเนื่​่�องบอกเล่​่าเรื่​่�องราวต่​่าง ๆ โดยศิ​ิลปิ​ินชั้​้�นแนวหน้​้าร่​่วมยุ​ุคสมั​ัยในบ้​้านเรา โน้​้ตสากล พร้​้อมคำำ�ร้​้องและ chord progression ปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

41


42


รู​ูปแบบเพลงของ “บอย” จั​ัดเป็​็นระเบี​ียบเรี​ียบร้​้อยตามลั​ักษณะของ popular song ร่​่วมยุ​ุคสมั​ัยอย่​่าง แท้​้จริ​ิง มี​ีการแบ่​่งท่​่อนเพลงออกเป็​็น verse pre-chorus chorus แถมเพลงนี้​้�ยั​ังมี​ีท่​่อน Rap อั​ันเร้​้าใจ ร่​่าย โดย กอล์​์ฟ-ฟั​ักกลิ้​้�งฮี​ีโร่​่ แร็​็ปเปอร์​์ชั้​้�นนำำ�ของบ้​้านเรา ทำำ�นองทั้​้�งหมดบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน Bb major scale ๒. วิกฤตพีเดีย (https://www.youtube.com/watch?v=UhgYogkvFpI&t=47s)

ว่​่าน-ธนกฤต พานิ​ิชวิ​ิทย์​์

ชื่​่�อเพลงนี้​้�ดู​ูแล้​้วสร้​้างอารมณ์​์ตื่​่�นเต้​้นเล็​็กน้​้อย ซึ่​่�งก็​็สอดคล้​้องกั​ับสถานการณ์​์ระบาดของโรคนี้​้� เป็​็นผลงานการ ประพั​ันธ์​์และขั​ับร้​้องโดย ว่​่าน-ธนกฤต พานิ​ิชวิ​ิทย์​์ ศิ​ิลปิ​ินร่​่วมยุ​ุคสมั​ัยวั​ัยที​ีนเอจ เขาได้​้บันั ทึ​ึกเกี่​่�ยวกั​ับเพลงนี้​้�ไว้​้ ใน Soloist Channel ของเขาว่​่า หากอะไร ๆ ต้​้องเปลี่​่�ยนไป ใครปรั​ับตั​ัวไวกว่​่า เข้​้าใจก่​่อนได้​้ ย่​่อมมี​ีความสุ​ุข ก่​่อนเสมอ วิ​ิกฤตพี​ีเดี​ีย.. เพลงรั​ักสำำ�หรั​ับคนยิ่​่�งคิ​ิดถึ​ึง แต่​่ยิ่​่�งไม่​่ต้​้องมาหา ยิ่​่�งไกลยิ่​่�งปลอดภั​ัย!! เนื้อเพลงส�ำเนาจาก Musixmatch ดังปรากฏในกรอบตารางต่อไปนี้

๑) ทุกอยางมันมีความหมาย เคยหมายความ ๒) คนที่ติดแอลกอฮอล วันนี้อาจเปนคุณหมอ วาอยางนั้น ชีวิตคือการสื่อสารพูดกันให เขาแคพกแอลกอฮอลลางมือเพื่อยอมใจ เขาใจ แตมันเปลี่ยนไปหมดแลว คนที่เปดรานอาหาร แตหามนั่งทาน ภาวะจําเปนของการแกไขและเริ่มใหม ใหซื้อกลับไป มันก็ใช แคนั้นเอง ๓) *ถาหากบอกวาคิดถึง แปลวาไมตองมาหา ๔) บางอยางที่เคยไดรู วันนี้กลายเปนไมรู บางเรื่องเคยฟงดวยหู แทจริงก็ไมใช ความหมายของการไดมองจองตาคือ แคเปลีย่ นมุมมองเทานั้น มันไมไดทําให อยูบานไป หากจะพูดวารัก แปลวาไมตอง โลกหวั่นไหว แคเขาใจ กันดวยดี *(ยอน) มาเจอไดไหม ยิ่งอยูไกลกันสักเทาไหร ยิ่งดีเอง

โน้​้ตสากลครบเครื่​่�องแบบ standard lead sheet ปรากฏตามภาพต่​่อนี้​้� 43


44


รู​ูปแบบเพลงอยู่​่�ในฟอร์​์ม AABA (1-2-3-4) ตามแบบอย่​่างยอดนิ​ิยมของเพลงป๊​๊อป ทั้​้�งเพลงบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน E major scale (บั​ันไดเสี​ียงนี้​้�มี​ีส่​่วนทำำ�ให้​้เพลงที่​่�บรรเลงด้​้วยกี​ีตาร์​์โปร่​่งเกิ​ิดเสี​ียงก้​้องกั​ังวานน่​่าฟั​ังยิ่​่�งขึ้​้�น-ราย ละเอี​ียดสอบถามโดยตรงที่​่�นั​ักกี​ีตาร์​์) ๓. นั​ักรบในชุ​ุดขาว (https://www.youtube.com/watch?v=FL4RsKt5qmc&t=25s)

ครู​ูเป็​็ด-มนต์​์ชี​ีพ ศิ​ิวะสิ​ินางกู​ูร

ครู​ูเป็​็ด-มนต์​์ชี​ีพ ศิ​ิวะสิ​ินางกู​ูร ผู้​้�มากด้​้วยความสามารถและประสบการณ์​์ ทั้​้�งเบื้​้�องหน้​้าและเบื้​้�องหลั​ังกว่​่า ๑๕ ปี​ี เป็​็นผู้​้�อยู่​่�เบื้​้�องหลั​ังความสำำ�เร็​็จของเหล่​่าศิ​ิลปิ​ินดั​ังในเมื​ืองไทย ด้​้วยความมี​ีเอกลั​ักษณ์​์โดดเด่​่น ทั้​้�งการเขี​ียน เนื้​้�อเพลง แต่​่งทำำ�นอง ประพั​ันธ์​์ดนตรี​ี คุ​ุมงานในห้​้องอั​ัด ร้​้องคอรั​ัส ร้​้องไกด์​์ ผลงานเหล่​่านี้​้�เป็​็นที่​่�พิ​ิสู​ูจน์​์และรั​ับ ประกั​ันคุ​ุณภาพได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบันั มี​ีผลงานการแต่​่งเพลงกว่​่า ๓๐๐ เพลง ผลงานการแต่​่งเพลงที่​่�เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั ให้​้กับั ศิ​ิลปิ​ินต่​่าง ๆ อาทิ​ิ ฉั​ันเลย OK-เพ็​็ญพั​ักตร์​์, กุ​ุหลาบในเปลวไฟ-เพลงประกอบละคร, รั​ักเราไม่​่เก่​่าเลย-กบ ทรงสิ​ิทธิ์​์�, ฟากฟ้​้าทะเลฝั​ัน-Micky (เพลงประกอบละคร), คำำ�ตอบ-นายสะอาด, ยั​ังรั​ักกั​ันอยู่​่�ใช่​่ไหม-โบ สุ​ุนิ​ิตา (เพลงประกอบละคร) ฯลฯ (ข้​้อมู​ูลจาก https://www.ryt9.com/s/prg/29160) ครู​ูเป็​็ด รั​ังสรรค์​์เพลงนี้​้�ในนามของพรรค “กล้​้า” เพื่​่�อเป็​็นการขอบคุ​ุณ “นั​ักรบในชุ​ุดขาว” ทุ​ุกท่​่านที่​่�ร่​่วมแรง ร่​่วมใจกั​ันต้​้านภั​ัย COVID-19 ดั​ังเนื้​้�อร้​้องที่​่�ปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

๑) ฉันรูวาเธอเหนื่อย เธออดนอนขนาดไหน ฉันรูวาบนบา เธอกดดันสักแคไหน ฉันรูวาภาระขนาดนั้น มันไมใชเรื่องงาย ถาไมมีหัวใจที่แกรงพอ

๒) ชุดขาวที่เธอใส ซอนความหมายที่เปยมลน หนาที่ที่เธอทํา เกินกวาคําวาอดทน คนจริงที่แบกรับ ขนาดนี้ ไมมีคําพร่ําบน ไมตัดพอ ไมทอใจ

๓) อยากบอกใหเธอรูวาเรา ซาบซึ้งสักเทาไหร ๔) ตองสูทุก ๆ อยางดวยกําลังและความคิด นักรบไมมีปน ยังหยัดยืนสุดชีวิต ที่เธอไดทําไปไมสูญเปลา และเธอไมเคยคิดจะหยุดยั้ง อยากมอบคําขอบคุณ ขอบคุณ จากใจของ ทุกครั้งที่เธอเหนื่อย อยากใหเธอฟงเพลงนี้ พวกเรา แดนักรบในชุดขาวทุกคน โน้​้ตสากล+คำำ�ร้​้องและทางเดิ​ินคอร์​์ดตามหลั​ักการดนตรี​ีสากล พร้​้อมนำำ�ไปบรรเลงเพื่​่�อสั​ันทนาการไร้​้กำำ�ไร ดั​ังปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้� 45


46


แนวทำำ�นองทั้​้�งเพลงบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน D major scale ครู​ูเป็​็ดใช้​้ฟอร์​์มเพลงยอดนิ​ิยม AABA (1-2-3-4) สร้​้าง บทเพลงอั​ันทรงคุ​ุณค่​่าและมี​ีความหมาย “นั​ักรบในชุ​ุดขาว” ๔. วันใหม่ (https://www.youtube.com/watch?v=aWKO_IUdn6M&t=9s)

(ขอบคุ​ุณ Warner Music Thailand)

ปู​ู พงษ์​์สิ​ิทธิ์​์� คั​ัมภี​ีร์​์

ในสภาวะที่​่�บ้​้านเมื​ืองกำำ�ลั​ังเกิ​ิดวิ​ิกฤตจากภั​ัยโควิ​ิด-๑๙ (COVID-19) เสี​ียงเพลงเป็​็นหนึ่​่�งเครื่​่�องมื​ือที่​่�จะช่​่วย เยี​ียวยาจิ​ิตใจของผู้​้�คนในยามนี้​้� “พี่​่�ปู​ู พงษ์​์สิ​ิทธิ์​์�” จึ​ึงอยากส่​่งเพลง “วั​ันใหม่​่” เพื่​่�อเป็​็นกำำ�ลั​ังใจให้​้ประชาชนชาว ไทยต่​่อสู้​้�และฝ่​่าฟั​ันภั​ัยโควิ​ิด-๑๙ ไปด้​้วยกั​ัน เนื้​้�อเพลงสำำ�เนาจาก Musixmatch บรรจุ​ุอยู่​่�ในกรอบตารางต่​่อไปนี้​้�

๑) วันนี้สายลม ยังโบยพัดมา วันนี้น้ําตา อาจจะยังไหล ปลอยใหไหลหลั่ง จนเหือดแหงไป รอใหหัวใจ กลับแกรงเชนเดิม

๒) วันนี้ฟาหมน รออาทิตยมา วันนี้ทองฟา อาจไมสดใส รอแสงสวาง เบิกทางนําชัย เพื่อเริ่มวันใหม สดใสเชนเดิม

๓) แคเพียงเธอไมทอ รอคอย กล้ํากลืนน้ําตา ไวบาง รอเพื่อรักษาใจ นิ่งเพื่อสรางพลัง แลววันหนึ่ง จะเปนของเธอ แคเพียงเธอไมทอ รอคอย กล้ํากลืนน้ําตา ไวบาง รอเพื่อรักษาใจ นิ่งเพื่อสรางพลัง แลววันหนึ่ง จะเปนของเธอ

๔) วันนี้ดวงดาว ยังโปรยยิ้มมา วันนี้ทองฟา กลับคืนสดใส ใหหวังวันหนึ่ง ฝนเปนดั่งใจ กาวเดินครั้งใหม ดวยใจดวงเดิม ใหหวังวันหนึ่ง ฝนเปนดั่งใจ กาวเดินครั้งใหม ดวยใจดวงเดิม 47


ศิ​ิลปิ​ินท่​่านนี้​้�เป็​็นหนึ่​่�งในวงการเพลงเพื่​่�อชี​ีวิติ ของบ้​้านเรา เวลาและผลงานของเขารวมถึ​ึงยอดขายเป็​็นประจั​ักษ์​์ พยานได้​้อย่​่างดี​ี ผู้​้�เขี​ียนฯ ถอดโน้​้ตจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับบั​ันทึ​ึกเป็​็นโน้​้ตสากลในลั​ักษณะของ lead sheet ที่​่�พร้​้อม จะนำำ�ไปบรรเลงเพื่​่�อความหรรษาโดยมิ​ิค้​้ากำำ�ไร ดั​ังปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

48


เพลงนี้​้�บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน D major scale แนวทำำ�นองใช้​้สั​ัดส่​่วนโน้​้ตเรี​ียบง่​่าย มี​ีการซ้ำำ��วลี​ีเพลงอั​ันเป็​็นลั​ักษณะ นิ​ิยามของ popular music ที่​่�ทำำ�ให้​้ติดิ หู​ูผู้​้�ฟังั จดจำำ�และขั​ับร้​้องตามได้​้ง่า่ ย ฟอร์​์มเพลงเป็​็นแบบยอดนิ​ิยมของดนตรี​ี ป๊​๊อป คื​ือ AABA (1-2-3-4) ๕. ก้าวไปพร้อมกัน (https://www.youtube.com/watch?v=NGyGAlnNJio&t=21s)

(ขอบคุ​ุณ นครออนไลน์​์)

เรื​ืออากาศตรี​ี วี​ีรยุ​ุทธิ์​์� นานช้​้า (บ่​่าววี​ี)

เรื​ืออากาศตรี​ี วี​ีรยุ​ุทธิ์​์� นานช้​้า (บ่​่าววี​ี) ศิ​ิลปิ​ินเพลงลู​ูกทุ่​่�งเพื่​่�อชี​ีวิ​ิตสำำ�เนี​ียงปั​ักษ์​์ใต้​้ เป็​็นคนจั​ังหวั​ัดตรั​ัง ปั​ัจจุ​ุบันั รั​ับราชการเป็​็นทหารอากาศที่​่�กรมกิ​ิจการพลเรื​ือนทหารอากาศ กองบั​ัญชาการกองทั​ัพอากาศ ดอนเมื​ือง กรุ​ุงเทพฯ ผลงานเพลงสร้​้างชื่​่�อเสี​ียงและแจ้​้งเกิ​ิดให้​้กั​ับเขาคื​ือเพลง “ขอนไม้​้กั​ับเรื​ือ” นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีเพลงดั​ังอี​ีก หลายเพลง เช่​่น จริ​ิงใจไม่​่ลอกอ ทุ​ุกหยาดเหงื่​่�อเพื่​่�อเธอ คนใกล้​้บ้​้าน สะตอเลี่​่�ยมทอง ฯลฯ “บ่​่าววี​ี” แต่​่งเพลง นี้​้�เพื่​่�อให้​้กำำ�ลั​ังใจชาวไทยทุ​ุกคนต่​่อสู้​้�กั​ับโรคร้​้ายโควิ​ิด-๑๙ เพื่​่�อผ่​่านพ้​้นสถานการณ์​์ในครั้​้�งนี้​้�ไปพร้​้อมกั​ัน ขอท่​่านผู้​้� อ่​่านพิ​ิจารณาเนื้​้�อร้​้องจากกรอบตารางต่​่อไปนี้​้�

๑) แคหลับตาฝน ทุกวันฉันยังเปนหวง ๒) ก็ตอนเกิดมา ไมมีอะไรติดตัว ทําดีทําชั่ว แมกลองดวงใจ ใหปลอดภัยกาวไปดวยกัน ติดตัวนั้นมาทีหลัง มันก็แควันนี้ ก็แควันนี้ ที่เราตองสูกับมัน ขอใหใจเรามีพลัง หลายคราเราพลาดพลั้ง กาวไปพรอมกัน ไมตองหวั่นอุปสรรคใด ๆ จากเรื่องราวตาง ๆ นานา ๔) มันก็แคปญหา ปญญามันอยูที่ตัว ๓) มันก็แคโรคภัย ที่เราเจอเหมือน ๆ กัน จิตอยาคิดกลัว วิตกใหมันมากไป ไมวาเธอวาฉัน เหมือนกันทั่วแผนดินไทย เพราะวาชีวิต ยังตองดําเนินตอไป ขอให มันก็คือปญหา ที่เราตองทําใจ ไมรูอีกนาน ผานวันเลวราย แลวเราจะกาวไปพรอมกัน เทาไร แตเราจะกาวไปพรอมกัน ๕) แคมีเธอมีฉัน ในวันที่ตองทําใจ แคหางกันเพียงกาย แตใจเรานั้นใกลกัน แคมีเธอมีฉัน ในวันที่ตองทําใจ แคหางกันเพียงกาย แตใจเรานั้นใกลกัน แคโควิดภัยพาล เราจะผานไปพรอม ๆ กัน แคโควิดภัยพาล เราจะกาวไปพรอมกัน Lead sheet พร้อมเนื้อร้องและ chord progression 49


รู​ูปแบบเพลงแบ่​่งออกเป็​็น ๕ ท่​่อน AA’BB’C (1-2-3-4-5) แนวทำำ�นองทั้​้�งหมดบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน E major scale 50


๖. เพราะว่าเลือกแล้ว (https://www.youtube.com/watch?v=lM8m_AHAV9E&t=31s)

ก้​้อง ห้​้วยไร่​่ ผลงานจากศิ​ิลปิ​ินลู​ูกทุ่​่�งชื่​่�อดั​ัง “ก้​้อง ห้​้วยไร่​่” (อั​ัครเดช ยอดจำำ�ปา) ชาวจั​ังหวั​ัดสกลนคร ผู้​้�สร้​้างผลงาน เพลงติ​ิดชาร์​์ตไว้​้มากมาย ดั​ังสุ​ุด ๆ ด้​้วยเพลง “ไสว่​่าสิ​ิบ่​่ถิ่​่�มกั​ัน” เพลง “เพราะว่​่าเลื​ือกแล้​้ว” เขาประพั​ันธ์​์ขึ้​้�นมา เพื่​่�อบอกเล่​่าเรื่​่�องราวของบุ​ุคลากรทางการแพทย์​์ที่​่�พร้​้อมจะทำำ�ทุ​ุกอย่​่างเพื่​่�อให้​้คนไข้​้ได้​้หายพร้​้อมกลั​ับคื​ืนสู่​่�เหย้​้า ผลงานนี้​้�ได้​้ ธนิ​ิสร์​์ ศรี​ีกลิ่​่�นดี​ี (นั​ักขลุ่​่�ย ปธ.๙) ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ สาขาศิ​ิลปะการแสดง (ดนตรี​ีไทยสากล) ประจำำ� ปี​ี พ.ศ. ๒๕๕๙ มาบรรเลงขลุ่​่�ยไทยประยุ​ุกต์​์ในช่​่วงดนตรี​ีรั​ับ ทำำ�ให้​้สี​ีสั​ันและเสี​ียงของบทเพลงน่​่าฟั​ังมากขึ้​้�น

ธนิ​ิสร์​์ ศรี​ีกลิ่​่�นดี​ี

กรอบตารางต่​่อไปนี้​้�บรรจุ​ุเนื้​้�อร้​้องที่​่� สำำ�เนาจาก https://www.siamzone. com/music/thailyric/17768 (โปรดสั​ังเกตบางคำำ�ในเนื้​้�อร้​้องเป็​็น ภาษาถิ่​่�นอี​ีสาน)

๑) มันก็หนักอยูแตก็ทนไหว กับเรื่องราย ๆ ในเทื่อนี้ ที่มันพรากความฮัก ออกจากอกใครหลาย ๆ คน มันก็ยานอยูแตไปไส ใจและกายขอยอมพลี แมสิเสี่ยงปานได บเคยคิดสิหนีไกล ๒) เพราะวาเลือกแลว สิดูแลรักษาคน แมวาตน สิเจออีหยังกะตามสาง ขอแคใหเธอหายไดกลับบานไปเจอคนที่รัก ก็เพียงพอ รักษาตัวเองเดอสิ่งที่ขอ ในวันที่ทอขอเพียงพวกเขาบทิ้งกัน แมวากายสิเจ็บขอวอนใหใจของเฮา เขมแข็งผานคืนวัน เก็บลมหายใจไวรอมื้อนั่น แลวเฮาสิผานมันไปนํากัน ขอเพียงกําลังใจ ๓) ขอแคใหเธอหายไดกลับบานไปเจอคนที่รัก ก็เพียงพอ รักษาตัวเองเดอสิ่งที่ขอ ในวันที่ทอขอเพียงพวกเขาบทิ้งกัน แมวากายสิเจ็บขอวอนใหใจของเฮา เขมแข็งผานคืนวัน

51


ขอแคใหเธอหายไดกลับบานไปเจอคนที่รัก ก็เพียงพอ รักษาตัวเองเดอสิ่งที่ขอ ในวันที่ทอขอเพียงพวกเขาบทิ้งกัน แมวากายสิเจ็บขอวอนใหใจของเฮา เขมแข็งผานคืนวัน เก็บลมหายใจไวรอมื้อนั่น แลวเฮาสิผานมันไปนํากัน ขอเพียงกําลังใจ ๓) ขอแคใหเธอหายไดกลับบานไปเจอคนที่รัก ก็เพียงพอ รักษาตัวเองเดอสิ่งที่ขอ ในวันที่ทอขอเพียงพวกเขาบทิ้งกัน แมวากายสิเจ็บขอวอนใหใจของเฮา เขมแข็งผานคืนวัน เก็บลมหายใจไวรอมื้อนั่น แลวเฮาสิผานมันไปนํากัน ขอเพียงกําลังใจ พอกับแมบตองยายหยังหลาย สิรักษาชีวิตและรางกาย คืนเมือใหเจาไดกอด โน้​้ตสากลพร้​้อมคำำ�ร้​้อง และ chord progression

52


เพลงนี้​้�บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน C major scale แนวทางเดิ​ินคอร์​์ดส่​่วนใหญ่​่เป็​็นไปตามหลั​ักการ functional harmony รู​ูปแบบเพลงแบ่​่งออกเป็​็น ๓ ท่​่อน เข้​้าลั​ักษณะของฟอร์​์ม ABB (1-2-3) แนวทำำ�นองเคลื่​่�อนที่​่�แบบเพลงป๊​๊อปร่​่วม ยุ​ุคสมั​ัย (หลั​ังปี​ี ๒๕๓๐) โน้​้ตวิ่​่�งเยอะคำำ�ร้​้องก็​็ต้​้องรวบรั​ัดให้​้คล้​้องจอง โปรดดู​ูตั​ัวอย่​่างเปรี​ียบเที​ียบ

วิ​ิกฤตของโลกคราวนี้​้�คงอยู่​่�นาน COVID-19 ดู​ูจะไม่​่จากพวกเราไปง่​่าย ๆ มั​ันไม่​่เลื​ือกชนชั้​้�นวรรณะผิ​ิวพรรณ ทุ​ุกคนมี​ีสิทิ ธิ์​์�ติ​ิดเชื้​้�อนี้​้�หากขาดความระมั​ัดระวั​ัง จำำ�เป็​็นที่​่�มนุ​ุษยชาติ​ิต้อ้ งร่​่วมแรงร่​่วมใจหาวิ​ิธีป้ี อ้ งกั​ันและแก้​้ไขอย่​่าง จริ​ิงจั​ัง งานนี้​้�เป็​็นภาระอั​ันใหญ่​่ยิ่​่�งและหนั​ักหน่​่วงของบุ​ุคลากรทางการแพทย์​์ที่​่�ต้​้องแบกรั​ับ จึ​ึงควรที่​่�พวกเราทั้​้�ง หลายต้​้องช่​่วยกั​ันทั้​้�งทางตรงและทางอ้​้อม ชาวดนตรี​ีบ้​้านเราหลายคณะพากั​ันสร้​้างงานเพลงทำำ�สื่​่�อในรู​ูปแบบ ต่​่าง ๆ ออกเผยแพร่​่ให้​้กำำ�ลั​ังใจมิ​ิได้​้ขาด แม้​้วิ​ิกฤตครั้​้�งนี้​้�จะหนั​ักสั​ักเพี​ียงใด เสี​ียงเพลงไพเราะย่​่อมช่​่วยสร้​้างพลั​ัง ใจให้​้ได้​้ไม่​่น้​้อย สมดั​ังคำำ�กลอน “อั​ันดนตรี​ีมี​ีคุ​ุณทุ​ุกอย่​่างไป ย่​่อมใช้​้ได้​้ดั​ังจิ​ินดาค่​่าบุ​ุริ​ินทร์​์” ที่​่�ยอดกวี​ีชาวไทย “สุ​ุนทรภู่​่�” ว่​่าไว้​้ในวรรณคดี​ี “พระอภั​ัยมณี​ี” สวั​ัสดี​ีครั​ับ...

53


MUSICOLOGY

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๕:

Samuel Coleridge-Taylor เจ้​้าของฉายา ‘African Mahler’ เรื่​่�อง: กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart) นั​ักข่​่าวอิ​ิสระ

เขาได้​้จุดุ ประกายแห่​่งความหวั​ัง ท่​่ามกลางสั​ังคมและยุ​ุคสมั​ัยที่​่�แนวคิ​ิด เรื่​่อ� งความเท่​่าเที​ียมและความเสมอ ภาคเป็​็นเพี​ียงฝุ่​่�นผงลอยในอากาศ ชี​ีวิ​ิตและผลงานของ Samuel Coleridge-Taylor (ซามู​ูเอล โคล ริ​ิดจ์​์-เทเลอร์​์ ค.ศ. ๑๘๗๕-๑๙๑๒) แทบไม่​่ต่​่างจากคี​ีตกวี​ีและนั​ักดนตรี​ี เชื้​้�อสายแอฟริ​ิกันั หรื​ือนั​ักดนตรี​ีผิวิ ดำำ� คนอื่​่�น ๆ เลย นั่​่�นคื​ือ ขณะยั​ังมี​ีชีวิี ติ ได้​้สร้​้างสรรค์​์ผลงานอั​ันโดดเด่​่นเป็​็น ที่​่�ยอมรั​ับ มี​ีชื่​่�อเสี​ียง และเป็​็นที่​่�รู้​้�จักั ในแวดวงสั​ังคม แต่​่ก็ไ็ ม่​่อาจรอดพ้​้น 54

จากการถู​ูกบู​ูลลี่​่� (bully) ความสำำ�เร็​็จ และความสามารถที่​่�มี​ี ไม่​่ได้​้เป็​็นเครื่​่�อง การั​ันตี​ีถึ​ึงการมี​ีชี​ีวิ​ิตความเป็​็นอยู่​่�ที่​่� สุ​ุขสบาย และเมื่​่�อสิ้​้�นลมหายใจไม่​่ นานเรื่​่�องราวของเขาเหล่​่านั้​้�นก็​็ถู​ูก ลื​ืมเลื​ือน ไม่​่อาจเป็​็นตำำ�นานเฉกเช่​่น เดี​ียวกั​ับคี​ีตกวี​ีผิ​ิวขาว อาจกล่​่าวได้​้ว่​่า มี​ีเพี​ียงคนที่​่� สนใจประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ดนตรี​ีคลาสสิ​ิก เท่​่านั้​้�น ที่​่�ทราบถึ​ึงความสำำ�เร็​็จของ โคลริ​ิดจ์​์-เทเลอร์​์ ว่​่าท่​่วมท้​้นเพี​ียงใด ซามู​ูเอล โคลริ​ิดจ์​์-เทเลอร์​์ เกิ​ิด เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๑๕ สิ​ิงหาคม ค.ศ. ๑๘๗๕

ในเขต Holborn ย่​่านเสื่​่�อมโทรมของ มหานครลอนดอน และเติ​ิบโตขึ้​้�นใน เมื​ืองครอยดอน (Croydon) มณฑล เซอร์​์รี​ีย์​์ (Surrey) ย่​่านชานเมื​ือง ที่​่�เต็​็มไปด้​้วยชนชั้​้�นกลางฐานะดี​ี ใบเกิ​ิดระบุ​ุว่​่าพ่​่อของเขาคื​ือ Daniel Hugh Taylor ศั​ัลยแพทย์​์ ชาวเซี​ียร์​์ราลี​ีโอน ส่​่วนแม่​่ของเขา คื​ือ Alice Taylor (นามสกุ​ุลเดิ​ิมคื​ือ Holmans) โดยนั​ักเขี​ียนอั​ัตชี​ีวประวั​ัติ​ิ สั​ันนิ​ิษฐานว่​่า พ่​่อของเขาเดิ​ินทางกลั​ับ บ้​้านเกิ​ิดหลั​ังเรี​ียนจบที่​่� Taunton และ King’s College ทิ้​้�งให้​้เขาเติ​ิบโตมา


กั​ับครอบครั​ัวฝั่​่�งพ่​่อเลี้​้�ยง George Evans พนั​ักงานการรถไฟ ที่​่�เลี้​้�ยงดู​ู เขาอย่​่างดี​ีแทบไม่​่ต่​่างจากลู​ูกในไส้​้ โคลริ​ิดจ์​์-เทเลอร์​์ ถู​ูกปลู​ูกฝั​ังให้​้ มี​ีใจรั​ักดนตรี​ีตั้​้�งแต่​่วั​ัยเยาว์​์ ปี​ีหนึ่​่�ง เขาได้​้ไวโอลิ​ินเป็​็นของขวั​ัญ และครู​ู ดนตรี​ีคนแรกก็​็คื​ือคุ​ุณตา นอกจากนี้​้�เขายั​ังเข้​้าร่​่วมวงขั​ับร้​้อง ประสานเสี​ียงตั้​้�งแต่​่อายุ​ุเพี​ียง ๑๐ ปี​ี และเมื่​่�อเสี​ียงแตกหนุ่​่�มก็​็ไปเข้​้าเป็​็น สมาชิ​ิกวงขั​ับร้​้องประสานเสี​ียง ณ โบสถ์​์ St. Mary Magdalene ใน เซอร์​์รีย์ี ์ พออายุ​ุได้​้ ๑๕ ปี​ี ก็​็ได้​้ทุ​ุน การศึ​ึกษาสำำ�หรั​ับเข้​้าเรี​ียนไวโอลิ​ินที่​่� Royal College of Music ถื​ือเป็​็น นั​ักเรี​ียนผิ​ิวดำำ�คนแรก มี​ีเพื่​่�อนร่​่วมรุ่​่�น อย่​่าง Ralph Vaughan Williams (1872-1958) และ Gustav Theodore Holst (1874-1934) นั​ักประพั​ันธ์​์ชื่​่�อดั​ังชาวอั​ังกฤษ ผู้​้�ที่​่� จั​ัดการให้​้เขาได้​้ทุ​ุนก็​็คื​ือ Colonel Herbert Walters นายพั​ันเอก หั​ัวหน้​้าวงขั​ับร้​้องประสานเสี​ียง ผู้​้� มองเห็​็นความสามารถด้​้านดนตรี​ี ของเขานั่​่�นเอง แม้​้ว่า่ จะเข้​้าเรี​ียนในฐานะนั​ักเรี​ียน ไวโอลิ​ิน แต่​่ก็​็ได้​้เรี​ียนการประพั​ันธ์​์ เพลงกั​ับ Sir Charles Villiers Stanford (1852-1924) วาทยกร และนั​ักประพั​ันธ์​์เพลงเชื้​้�อสายไอริ​ิช ซึ่​่�งผลการเรี​ียนก็​็สะท้​้อนว่​่าเขาเป็​็น นั​ักเรี​ียนที่​่�มี​ีผลการเรี​ียนยอดเยี่​่�ยม แม้​้แต่​่ครู​ูสอนวิ​ิชาเปี​ียโนเองก็​็ขนาน นามว่​่า ซามู​ูเอลเป็​็น “หนึ่​่�งในนั​ักเรี​ียน เปี​ียโนที่​่�ฉลาดที่​่�สุ​ุด” นอกจากนี้​้�ยั​ัง ชนะรางวั​ัลด้​้านการประพั​ันธ์​์เพลง จาก Lesley Alexander Prize ถึ​ึง ๒ ปี​ีซ้​้อน และได้​้เป็​็นเพื่​่�อนสนิ​ิท กั​ับ William Yeates Hurlstone (1876-1906) ผู้​้�มี​ีอิ​ิทธิ​ิพลด้​้าน รสนิ​ิยมทางดนตรี​ีต่​่อเขาอย่​่างมาก จุ​ุดเปลี่​่ย� นที่​่�ทำำ�ให้​้เขาสนใจเรื่​่อ� ง ราวของชาวแอฟริ​ิกันั -อเมริ​ิกั​ัน คื​ือ

Samuel Coleridge-Taylor

การมาเยื​ือนลอนดอนของ Paul Laurence Dunbar (1872-1906) กวี​ี และนั​ักเขี​ียนนวนิ​ิยายชาวแอฟริ​ิกันั อเมริ​ิกั​ัน ในปี​ี ค.ศ. ๑๘๙๖ เมื่​่�ออายุ​ุได้​้เพี​ียง ๒๓ ปี​ี เขาก็​็ เริ่​่�มเป็​็นที่​่�รู้​้�จักั ในวงกว้​้างจากผลงาน ชิ้​้�นสำำ�คั​ัญ คื​ือ Ballade in A minor, Op. 33 และ Hiawatha’s Wedding Feast ชิ้​้�นงานที่​่�ประสบความสำำ�เร็​็จ ถึ​ึงขั้​้�นเป็​็นปรากฏการณ์​์แห่​่งยุ​ุคและ เปรี​ียบเสมื​ือนเป็​็นหมุ​ุดหมายสำำ�คั​ัญ ของประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ดนตรี​ีคลาสสิ​ิก ในอั​ังกฤษ ที่​่�ได้​้แรงบั​ันดาลใจจาก บทกวี​ีของ Henry Wadsworth Longfellow (1807-1882) กวี​ี ชาวอเมริ​ิกั​ัน บอกเล่​่าเรื่​่�องราวของ Hiawatha ฮี​ีโร่​่ของชาวอเมริ​ิกั​ัน พื้​้�นเมื​ือง Hiawatha เป็​็นเพลงสำำ�หรั​ับขั​ับ ร้​้องประสานเสี​ียงที่​่�มี​ีท่ว่ งทำำ�นองสดใส ความงดงามของเสี​ียงที่​่�โปร่​่งใสและ การพั​ัฒนาทำำ�นองเพลงเข้​้าใจง่​่าย เป็​็นงานที่​่�สร้​้างความแปลกใหม่​่ แต่​่ ก็​็ไม่​่ยากเกิ​ินความเข้​้าใจของผู้​้�ฟังั ชาว ลอนดอนในขณะนั้​้�น เมื่​่�อผสานกั​ับ

วงออร์​์เคสตราขนาดใหญ่​่ ก็​็ยิ่​่�งทวี​ี ความน่​่าตื่​่�นตาตื่​่�นใจของการแสดง ได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี สื่​่�อมวลชนได้​้ขนาน นามว่​่าเป็​็นชิ้​้�นงานที่​่�ยอดเยี่​่�ยมระดั​ับ มาสเตอร์​์พี​ีซกั​ันเลยที​ีเดี​ียว ความสำำ�เร็​็จของ Hiawatha’s Wedding Feast (1898) เป็​็นแรง กระตุ้​้�นให้​้เขาประพั​ันธ์​์งานที่​่�เกี่​่�ยวข้​้อง กั​ันออกมาอี​ีก ๒ ชิ้​้�น คื​ือ The Death of Minnehaha (October 1899) และ Hiawatha’s Departure (March 1900) งานไตรภาคชุ​ุดนี้​้�ยิ่​่�งทำำ�ให้​้ เขามี​ีชื่​่�อเสี​ียง แต่​่ทว่​่าชิ้​้�นงานอื่​่�น ๆ ก็​็ไม่​่ได้​้โด่​่งดั​ังเท่​่าใดนั​ัก บางชิ้​้�นงาน ถึ​ึงขั้​้�น “ล้​้มเหลว” อย่​่าง Scenes from an Everyday Romance suite (1900) และ Toussaint L’Ouverture (1901) ชื่​่�อเสี​ียงของ เขาในฐานะนั​ักประพั​ันธ์​์มากฝี​ีมื​ือเมื่​่�อ อายุ​ุเพี​ียง ๒๐ ต้​้น ๆ นั้​้�น คู่​่�คี่​่�ไปกั​ับ Edward Elgar (1857-1934) โคลริ​ิดจ์​์-เทย์​์เลอร์​์ เริ่​่�มทั​ัวร์​์ คอนเสิ​ิร์​์ตในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาอย่​่าง จริ​ิงจั​ัง เมื่​่�อปี​ี ค.ศ. ๑๙๐๔ หลั​ัง ประสบความสำำ�เร็​็จจาก Hiawatha’s Wedding Feast ที่​่�ได้​้รับั เสี​ียงชื่​่�นชม ล้​้นหลาม ที่​่�นั่​่�นเขาได้​้รับั การรั​ับรอง เยี่​่�ยงบุ​ุคคลสำำ�คั​ัญ ได้​้รับั การต้​้อนรั​ับ ด้​้วยมื้​้�ออาหารที่​่�ทำำ�เนี​ียบขาว เป็​็น วาทยกรผิ​ิวดำำ�คนแรกที่​่�ได้​้ควบคุ​ุม วงออร์​์เคสตราในทำำ�เนี​ียบขาว ทั้​้�ง ยั​ังได้​้รั​ับการยกย่​่องอย่​่างสู​ูงจาก ประธานาธิ​ิบดี​ี Theodore Roosevelt Jr. (1858-1919) และ Booker T. Washington (1856-1915) นั​ักการศึ​ึกษา นั​ักพู​ูด และที่​่�ปรึ​ึกษา ประธานาธิ​ิบดี​ีหลายสมั​ัย กระทั่​่�งในปี​ี ค.ศ. ๑๙๐๑ เขาได้​้ก่​่อตั้​้�งสมาคม Coleridge-Taylor Society ขึ้​้�นใน วอชิ​ิงตั​ัน ดี​ี.ซี​ี. เพื่​่�อเปิ​ิดการสอน และแสดงดนตรี​ีของเขาโดยเฉพาะ เขาเดิ​ินทางไปสหรั​ัฐอเมริ​ิกาบ่​่อย ครั้​้�ง อาทิ​ิ ในปี​ี ค.ศ. ๑๙๐๔ ๑๙๐๖ 55


ภรรยาและลู​ูก ๆ ของ Samuel Coleridge-Taylor

และ ๑๙๑๐ ที่​่�นั่​่�นเขาได้​้เป็​็นเพื่​่�อนกั​ับ W.E.B. Du Bois (1868-1963) นั​ักเคลื่​่�อนไหวชื่​่�อดั​ัง กระทั่​่�งเกิ​ิดความ สนใจในรากเหง้​้าของพ่​่อ จนทราบว่​่า พ่​่อของเขาสื​ืบเชื้​้�อสายจากทาสชาว แอฟริ​ิกันั -อเมริ​ิกันั ที่​่�ได้​้รับั การปลด ปล่​่อยให้​้เป็​็นอิ​ิสระโดยอั​ังกฤษหลั​ัง จากสงครามปฏิ​ิวัติั ิ (Revolutionary War) สิ้​้�นสุ​ุดลง พวกเขาเดิ​ินทางไป ยั​ังเซี​ียร์​์ราลี​ีโอน ประเทศที่​่�มี​ีเมื​ือง หลวงชื่​่�อว่​่า ฟรี​ีทาวน์​์ โคลริ​ิดจ์​์-เทย์​์เลอร์​์ ไม่​่เพี​ียงมี​ี คุ​ุณู​ูปการต่​่อเส้​้นทางสายดนตรี​ี แต่​่ ยั​ังมี​ีส่​่วนผลั​ักดั​ันและส่​่งเสริ​ิมผู้​้�มี​ี เชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ันที่​่�ใจรั​ักทางดนตรี​ี ให้​้ประสบความสำำ�เร็​็จเฉกเช่​่นเดี​ียว กั​ับที่​่�เขาได้​้รับั การยอมรั​ับ ในยุ​ุคสมั​ัย ที่​่�การแบ่​่งแยกและกี​ีดกั​ันเพราะมี​ีสี​ี 56

ผิ​ิวที่​่�แตกต่​่างยั​ังเป็​็นเรื่​่�องที่​่�คนส่​่วน ใหญ่​่ทำำ�กั​ัน ภาพของนั​ักดนตรี​ีผิวิ ดำำ�ที่​่�ดู​ูจริ​ิงจั​ัง พร้​้อมกั​ับชื่​่�อเสี​ียงและความสำำ�เร็​็จที่​่� ผู้​้�คนต่​่างพู​ูดถึ​ึง ได้​้พิสูิ จู น์​์ให้​้เห็​็นแล้​้ว ว่​่า ไม่​่ว่​่าคุ​ุณจะมี​ีสี​ีผิ​ิวเฉดไหน คุ​ุณ ก็​็สามารถประสบความสำำ�เร็​็จ และ เป็​็นที่​่�ยอมรั​ับได้​้เหมื​ือนกั​ัน การสร้​้างงานโดยได้​้รับั แรงบั​ันดาล ใจจากบทกวี​ีแอฟริ​ิกั​ัน-อเมริ​ิกั​ัน ได้​้สะท้​้อนว่​่า เขามี​ีความเข้​้าใจ สถานการณ์​์ความขั​ัดแย้​้งด้​้านเชื้​้�อ ชาติ​ิและสี​ีผิ​ิวในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาเป็​็น อย่​่างดี​ี เขาได้​้บั​ันทึ​ึกข้​้อความหลั​ัง จากพู​ูดคุ​ุยกั​ับเพื่​่�อนนั​ักเคลื่​่�อนไหว ทางสั​ังคมว่​่า “สิ่​่�งที่​่� Brahms ทำำ� ก็​็เพื่​่�อดนตรี​ีพื้​้�นเมื​ืองฮั​ังกาเรี​ียน สิ่​่�ง ที่​่� Dvorak ทำำ� ก็​็เพื่​่�อวั​ัฒนธรรม

โบฮี​ีเมี​ียน และสิ่​่�งที่​่� Grieg ทำำ� ก็​็เพื่​่อ� วั​ัฒนธรรมนอร์​์เวย์​์ ฉั​ันต้อ้ งพยายาม ทำำ�มันั เพื่​่อท่ � ว่ งทำำ�นองแบบแอฟริ​ิกันั ” ซึ่​่�งสิ่​่�งที่​่�เขาทำำ�ก็​็ไม่​่เกิ​ินความคาดหมาย นอกจากความสามารถทาง ดนตรี​ีที่​่�มี​ี นั​ักประวั​ัติ​ิศาสตร์​์แสดง ความเห็​็นไว้​้ว่า่ เขายั​ังมี​ีบทบาทเป็​็น นั​ักเคลื่​่�อนไหวทางสั​ังคม เขามี​ีส่ว่ นในการก่​่อตั้​้�งเครื​ือข่​่าย African American ในกรุ​ุงลอนดอน ช่​่วงทศวรรษที่​่� ๑๙๐๐ ขณะที่​่� เขาอายุ​ุ ๒๕ ปี​ี ได้​้เป็​็นผู้​้�แทนในการ ประชุ​ุม Pan-African Conference ซึ่​่�งจั​ัดขึ้​้�นครั้​้�งแรกในลอนดอน นั​ัก ประวั​ัติศิ าสตร์​์มองว่​่าเป็​็นจุ​ุดเริ่​่�มต้​้น สำำ�คั​ัญของลั​ัทธิ​ิ Afrocentrism ที่​่� มี​ีความสำำ�คั​ัญของการเคลื่​่�อนไหว American Civil Rights Movement ช่​่วงทศวรรษที่​่� ๑๙๖๐ ผู้​้�เข้​้าร่​่วมการ ประชุ​ุมครั้​้�งนั้​้�น มี​ีทั้​้�งนั​ักการเมื​ือง นั​ัก วิ​ิชาการ และนั​ักเคลื่​่�อนไหวด้​้านสิ​ิทธิ​ิ มนุ​ุษยชน แม้​้จะสร้​้างผลงานมี​ีชื่​่�อเสี​ียง และได้​้รับั การยกย่​่องเรื่​่อ� งฝี​ีมื​ือ ทว่​่า เขาเองก็​็จั​ัดการเรื่​่�องเงิ​ินได้​้ไม่​่ดี​ีนักั เขามั​ักต้​้องขายงาน “ถู​ูก” กว่​่า มู​ูลค่​่าของผลงาน อย่​่าง Hiawatha’s Wedding Feast ที่​่�ขายได้​้เพี​ียง ๑๕ กิ​ินี​ีส์​์ หรื​ือไม่​่เกิ​ิน ๑ ดอลลาร์​์ ขณะ ที่​่�บริ​ิษั​ัทที่​่�ซื้​้�อไปนั้​้�นสามารถขายได้​้ มากกว่​่า ๑ แสนก็​็อปปี้​้� แต่​่เขาก็​็ไม่​่ เห็​็นเงิ​ินสั​ักแดงเดี​ียว การมี​ีปัญ ั หาเรื่​่�องการจั​ัดการเงิ​ิน ทำำ�ให้​้โคลริ​ิดจ์​์-เทเลอร์​์ต้​้องทำำ�งาน หนั​ักกว่​่าที่​่�ควรจะเป็​็น หลั​ังจากกลั​ับมาอั​ังกฤษในช่​่วง แรก เขาได้​้สอนวิ​ิชาดนตรี​ีที่​่� Trinity College in London และ Rochester Choral Society จากนั้​้�นก็​็ได้​้รับั แต่​่ง ตั้​้�งเป็​็นศาสตราจารย์​์ทางดนตรี​ี ณ Crystal Palace School of Music and Art รวมถึ​ึงยั​ังได้​้เป็​็นผู้​้� ควบคุ​ุมวง Croydon Conservatory


Samuel Coleridge-Taylor ในวั​ัยเด็​็ก

Orchestra และวง Bournemouth Symphony อี​ีกด้​้วย ด้​้านชี​ีวิติ ส่​่วนตั​ัว เขาแต่​่งงานสร้​้าง ครอบครั​ัวกั​ับ Jessie Walmisley (1869-1962) เพื่​่�อนร่​่วมชั้​้�นเรี​ียน เปี​ียโน พิ​ิธีจัี ดั ขึ้​้�นเมื่​่�อปี​ี ค.ศ. ๑๘๙๙ ณ โบสถ์​์ประจำำ�ตำำ�บลใน Selhurst ชานกรุ​ุงลอนดอน โดยมี​ีพั​ันเอก Walters และพ่​่อของเจ้​้าสาวเป็​็น สั​ักขี​ีพยาน ทายาทของทั้​้�งคู่​่�ต่​่างก็​็ยึดึ อาชี​ีพใน เส้​้นทางสายดนตรี​ี “Hiawatha” บุ​ุตร ชาย และ “Gwendolyn” บุ​ุตรสาว ผู้​้� ใช้​้ชื่​่�อในวงการว่​่า Avril ColeridgeTaylor ที่​่�ต่​่อมากลายเป็​็นวาทยกร หญิ​ิงคนแรกของวงดุ​ุริยิ างค์​์ทหารเรื​ือ H.M.S. Royal Marines แม้​้จะมี​ีชื่​่�อเสี​ียงและประสบความ สำำ�เร็​็จในเส้​้นทางดนตรี​ี แต่​่นั่​่�นก็​็ไม่​่ได้​้ ทำำ�ให้​้เขารอดพ้​้นจากการเหยี​ียดเชื้​้�อ ชาติ​ิ หรื​ือทำำ�ให้​้ครอบครั​ัวใช้​้ชีวิี ติ อย่​่าง ปกติ​ิสุ​ุขได้​้ เพราะภรรยาของเขาที่​่� เป็​็นหญิ​ิงชาวอั​ังกฤษผิ​ิวขาวก็​็ไม่​่พ้น้ จากการถู​ูกละเมิ​ิดเช่​่นกั​ัน ลู​ูกสาว ของเขาบั​ันทึ​ึกไว้​้ว่​่า “เมื่​่�อพ่​่อเห็​็น

Samuel Coleridge-Taylor (ซ้​้ายสุ​ุด) ถ่​่ายภาพร่​่วมกั​ับ Maud Powell นั​ัก ไวโอลิ​ินชาวอเมริ​ิกั​ันชื่​่�อดั​ัง (ที่​่� ๓ จากซ้​้าย) ในช่​่วงเริ่​่�มก่​่อตั้​้�งสมาคม Maud Powell Society

คนกลุ่​่�มนั้​้�นเดิ​ินสวนทางมา พ่​่อจะ จั​ับมื​ือฉั​ันแน่​่นจนมื​ือฉั​ันเจ็​็บไปหมด” เขาไม่​่ได้​้มีชี​ี วิี ติ ยาวนาน จนชื่​่�นชม ความสำำ�เร็​็จของครอบครั​ัว ซามู​ูเอล โคลริ​ิดจ์​์-เทเลอร์​์ เสี​ียชี​ีวิ​ิตด้​้วยวั​ัย เพี​ียง ๓๗ ปี​ีเท่​่านั้​้�น จากความ เหนื่​่�อยล้​้าสะสมที่​่�ต้​้องทำำ�งานหนั​ัก

จนเป็​็นสาเหตุ​ุให้​้ปอดบวมและสิ้​้�นลม ไปในที่​่�สุ​ุด สื่​่�อมวลชนต่​่างไว้​้อาลั​ัยต่​่อการ จากไป ขบวนศพของเขาที่​่�เคลื่​่อ� นผ่​่าน ไปตามท้​้องถนนในเมื​ืองครอยดอน นั้​้�น ยาวถึ​ึงสามไมล์​์ครึ่​่ง� เลยที​ีเดี​ียว

อ้​้างอิ​ิง https://www.croydonist.co.uk/samuel-coleridge-taylor/ https://www.bl.uk/onlinegallery/features/blackeuro/pdf/ coleridge.pdf https://operawire.com/composer-profile-samuel-coleridge taylor-creator-of-the-song-of-hiawatha-thelma/ https://www.findagrave.com/memorial/7284301/samuel coleridge-taylor

57


THAI AND ORIENTAL MUSIC

กราวรำำ� เพลงสำำ�คั​ัญในดนตรี​ีไทย เรื่​่�อง: เดชน์​์ คงอิ่​่�ม (Dejn Gong-im) ผู้​้�ช่​่วยศาสตราจารย์​์ ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา คณะครุ​ุศาสตร์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยราชภั​ัฏพิ​ิบู​ูลสงคราม

เพลงไทยมี​ีวิ​ิธี​ีการในการตั้​้�งชื่​่�อ เพลงหรื​ือกำำ�หนดชื่​่�อเพลงแตกต่​่าง จากเพลงประเภทอื่​่�น ๆ มี​ีชื่​่�อเรี​ียก ตามความหมายแห่​่งการนำำ�ไปใช้​้ ตามเหตุ​ุการณ์​์โอกาสพิ​ิเศษที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น เฉพาะ ตามประวั​ัติแิ หล่​่งที่​่�มา ตาม ลั​ักษณะของสำำ�เนี​ียง เช่​่น ๑. เรี​ียกชื่​่�อตามเหตุ​ุการณ์​์พิเิ ศษ เช่​่น ในโอกาสเฉลิ​ิมฉลองครบรอบ ๒๐๐ ปี​ีกรุ​ุงรั​ัตนโกสิ​ินทร์​์ มี​ีเพลง โหมโรงรั​ัตนโกสิ​ินทร์​์ ในโอกาสเฉลิ​ิม ฉลองการครองราชย์​์ มี​ีโหมโรงมหาราช โหมโรงกาญจนาภิ​ิเษก หรื​ือในโอกาส ที่​่�มี​ีการเทิ​ิดพระเกี​ียรติ​ิพระบรมวงศ์​์ มี​ีโหมโรงเทิ​ิด สธ. ๒. เรี​ียกชื่​่�อตามสถานที่​่� สถาบั​ัน การศึ​ึกษา หน่​่วยงานราชการ เช่​่น เพลงโหมโรงมหาจุ​ุฬาลงกรณ์​์ เพลง โหมโรงมหิ​ิตลานุ​ุสรณ์​์ เพลงโหมโรง บ้​้านสมเด็​็จเจ้​้าพระยา เพลงโหมโรง อั​ักษรศาสตร์​์ เพลงโหมโรงมั​ัธยมศึ​ึกษา เพลงโหมโรงเทพศิ​ิริ​ินทร์​์ ๓. เรี​ียกชื่​่�อตามลั​ักษณะของ สำำ�เนี​ียง เช่​่น ในบทเพลงนั้​้�นมี​ีสำำ�เนี​ียง หรื​ือสอดแทรกสำำ�เนี​ียงภาษา เป็​็นที่​่� นิ​ิยมในการแต่​่งเพลงไทย มั​ักจะนำำ�มา เป็​็นคำำ�นำำ�หน้​้าเพลงนั้​้�น เพื่​่�อแสดงให้​้ เห็​็นว่​่ามี​ีสำำ�เนี​ียงของชาติ​ินั้​้�น ในบาง เพลงอาจจะฟั​ังแล้​้วไม่​่ชั​ัดเจนมาก นั​ักที่​่�จะสื่​่�อถึ​ึงสำำ�เนี​ียงของสั​ัญชาติ​ิ นั้​้�น เช่​่น สำำ�เนี​ียงจี​ีน มี​ีเพลงจี​ีนขิ​ิม เล็​็ก เพลงจี​ีนขิ​ิมกลาง เพลงจี​ีนขิ​ิม ใหญ่​่ ฯ สำำ�เนี​ียงแขก มี​ีเพลงแขกกุ​ุลิติ 58

เพลงแขกสาย เพลงแขกโอด เพลง แขกลพบุ​ุรี​ี ฯ สำำ�เนี​ียงมอญ มี​ีเพลง มอญดู​ูดาว เพลงมอญอ้​้อยอิ่​่�ง เพลง มอญโพกผ้​้า ฯ สำำ�เนี​ียงลาว มี​ีเพลง ลาวสวยรวย เพลงลาวรำ��ดาบ เพลง ลาวกระตุ​ุกกี่​่� เพลงลาวกระแซ ฯ สำำ�เนี​ียงพม่​่า มี​ีเพลงพม่​่าเห่​่ เพลง พม่​่าห้​้าท่​่อน เพลงพม่​่ากลองยาว ฯ สำำ�เนี​ียงญวน มี​ีเพลงญวนกระถาง เพลงญวนทอดแห ฯ สำำ�เนี​ียงเขมร มี​ีเพลงเขมรพายเรื​ือ เพลงเขมรเป่​่า ใบไม้​้ เพลงเขมรใหญ่​่ ฯ สำำ�เนี​ียง ฝรั่​่�ง มี​ีเพลงฝรั่​่�งรำ��เท้​้า เพลงฝรั่​่�งควง เพลงฝรั่​่�งแดง ฯ ๔. เรี​ียกชื่​่�อตามเหตุ​ุที่​่�เป็​็นกิ​ิริยิ า อาการที่​่�จะใช้​้ประกอบ ส่​่วนใหญ่​่จะ เป็​็นประเภทเพลงหน้​้าพาทย์​์ ได้​้แก่​่ เพลงเหาะ เพลงตระนิ​ิมิติ เพลงพระยา เดิ​ิน เพลงนั่​่�งกิ​ิน เพลงเซ่​่นเหล้​้า ๕. เรี​ียกชื่​่�อตามลั​ักษณะของ ทำำ�นองหรื​ือตามอารมณ์​์ความรู้​้�สึ​ึก ที่​่�ผู้​้�ฟั​ังได้​้รั​ับ มี​ีทำำ�นองที่​่�ฟั​ังแล้​้วให้​้ ความรู้​้�สึ​ึกเย็​็นอ่​่อนหวาน เช่​่น เพลง ลมพั​ัดชายเขา เพลงคลื่​่�นกระทบฝั่​่�ง เพลงมี​ีลม เพลงบั​ังใบ ๖. เรี​ียกชื่​่�อตามลั​ักษณะของ ธรรมชาติ​ิ ดอกไม้​้ ต้​้นไม้​้ เช่​่น เพลง ดอกไม้​้เงิ​ินดอกไม้​้ทอง เพลงจำำ�ปา ทอง เพลงจำำ�ปานารี​ี หรื​ือจำำ�พวก สิ​ิงสาราสั​ัตว์​์ เช่​่น เพลงนกขมิ้​้�น เพลงนกกระจอกทอง เพลงจิ้​้�งจก ทอง เพลงแร้​้งกระพื​ือปี​ีก เพลงนก เขาขะแมร์​์ เพลงปลาทอง เพลงเต่​่า

กิ​ินผั​ักบุ้​้�ง เพลงเต่​่าทอง เพลงเต่​่า นาก เพลงเต่​่าใหญ่​่ ๗. เรี​ียกชื่​่�อตามเนื้​้�อร้​้องที่​่�นำำ� มาร้​้องในเพลงนั้​้�น ๆ เช่​่น เพลงลาว ดวงเดื​ือน มี​ีคำำ�ร้อ้ ง “โอ้​้ละหนอดวง เดื​ือน” อยู่​่�ตอนต้​้นของเนื้​้�อ หรื​ือเพลง พระอาทิ​ิตย์​์ชิงิ ดวง เนื้​้�อร้​้องตอนต้​้น “พระอาทิ​ิตย์​์ชิงิ ดวงพระจั​ันทร์​์เด่​่น” ๘. เรี​ียกชื่​่�อแปรเปลี่​่�ยนไปจาก ชื่​่�อเดิ​ิม เพลงที่​่�มี​ีอั​ัตราจั​ังหวะชั้​้�น เดี​ียว แล้​้วขยายขึ้​้�นเป็​็น ๒ ชั้​้�น เช่​่น เพลงไส้​้เดื​ือนฉกจวั​ักชั้​้�นเดี​ียว เปลี่​่�ยน เป็​็นเพลงนาคราช หากเป็​็น ๒ ชั้​้�น เรี​ียกไส้​้พระจั​ันทร์​์ เพลงลาวดวง เดื​ือน ๒ ชั้​้�น เมื่​่�อขยายเป็​็นเถา ชื่​่�อ เรี​ียกเป็​็น โสมส่​่องแสง เถา เพลง เต่​่ากิ​ินผั​ักบุ้​้�ง ๒ ชั้​้�น ขยายขึ้​้�นเป็​็น ๓ ชั้​้�น และเป็​็นเถา เรี​ียกว่​่า เพลง ปลาทอง เพลงเพลงมอญดู​ูดาว ๒ ชั้​้�น ขยายขึ้​้�นเป็​็นเถา เรี​ียกว่​่า เพลง ราตรี​ีประดั​ับดาว เถา ๙. เรี​ียกชื่​่�อตามลั​ักษณะกิ​ิริ​ิยา เดิ​ิน นอน นั่​่�ง การแสดงฤทธิ์​์� ส่​่วน ใหญ่​่จะอยู่​่�ในกลุ่​่�มของเพลงหน้​้าพาทย์​์ ดั​ังที่​่�กล่​่าวแล้​้ว เช่​่น เพลงตระนิ​ิมิ​ิต แสดงถึ​ึงอาการเปลี่​่�ยนแปลง แปลง กายหายตั​ัวของตั​ัวละคร เพลงช้​้า เพลงเร็​็วก็​็เป็​็นอากั​ัปกิ​ิริ​ิยาการเดิ​ิน ทางของตั​ัวละครเช่​่นกั​ัน นอกจากนี้​้�ยั​ั ง มี​ี ชื่​่� อเพลงอี​ี ก มากมายสำำ�หรั​ับเพลงไทยที่​่�ไม่​่สามารถ สื่​่�อความหรื​ือให้​้ความหมายกั​ับตั​ัว เพลงนั้​้�น ๆ ได้​้ชั​ัดเจน เช่​่น เพลง


นางกราย เพลงสระบุ​ุหร่​่ง เพลง สระหม่​่า เพลงที่​่�เป็​็นจำำ�นวนนั​ับ เช่​่น เพลงเอกบท เพลงสี่​่�บท เพลง หกบท และเพลงแปดบท เป็​็นต้​้น เพลงที่​่�มี​ีคำำ�นำำ�หน้​้าและสามารถ สื่​่�อเป็​็นรู้​้�กั​ันว่​่ามี​ีความหมายตรงกั​ัน ในทุ​ุก ๆ เพลง เมื่​่�อนำำ�คำำ�นี้​้�วางไว้​้ ข้​้างหน้​้าของชื่​่�อเพลงนั้​้�น คื​ือ คำำ�ว่​่า “กราว” ซึ่​่�งมี​ีอยู่​่�ในเพลงไทยหลาย เพลง เช่​่น กราวกี​ีฬา กราวนอก กราวใน กราวกลาง กราวดง กราว วี​ีระชั​ัยยั​ักษ์​์ กราววี​ีระชั​ัยลิ​ิง กราว แขก กราวกระแซ กราวตลุ​ุง เพลงที่​่�มี​ี “กราว” นำำ�หน้​้า เป็​็น ที่​่�เข้​้าใจกั​ันโดยทั่​่�วไปว่​่า เป็​็นเพลงที่​่� ใช้​้สำำ�หรั​ับแสดงอากั​ัปกิ​ิริยิ าการรวม ไพร่​่พล เป็​็นการรวบรวมเพื่​่�อจะเดิ​ิน ทางยกทั​ัพ มี​ีทำำ�นองเพลงสื่​่�อได้​้ถึ​ึง อารมณ์​์แห่​่งความเข้​้มแข็​็ง กล้​้าหาญ มี​ีพลั​ังใจที่​่�จะไปในจุ​ุดหมายแห่​่งชั​ัยชนะ เป็​็นการแสดงออกถึ​ึงการเตรี​ียม ความพร้​้อมในการที่​่�จะยกทั​ัพจั​ับ ศึ​ึก หรื​ืออาจเป็​็นกระบวนแห่​่แหน ที่​่�มี​ีความสนุ​ุกสนานรื่​่�นเริ​ิงประกอบ งานบุ​ุญประเพณี​ีที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องอยู่​่�กั​ับ งานมงคล เพลงกราวที่​่�มี​ีชื่​่�อและ การนำำ�ไปใช้​้ในโอกาสและในการต่​่าง ๆ นี้​้� ไม่​่เกี่​่�ยวกั​ับอาการที่​่�โศกเศร้​้า หงอยเหงา เศร้​้าสร้​้อยเสี​ียใจใด ๆ ทั้​้�งสิ้​้�น จึ​ึงเป็​็นสั​ัญลั​ักษณ์​์แห่​่งเสี​ียง อย่​่างหนึ่​่�งของเพลงไทย คื​ือสั​ัญลั​ักษณ์​์ เสี​ียงแห่​่งความเข้​้มแข็​็ง การประสบ ความสุ​ุข ความสำำ�เร็​็จ เพลงกราวกี​ีฬา ชื่​่�อบ่​่งบอกถึ​ึง การนำำ�ไปใช้​้ในโอกาสที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องอยู่​่� กั​ับการแข่​่งขั​ันกี​ีฬา การสร้​้างความ สมั​ัครสมานสามั​ัคคี​ี บรรเลงด้​้วยวง โยธวาทิ​ิตหรื​ือวงดุ​ุริยิ างค์​์ ในการนำำ� แถวนำำ�ขบวนนั​ักกี​ีฬาเข้​้าสู่​่�การแข่​่งขั​ัน ในทุ​ุกระดั​ับของไทย คนทั่​่�วไปส่​่วน ใหญ่​่จะรู้​้�จั​ักเพลงนี้​้�ด้​้วยเนื้​้�อร้​้อง ของบทเพลงเป็​็นบทประพั​ันธ์​์ของ

เจ้​้าพระยาธรรมศั​ักดิ์​์�มนตรี​ี เน้​้นถึ​ึง ความสนุ​ุกสนาน ส่​่งเสริ​ิมปลู​ูกฝั​ัง ให้​้รู้​้�จั​ักการรู้​้�แพ้​้รู้​้�ชนะ ความมี​ีน้ำำ��ใจ นั​ักกี​ีฬา มี​ีจั​ังหวะหน้​้าทั​ับเป็​็นแบบ เดี​ียวกั​ับเพลงกราวนอก เพลงกราวนอก ใช้​้สำำ�หรั​ับเดิ​ิน ทาง เดิ​ินแถว ยกทั​ัพ เคลื่​่�อนขบวน ใช้​้สำำ�หรั​ับการยกทั​ัพของฝ่​่ายไพร่​่พล ข้​้างที่​่�มี​ีมนุ​ุษย์​์และหรื​ือเทพเทวดาเป็​็น ผู้​้�นำำ�ทั​ัพ มี​ีเหล่​่าสวาวานรเป็​็นไพร่​่พล ในการเดิ​ินทั​ัพของฝ่​่ายพลั​ับพลา การเคลื่​่�อนขบวนแห่​่แหนในงานบุ​ุญ ประเพณี​ี การเสด็​็จกลั​ับเข้​้าสู่​่�เมื​ืองของ พระเวสสั​ันดร เป็​็นเพลงหน้​้าพาทย์​์ ประกอบกั​ัณฑ์​์มหาราช ในการเทศน์​์ มหาชาติ​ิ เพลงกราวใน ใช้​้สำำ�หรั​ับฝ่​่ายยั​ักษ์​์ หรื​ือที่​่�มี​ีฤทธิ์​์�ไปทางยั​ักษ์​์ทั้​้�งหมด รวม ทั้​้�งจตุ​ุโลกบาลทั้​้�ง ๔ ใช้​้ประกอบใน การเดิ​ินทาง เคลื่​่�อนทั​ัพ อั​ันประกอบ ด้​้วยยั​ักษ์​์เป็​็นทั้​้�งแม่​่ทัพั และกำำ�ลั​ังพล นอกจากนี้​้� ยั​ังมี​ี เพลงกราวตะลุ​ุง เพลงกราววี​ีระชั​ัยยั​ักษ์​์ เพลงกราว วี​ีระชั​ัยลิ​ิง เพลงกราวแขกเงาะ เหล่​่า นี้​้�เป็​็นเพลงสำำ�หรั​ับยกทั​ัพ ยกขบวน ที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับการแสดงทั้​้�งสิ้​้�น เพลงกราวรำำ� ๒ ชั้​้�น เพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น เป็​็นเพลง ที่​่�สำำ�คั​ัญดั​ังที่​่�ได้​้ตั้​้�งไปเป็​็นหั​ัวข้​้อของ บทความนี้​้� ความหมายเป็​็นไปใน ทางที่​่�เกี่​่�ยวข้​้องอยู่​่�กั​ับอารมณ์​์ความ รู้​้�สึ​ึกที่​่�เป็​็นอาการของความสมหวั​ัง ความสำำ�เร็​็จ อาการดี​ีใจ ความเป็​็น สิ​ิริมิ งคล เพลงกราวรำ��มีทั้​้�ี งในอั​ัตรา จั​ังหวะ ๓ ชั้​้�น ๒ ชั้​้�น และชั้​้�นเดี​ียว ซึ่​่�งถ้​้าเล่​่นติ​ิดต่​่อกั​ันทั้​้�ง ๓ อั​ัตรา จั​ังหวะ รวมเป็​็นเพลงกราวรำ�� เถา ในส่​่วนอั​ัตราจั​ังหวะ ๒ ชั้​้�น ใช้​้บรรเลง และประกอบการขั​ับร้​้องทั้​้�งในพิ​ิธีกี รรม และการแสดงโขนละครของไทย เพลง กราวรำ�� อั​ัตราจั​ังหวะ ๒ ชั้​้�น มี​ี ๒

ท่​่อน ท่​่อนละ ๔ จั​ังหวะหน้​้าทั​ับ ปรบไก่​่ เป็​็นเพลงที่​่�มี​ีการนำำ�ไปใช้​้ใน โอกาสต่​่างกั​ัน ดั​ังนี้​้� ๑. บรรเลงประกอบพิ​ิธี​ีกรรม หลั​ังจากพระสงฆ์​์เจริ​ิญพระพุ​ุทธ มนต์​์และอนุ​ุโมทนาแล้​้ว ปี่​่�พาทย์​์ จะทำำ�เพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น หน้​้าทั​ับ จั​ังหวะแบบหน้​้าทั​ับหน้​้าพาทย์​์ของ เพลงวา แบบแผนการทำำ�เพลง กราวรำ�� ๒ ชั้​้�น ตามโอกาสนี้​้� คื​ือ ยั​ังมี​ีพิ​ิธี​ีกรรมที่​่�จะดำำ�เนิ​ินต่​่อ หรื​ือ พิ​ิธี​ีกรรมยั​ังไม่​่เสร็​็จสมบู​ูรณ์​์ ๒. บรรเลงเป็​็นเพลงวาลาโรง เพลงวามี​ี ๒ แบบ คื​ือ “วาลงโรง” และ “วาลาโรง” ใช้​้ในโอกาสที่​่�ละคร หรื​ือโขนเริ่​่�มการแสดงปี่​่�พาทย์​์ทำำ� เพลงวา เรี​ียกว่​่า “เพลงวาลงโรง” และเมื่​่�อจบการแสดงจะทำำ�เพลงวา ซึ่​่�งมี​ีทำำ�นองเดี​ียวกั​ัน แต่​่เรี​ียกว่​่า “เพลงวาลาโรง” การทำำ�ทั้​้�งเริ่​่�มการ แสดงและทำำ�เมื่​่�อจบการแสดงด้​้วย เพลงซ้ำำ�� ๆ มาแต่​่เดิ​ิม จึ​ึงมี​ีผู้​้�คง แก่​่เรี​ียนนำำ�เพลงกราวรำ��ซึ่​่�งมี​ีความ หมายในทางที่​่�ประสบความสำำ�เร็​็จ สมหวั​ังดี​ีใจ มาทำำ�แทนเนื้​้�อเพลงวา ของเดิ​ิม โดยแทรกเข้​้าเป็​็นทำำ�นอง ในส่​่วนที่​่�เป็​็นเนื้​้�อเพลงวา บรรเลง ในโอกาสจบการแสดงหรื​ือการแสดง นั้​้�นจบลง เรี​ียก “เพลงวาลาโรง” สื่​่�อว่​่าการแสดงนั้​้�นจบสิ้​้�นลงแล้​้ว แต่​่ ก็​็มีคี วามเข้​้าใจคลาดเคลื่​่�อนว่​่าเพลง กราวรำ�� ๒ ชั้​้�น เป็​็น เพลงวา แล้​้ว เรี​ียกเพลงวาลาโรง เป็​็น “เพลง วากราวรำ��” ต่​่อมาในการบรรเลงเพลง วาลาโรง เมื่​่�อจบการแสดงโดยเฉพาะ การแสดงในเวลากลางคื​ืน ที่​่�จะเลิ​ิก แสดงหลั​ังจากเวลา ๒๔.๐๐ น. ซึ่​่�ง เป็​็นเวลาที่​่�ดึ​ึกมาก ปี่​่พ� าทย์​์มักั จะทำำ� เพลงลาโรง แบบตั​ัดรอนทอนสั้​้�น จึ​ึง นำำ�เพลงกราวรำ�� ชั้​้�นเดี​ียว มาบรรเลง เป็​็นเพลงลาโรง ด้​้วยภู​ูมิปัิ ญ ั ญาของ บรรพชนคนดนตรี​ีไทย การนำำ�เพลง 59


เข้​้าประกอบการต่​่าง ๆ ย่​่อมมี​ีเหตุ​ุ มี​ีผล ดั​ังที่​่�เพลงของดนตรี​ีไทยขึ้​้�นอย่​่างไรจบอย่​่างนั้​้�น จึ​ึงนำำ�เพลงวากราวรำ�� มาเป็​็นเพลงสำำ�หรั​ับเริ่​่�มการแสดงโขนละครแทนเพลงวาลงโรง และเมื่​่�อจบการแสดงก็​็ทำำ�เพลงกราวรำ�� ๓. ประกอบการบรรเลงและขั​ับร้​้องเพลงวากราวรำ�� ๔. ใช้​้บรรเลงประกอบในการขั​ับร้​้องสำำ�หรั​ับการมงคลอวยชั​ัยให้​้พร บรรจุ​ุเป็​็นเพลงขั​ับร้​้องประกอบการแสดง เป็​็นที่​่�หมายรู้​้�กั​ันว่​่าเป็​็นข้​้อสั​ังเกตในการนำำ�เพลงกราวรำ��ไปทำำ�ในโอกาสที่​่�ต่า่ งกรรมต่​่างวาระดั​ังที่​่�กล่​่าวแล้​้ว นี้​้� เมื่​่�อกล่​่าวถึ​ึงเพลงกราวรำ�� จะต้​้องใช้​้ว่​่า เพลง “กราวรำ�� ๒ ชั้​้�น” ทุ​ุกครั้​้�ง ทำำ�นองเพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น สำำ�หรั​ับการบรรเลงและขั​ับร้​้องในระดั​ับเสี​ียงปกติ​ิของการบรรเลงนั้​้�น เมื่​่�อนำำ�ไป ทำำ�แทนในเนื้​้�อเพลงวา จะลดเสี​ียงลง ๑ เสี​ียง จากเสี​ียง ใน เป็​็นเสี​ียง ในลด เพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น ระดั​ับเสี​ียงสำำ�หรั​ับบรรเลงประกอบการขั​ับร้​้อง

(ที่​่�มา: เดชน์​์ คงอิ่​่�ม)

60


เพลงกราวรำำ�มอญ ๒ ชั้​้�น เพลงกราวรำ��มอญ ๒ ชั้​้�น เป็​็นเพลงที่​่�พระประดิ​ิษฐไพเราะ (ครู​ูมี​ีแขก) นำำ�เพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น เดิ​ิม มี​ี ๒ ท่​่อน มาปรั​ับทำำ�นองในจั​ังหวะสุ​ุดท้​้ายของท่​่อนที่​่� ๒ ทั้​้�งสองวรรคเพลงให้​้มีเี สี​ียงจบต่​่างจากเพลงกราวรำ�� โดยให้​้ เสี​ียงตกวรรคสุ​ุดท้​้ายจบในเสี​ียงที่​่�ต่ำำ��ลงมาเป็​็นคู่​่� ๔ เรี​ียกว่​่า กราวรำ��มอญ ๒ ชั้​้�น บรรจุ​ุอยู่​่�เป็​็นลำำ�ดั​ับที่​่� ๔ ในเพลง มโหรี​ีตั​ับนางนาค ประกอบด้​้วย เพลงนางนาค เพลงพั​ัดชา เพลงลี​ีลากระทุ่​่�ม เพลงกราวรำ�� เพลงโล้​้ ในยุ​ุคสมั​ัย ที่​่�มี​ีความนิ​ิยมเพลงในอั​ัตราจั​ังหวะ ๓ ชั้​้�น ซึ่​่�งเป็​็นช่​่วงปลายรั​ัชกาลพระบาทสมเด็​็จพระจุ​ุลจอมเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว อั​ันเนื่​่�องมาจากการเล่​่นสั​ักวาแล้​้วส่​่งเพลงในอั​ัตราจั​ังหวะ ๓ ชั้​้�น พระยาประสานดุ​ุริยิ ศั​ัพท์​์ (แปลก ประสานศั​ัพท์​์) ได้​้ขยายเพลงมโหรี​ีตั​ับนางนาค เป็​็นอั​ัตราจั​ังหวะ ๓ ชั้​้�น จึ​ึงเกิ​ิดเป็​็นเพลงกราวรำ��มอญ ๓ ชั้​้�น ต่​่อมาหลวง ประดิ​ิษฐไพเราะ (ศร ศิ​ิลปบรรเลง) นำำ�เพลงกราวรำ��มอญ ๒ ชั้​้�น ขยายและทอนลงเป็​็น เถา ประกอบการขั​ับ ร้​้องเป็​็น เพลงกราวรำ��มอญ เถา โดยมี​ีเนื้​้�อร้​้องเป็​็นไปในลั​ักษณะของการอวยชั​ัยให้​้พรผู้​้�ที่​่�ฟั​ังดนตรี​ี เนื้อรองเพลงกราวรํามอญ เถา หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ๓ ชั้น

ขอทานผูชอบดนตรีจงมีสุข หวังสิ่งใดไดสมอารมณกัน ๒ ชั้น อายุขัยไมนอยกวารอยป ลาภไหลมาเนืองนองดังทองธาร ชั้นเดียว ไปทิศใดใหมีแตคนรัก เจริญดวยคุณธรรมจารี

นิราศภัยไกลทุกขทุกสิ่งสรรพ เกษมสันตทุกทิวาราตรีกาล มีวรรณะผองศรีพละหาญ เกียรติตระการคูฟาธาตรี อุปสรรคทั้งหลายจงพายหนี ประสพศรีสุขสวัสดิ์พิพัฒนเทอญ

เนื้อรองเพลงกราวรํามอญ เถา นายโชติ ดุริยประณีต ๓ ชั้น

รอนรอนออนแสงสุริยา การกําหนดหมดบรรเลงเพลงดนตรี ๒ ชั้น โอกาสหนาจะมาพบประสบใหม บัดนี้ตองจําพรากจําจากลา ชั้นเดียว ขอเทพไทไดขจัดพิบัติทุกข สิ่งประสงคจงประสบสถาวร

ใกลเวลาเหลี่ยมลับรัศมี ก็ถึงที่สิ้นสุดดุจสุริยา เพื่อกลอมใจใหทานไดหรรษา กอนจะคลาคลาดจากขอฝากพร สงเสริมสุขภิญโญสโมสร เกียรติขจรเจิดจรัสเจริญเทอญ

ทำำ�นองเพลงกราวรำ��มอญ ๒ ชั้​้�น ท่​่อน ๒ เปลี่​่�ยนทำำ�นองในจั​ังหวะสุ​ุดท้​้าย และเสี​ียงตกต่​่างจากเพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น

61


(ที่​่�มา: เดชน์​์ คงอิ่​่�ม)

เพลงกราวรำำ�เสภา ๒ ชั้​้�น เพลงกราวรำ��เสภา ๒ ชั้​้�น เป็​็นเพลงที่​่�ใช้​้สำำ�หรั​ับลำำ�ลาของการเล่​่นเสภาในช่​่วงที่​่�มี​ีการพั​ัฒนารู​ูปแบบการเล่​่น โดยมี​ีวงปี่​่พ� าทย์​์เข้​้าประกอบ ดำำ�เนิ​ินเรื่​่�องด้​้วยการขั​ับเสภาและส่​่งร้​้องเพลงในอั​ัตราจั​ังหวะ ๒ ชั้​้�น เมื่​่�อจบตอนหรื​ือ จะเลิ​ิกเล่​่นจะส่​่งร้​้องด้​้วยเพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น โดยร้​้องส่​่งเพลงกราวรำ��มอญ ๒ ชั้​้�น ส่​่งให้​้ปี่​่�พาทย์​์รั​ับ แต่​่เปลี่​่�ยน ทำำ�นองในจั​ังหวะสุ​ุดท้​้ายของท่​่อนที่​่� ๒ ให้​้มี​ีเสี​ียงต่ำำ��กว่​่าเสี​ียงเพลงกราวรำ��เสภา ๒ ชั้​้�น ๑ เสี​ียง เป็​็นเพลงลำำ�ลา ในยุ​ุคที่​่�ยั​ังไม่​่เกิ​ิดเพลงประเภท ๓ ชั้​้�น ต่​่อมาเมื่​่�อมี​ีการพั​ัฒนาเพลงเพื่​่�อการฟั​ังเป็​็นเพลงในอั​ัตราจั​ังหวะ ๓ ชั้​้�น เพลงกราวรำ��เสภาก็​็ลดความนิ​ิยมลง มี​ีเพลงลำำ�ลาที่​่�มี​ีลั​ักษณะของสร้​้อยและว่​่าดอกทั้​้�งอั​ัตราจั​ังหวะ ๒ ชั้​้�น และ อั​ัตราจั​ังหวะ ๓ ชั้​้�นขึ้​้�น เช่​่น เพลงเต่​่ากิ​ินผั​ักบุ้​้�ง ๒ ชั้​้�น เพลงพระอาทิ​ิตย์​์ชิ​ิงดวง ๒ ชั้​้�น เพลงปลาทอง ๓ ชั้​้�น เพลงอกทะเล ๓ ชั้​้�น ซึ่​่�งเป็​็นที่​่�นิ​ิยมมากในการเล่​่นร้​้องและบรรเลงปี่​่�พาทย์​์เสภามาจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน

62


(ที่​่�มา: เดชน์​์ คงอิ่​่�ม)

ท�ำนองเพลงกราวร�ำเสภา ๒ ชั้น มีท�ำนองในจังหวะสุดท้ายเปลี่ยนเสียงจบให้เสียงต�่ำลงมา ๑ เสียง เพลงต้​้นกราวรำำ� ๒ ชั้​้�น เพลงต้​้นกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น อยู่​่�ในเพลงทำำ�ขวั​ัญ ในลำำ�ดั​ับก่​่อนเพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น ซึ่​่�งเป็​็นในลำำ�ดั​ับท้​้าย เพลง ต้​้นกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น ยั​ังไม่​่เห็​็นว่​่านำำ�ไปทำำ�ในการอื่​่�น มี​ีลั​ักษณะทำำ�นองต่​่างจากเพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น ซึ่​่�งเป็​็นปกติ​ิ ของทำำ�นองเพลงที่​่�มี​ีชื่​่�อเพลงที่​่�มี​ีคำำ� “ต้​้น” นำำ�หน้​้า ส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็นคนละเพลงกั​ัน แต่​่มี​ีลั​ักษณะสำำ�นวนทำำ�นอง ในแนวทางเดี​ียวกั​ัน เช่​่น เพลงต้​้นชุ​ุบ เพลงชุ​ุบ ไม่​่เกี่​่�ยวข้​้องกั​ัน เป็​็นเอกเทศ ไม่​่บรรเลงต่​่อเนื่​่�องกั​ัน เพลงต้​้น กราวรำ�� ๒ ชั้​้�น มี​ีลั​ักษณะทำำ�นองดั​ังนี้​้�

63


(ที่​่�มา: เดชน์​์ คงอิ่​่�ม)

นอกจากนี้​้� ยั​ังมี​ีเพลงกราวรำ��ในหมวดเพลงหน้​้าพาทย์​์ มี​ีหน้​้าทั​ับหน้​้าพาทย์​์กำำ�กั​ับ ใช้​้ทำำ�ในโอกาสที่​่�จบ พิ​ิธี​ีกรรม จบการแสดงมหรสพ หรื​ือหน้​้าพาทย์​์สำำ�หรั​ับประกอบอาการดี​ีใจ เยาะเย้​้ย เป็​็นต้​้น เป็​็นเพลงอั​ัตรา จั​ังหวะชั้​้�นเดี​ียวที่​่�ทอนมาจากเพลงกราวรำ�� ๒ ชั้​้�น ใช้​้ในโอกาสที่​่�ต่​่างกรรมต่​่างวาระกั​ัน เพลงกราวรำ��พม่​่า อั​ัตรา จั​ังหวะชั้​้�นเดี​ียว บรรจุ​ุเป็​็นเพลงร้​้องลำำ�ดั​ับสุ​ุดท้​้ายในตั​ับพรหมาสตร์​์ ปี่​่พ� าทย์​์มอญทำำ�ประกอบพิ​ิธีกี รรมในช่​่วงพิ​ิธี​ี สงฆ์​์ จุ​ุดธู​ูปเที​ียน บู​ูชาพระรั​ัตนตรั​ัย บางครั้​้�งเรี​ียกกราวรำ��จุดุ เที​ียน ดั​ังกล่​่าวนี้​้� จึ​ึงกล่​่าวได้​้ว่า่ เพลงกราวรำ�� เป็​็น เพลงสำำ�คั​ัญดนตรี​ีไทย ดั​ังนี้​้�แลฯ

64


นำำ�เข้​้าและจั​ัดจำำ�หน่​่ายโดยTSH MUSIC www.tshmusic.com (Tel. 02-622-6451-5)

65


THAI AND ORIENTAL MUSIC

คณะดุ​ุริ​ิยะศิ​ิลป์​์

ปี่​่�พาทย์​์ แตรวง ในตำำ�บลไร่​่ขิ​ิง อำำ�เภอสามพราน จั​ังหวั​ัดนครปฐม เรื่​่�อง: ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin) อาจารย์​์ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

คณะดุ​ุริ​ิยะศิ​ิลป์​์ ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นโดย นายบุ​ุญชู​ู สุ​ุวะยะ บุ​ุตรชายของนางปลื้​้�ม เดชชาวนา ซึ่​่�งเป็​็นนั​ักดนตรี​ีคน สำำ�คั​ัญในประวั​ัติศิ าสตร์​์ทางดนตรี​ี แรกเริ่​่�มนั้​้�น นางปลื้​้�ม ได้​้ก่อ่ ตั้​้�งคณะปี่​่พ� าทย์​์อยู่​่�ที่​่�คลองบางซื่​่�อโดยใช้​้ชื่​่�อว่​่า คณะ “ป. เดชชาวนา” รั​ับงานแสดงทั้​้�งปี่​่�พาทย์​์และแตรวง “ช่​่วงแรก ย่​่าอาศั​ัยกั​ันอยู่�ที่​่​่ ค� ลองบางซื่​่อ� ตอนนั้​้�นก็เ็ ริ่​่ม� มี​ีคณะแล้​้ว เป็​็นคณะปี่​่�พาทย์​์กั​ับแตรวง” ต่​่อมานางปลื้​้�ม เดชชาวนา สมรสกั​ับนายเปลื่​่�อง สุ​ุวะยะ มี​ีบุ​ุตรด้​้วยกั​ัน คื​ือ นายบุ​ุญชู​ู สุ​ุวะยะ ซึ่​่�งเป็​็น

นางปลื้​้�ม เดชชาวนา

66

ผู้​้�สื​ืบทอดคณะดนตรี​ีคนสำำ�คั​ัญของตระกู​ูล ต่​่อมานาง ปลื้​้�มได้​้สมรสใหม่​่กั​ับนายทองดี​ี เดชชาวนา เมื่​่�อนางปลื้​้�มเสี​ียชี​ีวิติ เครื่​่�องดนตรี​ีปี่พ่� าทย์​์มอญจึ​ึง ตกทอดสู่​่�นายบุ​ุญชู​ู สุ​ุวะยะ บุ​ุตรชาย ซึ่​่�งต่​่อมานายบุ​ุญชู​ู ได้​้มาตั้​้�งคณะ โดยใช้​้ชื่​่�อว่​่า “ดุ​ุริยิ ะศิ​ิลป์​์” อยู่​่�ที่​่�ตลาดดอน หวาย ตำำ�บลบางกระทึ​ึก อำำ�เภอสามพราน จั​ังหวั​ัด นครปฐม และปั​ัจจุ​ุบันั อยู่​่�ที่​่�บ้​้านเลขที่​่� ๑๐๑/๑๐๕ หมู่​่� ๑๒ ตำำ�บลไร่​่ขิ​ิง อำำ�เภอสามพราน จั​ังหวั​ัดนครปฐม นายบุ​ุญชู​ู สุ​ุวะยะ แต่​่งงานกั​ับนางกิ​ิมไล้​้ สุ​ุวะยะ

นายบุ​ุญชู​ู สุ​ุวะยะ และนางกิ​ิมไล้​้ สุ​ุวะยะ


นายสุ​ุพจน์​์ สุ​ุวะยะ

มี​ีบุตุ รด้​้วยกั​ัน ๕ คน แต่​่มีเี พี​ียงนาย สุ​ุพจน์​์ สุ​ุวะยะ เท่​่านั้​้�นที่​่�เป็​็นดนตรี​ี จึ​ึงมอบให้​้นายสุ​ุพจน์​์เป็​็นผู้​้�ดู​ูแลคณะ จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน ในด้​้านของการถ่​่ายทอดความรู้​้� ทางดนตรี​ี จากการสั​ัมภาษณ์​์ นาย สุ​ุพจน์​์เล่​่าว่​่า “รุ่​่�นพ่​่อของผม เขาก็​็ เรี​ียนมานะ ย่​่าได้​้ส่ง่ พ่​่อไปเรี​ียนดนตรี​ี คณะปี่​่�พาทย์​์ของวั​ัดม่​่วง จากนั้​้�นท่า่ น เจ้​้าอาวาสวั​ัดม่​่วงจึ​ึงส่​่งไปเรี​ียนต่​่อ ที่​่�บ้​้านดุ​ุริ​ิยประณี​ีต” ในด้​้านของวิ​ิธี​ี การในการถ่​่ายทอดทางดนตรี​ี จะใช้​้ วิ​ิธีกี ารถ่​่ายทอดจากการสอนปฏิ​ิบัติั ิ บอกเล่​่า และการจดจำำ�เสี​ียงหรื​ือ ทำำ�นองของบทเพลง “พ่​่อก็​็น่​่าจะ เรี​ียนคล้​้ายกั​ันกับั ผมนะ ดนตรี​ีไทยก็​็ จะมี​ีวิ​ิธี​ีการถ่​่ายทอดความรู้​้�ของเขา เพราะในรุ่​่�นผม พ่​่อก็​็สอนฆ้​้องก่​่อน เป็​็นเครื่​่�องแรก ก็​็ต้อ้ งเรี​ียนด้​้วยมื​ือ กั​ันมา จั​ับมื​ือ ต่​่อมื​ือ ฟั​ังเสี​ียง ฟั​ัง ทำำ�นองเพลง เพลงแรกที่​่�หั​ัดเพลง สาธุ​ุการ สมั​ัยก่​่อนเรี​ียนโหมโรงเย็​็น ก่​่อน ก่​่อนจะไปต่​่อเพลงอื่​่�น ๆ”

นอกจากการถ่​่ายทอดความรู้​้� ในดนตรี​ีปี่​่�พาทย์​์แล้​้ว คณะยั​ังได้​้ให้​้ ความสำำ�คั​ัญกั​ับการถ่​่ายทอดความรู้​้� แตรวงอี​ีกด้​้วย วิ​ิธีกี ารในการถ่​่ายทอด ความรู้​้� ก็​็จะเริ่​่�มจากการปฏิ​ิบัติั ิ แล้​้ว ให้​้ปฏิ​ิบัติั ติ ามเช่​่นกั​ัน “ผมก็​็เรี​ียนมา จากพ่​่อ คิ​ิดว่​่าเขาก็​็น่​่าจะได้​้ความรู้​้� นี้​้�มาจากบ้​้านที่​่�เขาไปเรี​ียน แรกเริ่​่ม� เรี​ียนจากการต่​่อนิ้​้ว� หู​ูฟั​ัง แล้​้วก็​็ต่อ่ เพลงง่​่าย ๆ ก็​็ต่​่อเพลงกั​ันเรื่​่�อยมา นั​ักดนตรี​ีในวงก็​็เรี​ียนมาจากพ่​่อ ก็​็ เรี​ียนเอาจากในบ้​้านบ้​้าง ในงานบ้​้าง ครู​ูพั​ักลั​ักจำำ�กั​ันมา” ต่​่อมาเมื่​่�อเติ​ิบโตขึ้​้�น นายสุ​ุพจน์​์ จึ​ึงได้​้เข้​้าศึ​ึกษาต่​่อที่​่�วิ​ิทยาลั​ัยนาฏศิ​ิลป จนจบการศึ​ึกษา แล้​้วไปศึ​ึกษาต่​่อทาง ด้​้านดนตรี​ีที่​่�วิทิ ยาลั​ัยครู​ูบ้า้ นสมเด็​็จ ในช่​่วงนั้​้�นได้​้ศึ​ึกษาวิ​ิชาดนตรี​ีกั​ับครู​ู เชื้​้�อ ดนตรี​ีรส เมื่​่�อเรี​ียนจบได้​้ไป ประกอบอาชี​ีพเป็​็นนั​ักดนตรี​ี อยู่​่� ที่​่�สวนสามพราน และได้​้ไปเป็​็นครู​ู พิ​ิเศษสอนดนตรี​ีที่​่�วิ​ิทยาลั​ัยอาชี​ีวะ จั​ังหวั​ัดนครปฐม

นายสุ​ุพจน์​์ สมรสกั​ับ นางกิ​ิรณา สุ​ุวะยะ มี​ีบุ​ุตรด้​้วยกั​ัน ๓ คน คื​ือ นายชั​ัยสิ​ิทธิ์​์� สุ​ุวะยะ นางชวั​ัลลั​ักษณ์​์ สุ​ุวะยะ และนายสุ​ุชนม์​์ สุ​ุวะยะ ซึ่​่�ง ทั้​้�งสามคนล้​้วนแล้​้วแต่​่เป็​็นสายเลื​ือด ของนั​ักดนตรี​ี สามารถเล่​่นดนตรี​ีและ นาฏศิ​ิลป์​์ได้​้ทุ​ุกคน ปั​ัจจุ​ุบั​ันบุ​ุตรทั้​้�ง สามก็​็ช่ว่ ยกั​ันดู​ูแลคณะ และได้​้ปรั​ับ เปลี่​่�ยนชื่​่�อเป็​็น “คณะดุ​ุริ​ิยะคศิ​ิลป์​์” นอกจากการรั​ับงานแสดงดนตรี​ี แล้​้ว เมื่​่�อมี​ีเวลาว่​่าง นายสุ​ุพจน์​์ยั​ัง ได้​้ถ่​่ายทอดความรู้​้�ทางดนตรี​ีให้​้แก่​่ เด็​็ก ๆ ที่​่�สนใจ “มี​ีเด็​็กมาเรี​ียนที่​่�นี่​่� เป็​็นเด็​็ก ๆ ในหมู่​่�บ้​้านที่​่�เขาสนใจ เห็​็นเครื่​่อ� ง เห็​็นเราแสดง ก็​็มาเรี​ียน เราก็​็สอนให้​้ ก็​็มาเรื่​่�อย ๆ แต่​่เราก็​็ ต้​้องเข้​้าใจ ยุ​ุคสมั​ัยมั​ันเปลี่​่ย� น ความ นิ​ิยมต่​่าง ๆ ก็​็ลดลง เด็​็ก ๆ สมั​ัยนี้​้� มาเรี​ียนก็​็เรี​ียนกั​ันไม่​่นาน ไม่​่เอาจริ​ิง มาเรี​ียนแค่​่ครั้​้�งสองครั้​้�งก็​็ไม่​่มาแล้​้ว เราก็​็ต้อ้ งพยายามรั​ักษา หากว่​่าเรา ไม่​่สอน ไม่​่เล่​่น ดนตรี​ีก็ค็ งจะหมดไป ที่​่�ดอนหวายนี่​่� ก็​็มี​ีแค่​่บ้​้านเราบ้​้าน 67


การบรรเลงปี่​่�พาทย์​์มอญ

เดี​ียวที่​่�ยั​ังคงอยู่​่� ก็​็ต้​้องรั​ักษาไว้​้” ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน คณะยั​ังคงรั​ับงาน แสดงทั่​่�วไป ปี่​่�พาทย์​์ แตรวง และ ปี่​่�พาทย์​์มอญ ซึ่​่�งนั​ักดนตรี​ีในคณะ ส่​่วนใหญ่​่จะเป็​็นนั​ักดนตรี​ีที่​่�แสดง อยู่​่�กั​ับคณะ และนั​ักดนตรี​ีในละแวก ใกล้​้เคี​ียง มาร่​่วมบรรเลงด้​้วยกั​ัน “นั​ักดนตรี​ีในคณะ ก็​็จะเป็​็นนักั ดนตรี​ี ที่​่�อยู่​่�แสดงด้​้วยกั​ันมาตั้​้�งแต่​่รุ่​่�นพ่​่อ รุ่​่�นผมบ้​้าง แล้​้วก็​็มี​ีที่​่�เชิ​ิญจากข้​้าง นอกมาเล่​่นด้ว้ ยกั​ัน ทั้​้�งในกรุ​ุงเทพฯ และนครชั​ัยศรี​ี เราจะเชิ​ิญนั​ักดนตรี​ี 68

ที่​่�เรารู้​้�จั​ักมื​ือกันั เคยเล่​่นมาด้​้วยกั​ัน คุ​ุณภาพของการบรรเลงคื​ือสิ่​่�งสำำ�คัญ ั ของนั​ักดนตรี​ีที่​่�คณะเราต้​้องการ” นอกจากนี้​้� การให้​้ความสำำ�คั​ัญใน เรื่​่�องของการรั​ับงานแสดง ความเป็​็น มื​ืออาชี​ีพ ยั​ังเป็​็นจุ​ุดเด่​่นของคณะ “เราไม่​่ขี้​้�เกี​ียจ เล่​่นทั้​้�งวั​ัน อี​ีกอย่​่าง คื​ือต้​้องตรงต่​่อเวลา นั​ัดแล้​้วต้​้องไป ต้​้องไปก่​่อนด้ว้ ย ให้​้เจ้​้าภาพเขาเห็​็น ถึ​ึงความตั้​้�งใจในการรั​ับงานของเรา คื​ือวิ​ิชาชี​ีพของเรา ถ้​้าเราเหลวไหล ไม่​่ตั้​้�งใจเล่​่น ต่​่อไปก็​็ไม่​่มี​ีใครอยาก

จะเรี​ียกเรา” ในด้​้านของบทเพลงในการบรรเลง ปี่​่�พาทย์​์ เพลงที่​่�คณะนำำ�มาบรรเลง ส่​่วนใหญ่​่เป็​็นเพลงดั้​้�งเดิ​ิมที่​่�ได้​้รับั การ ถ่​่ายทอดมา มั​ักจะเป็​็นบทเพลงที่​่� นิ​ิยมบรรเลงกั​ัน เช่​่น เพลงประจำำ�วั​ัด เพลงมอญต่​่าง ๆ เพลงสามชั้​้�น สอง ชั้​้�นทั่​่�วไป “เพลงก็​็เป็​็นบทเพลงที่​่�ได้​้ รั​ับการถ่​่ายทอดมา เป็​็นเพลงทั่​่�ว ๆ ไปที่​่�เขาบรรเลงกั​ัน ก็​็ต้อ้ งดู​ูจากงาน ที่​่�ไปเป็​็นหลั​ัก งานมงคล งานเจ้​้า งานบวช งานศพ เราก็​็จะเล่​่นเพลง


แตกต่​่างกั​ันไปตามความเหมาะสม อาจจะมี​ีเพลงสมั​ัยนิ​ิยมบ้​้าง เพลง ลู​ูกทุ่​่�ง ลู​ูกกรุ​ุง เราก็​็เล่​่นให้​้ได้​้ แล้​้ว แต่​่เจ้​้าภาพขอมา ไม่​่ทำำ�ลายบทเพลง ดั้​้�งเดิ​ิมจนเกิ​ินไป งานในสมั​ัยนี้​้�ส่​่วน ใหญ่​่เขาก็​็ต้อ้ งการความหลากหลาย ความทั​ันสมั​ัย เราก็​็ต้​้องมี​ีบ้​้างเพื่​่�อ ให้​้เข้​้ากั​ับยุ​ุคสมั​ัย แต่​่ก็​็ไม่​่ได้​้ทิ้​้�งของ ดั้​้�งเดิ​ิมที่​่�เรามี​ี” นอกจากนี้​้� คณะยั​ัง ได้​้มีกี ารปรั​ับรู​ูปแบบของวงปี่​่พ� าทย์​์ และแตรวงให้​้มีคี วามทั​ันสมั​ัยมากขึ้​้�น โดยได้​้มี​ีการนำำ�เครื่​่�องเสี​ียงเข้​้ามา ประยุ​ุกต์​์ใช้​้ในการบรรเลงด้​้วย และ ในส่​่วนของแตรวงก็​็ได้​้มีกี ารปรั​ับโดย ได้​้นำำ�รถแห่​่ที่​่�มีกี ารติ​ิดตั้​้�งเครื่​่�องเสี​ียง เข้​้ามาช่​่วย เพื่​่�อช่​่วยในเรื่​่�องของเสี​ียง ให้​้มี​ีความดั​ัง รวมทั้​้�งสะดวกในการ เดิ​ินแห่​่ด้ว้ ย “ลู​ูกชายก็​็เอารถแห่​่เข้​้า มาช่​่วย เพราะสมั​ัยนี้​้�เป่​่าแต่​่แตร มั​ัน ดั​ังไม่​่พอ ความสนุ​ุกมั​ันก็​็ไม่​่เหมื​ือน กั​ับการมี​ีเครื่​่อ� งเข้​้ามาช่​่วย แตรวงใช้​้ ในงานบวชและงานศพ เขาใช้​้แห่​่กันั

นั​ักดนตรี​ีแตรวงส่​่วนใหญ่​่เป็​็นคนเก่​่า แก่​่ที่​่เ� คยอยู่​่�กันั มา เพลงที่​่�ใช้​้ก็จ็ ะเป็​็น เพลงดั้​้�งเดิ​ิมผสมเพลงสมั​ัยใหม่​่ที่​่�มี​ี การประยุ​ุกต์​์เข้​้ามาร่​่วมด้​้วย เราก็​็ เอามาใช้​้ในการบรรเลงร่​่วมกั​ัน” การ ปรั​ับตั​ัวในด้​้านของบทเพลงทั้​้�งการนำำ� บทเพลงดั้​้�งเดิ​ิมมาบรรเลงร่​่วมกั​ับ บทเพลงสมั​ัยใหม่​่ และการปรั​ับปรุ​ุง พั​ัฒนาเครื่​่�องดนตรี​ี พั​ัฒนารู​ูปแบบ ของวง เป็​็นส่​่วนสำำ�คั​ัญที่​่�ทำำ�ให้​้คณะ ยั​ังคงได้​้รั​ับความนิ​ิยมและสามารถ ดำำ�รงอยู่​่�ได้​้จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน จากการศึ​ึกษาประวั​ัติคิ ณะดุ​ุริยิ ะ ศิ​ิลป์​์ พบว่​่า เป็​็นคณะหนึ่​่�งที่​่�มี​ีความ สำำ�คั​ัญยิ่​่�งในประวั​ัติศิ าสตร์​์ด้า้ นดนตรี​ีที่​่� อยู่​่�คู่​่�กับั ตำำ�บลไร่​่ขิงิ อำำ�เภอสามพราน จั​ังหวั​ัดนครปฐม มาอย่​่างยาวนาน และเป็​็นคณะที่​่�ได้​้รั​ับการสื​ืบทอด วั​ัฒนธรรมทางดนตรี​ีภายในครอบครั​ัว จากรุ่​่�นสู่​่�รุ่​่�น ซึ่​่�งการสื​ืบทอดและส่​่งต่​่อ เป็​็นรากฐานทางสำำ�คั​ัญที่​่�ทำำ�ให้​้คณะยั​ัง คงสามารถดำำ�รงอยู่​่�ได้​้จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบันั

นอกจากนี้​้� การพั​ัฒนา ปรั​ับปรุ​ุงคณะ ทั้​้�งในเรื่​่�องของบทเพลงและรู​ูปแบบ ของวง ให้​้มีคี วามทั​ันสมั​ัย ยั​ังส่​่งผล ให้​้เป็​็นคณะดนตรี​ีที่​่�ได้​้รับั การยอมรั​ับ และมี​ีชื่​่�อเสี​ียงในจั​ังหวั​ัดนครปฐมอี​ีก คณะหนึ่​่�งด้​้วย

อ้​้างอิ​ิง สุ​ุพจน์​์ สุ​ุวะยะ สั​ัมภาษณ์​์เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๑๑ มี​ีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

การบรรเลงปี่​่�พาทย์​์มอญ

69


STUDY ABROAD

การเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ี ในประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา (ตอนที่​่� ๓) เรื่​่�อง: ปริ​ิญธร ป่​่ านแก้​้ว (Parintorn Pankaew) นั​ักศึ​ึกษาชั้​้�นปีที่​่ ี � ๔ สาขาดนตรี​ีบำำ�บัด ั มหาวิ​ิทยาลั​ัยจอร์​์เจี​ีย ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา

และแล้​้วก็​็เดิ​ินทางมาถึ​ึงตอนที่​่� ๓ ของบทความการเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ี ในประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา ในตอนสุ​ุดท้​้ายนี้​้� ผู้​้� เขี​ียนจะบรรยายถึ​ึงการฝึ​ึกงานของ นั​ักศึ​ึกษาดนตรี​ีบำำ�บั​ัดและการหา ประสบการณ์​์นอกห้​้องเรี​ียน รวม ไปถึ​ึงการเตรี​ียมตั​ัวสอบใบวิ​ิชาชี​ีพ นั​ักดนตรี​ีบำำ�บั​ัดในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา หนึ่​่�งในวิ​ิชาดนตรี​ีบำำ�บัดั ที่​่�ผู้​้�เขี​ียน เห็​็นว่​่าน่​่าสนใจและสำำ�คั​ัญเป็​็นอย่​่าง ยิ่​่�งต่​่อนั​ักศึ​ึกษาดนตรี​ีบำำ�บั​ัด คื​ือ วิ​ิชา Music Therapy Practicum นั​ักศึ​ึกษาดนตรี​ีบำำ�บั​ัดตั้​้�งแต่​่ชั้​้�นปี​ีที่​่� ๒ ขึ้​้�นไป จะต้​้องลงเรี​ียนวิ​ิชาดนตรี​ี บำำ�บั​ัดทุ​ุกเทอม เทอมละ ๑ ตั​ัว ใน วิ​ิชา Music Therapy Practicum นี้​้� นั​ักศึ​ึกษาจะถู​ูกแบ่​่งออกเป็​็น 70

กลุ่​่�ม กลุ่​่�มละ ๒-๔ คน เพื่​่�อไปฝึ​ึกให้​้ บริ​ิการทางด้​้านดนตรี​ีบำำ�บัดั แก่​่คนไข้​้ ในสถานที่​่�ต่​่าง ๆ ในแต่​่ละเทอม เช่​่น โรงเรี​ียน โรงพยาบาล ศู​ูนย์​์เด็​็กเล็​็ก บ้​้านพั​ักคนชรา ศู​ูนย์​์ฟื้​้�นฟู​ู ศู​ูนย์​์ บำำ�บั​ัดยาเสพติ​ิด เป็​็นต้​้น เมื่​่�อครั้​้�งที่​่�ผู้​้�เขี​ียนอยู่​่�ชั้​้�นปี​ีที่​่� ๓ ผู้​้� เขี​ียนและเพื่​่�อนอี​ีก ๒ คน ได้​้รับั มอบ หมายให้​้ทำำ� practicum ที่​่�ห้​้องเด็​็ก พิ​ิเศษในโรงเรี​ียนมั​ัธยมปลายแห่​่งหนึ่​่�ง ในเมื​ือง กิ​ิจกรรมที่​่�ทำำ�ยกตั​ัวอย่​่างเช่​่น กิ​ิจกรรมส่​่งเสริ​ิมการใช้​้กล้​้ามเนื้​้�อมั​ัด เล็​็กและกล้​้ามเนื้​้�อมั​ัดใหญ่​่ เนื่​่�องจาก ในห้​้องมี​ีนักั เรี​ียนที่​่�มี​ีความบกพร่​่อง ทางร่​่างกาย กิ​ิจกรรมส่​่งเสริ​ิมการเข้​้า สั​ังคมโดยการร้​้องเพลงเกี่​่�ยวกั​ับเพื่​่�อน กิ​ิจกรรมนี้​้�เด็​็ก ๆ ชอบเป็​็นพิ​ิเศษ เพราะเรามั​ักใช้​้เพลง “You’ve Got A Friend in Me” จากเรื่​่�อง Toy Story อี​ีกกิ​ิจกรรมหนึ่​่�งที่​่�ใช้​้ได้​้ดี​ีกั​ับ นั​ักเรี​ียนกลุ่​่�ม คื​ือ “How Are You Feeling” ซึ่​่�งเป็​็นเพลงที่​่�ผู้​้�เขี​ียนแต่​่ง

ขึ้​้�นเอง เนื้​้�อเพลงจะมี​ีเพี​ียง How are you feeling? How are you feeling today? จากนั้​้�นเราจะถามเด็​็ก ๆ ว่​่า วั​ันนี้​้�รู้​้�สึกึ อย่​่างไร แล้​้วเปลี่​่�ยนเนื้​้�อเพลง ตามอารมณ์​์ของนั​ักเรี​ียนโดยที่​่�ยั​ังคง ทำำ�นองเดิ​ิมไว้​้ ยกตั​ัวอย่​่างเช่​่น “Peter is feeling good. Peter is feeling good today.” อาจจะฟั​ังดู​ูเป็​็นกิ​ิจกรรม ที่​่�ง่​่ายสำำ�หรั​ับผู้​้�อ่​่านและใครหลาย ๆ คน แต่​่สำำ�หรั​ับเด็​็กที่​่�มี​ีความบกพร่​่องทาง พั​ัฒนาการบางกลุ่​่�ม การรั​ับรู้​้�ถึ​ึงความ รู้​้�สึกึ ของตนเองและผู้​้�อื่​่�นเป็​็นสิ่​่�งที่​่�ท้​้าทาย และยากสำำ�หรั​ับเขา เนื่​่�องจากสถานการณ์​์การระบาด ของโควิ​ิด-๑๙ ทำำ�ให้​้ปี​ีนี้​้�ผู้​้�เขี​ียนต้​้องเรี​ียน ออนไลน์​์อยู่​่�ที่​่�ประเทศไทย ผู้​้�เขี​ียนเห็​็นว่​่า เป็​็นโอกาสดี​ีที่​่�จะได้​้ลองทำำ� practicum ที่​่�ประเทศไทย จึ​ึงได้​้ติดิ ต่​่ออาจารย์​์วิพุิ ธุ เคหะสุ​ุวรรณ อาจารย์​์หัวั หน้​้าสาขาวิ​ิชา ดนตรี​ีบำำ�บั​ัด วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล เพื่​่�อขอทำำ� practicum ที่​่�ประเทศไทย อาจารย์​์วิพุิ ธุ ได้​้ตอบตกลง


ให้​้ผู้​้�เขี​ียนสามารถไปฝึ​ึกทำำ� practicum ที่​่�ศู​ูนย์​์บริ​ิรั​ักษ์​์ โรงพยาบาลศิ​ิริ​ิราช กั​ับอาจารย์​์ภุ​ุชงค์​์ ฉิ​ิมพิ​ิบู​ูลย์​์ การทำำ� practicum ในโรงพยาบาลถื​ือเป็​็น ประสบการณ์​์ใหม่​่ที่​่�น่า่ สนใจมากสำำ�หรั​ับ ผู้​้�เขี​ียน เพราะผู้​้�เขี​ียนยั​ังไม่​่เคยมี​ีโอกาส ได้​้ทำำ� practicum ในโรงพยาบาลมา ก่​่อน นอกจากนี้​้� การทำำ� practicum ครั้​้�งนี้​้�ยั​ังแตกต่​่างจากทุ​ุกครั้​้�ง เพราะผู้​้� เขี​ียนไม่​่ได้​้เพี​ียงแค่​่ไปทำำ� practicum สั​ัปดาห์​์ละ ๑ ชั่​่�วโมงเท่​่านั้​้�น แต่​่ผู้​้�เขี​ียน ต้​้องไปที่​่�โรงพยาบาลตั้​้�งแต่​่ ๘ โมงเช้​้า และอยู่​่�จนถึ​ึงเวลา ๔ โมงเย็​็น จึ​ึงได้​้เห็​็น การทำำ�งานของนั​ักดนตรี​ีบำำ�บั​ัดร่​่วมกั​ัน กั​ับที​ีมแพทย์​์และนั​ักบำำ�บั​ัดสาขาอื่​่�น ๆ นอกจากนี้​้� รู​ูปแบบการทำำ�งานยั​ังแตกต่​่าง ออกไปจากที่​่�ผู้​้�เขี​ียนเคยทำำ�เป็​็นอย่​่าง มาก การทำำ�งานในโรงพยาบาลไม่​่ เหมื​ือนในโรงเรี​ียนที่​่�จะมี​ีตารางชั​ัดเจน สามารถวางแผนกิ​ิจกรรมล่​่วงหน้​้าได้​้ ในโรงพยาบาล ทุ​ุกอย่​่างไม่​่แน่​่นอน ผู้​้� เขี​ียนไม่​่ทราบว่​่าวั​ันนั้​้�นจะได้​้เจอคนไข้​้ แบบไหน สภาพอารมณ์​์และสภาพ ร่​่างกายเป็​็นอย่​่างไร เราจะได้​้พบคนไข้​้ พร้​้อมกั​ับคนอื่​่�น ๆ ในที​ีม และจะต้​้อง วางแผนกิ​ิจกรรมการบำำ�บั​ัด ณ ขณะนั้​้�น เลย นั​ับว่​่าเป็​็นอี​ีกประสบการณ์​์หนึ่​่�งที่​่� ท้​้าทายและน่​่าประทั​ับใจเป็​็นอย่​่างมาก ปี​ีนี้​้� ผู้​้�เขี​ียนศึ​ึกษาอยู่​่�ชั้​้�นปี​ีที่​่� ๔ ซึ่​่�ง เป็​็นปี​ีสุ​ุดท้​้ายแล้​้วในรั้​้�วมหาวิ​ิทยาลั​ัย สิ่​่�งที่​่�ผู้​้�เขี​ียนต้​้องเตรี​ียมตั​ัวต่​่อไป คื​ือ การ ฝึ​ึกงานในฐานะนั​ักดนตรี​ีบำำ�บัดั นั​ักศึ​ึกษา ดนตรี​ีบำำ�บัดั ทุ​ุกคนจะต้​้องเรี​ียนทั้​้�งหมด ๔ ปี​ีเต็​็ม และฝึ​ึกงานอย่​่างน้​้อย ๑,๒๐๐ ชั่​่�วโมง หรื​ือเป็​็นระยะเวลา ๖-๘ เดื​ือน สถานที่​่�ฝึ​ึกงานก็​็มี​ีให้​้นั​ักศึ​ึกษาเลื​ือก มากมายตามความสนใจ ไม่​่ว่​่าจะเป็​็น โรงพยาบาล โรงเรี​ียน ศู​ูนย์​์บำำ�บัดั ต่​่าง ๆ และคลิ​ินิกิ ดนตรี​ีบำำ�บัดั บางที่​่�อาจจะมี​ี เงิ​ินให้​้เล็​็กน้​้อย หรื​ือมี​ีที่​่�พักั ฟรี​ี ในขณะ ที่​่�บางที่​่�อาจจะไม่​่ให้​้อะไรเลย ส่​่วนตั​ัวผู้​้� เขี​ียนแล้​้ว ผู้​้�เขี​ียนสนใจอยากทำำ�งานใน โรงพยาบาลจิ​ิตเวชเป็​็นพิ​ิเศษ เมื่​่�อเดื​ือน ธั​ันวาคม ๒๕๖๓ ผู้​้�เขี​ียนเริ่​่�มกรอกใบ

สมั​ัครเพื่​่�อสมั​ัครฝึ​ึกงานที่​่�ต่​่าง ๆ ผู้​้� เขี​ียนพบว่​่ามี​ีเรื่​่�องยุ่​่�งยากมากมาย เนื่​่�องจากสถานการณ์​์โควิ​ิด-๑๙ โรง พยาบาลหลายแห่​่งไม่​่รั​ับสมั​ัครเด็​็ก ฝึ​ึกงานจนถึ​ึงปี​ี ๒๕๖๕ นอกจากนี้​้� ยั​ังมี​ีนักั ศึ​ึกษาดนตรี​ีบำำ�บัดั มากมายที่​่� เรี​ียนจบเมื่​่�อปี​ีการศึ​ึกษา ๒๕๖๓ ที่​่� รอฝึ​ึกงานในปี​ี ๒๕๖๔ นี้​้� ทำำ�ให้​้การ แข่​่งขั​ันสู​ูงมากกว่​่าทุ​ุก ๆ ปี​ี นั​ักศึ​ึกษา ส่​่วนมากพุ่​่�งเป้​้าไปที่​่�โรงพยาบาล เพราะ จะได้​้ทำำ�งานกั​ับคนไข้​้หลากหลายและ ท้​้าทาย ผู้​้�เขี​ียนเองก็​็เป็​็นหนึ่​่�งในนั้​้�น การยื่​่�นใบสมั​ัครและสอบสั​ัมภาษณ์​์ ก็​็ไม่​่ง่​่ายเช่​่นกั​ัน ผู้​้�สมั​ัครต้​้องเตรี​ียม เพลงและกิ​ิจกรรมให้​้หลากหลายและ ครอบคลุ​ุมผู้​้�ป่​่วยหลากหลายกลุ่​่�ม ในบรรดาทุ​ุกที่​่�ที่​่�ผู้​้�เขี​ียนสมั​ัครไป ผู้​้� เขี​ียนอยากทำำ�งานที่​่� Tallahassee Memorial Healthcare (TMH) มากที่​่�สุ​ุด เพราะเป็​็นโรงพยาบาลที่​่� มี​ีชื่​่�อเสี​ียงในรั​ัฐฟลอริ​ิดา และยั​ังเป็​็น โรงเรี​ียนแพทย์​์อี​ีกด้​้วย ไม่​่นานหลั​ัง จากผู้​้�เขี​ียนได้​้สัมั ภาษณ์​์ผ่า่ น Zoom กั​ับหั​ัวหน้​้าสาขาดนตรี​ีบำำ�บั​ัดที่​่�โรง พยาบาล TMH ผู้​้�เขี​ียนก็​็ได้​้รั​ับการ ติ​ิดต่​่อกลั​ับว่​่าผู้​้�เขี​ียนได้​้รั​ับเลื​ือกให้​้ ฝึ​ึกงานกั​ับทางโรงพยาบาล โดยผู้​้� เขี​ียนจะได้​้ฝึ​ึกงานใน Tallahassee Memorial Behavioral Healthcare Center ซึ่​่�งเป็​็นโรงพยาบาลทางด้​้าน จิ​ิตเวชของ TMH นอกเหนื​ือจากการฝึ​ึกงานแล้​้ว อี​ีกสิ่​่�งหนึ่​่�งที่​่�ผู้​้�เขี​ียนจะต้​้องเตรี​ียมตั​ัว ให้​้พร้​้อมหลั​ังจากฝึ​ึกงาน คื​ือ การ สอบ Certification Board for Music Therapists หรื​ือการสอบ ใบประกอบวิ​ิชาชี​ีพนั​ักดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ที่​่�ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เนื่​่�องจาก นั​ักศึ​ึกษาดนตรี​ีบำำ�บั​ัดทุ​ุกคนจะต้​้อง สอบใบประกอบวิ​ิชาชี​ีพให้​้ผ่า่ นจึ​ึงจะ สามารถจบการศึ​ึกษาได้​้ นอกจากนี้​้� นั​ักดนตรี​ีบำำ�บัดั จะไม่​่ได้​้รับั อนุ​ุญาตให้​้ บำำ�บั​ัดผู้​้�ป่​่วย หากไม่​่มี​ีใบประกอบ วิ​ิชาชี​ีพ ดั​ังนั้​้�น การเรี​ียนจบดนตรี​ี

บำำ�บั​ัด ไม่​่ได้​้แปลว่​่าจะสามารถทำำ�งาน ได้​้ทั​ันที​ี หากนั​ักดนตรี​ีบำำ�บั​ัดไม่​่มี​ี ใบประกอบวิ​ิชาชี​ีพ โรงพยาบาล โรงเรี​ียน และคลิ​ินิ​ิกต่​่าง ๆ จะไม่​่ สามารถรั​ับเข้​้าทำำ�งานได้​้ ถึ​ึงแม้​้ผู้​้� เขี​ียนจะยั​ังไม่​่ได้​้สอบ แต่​่ก็​็ได้​้ศึ​ึกษา ข้​้อกำำ�หนดมาพอสมควร ในการสอบ จะเป็​็นข้​้อเขี​ียนทั้​้�งหมด คำำ�ถามก็​็จะ เกี่​่�ยวกั​ับเนื้​้�อหาวิ​ิชาความรู้​้�ต่​่าง ๆ ที่​่�ได้​้เรี​ียนมาในมหาวิ​ิทยาลั​ัย เช่​่น ดนตรี​ีบำำ�บัดั คื​ืออะไร จุ​ุดมุ่​่�งหมายทาง ดนตรี​ีบำำ�บัดั มี​ีอะไรบ้​้าง หรื​ืออาจจะ ได้​้สถานการณ์​์และข้​้อมู​ูลผู้​้�ป่​่วยมาให้​้ เราวิ​ิเคราะห์​์และตอบคำำ�ถามต่​่าง ๆ เป็​็นต้​้น นอกจากนี้​้� ผู้​้�ที่​่�ศึ​ึกษาดนตรี​ี บำำ�บั​ัดในประเทศอื่​่�น ๆ ยั​ังสามารถ สอบใบประกอบวิ​ิชาชี​ีพนั​ักดนตรี​ี บำำ�บั​ัดของประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา เพื่​่�อทำำ�งานในสหรั​ัฐอเมริ​ิกาได้​้อีกี ด้​้วย ซึ่​่�งสามารถอ่​่านข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิมได้​้ที่​่� www.cbmt.org อย่​่างไรก็​็ตาม การเรี​ียนดนตรี​ี บำำ�บั​ัดในประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกาของผู้​้� เขี​ียนอาจมี​ีอุปุ สรรคมากมาย ซึ่​่�งนั่​่�น ก็​็ทำำ�ให้​้ผู้​้�เขี​ียนได้​้เรี​ียนรู้​้�และเติ​ิบโตขึ้​้�น จากประสบการณ์​์ในครั้​้�งนี้​้� ถึ​ึงแม้​้ว่า่ ผู้​้�เขี​ียนกำำ�ลั​ังจะสำำ�เร็​็จการศึ​ึกษา หลั​ักสู​ูตรปริ​ิญญาตรี​ี สาขาดนตรี​ี บำำ�บั​ัด ในเร็​็ววั​ันนี้​้� แต่​่นี่​่�เป็​็นเพี​ียง ก้​้าวแรกและก้​้าวเล็​็ก ๆ เท่​่านั้​้�นใน ฐานะนั​ักดนตรี​ีบำำ�บัดั ผู้​้�เขี​ียนคาดหวั​ัง ว่​่าสถานการณ์​์โควิ​ิด-๑๙ จะดี​ีขึ้​้�น เพื่​่�อที่​่�ผู้​้�เขี​ียนจะได้​้ศึ​ึกษาต่​่อและหา ประสบการณ์​์ด้า้ นดนตรี​ีบำำ�บัดั มากขึ้​้�น ทั้​้�งในประเทศไทยและต่​่างประเทศ สุ​ุดท้​้ายนี้​้� ผู้​้�เขี​ียนหวั​ังเป็​็นอย่​่าง ยิ่​่�งว่​่า เรื่​่�องราวที่​่�ผู้​้�เขี​ียนได้​้ถ่า่ ยทอด ผ่​่านบทความทั้​้�ง ๓ ตอน จะทำำ�ให้​้ ผู้​้�อ่​่านได้​้รั​ับความเพลิ​ิดเพลิ​ิน ได้​้ ความรู้​้� และได้​้รั​ับแรงบั​ันดาลใจใน การศึ​ึกษาต่​่อทางด้​้านดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ไม่​่มากก็​็น้​้อย

71


72


73


74


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.