Music Journal March 2021

Page 1


PENINSULA MOMENTS At The Peninsula Bangkok, world-class hospitality enriched with compelling Thai cultural experiences creates perfect memorable moments.



Volume 26 No. 7 March 2021

สวั​ัสดี​ีผู้​้�อ่​่านทุ​ุกท่​่าน เมื่​่�อเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ที่​่�ผ่า่ นมา มี​ีเรื่​่�อง น่​่ายิ​ินดี​ีสำำ�หรั​ับประเทศไทยและวิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล เนื่​่�องจาก อาจารย์​์ ดร.ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ คณบดี​ี วิ​ิทยาลั​ัย ได้​้รั​ับเลื​ือกให้​้รั​ับรางวั​ัล The Charles Ives Awards สาขาการประพั​ันธ์​์ เพลง (Charles Ives Fellowship) ซึ่ง่� รางวั​ัลนี้​้�คั​ัดเลื​ือกจากศิ​ิลปิ​ินทั่​่�วโลกกว่​่า ๗๐ สาขา และเป็​็นครั้​้�งแรกที่​่�คนไทยได้​้รับั รางวั​ัล นี้​้� ตั้​้�งแต่​่มี​ีการก่​่อตั้​้�งรางวั​ัลมา ๑๒๓ ปี​ี ติ​ิดตามรายละเอี​ียดเกี่​่�ยวกั​ับรางวั​ัลได้​้ใน เรื่​่�องจากปก บทความด้​้านดนตรี​ีศึกึ ษาฉบั​ับนี้​้� นำำ� เสนอเรื่​่�องราวเกี่​่�ยวกั​ับการฝึ​ึกงานของ นั​ักศึ​ึกษาปริ​ิญญาตรี​ี สาขาดนตรี​ีศึ​ึกษา ที่​่�วิ​ิทยาลั​ัย

เจ้าของ

ฝ่​่ายภาพ

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คนึงนิจ ทองใบอ่อน

บรรณาธิ​ิการบริ​ิหาร ดวงฤทัย โพคะรัตน์ศิริ

จรูญ กะการดี นรเศรษฐ์ รังหอม

หัวหน้ากองบรรณาธิการ

พิสูจน์อักษรและรูปเล่ม

ธั​ัญญวรรณ รั​ัตนภพ

ธัญญวรรณ รัตนภพ

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

เว็บมาสเตอร์

ภรณ์ทิพย์ สายพานทอง

Kyle Fyr

ฝ่ายศิลป์

ผู้​้�อ่​่านที่​่�สนใจว่​่าดนตรี​ีส่​่งผลกระทบ กั​ับอารมณ์​์ของผู้​้�คนอย่​่างไร ติ​ิดตามได้​้ใน บทความด้​้านดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ด้​้านดนตรี​ีวิ​ิทยา นำำ�เสนอเบื้​้�องหลั​ัง บทประพั​ันธ์​์ไวโอลิ​ินโซนาตา บทที่​่� ๙ ของเบโธเฟน ที่​่�ประพั​ันธ์​์ให้​้แก่​่ George Bridgetower นั​ักแต่​่งเพลงและนั​ักไวโอลิ​ิน เชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน สำำ�หรั​ับผู้​้�อ่​่านที่​่�สนใจอยากไปศึ​ึกษา ต่​่อด้​้านดนตรี​ีบำำ�บั​ัดในระดั​ับปริ​ิญญาตรี​ี ที่​่�ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา พลิ​ิกไปอ่​่าน ประสบการณ์​์การไปศึ​ึกษาต่​่อได้​้ในคอลั​ัมน์​์ Study Abroad นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีบทความสาระความรู้​้� ด้​้านดนตรี​ีต่​่าง ๆ อี​ีกเช่​่นเคย ดวงฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิริ​ิ ิ

สำำ�นั​ักงาน

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (วารสารเพลงดนตรี) ๒๕/๒๕ ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๒๕-๓๔ ต่​่อ ๓๒๐๕ โทรสาร ๐ ๒๘๐๐ ๒๕๓๐ musicmujournal@gmail.com

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ส�ำหรับข้อเขียนที่ได้รับการ พิจารณา กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะปรับปรุงเพื่อความเหมาะสม โดยรักษาหลักการและแนวคิดของผู้เขียนแต่ละท่านไว้ ข้อเขียน และบทความที่ตีพิมพ์ ถือเป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ขอรับผิดชอบบทความนั้น


สารบั ญ Contents Music Literature

Cover Story

04

วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ กั​ับรางวั​ัลระดั​ับนานาชาติ​ิ ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen)

Music Entertainment

06

“เรื่​่�องเล่​่าเบาสมองสนองปั​ัญญา” เพลงไทยสากล-เนื้​้�อร้​้องจาก วรรณคดี​ี (ตอนที่​่� ๘) หลายหลากวรรณคดี​ีไทย ๐๒ กิ​ิตติ​ิ ศรี​ีเปารยะ (Kitti Sripaurya)

Musicology

24

A Brief Summary of Chapter 11 from Johann Sebastian Bach: The Learned Musician, by Christoph Wolff Juliana Yap (จู​ูเลี​ียนา แยป) Duangruthai Pokaratsiri (ดวงฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิริ​ิ ิ)

28

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๓: เบื้​้�องหลั​ังความสำำ�เร็​็จของ ‘Kreutzer Sonata’ กั​ับ George Bridgetower นั​ักไวโอลิ​ินผิ​ิวดำำ�ที่​่�ถู​ูกลื​ืม กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart)

Music Education

32

การฝึ​ึกประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพครู​ูดนตรี​ี ของนั​ักศึ​ึกษาสาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin)

Music Therapy

36

How Does Music Affect People’s Emotions? Achareeya Fukiat (อั​ัจฉรี​ียา ฟู​ูเกี​ียรติ​ิ)

40

เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก จากบทเพลงปลู​ูกฝั​ังคติ​ิเด็​็กดี​ี สู่​่�การเป็​็นเครื่​่�องมื​ือต่​่อสู้​้� ทางการเมื​ืองของเด็​็กยุ​ุคปั​ัจจุ​ุบั​ัน จิ​ิตร์​์ กาวี​ี (Jit Gavee)

Study Abroad

50

การเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�น ปริ​ิญญาตรี​ี ในประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา (ตอนที่​่� ๑) ปริ​ิญธร ป่​่านแก้​้ว (Parintorn Pankaew)


COVER STORY

วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ กั​ับรางวั​ัลระดั​ับนานาชาติ​ิ เรื่​่�อง: ณรงค์​์ ปรางค์​์เจริ​ิญ (Narong Prangcharoen) คณบดี​ีวิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒๒ กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๒๕๖๔ สถาบั​ัน American Academy of Arts and Letters ได้​้ประกาศรางวั​ัล ผู้​้�ชนะรางวั​ัลต่​่าง ๆ ของสถาบั​ัน ซึ่​่�ง ประกอบด้​้วย นั​ักประพั​ันธ์​์เพลงใน สาขาที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ครั้​้�งนี้​้�เป็​็นครั้​้�ง แรกที่​่�คนไทยได้​้รั​ับรางวั​ัล Charles Ives Fellowship จาก American Academy of Arts and Letters ซึ่​่�งการเข้​้าร่​่วมแข่​่งขั​ันในรายการนี้​้� เป็​็นการเชิ​ิญเข้​้าแข่​่งขั​ัน โดยผู้​้�ได้​้รั​ับ การเสนอชื่​่�อต้​้องมี​ีประวั​ัติที่​่�ิ โดดเด่​่น มี​ีการทำำ�งานอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั ในแวดวงดนตรี​ีและการประพั​ันธ์​์เพลง เปรี​ียบเสมื​ือนการเข้​้าแข่​่งกี​ีฬาต่​่าง ๆ ต้​้องมี​ีการเก็​็บสะสมคะแนนจนได้​้ คะแนนที่​่�มากพอจะได้​้รับั เชิ​ิญให้​้เข้​้า ร่​่วมประกวด สถาบั​ัน American Academy of Arts and Letters ได้​้เริ่​่�มตั้​้�งขึ้​้�นตั้​้�งแต่​่ปี​ี พ.ศ. ๒๔๔๑ (ค.ศ. ๑๘๙๘) และเป็​็นสถาบั​ันที่​่� ช่​่วยส่​่งเสริ​ิมด้​้านศิ​ิลปะทุ​ุกสาขาวิ​ิชา ไม่​่ว่​่าจะเป็​็น ดนตรี​ี จิ​ิตรกรรม สถาปั​ัตยกรรม และอื่​่�น ๆ จึ​ึงเป็​็น สถาบั​ันที่​่�มี​ีความสำำ�คั​ัญอย่​่างมากใน ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา

04

การได้​้รับั รางวั​ัลนี้​้�มี​ีความสำำ�คั​ัญ ยิ่​่�งในแง่​่การแสดงจุ​ุดยื​ืนของนั​ัก ประพั​ันธ์​์เพลงในประเทศไทย เพราะ เป็​็นการแสดงว่​่าเราสามารถอยู่​่�ใน ระดั​ับนานาชาติ​ิได้​้อย่​่างภาคภู​ูมิ​ิ และเป็​็นจุ​ุดเริ่​่�มต้​้นเพื่​่�อจะพั​ัฒนา สร้​้างสรรค์​์งานในด้​้านนี้​้�ต่​่อไป เมื่​่�อ ได้​้รั​ับรางวั​ัลแล้​้ว ไม่​่ใช่​่แค่​่การแสดง ความยิ​ินดี​ี แต่​่การได้​้รั​ับรางวั​ัล ต้​้องมาพร้​้อมการวางแผนใน การพั​ัฒนาคนอื่​่�น ๆ ในสั​ังคม เพื่​่�อให้​้ก้า้ วเข้​้าสู่​่�การแข่​่งขั​ันใน ระดั​ับนานาชาติ​ิได้​้ในอนาคต อั​ันใกล้​้ การสื่​่�อสารให้​้ สั​ั ง คมได้​้ รั​ั บ รู้​้�เป็​็ น วง กว้​้าง เป็​็นการสร้​้าง จุ​ุดมุ่​่�งหมายให้​้น้​้อง ๆ ที่​่�มี​ี ค วามสามารถได้​้ ตั้​้�งเป้​้าให้​้ตั​ัวเองต่​่อไป ซึ่​่�ง ความพยายามนี้​้�ได้​้ก่​่อตั​ัว ตั้​้�งแต่​่ปี​ี พ.ศ. ๒๕๔๘ เมื่​่�อมี​ี การจั​ัดเทศกาลการประพั​ันธ์​์ เพลงนานาชาติ​ิในประเทศไทย เทศกาลนี้​้�ยั​ังคงอยู่​่�จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน ได้​้สร้​้างการรั​ับรู้​้�แก่​่สั​ังคมในด้​้าน การประพั​ันธ์​์เพลง และสร้​้างนั​ัก

ประพั​ันธ์​์เพลงในประเทศไทยเพิ่​่�มขึ้​้�น จนมี​ีหลาย ๆ คนได้​้รับั รางวั​ัลต่​่าง ๆ ในระดั​ับชาติ​ิและนานาชาติ​ิด้ว้ ยเช่​่น กั​ัน ซึ่​่�งในอนาคตก็​็มี​ีความหวั​ังว่​่า


การขึ้​้�นอั​ันดั​ับ Top 100 เป็​็นรางวั​ัลที่ช่​่� ว่ ย ให้​้คนที่​่พ� ยายามสร้​้าง งานได้​้มี​ีโอกาสชื่​่น� ชม ผลงานที่​่�สร้​้างมา

จะสร้​้างกองทั​ัพนั​ักแต่​่งเพลง นั​ัก ประพั​ันธ์​์เพลงของไทยที่​่�มี​ีโอกาสไป ต่​่อสู้​้�เพื่​่�อสร้​้างงานในระดั​ับนานาชาติ​ิ และสร้​้างประโยชน์​์ให้​้แก่​่ประเทศได้​้ ไม่​่มากก็​็น้​้อย นอกเหนื​ือจากความภู​ูมิใิ จในด้​้าน รางวั​ัลที่​่�ได้​้รั​ับมาแล้​้ว อี​ีกเรื่​่�องหนึ่​่�ง ที่​่�น่​่าดี​ีใจมาก ๆ คื​ือ การที่​่�วิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ได้​้รั​ับการประเมิ​ินจากสถาบั​ัน QS University Ranking by Subject ให้​้ติ​ิดในสถาบั​ันอั​ันดั​ับ Top 100 ในการประเมิ​ิน ซึ่​่�งเป็​็นการสร้​้าง ชื่​่�อเสี​ียงให้​้แก่​่แวดวงการศึ​ึกษาของ ประเทศเป็​็นอย่​่างมาก การขึ้​้�นอั​ันดั​ับ Top 100 เป็​็นรางวั​ัลที่​่�ช่​่วยให้​้คนที่​่� พยายามสร้​้างงานได้​้มีโี อกาสชื่​่�นชม ผลงานที่​่�สร้​้างมา ความพยายามที่​่� จะขั​ับเคลื่​่�อนให้​้แวดวงดนตรี​ีก้า้ วขึ้​้�น ไปสู่​่�ระดั​ับสากล ความสำำ�เร็​็จในครั้​้�งนี้​้� ไม่​่ใช่​่ความสำำ�เร็​็จจากการส่​่งเอกสาร เข้​้าไปเพื่​่�อรั​ับการประเมิ​ิน แต่​่เป็​็นการ ตรวจสอบโดยแบบสอบถาม ซึ่ง่� ทำำ�ให้​้ เห็​็นว่​่าสถาบั​ันต้​้องมี​ีความร่​่วมมื​ือใน

ระดั​ับนานาชาติ​ิอย่​่างแท้​้จริ​ิง จึ​ึงจะ ทำำ�ให้​้ต่า่ งชาติ​ิรู้​้�จักั เราและให้​้คะแนน แก่​่เรา ไม่​่ใช่​่แค่​่การสร้​้างความรู้​้�จั​ัก แต่​่เป็​็นการสร้​้างความร่​่วมมื​ืออย่​่าง จริ​ิงจั​ัง ไม่​่ใช่​่แค่​่ทำำ� MOU บนกระดาษ แต่​่ไม่​่มีกิี จิ กรรมในการทำำ�งานร่​่วมกั​ัน วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหิ​ิดล ได้​้สร้​้างความร่​่วมมื​ืออย่​่าง จริ​ิงจั​ัง รวมไปถึ​ึงความร่​่วมมื​ือด้​้าน Benchmark กั​ับสถาบั​ันการศึ​ึกษาใน ต่​่างประเทศอี​ีกด้​้วย วิ​ิทยาลั​ัยได้​้เข้​้า ร่​่วมกลุ่​่�มที่​่�ชื่​่�อว่​่า IBE (International Benchmarking Exercise) ตั้​้�งแต่​่ ปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่​่�งเป็​็นความ เปลี่​่�ยนแปลงอย่​่างมากของสถาบั​ัน เพราะต้​้องเปิ​ิดเผยข้​้อมู​ูลในแง่​่มุ​ุม ต่​่าง ๆ ของการบริ​ิหารจั​ัดการ เพื่​่�อ เปรี​ียบเที​ียบกั​ับคู่​่�เที​ียบอย่​่างใกล้​้ชิดิ ทำำ�ให้​้สถาบั​ันต่​่าง ๆ ในต่​่างประเทศ ได้​้รู้​้�จักั วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ในเชิ​ิงลึ​ึก สองเรื่​่�องที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นภายในไตรมาส แรกของปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็​็นเรื่​่�อง ที่​่�น่​่ายิ​ินดี​ีและสอดคล้​้อง เพราะ ทั้​้�งสองเรื่​่�องคื​ือการยื​ืนยั​ันทางด้​้าน

คุ​ุณภาพของวิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ไม่​่ว่​่าจะเป็​็น การที่​่�ผู้​้�บริ​ิหารได้​้รั​ับรางวั​ัลในระดั​ับ นานาชาติ​ิ หรื​ือทางสถาบั​ันได้​้รั​ับ การประเมิ​ินอยู่​่�ในอั​ันดั​ับ Top 100 ก็​็ตาม เป็​็นการยื​ืนยั​ันว่​่า วิ​ิทยาลั​ัย ให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับคุ​ุณภาพของการ ศึ​ึกษาและสร้​้างคนมาก โดยมุ่​่�งหมาย ว่​่าจะพั​ัฒนาศั​ักยภาพของคนเพื่​่�อ สร้​้างโอกาสในการแข่​่งขั​ันในระดั​ับ นานาชาติ​ิ เราจะไม่​่ใช่​่แค่​่เป็​็นภู​ูเขา เพราะมี​ีสถานที่​่�ที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่อี​ีกต่​่อไป หากแต่​่พวกเราทุ​ุกคนร่​่วมแรงร่​่วมใจ ช่​่วยกั​ันพิ​ิชิติ ยอดเขา พั​ัฒนาวิ​ิทยาลั​ัย ของเราให้​้มีมี าตรฐานในระดั​ับที่​่�สู​ูงขึ้​้�น สู่​่�การเป็​็น Top 50 ต่​่อไป

05


MUSIC ENTERTAINMENT

“เรื่​่�องเล่​่าเบาสมองสนองปั​ัญญา”

เพลงไทยสากล-เนื้​้�อร้​้องจาก วรรณคดี​ี (ตอนที่​่� ๘) หลายหลากวรรณคดี​ีไทย ๐๒ เรื่อง: กิตติ ศรีเปารยะ (Kitti Sripaurya) อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาดนตรีสมัยนิยม วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

“เรื่​่�อยเรื่​่�อยมาเรี​ียงเรี​ียง นกบิ​ินเฉี​ียงไปทั้​้�งหมู่​่� ตั​ัวเดี​ียวมาพลั​ัดคู่​่� เหมื​ือนพี่​่�อยู่​่�เพี​ียงเอกา” นี่​่�คื​ือ ๒ วรรคแรกของเพลงไทยสากลยอดนิ​ิยมจากอดี​ีตจนปั​ัจจุ​ุบั​ัน (เริ่​่�มออกเผยแพร่​่ พ.ศ. ๒๔๙๘ ขั​ับร้​้อง บั​ันทึ​ึกเสี​ียงโดย นริ​ิศ อารี​ีย์​์ ตามมาด้​้วย ธานิ​ินทร์​์ อิ​ินทรเทพ สุ​ุเทพ วงศ์​์กำำ�แหง (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) แจ้​้ ดนุ​ุพล แก้​้วกาญจน์​์ แห่​่งวงแกรนด์​์เอ็​็กซ์​์ เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๕๒๗ ศรั​ัณย่​่า ส่​่งเสริ​ิมสวั​ัสดิ์​์� - อั​ัลบั้​้�มดาวร้​้อย เดื​ือน พ.ศ. ๒๕๔๐ และอี​ีกหลายศิ​ิลปิ​ิน) เพลงนี้​้�คื​ือ “เหมื​ือนไม่​่เคย” (https://www.youtube.com/ watch?v=USZMaiaclx0) เป็​็นผลงานของครู​ูชาลี​ี อิ​ินทรวิ​ิจิ​ิตร (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ร่​่วมกั​ับครู​ูประสิ​ิทธิ์​์� พยอมยงค์​์ (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ที่​่�มาของเพลงนี้​้� ครู​ูชาลี​ีฯ ได้​้แรงบั​ันดาลใจมาจากบทชมนกในกาพย์​์เห่​่ เรื​ือของเจ้​้าฟ้​้าธรรมาธิ​ิเบศร์​์ (กุ้​้�ง) กวี​ีเอกสมั​ัยสมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวบรมโกศสมั​ัยอยุ​ุธยา ดั​ังที่​่�ตั​ัดทอน มาตามตั​ัวอย่​่างต่​่อไปนี้​้� ...เรื่​่�อยเรื่​่�อยมารอนรอน ทิ​ิพากรจะตกต่ำำ�� สนธยาจะใกล้​้ค่ำำ�� คำำ�นึ​ึงหน้​้าเจ้​้าตราตรู​ู เรื่​่�อยเรื่​่�อยมาเรี​ียงเรี​ียง นกบิ​ินเฉี​ียงไปทั้​้�งหมู่​่� ตั​ัวเดี​ียวมาพลั​ัดคู่​่� เหมื​ือนพี่​่�อยู่​่�ผู้​้�เดี​ียวดาย... (ข้​้อมู​ูลจากเว็​็บไซต์​์ จั​ับเข่​่าเล่​่าประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ ๒๓ มกราคม ๒๐๑๖) กลายมาเป็นเนื้อเพลง “เหมือนไม่เคย” ดังปรากฏในกรอบตารางต่อไปนี้ 06


๑) เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู่ ๒) ร่ําร่ําใจรอนรอน อกสะท้อนอ่อนใจข้า ตัวเดียวมาไร้คู่ เหมือนพี่อยู่เพียงเอกา ดวงใจไยหนีหน้า โถแก้วตามาหมางเมิน ๓) รู้ไหมใครช้ําเท่า เหมือนพี่เศร้าเจ้าห่างเหิน เคยแนบแอบอกเพลิน กลับหมางเมิน เหมือนไม่เคย

๔) แจ้วแจ้วจํานรรจา ยกดินฟ้ามาอ้างเอ่ย แรมรามาละเลย เหมือนไม่เคยเลยหรือไร

ผู้​้�เขี​ียนบทความนี้​้� ถอดแนวทำำ�นองจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับบั​ันทึ​ึกบนแผ่​่นครั่​่�งดั​ังภาพ

นำำ�มาบั​ันทึ​ึกเป็​็นโน้​้ตสากล โดย Sibelius music notation program พร้​้อมแนว chord progression ตามหลั​ักการดนตรี​ีสากล ปรากฏผลดั​ังภาพต่​่อไปนี้​้�

07


ประสิ​ิทธิ์​์� พยอมยงค์​์

ชาลี​ี อิ​ินทรวิ​ิจิ​ิตร

นริ​ิศ อารี​ีย์​์

รู​ูปแบบเพลงเป็​็นแบบ song form - AABA (1-2-3-4) มี​ี ๔ ท่​่อน ท่​่อนละ ๘ ห้​้อง กลุ่​่�มเสี​ียงที่​่�ครู​ูประสิ​ิทธิ์​์� พยอมยงค์​์ รั​ังสรรค์​์ขึ้​้�นเป็​็นทำำ�นองเพลง เมื่​่�อจั​ัดระเบี​ียบตามหลั​ักการดนตรี​ีสากล พบว่​่ามี​ีเพี​ียง ๕ เสี​ียง คื​ือ Ab, Bb, C, Eb, F นั่​่�นคื​ือแนวทำำ�นองเพลงนี้​้�บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน Ab major pentatonic scale ประโยคเพลงเรี​ียบง่​่าย จั​ัดเรี​ียงลำำ�ดั​ับได้​้อย่​่างลงตั​ัว ดั​ังตั​ัวอย่​่างต่​่อไปนี้​้�

เพลงนีจ้ งึ เป็นทีต่ ดิ หูผฟู้ งั โดยไม่ยาก เรียกได้วา่ ทัง้ ท�ำนองและค�ำร้องคล้องจองเป็นกิง่ ทองใบหยกกันเลยทีเดียว ๒. ศกุนตลา (https://www.youtube.com/watch?v=dRIKgzEREd0) “ศกุนตลา” เป็นชือ่ นางในวรรณคดี จากบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ ทีม่ าของเพลงนี้ Facebook “พร่าง เพชรในเกร็ดเพลง ๑๔ พฤษภาคม ๒๐๑๙” บันทึกโดย @wanwang45 พรรณนาไว้ว่า เพลง “ศกุนตลา” ขับร้องโดย เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ค�ำร้อง “ทวีปวร” ท�ำนอง เอื้อ สุนทรสนาน บันทึกเสียง ครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๐๗ คุ​ุณทวี​ีป วรดิ​ิลก หรื​ือ “ทวี​ีปวร” เขี​ียนเล่​่าถึ​ึงเพลงนี้​้�ว่​่า เมื่​่อ� ปี​ี ๒๕๐๗ เกิ​ิดไนต์​์คลั​ับใหม่​่ชื่​่อ� “ศกุ​ุนตลา” คุ​ุณสุ​ุวัฒ ั น์​์ วรดิ​ิลก (พี่​่�ชาย) ขอให้​้คุ​ุณทวี​ีปแต่​่งคำำ�ร้​้องเพลง “ศกุ​ุนตลา” เพื่​่�อนำำ�ไปให้​้ครู​ูเอื้​้�อช่​่วยใส่​่ทำำ�นอง คุ​ุณเพ็​็ญศรี​ี จะขั​ับร้​้องเพลงนี้​้�เพื่​่�อโปรโมตไนต์​์คลั​ับใหม่​่ คุ​ุณทวี​ีปแต่​่งคำำ�ร้​้องเพลงนี้​้�ในลั​ักษณะชมโฉมผู้​้�หญิ​ิงด้​้วยสำำ�นวนกวี​ีที่​่� แหวกแนว เช่​่น “น้ำำ��ค้​้างค้​้างกลี​ีบกุ​ุหลาบอ่​่อน คื​ือเนตรบั​ังอรหยาดหวาน” หรื​ืออี​ีกวรรค “คลื่​่�นสมุ​ุทรสุ​ุดฤทั​ัย ไหวปวง คื​ือทรวงนางสะท้​้อนถอนใจ” “ทวี​ีปวร” ประพั​ันธ์​์คำำ�ร้​้องสอดคล้​้องกั​ับทำำ�นองของครู​ูเอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน ดั​ังปรากฏในกรอบตารางต่​่อไปนี้​้�

08


๑) ศกุนตลา นางฟ้าแมกฟ้าฤาไฉน เดินดินนางเดียวเปลี่ยวใจ นางไม้แนบไม้มิได้ปาน

๒) น้ําค้างค้างกลีบกุหลาบอ่อน คือเนตรบังอรหยาดหวาน โอษฐ์อิ่มพริ้มรัตน์ชัชวาล เพลิงบุญอรุณกาลผ่านทรวง

๓) ศกุนตลา นางฟ้าแมกฟ้าจากสรวง คลื่นสมุทรสุดฤทัยไหวปวง คือทรวงนางสะท้อนถอนใจ

๔) ยอดมณีศรีศิลป์ปิ่นสรรค์ หล่อหลอมจอมขวัญผ่องใส คือแก้วแพร้วพร่างกระจ่างใจ อาบไออมฤตนิตย์นิรันดร์

โน้​้ตสากลจากการทำำ� transcription บั​ันทึ​ึกด้​้วย Sibelius music notation program ปรากฏดั​ังภาพต่​่อไปนี้​้�

09


ฟอร์​์มเพลงเป็​็นแบบ ๔ ท่​่อน ท่​่อนแรกแนวทำำ�นองเหมื​ือนกั​ับท่​่อน ๓ ท่​่อน ๒ ลี​ีลาต่​่างจากท่​่อน ๔ โดย รวมเป็​็นลั​ักษณะของ ABAC (1-2-3-4) ตามหลั​ักการของดนตรี​ีสากล ลี​ีลาทำำ�นองของทั้​้�งเพลงบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน บั​ันไดเสี​ียง D major แต่​่มี​ีการผสม D mixolydian mode แทรกไว้​้อย่​่างแนบเนี​ียน ดั​ังตั​ัวอย่​่าง

เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน

เพ็​็ญศรี​ี พุ่​่�มชู​ูศรี​ี

๓. ไก่​่ฟ้​้า (https://www.youtube.com/watch?v=n9pOVfSDeVM) เพลงนี้​้�ต้​้นฉบั​ับขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงโดย ชาญ เย็​็นแข เมื่​่�อ พ.ศ. ๒๔๙๗ (เสี​ียงคมชั​ัดมาก) ผู้​้�ฟั​ังทั่​่�วไปรู้​้�จั​ัก เพลงนี้​้�จากการขั​ับร้​้องของ อดิ​ิเรก จั​ันทร์​์เรื​ือง ชริ​ินทร์​์ นั​ันทนาคร (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) และ ธานิ​ินทร์​์ อิ​ินทรเทพ ต่​่อมายั​ังมี​ีการนำำ�มาขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงโดยนั​ักร้​้องยุ​ุค ๒๕๓๐ เช่​่น ต้​้อม เรนโบว์​์ ฯลฯ “ไก่​่ฟ้​้า” เป็​็นผลงาน ประพั​ันธ์​์ของครู​ูไสล ไกรเลิ​ิศ ทำำ�นองดั​ัดแปลงจากเพลงไทย “ลาวจ้​้อย ๒ ชั้​้�น” ด้​้านเนื้​้�อหาของเพลง ครู​ูไสลฯ ได้​้ แรงบั​ันดาลใจมาจากวรรณกรรม “ลิ​ิลิติ พระลอ” ตอนที่​่�ปู่​่�เจ้​้าสมิ​ิงพรายได้​้ส่​่งไก่​่ที่​่�มีลัี กั ษณะงดงามเพื่​่อ� ไปหลอกล่​่อ พระลอให้​้มาสู่​่สำ� ำ�นักั ของพระเพื่​่อ� นพระแพงที่​่�เมื​ืองสรอง (อ้​้างอิ​ิงจาก https://www.bloggang.com/viewdiary. php?id=pantiwa&month=04-2006&date=10&group=3&gblog=4) เนื้​้�อร้​้องของเพลง “ไก่​่ฟ้า้ ” จากต้​้นฉบั​ับ ขั​ับร้​้องโดย ชาญ เย็​็นแข ปรากฏในกรอบตารางต่​่อไปนี้​้�

10

๑) ไก่ฟ้าเอย โสภิณ ข้อยได้ยินสมนามว่าเจ้างามจริงหนอ หลอกให้พระลอ รักจนก่อลําเค็ญ ติดตามยากเย็นเพราะเป็นด้วยมนต์สุดา

๒) ไก่ฟ้าเอย โสภิณ ข้อยได้ยินสมนามว่าเจ้างามหนักหนา โอ้เจ้าขวัญตา สวยสง่าไฉน ข้อยสู้ตามไปถึงดงแดนไพรซอกซอน

๓) โศกเอยบ่เคยพบเจ้า ข้อยหลงแต่เงา ข้อยเฝ้าเป็นทุกข์อาวรณ์ คิดไปใจข้อยสะท้อน ร้าวรอนมิวายอาวรณ์หวั่นใจ

๔) ไก่ฟ้าเอย โสภิณ ข้อยได้ยินสมนามว่าเจ้างามไฉน โอ้เจ้าขวัญใจ ขอจงได้กู่ขาน ข้อยทรมานหลงตามมานานเจ้าเอย


แนวทำำ�นองของเพลงไก่​่ฟ้า้ ที่​่�ผ่​่านการทำำ� transcription และขบวนการ chord progression ตามหลั​ักการ ทางดนตรี​ีสากล ผลปรากฏดั​ังภาพต่​่อไปนี้​้�

ชั​ัดเจนว่​่า ฟอร์​์มเพลงนี้​้�เป็​็น AABA (1-2-3-4) แบ่​่งเป็​็น ๔ ท่​่อน ท่​่อนละ ๘, ๘, ๗ และ ๘ ห้​้องตาม ลำำ�ดั​ับ เมื่​่�อจั​ัดระเบี​ียบกลุ่​่�มของเสี​ียงที่​่�เรี​ียงร้​้อยกั​ันเป็​็นแนวทำำ�นองตามหลั​ักการดนตรี​ีสากล พบว่​่าทั้​้�งเพลงบั​ันทึ​ึก อยู่​่�บน F major pentatonic scale

11


ไสล ไกรเลิ​ิศ

ชาญ เย็​็นแข

๔. กระท่​่อมรจนา (https://www.youtube.com/watch?v=txg6lIrbfgU) ครู​ูสมาน กาญจนะผลิ​ิน (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ดั​ัดแปลงทำำ�นองจากเพลงไทย “เขมรพวง ๓ ชั้​้�น” คำำ�ร้​้องโดย เกษม ชื่​่�นประดิ​ิษฐ์​์ ขั​ับร้​้องต้​้นฉบั​ับโดย นริ​ิศ อารี​ีย์​์ ร่​่วมกั​ับ พู​ูลศรี​ี เจริ​ิญพงษ์​์ เนื้​้�อเพลงบรรยายถึ​ึงหนุ่​่�มสาว “ข้​้าวใหม่​่ปลามั​ัน” เพิ่​่�งออกเรื​ือนมาใช้​้ชีวิี ติ ร่​่วมกั​ัน ในที่​่�นี้​้�คื​ือ เจ้​้าเงาะกั​ับนางรจนา ตามท้​้องเรื่​่�อง “สั​ังข์​์ทอง” งาน วรรณกรรมอมตะชิ้​้�นหนึ่​่�งของไทย เนื้​้�อหาโดยรวมเป็​็นแนวที่​่�ฝรั่​่�งเรี​ียกกั​ันว่​่า happy ending บ้​้านเราอาจเรี​ียกได้​้ว่า่ “ต้​้นร้​้ายปลายดี​ี” วรรณกรรมแนวนี้​้�มี​ีกันั แทบทุ​ุกถิ่​่�นที่​่�ในโลกนี้​้� บางคนกล่​่าวหางานประพั​ันธ์​์แนวนี้​้�ว่​่าเป็​็น “น้ำำ��เน่​่า” ๑)(ช) เราอยู่กระท่อมปลายนา ๒)(ช) โถขวัญตาพี่เห็นน้ําใจ ๓)(ช) เจ้าไม่อายหรือยอดชีวา (ญ) ต้องอายใครไหนเล่า (ญ) จะอยู่แห่งไหนให้เรา ครองรักวิวาห์หอห้อง พี่จ๋า ใครว่าเรา รักมั่น มีนวลน้องเป็นคู่ชีวา (ช) พีต่ ่ําช้าโฉดเขลา (ช) ย่อมเป็นสวรรค์วิไล (ญ) ดูดดื่มใจถึงจนแค่ไหน ถึงกลัวน้องเจ้าระอา (ญ) ถึงแม้นใครเย้ยเรา น้องไม่ว่า (ญ) ใคร ๆ เห็นเป็นเงาะป่า หรือไรช่างเขา น้องก็บูชา ช่างใคร อิจฉาเป็นไร ๔)(ช) มีรจนาเป็นมิ่งขวัญชีวา ๕)(ช) มาหอมกันหน่อยนะ ถึงแม้พี่เหนื่อยกลับมา (ญ) คอยเดี๋ยวเป็นไร (ช) พี่ต้องขาดใจทันที เห็นหน้าก็ชื่นใจ (ญ) มารยาจริง ๆ (ญ) มาออเซาะ (ช) จริง ๆ คนดี หวังจะปะเหลาะอะไร (ญ) ลองตายดูซิ ไหนลองเอ่ยวาจา (ช) พี่เหนื่อยจากไร่กลับมา (ช) จะดียังไง โอ้รจนาเนื้ออุ่น แม่คุณ (ญ) รําคาญกวนใจ (ญ) ไยมารําคาญ เห็นใจเถอะแก้วตา (ญ) ตามใจมานาน (ญ) ออดจะเอาสิ่งใด (ช) นานทีเป็นไร (ช) ขอเพียงให้หอมปราง (ญ) อายใจจะตาย กานดา (ช) อายใครคนดี (ญ) อุ๊ยเจอหน้าแล้วเป็น (ญ) เอ้าเร็วเข้าซิ ไม่ได้ (ช) ใจดีกระไร

๖)(ญ) อายจังน้องกลัวใครจ้อง (ช) ใครอยากมอง ใครอยากจ้องก็ช่างใคร (ญ) วาจาล้วนเอาแต่ได้ (ช) อย่าเอ็ดไปชื่นใจอีกนิด ทรามเชย

๗)(ญ) ตายจริงน้องลืมแกงคั่ว มัวอุ่นไฟ (ช) คงไหม้แล้ว อย่าห่วงเลย (ญ) มัวเพลินน้ําคําพี่เอ่ย (ช) เลยอดเลย ชวดเชยได้ลิ้มแกงคั่ว (ช+ญ) มัวพลอดกันจนลืมตัว เดี๋ยวเดียวแกงคั่วไหม้หมดเลย

12


โน้​้ตสากลที่​่�แกะมาจากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับ มี​ี ๒ หน้​้า เนื่​่�องจากแนวทำำ�นองเพลงเดิ​ินหน้​้าจากต้​้นจนจบ ไม่​่มี​ี การย้​้อนซ้ำำ��แต่​่อย่​่างใด

13


ท่​่อนเพลงแบ่​่งออกเป็​็น ๗ ท่​่อน โดยพิ​ิจารณาจากประโยคเพลงและจุ​ุดพั​ักเพลง (cadence) กลุ่​่�มเสี​ียง ทั้​้�งหมดที่​่�เรี​ียงร้​้อยกั​ันเป็​็นทำำ�นอง เมื่​่�อนำำ�มาจั​ัดเรี​ียงแบบบั​ันไดเสี​ียงของดนตรี​ีสากล พบว่​่าบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บน G major scale อย่​่างไรก็​็ตาม ช่​่วง ๔ ห้​้องท้​้าย ครู​ูสมานฯ จั​ัดแนวทำำ�นองให้​้เสี​ียงประสานเป็​็นไปตามหลั​ักการ ของดนตรี​ียุ​ุคสมั​ัยนิ​ิยม คื​ือ แนวทางคอร์​์ดเป็​็นแบบ 1-6-2-5-1 (I-vi-ii-V7-I) หรื​ือกระชั​ับเป็​็น 2-5-1 อั​ัน เป็​็นที่​่�คุ้​้�นเคยกั​ัน ดั​ังตั​ัวอย่​่างตามภาพ 14


สมาน กาญจนะผลิ​ิน

เกษม ชื่​่�นประดิ​ิษฐ์​์

พู​ูลศรี​ี เจริ​ิญพงษ์​์

๕. ศรี​ีมาลา (https://www.youtube.com/watch?v=ytktpxRUKkI) ความเป็นมาของเพลงนี้ เฟซบุก๊ พร่างเพชรในเกร็ดเพลง ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๐๑๙ บันทึกโดย @wanwang45 ช่วงหนึง่ กล่าวไว้วา่ ...เพลง “ศรีมาลา” ก็เช่นเดียวกัน เป็นเพลงเปิดน�ำภาพยนตร์ทมี่ ี รัตนาภรณ์ อินทรก�ำแหง เป็นผู้แสดงน�ำ และเป็นรัตนาภรณ์เองที่เป็นผู้แนะน�ำเจ้าของหนังให้มาติดต่อกับครูแจ๋ว เพื่อให้แต่งเพลงน�ำและ ท�ำดนตรีไว้เปิดเป็นแบ็กกราวด์ ครูแจ๋วแต่งเพลง “ศรีมาลา” ในจังหวะแมมโบ้ทสี่ นุกสนาน ในท่อนแยกของเพลง จะใช้ดนตรีแบบแตรวงผสมผสานเข้าไปด้วย... เนื้อร้องผลงาน “ครูแจ๋ว” - สง่า อารัมภีร (ศิลปินแห่งชาติ) ปรากฏอยู่ในกรอบตารางต่อไปนี้

๑) งามแท้นงพงา โอ้ศรีมาลายอดหญิงของพี่ ไม่เพียงงามเหมือนเทพเทพี หรือมีจริตอย่างหญิงทั่วไป

๒) แม่งามเพียบพร้อม นอบน้อมและมีน้ําใจ ซื่อตรงรักเดียวเรื่อยไป หาที่ไหนยอดหญิงเช่นนี้

๓) ดนตรีรับ - ออกแนว - “แตรวง” (แบบไทย ๆ) ๔) งามล้ําน้ําใจ ไม่เห็นหญิงใดเทียบแม้ธุลี เจ้างามพิมพ์ซึ้งใจพี่ ศรีมาลาของพี่คนนี้นี่นา

๕) พี่ผิดเจ้าอภัย ด้วยใจล้ําความกรุณา พี่รักรักเธอเท่าฟ้า ศรีมาลายอดหญิงพี่เอย...

“ศรี​ีมาลา” เป็​็นตั​ัวละครสำำ�คั​ัญฝ่​่ายหญิ​ิงคนหนึ่​่�งในวรรณคดี​ี “ขุ​ุนช้​้างขุ​ุนแผน” โดยเฉพาะฉบั​ับหอพระสมุ​ุด วชิ​ิรญาณ ตอนที่​่� ๒๘ “พลายงามได้​้นางศรี​ีมาลา” พบว่​่า เนื้​้�อหาจากคำำ�ร้​้องในกรอบตารางมี​ีความละม้​้ายคล้​้าย กั​ับช่​่วงหนึ่​่�งของวรรณกรรมฉบั​ับดั​ังกล่​่าวที่​่�ได้​้พรรณนาถึ​ึงคุ​ุณสมบั​ัติ​ิของนางศรี​ีมาลาตามที่​่�ตั​ัดทอนมาต่​่อไปนี้​้�

15


คนนี้แลแน่แล้วที่เราฝัน น้องเอ๋ยรูปร่างช่างกะไร ดังพระจันทร์วันเพ็ญเมื่อผ่องผุด สองแก้มแย้มเหมือนจะยั่วเรียม ทั้งจริตกิริยามารยาท อ่อนชะอ้อนเหมือนจะวอนให้ประวิง ดูไหนไม่ขัดแต่สักอย่าง พอแลลอดสอดรับจับนัยน์ตา หญิงอื่นหมื่นแสนที่เคยเห็น

รูปโฉมโนมพรรณหาผิดไม่ ถึงนางในกรุงศรีไม่มีเทียม บริสุทธิ์โอภาสสะอาดเอี่ยม งามเสงี่ยมราศีผู้ดีจริง ก็ฉลาดไว้วางอย่างผู้หญิง จะยิ้มพรายก็พริ้งยิ่งเพราตา นี่คู่สร้างของเรากระมังหนา ดังว่าเจ้าจะตัดเอาหัททัย ก็หาจับใจเป็นเช่นนี้ไม่

ผู้​้�ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงคนแรก ได้​้แก่​่ สุ​ุเทพ วงศ์​์กำำ�แหง (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ส่​่วนโน้​้ตสากลที่​่�ผ่​่านการทำำ� transcription พร้​้อมวางแนว chord progression ตามหลั​ักการทางดนตรี​ีสากลโดยผู้​้�เขี​ียนฯ บั​ันทึ​ึกไว้​้ดังั ต่​่อไปนี้​้�

16


ลั​ักษณะทำำ�นองเพลงนี้​้�แบ่​่งออกเป็​็น ๒ ท่​่อน ความยาวท่​่อนละ ๘ ห้​้อง ตรงกั​ับฟอร์​์ม AB (1-2 และ 4-5) ส่​่วนท่​่อน ๓ ความยาว ๑๐ ห้​้อง เป็​็นดนตรี​ีรั​ับออกแนว “แตรวง” กลุ่​่�มเสี​ียงที่​่�ครู​ูแจ๋​๋ว - สง่​่าฯ ใช้​้ในการ สร้​้างทำำ�นองเพลงนี้​้�มี​ีเพี​ียง ๕ เสี​ียง คื​ือ F, G, A, C, D จึ​ึงเป็​็นที่​่�ยื​ืนยั​ันว่​่า เพลงนี้​้�บั​ันทึ​ึกอยู่​่�บนบั​ันไดเสี​ียง F major pentatonic

สง่า อารัมภีร

สุ​ุเทพ วงศ์​์กำำ�แหง

๖. มั​ัทรี​ีร้​้องไห้​้ (https://www.youtube.com/watch?v=I8Kbi0CAAjM) เพลงนี้​้� ครู​ูเอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน สร้​้างทำำ�นองโดยดั​ัดแปลงจากเพลงเศร้​้าขนานแท้​้และดั้​้�งเดิ​ิมของไทย “ธรณี​ี กรรแสง” คำำ�ร้​้องเป็​็นของ ชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ (ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ) ขั​ับร้​้องบั​ันทึ​ึกเสี​ียงครั้​้�งแรกโดย บุ​ุษยา รั​ังสี​ี (นั​ักร้​้องหญิ​ิงในตำำ�นานคนหนึ่​่�งแห่​่งวงดนตรี​ีสุนุ ทราภรณ์​์) จากชื่​่�อเพลง หลายคนพากั​ันเชื่​่�อว่​่า เนื้​้�อหาน่​่าจะเกี่​่�ยวข้​้อง กั​ับวรรณกรรม “มหาเวสสั​ันดรชาดก” แต่​่ข้​้อเขี​ียนในเว็​็บบ้​้านคนรั​ักสุ​ุนทราภรณ์​์ กล่​่าวถึ​ึงเพลงนี้​้�ไว้​้ว่​่า ...เพลง “มั​ัทรีร้ี ้องไห้​้” ขั​ับร้​้องโดย บุ​ุษยา รั​ังสี​ี คำำ�ร้​้อง ชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ ทำำ�นอง เอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน โดยดั​ัดแปลงทำำ�นอง จากเพลงไทยเดิ​ิม “ธรณี​ีกรรแสง” ฟั​ังชื่​่�อเพลงคล้​้าย ๆ เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับวรรณกรรมเก่​่าแก่​่ “มหาเวสสั​ันดรชาดก” แต่​่คุ​ุณจารุ​ุลินทร์ ิ ์ มุ​ุสิ​ิกพงษ์​์ ผู้ค้� ร่ำ���หวอดในวงการวิ​ิทยุ​ุและเพลง เล่​่าว่​่า เพลง “มั​ัทรี​ีร้​้องไห้​้” เป็​็นเพลงประกอบ ละครวิ​ิทยุขุ องคณะโฆษณาสาร ในความควบคุ​ุมของครู​ูสมพงษ์​์ ทิ​ิพย์​์กลิ่​่�น เรื่​่อ� งและบทโดย ครู​ูชอุ่​่ม� ปั​ัญจพรรค์​์ นางเอกในละครเรื่​่�องนั้​้�นชื่​่�อมั​ัทรี​ี เพลง “มั​ัทรีร้ี ้องไห้​้” เป็​็นเพลงแนวเหงา เศร้​้า ตามชื่​่�อเพลง คำำ�ร้​้องของเพลง เป็​็นคำ�รำ��พั ำ นั ของหญิ​ิงสาวที่​่�ผิ​ิดหวั​ังในความรั​ัก โดดเด่​่นที่​่�ดึ​ึงเอาธรรมชาติ​ิรอบกายมาร่​่วมในความเศร้​้าโศกของ เธอด้​้วย...

17


คำำ�ร้​้องของเพลง “มั​ัทรี​ีร้​้องไห้​้” สำำ�เนาจากเว็​็บบ้​้านคนรั​ักสุ​ุนทราภรณ์​์ ปรากฏในกรอบตารางต่​่อไปนี้​้� ๑) ยามเย็นจวนค่ํา ตะวันต่ํา อกฉ่ําน้ําตา ๒) เขาไม่รัก เราก็รู้ ยังชื่นชู หวังชื่นชม นองใจ มัทรีครวญคร่ํา อาลัย อกใครไม่มี กรรมใดนะเรา จึงเศร้าหทัย เหมือนเลย เฝ้าคิดหมายชู้ชายชื่นเชย กรรมใดนะให้ ดวงใจขื่นขม ๓) ฝากใจดินฟ้าสายลม ชักพาคู่ชม ให้ฉัน ช่วยนําชักรักมาโดยพลัน สวมรักมั่นเป็นสร้อยสวมใจ ๔) มัทรีร้องไห้ ไม่สร่างเลย อกเอยแต่เช้า จนเย็น น้ําค้างพรมพร่ํา ฉ่ําเย็น ดั่งเป็น น้ําตาอาลัย โอ้ดินฟ้านั้นคงเศร้าใจ

๕) ฟ้าฉ่ําร้อง เสียงระงม ฉันยิ่งตรม ใจยิ่งครวญ ดินจะคงหลงชม งมรักเรื่อยไป เราจะคงร้องไห้ อาลัยกําศรวล

๖) ตราบสิ้นดินฟ้าจันทร์นวล มิสิ้นรัญจวน ใจสวาท โอ้ตะวันลับลาพาอนาถ เหมือนรักขาดนิราศหัวใจ

โน้​้ตไทยของเดิ​ิม บั​ันทึ​ึกในระบบ ด-ร-ม-ฟ ผู้​้�เขี​ียนฯ แปลงเป็​็นโน้​้ตสากลเพื่​่�อเปรี​ียบเที​ียบ ดั​ังนี้​้� ธรณีกรรแสง (๒ ชั้น) ท่อน ๑ (- ล - ซ - ดํ - ซ ท่อน ๒ - รํ รํ รํ ----ด-ฟ ----

18

-ฟ-ร - ล - ดํ ดํ มํ รํ ดํ -ฟ-ซ -ซ-ล ---ล

---ฟ รํ มํ รํ ดํ -ลลล - ล - ดํ ดํ รํ ดํ ลํ -ลลล

---ซ -ท-ล ซฟซล -ล-ซ -ซ-ฟ -ล-ล

------- รํ รํ รํ --ลซ - - - ดํ

-ฟ-ซ ---ล ดํ มํ รํ ดํ ฟร-ฟ ---ฟ

ล ซ ดํ ล -ลลล -ลลล ---ซ --ลซ

- ล - ล) -ล-ล ซฟซล ฟลซฟ ฟซ-ล


โน้​้ตสากลเพลง “มั​ัทรี​ีร้อ้ งไห้​้” ที่​่�ผ่​่านการทำำ� transcription จากไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับและปรั​ับแต่​่งแนว chord progression โดยผู้​้�เขี​ียนบทความนี้​้� แสดงดั​ังภาพต่​่อไปนี้​้�

จากโน้ตเพลงดังกล่าวเป็นที่กระจ่างชัดว่า แนวท�ำนองเพลงนี้จัดอยู่ในรูปแบบของเพลง ๓ ท่อน (ABC) 1-2-3 / 4-5-6 ส่วนกลุ่มตัวโน้ตที่ประกอบกันขึ้นเป็นท�ำนองเพลง เมื่อจัดเรียงตามหลักการบันไดเสียงของ ดนตรีสากล ปรากฏว่าเข้าลักษณะของ C dorian mode 19


บุ​ุษยา รั​ังสี​ี (วั​ัยสาว)

๗. อาญาสองใจ (วั​ันทอง) (https://www.youtube.com/watch?v=WjhxcvMzFFM) วรรณกรรม “ขุ​ุนช้​้างขุ​ุนแผน” เป็​็นที่​่�นิ​ิยมในหมู่​่�ชนชาวไทยสื​ืบเนื่​่�องกั​ันมาช้​้านาน แม้​้ว่า่ ยุ​ุคปั​ัจจุ​ุบันั กระแสอาจ แผ่​่วลงบ้​้างด้​้วยโลกาแห่​่งดิ​ิจิทัิ ลั ออนไลน์​์ที่​่�แพร่​่หลายเข้​้าถึ​ึงผู้​้�คนให้​้เลื​ือกเสพได้​้ง่า่ ยแค่​่ปลายนิ้​้�วมื​ือกดปุ่​่�ม “วั​ันทอง หญิ​ิงสองใจ” วลี​ีนี้​้�ยังั เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั กั​ันอยู่​่� ๒๐ กว่​่าปี​ีที่​่�แล้​้ว ศิ​ิลปิ​ิน “สี​ีเผื​ือก-คนด่​่านเกวี​ียน” สร้​้างงานเพลง “วั​ันทอง” (https://www.youtube.com/watch?v=VKVo8T8pv5I) ออกเผยแพร่​่เป็​็นที่​่�นิ​ิยมกั​ันอย่​่างกว้​้างขวาง ด้​้วยลี​ีลาดนตรี​ีที่​่�เร้​้าใจชวนให้​้ติดิ ตาม “ดา เอ็​็นโดรฟิ​ิน” ศิ​ิลปิ​ินหญิ​ิงระดั​ับแถวหน้​้าของปั​ัจจุ​ุบันั ขั​ับร้​้องเพลง “วั​ันทอง” (https://www.one31.net/news/detail/28367) ประกอบละครโทรทั​ัศน์​์เรื่​่�องเดี​ียวกั​ันกั​ับชื่​่�อเพลง กำำ�ลั​ัง ออกอากาศทางช่​่อง one31 อยู่​่�ขณะนี้​้� (มี​ีนาคม ๒๕๖๔) ผู้​้�เขี​ียนฯ ขอนำำ�เพลงไทยสากลร่​่วมสมั​ัยปั​ัจจุ​ุบันั ที่​่�สร้​้างสรรค์​์ขึ้​้�นจากวลี​ี “วั​ันทองหญิ​ิงสองใจ” ฉบั​ับขั​ับร้​้องโดย “มิ​ินตรา น่​่านเจ้​้า” ประพั​ันธ์​์โดยผู้​้�ขั​ับร้​้องเองในนาม “มิ​ินตรา ธุ​ุระยศ” ชื่​่�อเพลงว่​่า “อาญาสองใจ (วั​ันทอง)” ซึ่​่�งร่​่วมยุ​ุคสมั​ัยกั​ับเพลง “วั​ันทอง” ที่​่�ขั​ับร้​้องโดย “ดา เอ็​็นโดรฟิ​ิน” ๒ เพลงนี้​้� แนวดนตรี​ี-ลี​ีลาทำำ�นองและวิ​ิธีกี าร ขั​ับร้​้องจะต่​่างออกไปจากเพลงไทยสากลยุ​ุคก่​่อนช่​่วงปี​ี พ.ศ. ๒๕๓๐ ซึ่ง่� จะได้​้เล่​่าสู่​่�กั​ันฟั​ังในช่​่วงต่​่อไป ในกรอบ ตารางต่​่อไปนี้​้�เป็​็นเนื้​้�อร้​้องของเพลงดั​ังกล่​่าว ๑) หยุดประณามฉัน ว่าวันทองสองใจเสียที ๒) หนึ่งใจก็รัก ขุนแผนพี่คือที่หนึ่ง ขุนช้างก็ซึ้ง คอยดูแลไม่เคยจากไป ตกที่นั่งนี้ ใครจะรู้ถ้าไม่ลองเป็นฉัน อุบายก่อนนั้น เคยฉุดรั้งยื้อฉันเอาไว้ ลําบากแค่ไหน ที่ต้องเลือกต้องทําแบบนั้น ขุนแผนก็แสนหลายใจ เคียงข้างกายมีใคร ไม่เลือกก็โดนลงทัณฑ์ ต้องโทษประหาร หลายคน อาญาสองใจ ๓) เคยมองเห็นคุณค่ากันบ้างไหม เคยนึกถึง ๔) ไม่ได้สองใจ เจ็บแค่ไหนคําคนประณาม เบื่อกับคําถาม ที่วนเวียนว่าจะเลือกใคร หัวใจฉันบ้างไหม ยื้อแย่งกันไป ฉุดกายฉัน ยอมให้ประหาร ดีกว่าตอกย้ําให้มันปวดใจ เหมือนไม่ใช่คน เป็นหญิงแค่ใคร่อุ่นอิงหนึ่งรัก ไม่ขอเลือกใครได้ไหม ปล่อยให้ฉันตาย ยากนักไม่ได้ดั่งใจสักหน สูญเสียความเป็น คงจบบทรัก ตัวตน ต้องทนอีกนานเท่าไร ลงทัณฑ์ฆ่าฉันให้ตาย จะได้จบรักสามเส้า สักที

20


เนื้​้�อเพลงพรรณนาให้​้เข้​้าใจนางวั​ันทองที่​่�โดนตราหน้​้าว่​่าเป็​็นหญิ​ิงชั่​่�ว ประพฤติ​ิตั​ัวไม่​่เข้​้าสเปกกุ​ุลสตรี​ีไทย โดยให้​้รายละเอี​ียดว่​่า ทำำ�ไมนางต้​้องเป็​็นอย่​่างนี้​้� อย่​่างนั้​้�น และอย่​่างโน้​้น ตามที่​่�ถู​ูกกล่​่าวหาต่​่าง ๆ นานา ว่​่ากั​ัน แบบไทย ๆ ง่​่าย ๆ ก็​็คื​ือ นางวั​ันทอง “ดวงไม่​่ดี​ี” เพลงนี้​้�แบ่​่งออกเป็​็น ๔ ท่​่อน แถมท่​่อนปิ​ิดท้​้ายก่​่อนลงจบอี​ีก ๒ วรรค เมื่​่�อประกอบเข้​้ากั​ับแนวทำำ�นองที่​่�ผู้​้�เขี​ียนฯ ทำำ� transcription และวาง chord progression ตามหลั​ัก การทางทฤษฎี​ีดนตรี​ีสากล ปรากฏตามภาพต่​่อไปนี้​้�

21


ฟอร์​์มเพลงเป็​็นแบบ ๔ ท่​่อนยอดนิ​ิยม AABA หรื​ือ song form ไฟล์​์เสี​ียงต้​้นฉบั​ับบั​ันทึ​ึกอยู่​่�บนบั​ันไดเสี​ียง Db major ใช้​้กลุ่​่�มเสี​ียงเพี​ียง ๖ ตั​ัว

ผู้​้�เรี​ียบเรี​ียงประสานเพลงนี้​้�ใช้​้ลี​ีลาร่​่วมยุ​ุคสมั​ัยกั​ับดนตรี​ีป๊​๊อปปู​ูลาร์​์ของโลก (กลุ่​่�ม pop rock) ในการสร้​้าง งาน เพื่​่�อยื​ืนยั​ันการกล่​่าวนี้​้� ขอให้​้ท่า่ นค้​้นหาเพลงสากลช่​่วงไม่​่เกิ​ิน ๑๐ ปี​ีก่อ่ นปั​ัจจุ​ุบันั จาก YouTube ที่​่�ใช้​้อัตั รา ความเร็​็วใกล้​้เคี​ียงกั​ันมาลองฟั​ังดู​ู ก็​็จะประจั​ักษ์​์ดังั ว่​่า ส่​่วนวิ​ิธีกี ารขั​ับร้​้องออกเสี​ียงก็​็ได้​้รับั อิ​ิทธิ​ิพลมาจากเพลงต่​่าง ประเทศเช่​่นกั​ัน ทำำ�ให้​้หลายคนฟั​ังแล้​้วไม่​่ค่อ่ ยสบอารมณ์​์ โดยเฉพาะเหล่​่าผู้​้�อาวุ​ุโส ที่​่�หาว่​่าขั​ับร้​้องออกเสี​ียงไม่​่ชัดั ละเลยคำำ�ควบกล้ำำ�� ขาดการเอื้​้�อนเสี​ียง ออกสำำ�เนี​ียงเป็​็นแบบฝรั่​่�งมั​ังค่​่าไปโน่​่น สำำ�หรั​ับตั​ัวผู้​้�เขี​ียนฯ เอง เห็​็นว่​่า เหล่​่านี้​้�เป็​็นเรื่​่�องปกติ​ิของเพลงป๊​๊อปปู​ูลาร์​์ ที่​่�ต้​้องปรั​ับเปลี่​่�ยนไปตามกระแสของโลก ซึ่​่�งที่​่�จริ​ิงเพลงไทยสากลของ เราก็​็สำำ�เนาเอาสำำ�เนี​ียงเขามาแต่​่แรกเริ่​่�มแล้​้ว เพี​ียงแต่​่มาดั​ัดแปลงเสี​ียบ้​้างให้​้เข้​้ากั​ับวั​ัฒนธรรมไทย ด้​้านทำำ�นอง เพลงก็​็ร่​่วมยุ​ุคร่​่วมสมั​ัย เพื่​่�อความชั​ัดเจน โปรดดู​ูจากตั​ัวอย่​่างต่​่อไปนี้​้� วลี​ีเพลงในกรอบเหลี่​่�ยมจะไม่​่พบในเพลง ไทยสากลช่​่วงก่​่อนปี​ี พ.ศ. ๒๕๓๐

ผู้​้�เขี​ียนขอยกตั​ัวอย่​่างเพลงไทยสากลมาตรฐานที่​่�อยู่​่�นานผ่​่านมาและจะยั​ังคงอยู่​่�ต่​่อไป มาเป็​็นตั​ัวอย่​่างเพื่​่�อชี้​้� ให้​้เห็​็นความแตกต่​่างในการขั​ับร้​้องของเมื่​่�อก่​่อนกั​ับทุ​ุกวั​ันนี้​้�

มิ​ินตรา น่​่านเจ้​้า

22


ก่​่อนจบบทความ “เบาสมองสนองปั​ัญญา” ตอนนี้​้� ขอแถมเรื่​่�องน่​่ารู้​้�เกี่​่�ยวกั​ับ “การหมดอายุ​ุของลิ​ิขสิ​ิทธิ์�”์ พระราชบั​ัญญั​ัติ​ิลิ​ิขสิทิ ธิ์​์� พ.ศ. ๒๕๓๗ ตามมาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ ผู้​้�สร้​้างสรรค์​์เป็​็นบุ​ุคคลธรรมดา ลิ​ิขสิ​ิทธิ์​์�หมดอายุ​ุ ๑. เมื่​่�อพ้​้น ๕๐ ปี​ี นั​ับแต่​่ผู้​้�สร้​้างสรรค์​์ถึ​ึงแก่​่ความตาย ๒. ถ้​้ามี​ีผู้​้�สร้​้างสรรค์​์ร่​่วม ๒.๑ เมื่​่�อพ้​้น ๕๐ ปี​ี นั​ับแต่​่ผู้​้�สร้​้างสรรค์​์ร่​่วมคนสุ​ุดท้​้ายถึ​ึงแก่​่ความตาย หรื​ือ ๒.๒ เมื่​่�อพ้​้น ๕๐ ปี​ี นั​ับแต่​่ได้​้โฆษณางานนั้​้�นเป็​็นครั้​้�งแรก ในกรณี​ีที่​่�ไม่​่เคยโฆษณางานนั้​้�นเลยก่​่อนที่​่�ผู้​้� สร้​้างสรรค์​์ร่​่วมคนสุ​ุดท้​้ายถึ​ึงแก่​่ความตาย ผู้​้�สร้​้างสรรค์​์เป็​็นนิ​ิติ​ิบุ​ุคคล (รู้​้�และหรื​ือไม่​่รู้​้�ตัวั สร้​้างสรรค์​์) ลิ​ิขสิ​ิทธิ์​์�หมดอายุ​ุ ๑. เมื่​่�อพ้​้น ๕๐ ปี​ี นั​ับแต่​่ได้​้สร้​้างสรรค์​์งานนั้​้�นขึ้​้�น ๒. แต่​่ถ้​้าได้​้โฆษณางานนั้​้�นในระหว่​่าง ๕๐ ปี​ีข้​้างต้​้น เมื่​่�อพ้​้น ๕๐ ปี​ี นั​ับแต่​่ได้​้โฆษณางานนั้​้�นเป็​็นครั้​้�งแรก ขอบคุ​ุณท่​่านผู้​้�อ่​่าน และสำำ�คั​ัญสุ​ุด ๆ “ขอบคุ​ุณทุ​ุกข้​้อมู​ูลประกอบบทความที่​่�ผู้​้�เขี​ียนฯ สื​ืบค้​้นจาก Google” สวั​ัสดี​ีครั​ับ

23


MUSICOLOGY

A Brief Summary of Chapter 11 from Johann Sebastian Bach: The Learned Musician, by Christoph Wolff Story: Juliana Yap (จู​ูเลี​ียนา แยป) Adjunct professor of music Washington & Jefferson College, United States Duangruthai Pokaratsiri (ดวงฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิ​ิริ​ิ) Fulltime lecturer, Musicology department College of Music, Mahidol University

Christoph Wolff’s Johann Sebastian Bach: The Learned Musician, published in 2000, is one of the most scholarly and astute biographies of the famous composer that we have to date. Not only does Wolff shed new light on long held beliefs and conceptions about Bach’s music, but he delves into the mysteries surrounding Bach’s personal and domestic life as much as possible given the scarcity of material available. In fact, many of Wolff’s observations are based on inferences and deductions made after investigating indirect sources. One such chapter of the book that spends less time with Bach’s music and focuses to a much greater extent on his personal life is Chapter 11, entitled “A Singing Bird and Carnations for the Lady of the House; Domestic and Professional Life”. The life experience of Bach and his family on the upper floors of the St. Thomas School in Leipzig is investigated in this chapter and will be recounted in brief in the pages to follow. In 1772, Johann Nicolaus Forkel (1749-1818), one of Bach’s first serious biographers, interviewed

24

Johann Sebastian Bach: The Learned Musician, by Christoph Wolff. one of the great composer’s most famous and musically successful sons, Carl Philip Emanuel (1714-

1788), in preparation for his biography. Among the questions asked of C.P.E. Bach was one


St. Thomas School in Leipzig. about the reason behind the relative absence of material regarding Bach’s domestic and personal life. The answer Forkel received was that with so many people constantly passing through the Bach family living quarters everyday- relatives, employees, students, fellow musicians- the household was a virtual “pigeonry”. Bach simply did not have time for writing correspondence (one of the main sources for scholars in determining a composer’s personal thoughts and ideas) other than for professional purposes. Despite Bach’s regular employment of personal secretaries, such as his nephew, Johann Elias Bach (1705-55), sending personal notes and letters to friends and family was a luxury he did not have time for, as is evidenced by the extraordinarily busy schedule he maintained while Cantor of St. Thomas’s Church in Leipzig. In

fact, one is left to wonder how he managed to create such a prodigious output of new compositions and continue his activities as an inspector and advisor for newly build or restored instruments while working sixteen-hour days on a regular basis. By today’s standards, Bach appears to have possessed an almost super-human level of energy, and his second wife, Anna Magdalena Bach (1701-1760), was no less endowed with resources than her husband. The primary source materials for the nature of Bach’s relationship with his wife are the two Clavier books that he wrote for her in 1722 and 1725. They are today referred to as The Notebooks for Anna Magdalena Bach, and their contents display the affectionate nature of the couple’s marriage: for example, one might look at the aria, “Wellst du dein Herz mir schenden, so fang es Heimlich

an” (If you want to give me your heart, you must begin so in secret). These books were written for Anna Magdalena’s instruction and enjoyment, as well as for her to use in the instruction of their children, of which they had 13 (!). Bach, himself, was so busy that instructing his own children in the rudiments of keyboard playing was a luxury he could not afford. During their time together Anna Magdalena filled many roles: companion, professional partner, assistant, keyboard student, copyist, music critic, and mother to an ever-increasing brood of children. Between Bach’s two wives Maria Barbara (1684-1720), his first wife, died before he became Cantor of Leipzig - he fathered a total of twenty children and ten survived to reach adulthood. Reports on his relationship with his children, especially his sons, vary somewhat. Wilhem

25


Johann Nicolaus Forkel, one of Bach’s first serious biographers. Friedemann Bach (1710-1784), the first surviving son, claimed that his father favored him above all the other children and constantly praised him for his exceptional musical talent and keyboard abilities. These claims seem to be the bragging of a man who later in life never really lived up to his potential but was always interested in soliciting the attention of others. There is probably some measure of truth to Wilhelm Friedemann’s words, but the real nature of their father/son relationship will remain a mystery in the absence of any other testimony. What does seem to be clear is that Bach gave each of his sons a rigorously thorough education in music once they had progressed beyond the point where their mother could instruct them. In all likelihood, Bach was an exacting taskmaster who would not accept mediocrity in the preparation of his sons for careers of their own. This is evidenced by the exceptional abilities as keyboard performers that each of his musical sons was renowned for and the great degree of success that they regularly met

26

with upon auditioning for various musical positions. Another indication of Bach’s relationship with his children is the great lengths he would go to in order to help his sons procure employment. He used his own tremendous musical stature to help them get auditions and, in at least one case, even went so far as to write a letter of inquiry to a church and forge his son’s name at the bottom! Among the more exact information that we possess about Bach’s domestic life is in

Leipzig is the layout and nature of the relatively spacious apartment occupied by the family in the upper floors of the St. Thomas School. Due to the fact that the school was pulled down in 1902, accurate drawings by master builder, George Werner, made during Bach’s tenure at Leipzig, provide the most reliable, extant information about the appearance of the family living quarters. We also know that extensive renovations were done to the building in 1731-32, and that these renovations were so significant that the Bach family actually had to relocate during the construction and move back in during the month of April, 1732. Drafts of the apartment before and after renovation show the physical surroundings of Bach’s everyday existence, and accurate depictions of the furniture, cubic footage, number and placement of windows, and outside views afforded from those windows can easily be gleaned from the drafts as well. As was to be expected, much of the household life of the Bach family was governed by the rhythm of the school. Most days began at around 5 or 6 A.M. and ended at around 9. P.M., provided that Bach actually curtailed his activities at that hour, which seems unlikely.

Anna Magdalena Bach (1701-1760), J.S. Bach’s second wife.


The Notebooks for Anna Magdalena Bach (autograph) Daily singing exercises, private vocal and instrumental lessons, academic lecture periods, monthly turns as school inspector, musical duties for St. Thomas’s Church, and compositional activities kept Bach busy during most hours of the day. Additional obligations included funeral and wedding services and the directorship of the Collegium Musicum of Leipzig. Bach also usually had an apprentice in residence that required his instruction and gave keyboard lessons to professional or wealthy aristocratic students. Lastly, Bach cultivated an intense interest in the maintenance, construction, and continued development of instruments during his stay in Leipzig. Throughout his life he was viewed as one of Europe’s foremost experts on organ construction and his advice was constantly sought after by churches and organ builders. His own estate contained a significant number of instruments, including many harpsichords that were either used in his professional activities or rented to students

or other musical institutions on a monthly basis. The tuning and maintenance of his own instruments were of the utmost importance to Bach, and for example, he always insisted on replacing the quills on his harpsichords since no one else could perform the job to his satisfaction. In terms of instrument development, Bach played roles in the early construction of the lute-clavier, the fortepiano, and the viola-pomposa. The lute-clavier was a smaller version of the traditional harpsichord but with gut strings and a softer sound; in 1735 Bach also inspected one of Gottfried Silbermann’s (1683-1753) early attempts at improving upon the instrument initially developed by Bartolomeo Cristofori (16551732) and made suggestions that led to Silbermann’s much superior fortepiano of the late 1740’s; and the viola-pomposa appears to be a modification of already existing prototypes of the violoncello-piccolo. Once again, one is left to wonder where Bach found the time for these activities,

and the issue of why he died with so little in the way of personal information left behind becomes easier to understand. As stated in the introduction, the amount of extant material that more or less directly provides insight into the nature of Bach’s personal and domestic life is sorely lacking, but as Wolff has demonstrated, the close examination of documents, scores, interviews, and contracts, among other things, can allow us to construct a picture of Bach as a human being as well as one of the most profoundly influential musicians in the history of Western Art Music. One conclusion that may be drawn from Chapter 11 of Wolff’s book is that Bach must have been a relatively genial person to work with much of the time or else he would not have been able to maintain a schedule that involved almost constant contact with fellow professionals, students, instrument builders, church and officials, and an ever-growing family. It would appear that the well-noted incidents in Bach’s life in which he was credited with being quite disagreeable are mollified somewhat by Wolff’s observations.

27


MUSICOLOGY

คี​ีตกวี​ีเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกั​ัน ตอนที่​่� ๓:

เบื้​้�องหลั​ังความสำำ�เร็​็จของ ‘Kreutzer Sonata’ กั​ับ George Bridgetower นั​ักไวโอลิ​ินผิ​ิวดำำ�ที่​่�ถู​ูกลื​ืม เรื่​่�อง: กฤตยา เชื่​่�อมวราศาสตร์​์ (Krittaya Chuamwarasart) นั​ักข่​่าวอิ​ิสระ

บรรดานั​ักฟั​ังที่​่�ชื่​่�นชอบผลงาน ของเบโธเฟน คงไม่​่มี​ีใครไม่​่รู้​้�จั​ัก ‘Kreutzer Sonata’ หรื​ือ Violin Sonata No. 9, Op. 47 in A Major เพราะนั่​่�นเป็​็นผลงานประพั​ันธ์​์อันั โดด เด่​่น ที่​่�เน้​้นความสามารถของทั้​้�งนั​ัก ไวโอลิ​ินและนั​ักเปี​ียโนผู้​้�บรรเลงเพลง นี้​้�ได้​้อย่​่างไม่​่ต้​้องสงสั​ัย แต่​่เมื่​่�อได้​้ลองหาข้​้อมู​ูลเพิ่​่�มเติ​ิม กลั​ับพบว่​่า แท้​้ที่​่�จริ​ิงแล้​้ว เบโธเฟน เคย ‘อุ​ุทิ​ิศ’ งานโซนาตาชิ้​้�นงาม ให้​้ แก่​่นั​ักไวโอลิ​ินผิ​ิวดำำ�มาก่​่อน ชื่​่�อของเขา คื​ื อ George Bridgetower (1778-1860) นั​ักแต่​่ง เพลงและนั​ักไวโอลิ​ินเชื้​้�อสายแอฟริ​ิกันั ที่​่�เติ​ิบโตในยุ​ุโรป และก็​็เป็​็นตั​ัวละคร สำำ�คั​ัญในภาพยนตร์​์เรื่​่�อง Immortal Beloved (1994) ซึ่ง่� เบโธเฟนเอง ได้​้บรรยายว่​่า บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ เป็​็น ‘the famous virtuoso from Africa อั​ัจฉริ​ิยภาพทางดนตรี​ีจากแอฟริ​ิกา’ ซึ่ง่� ในความเป็​็นจริ​ิงแล้​้ว พ่​่อของเขา มาจากหมู่​่�เกาะเวสต์​์อินิ ดี​ีส ในทะเล แคริ​ิบเบี​ียน ต่​่างหาก บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ มี​ีชื่​่�อเต็​็ม ๆ ว่​่า George Augustus Polgreen Bridgetower เกิ​ิดเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๑๑ ตุ​ุลาคม ค.ศ. ๑๗๗๘ ที่​่�เมื​ือง Biała Podlaska ทางตะวั​ันออกของ 28

ภาพเหมื​ือนของ George Bridgetower

โปแลนด์​์ พ่​่อของเขามาจากเกาะใน ทะเลแคริ​ิบเบี​ียน ส่​่วนแม่​่เป็​็นชาว เยอรมั​ันผู้​้�รั​ับใช้​้ขุ​ุนนางในโปแลนด์​์ จากนั้​้�นก็​็ย้า้ ยไปทำำ�งานให้​้แก่​่ Prince Esterházy เจ้​้าชายชาวฮั​ังกาเรี​ียน ผู้​้�อุ​ุปถั​ัมภ์​์ Joseph Haydn เด็​็ก ๆ บ้​้านบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ ต่​่างก็​็มี​ีพรสวรรค์​์ทางดนตรี​ี อย่​่าง Friedrich Joseph พี่​่�ชายของจอร์​์จ เป็​็นนั​ักเชลโลในเยอรมั​ัน ขณะที่​่�ตั​ัว จอร์​์จเองเลื​ือกไวโอลิ​ิน และเริ่​่�มออก ทั​ัวร์​์คอนเสิ​ิร์ต์ แสดงไวโอลิ​ินทั่​่�วยุ​ุโรป เมื่​่�ออายุ​ุเพี​ียง ๑๐ ปี​ีเท่​่านั้​้�น และ มี​ีการโฆษณาว่​่า เขาเป็​็น ‘African Prince’ โดยมั​ักจะแต่​่งตั​ัวอย่​่างชาว เติ​ิร์​์ก เพื่​่�อให้​้เข้​้ากั​ับรู​ูปลั​ักษณ์​์ที่​่�ดู​ู

Exotic ของเขา และหนึ่​่�งในหั​ัวเมื​ืองที่​่�เดิ​ินทางไป ทั​ัวร์​์คอนเสิ​ิร์​์ต ก็​็คื​ือ เกาะอั​ังกฤษ ที่​่�นั่​่�น บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ได้​้แสดง ต่​่อหน้​้าพระพั​ักตร์​์ของคิ​ิงจอร์​์จที่​่� ๔ ขณะยั​ังดำำ�รงสถานะเป็​็นเจ้​้าชายแห่​่ง เวลส์​์ พระองค์​์ได้​้อุ​ุปถั​ัมภ์​์และจ่​่าย เงิ​ินให้​้แก่​่บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ เพื่​่�อให้​้เป็​็น ครู​ูสอนนั​ักดนตรี​ีในวงออร์​์เคสตรา ของพระองค์​์ ขณะเดี​ียวกั​ันก็​็จบ การดนตรี​ีจากมหาวิ​ิทยาลั​ัยเคมบริ​ิดจ์​์ ด้​้วยความสามารถและพรสวรรค์​์ ได้​้เปลี่​่�ยนกรุ​ุงลอนดอนให้​้กลายเป็​็น บ้​้านของเขา สถานที่​่�ที่​่�เขาหาเลี้​้�ยงชี​ีพ ด้​้วยการประพั​ันธ์​์เพลง แสดงไวโอลิ​ิน และเป็​็นครู​ูสอนดนตรี​ี แต่​่เมื่​่�อเมื​ืองหลวงของดนตรี​ี คลาสสิ​ิกคื​ือกรุ​ุงเวี​ียนนา นั่​่�นคื​ือ สาเหตุ​ุให้​้บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์หวนคื​ืน ยุ​ุโรปอี​ีกครั้​้�ง เมื่​่�ออายุ​ุได้​้ ๒๕ ปี​ี บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ ก็​็ออกเดิ​ินทางจากกรุ​ุงลอนดอน มุ่​่�ง หน้​้าสู่​่�มหานครเวี​ียนนา ช่​่วงเดื​ือน เมษายน ค.ศ. ๑๘๐๓ พร้​้อมกั​ับ จดหมายแนะนำำ�และจดหมายรั​ับรอง ที่​่�เขี​ียนขึ้​้�นโดยสมาชิ​ิกในแวดวงชั้​้�นสู​ูง และผู้​้�อุ​ุปถั​ัมภ์​์รายใหญ่​่ ๆ อาทิ​ิ Count Lichnowsky, Count Dietrichstein รวมถึ​ึงนั​ักไวโอลิ​ินชื่​่�อดั​ังอย่​่าง Ignaz


ภาพวาดที่​่�ชื่​่�อว่​่า The Kreutzer Sonata โดย René François Xavier Prinet

Schuppanzigh ก็​็รับั รองให้​้เขาด้​้วย แน่​่นอนว่​่าข้​้อความการั​ันตี​ีฝีมืี อื เหล่​่านี้​้�กลายเป็​็นใบผ่​่านทางชั้​้�นดี​ีให้​้ บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ได้​้พบกั​ับเบโธเฟน ทั้​้�งคู่​่�เข้​้าขาและได้​้ร่​่วมงานกั​ัน อย่​่างรวดเร็​็ว เบโธเฟนพอใจกั​ับ ความสามารถทางดนตรี​ีของบริ​ิดจ์​์ ทาวเวอร์​์ ทั้​้�งยั​ังมอบส้​้อมเสี​ียงให้​้ แก่​่เขา และมี​ีส่​่วนให้​้เขาเริ่​่�มงาน Akademie คอนเสิ​ิร์ต์ ที่​่�จั​ัดขึ้​้�นเพื่​่�อเปิ​ิด ตั​ัวบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ในกรุ​ุงเวี​ียนนา ก่​่อน จะกลายเป็​็นที่​่�มาของงานโซนาตาใน ตำำ�นาน อย่​่าง ‘Kreutzer Sonata’ เบโธเฟนเคยประพั​ั น ธ์​์ ง าน โซนาตาสำำ�หรั​ับเปี​ียโนและไวโอลิ​ิน มาแล้​้ว ๘ ชิ้​้�น ซึ่ง่� ชิ้​้�นที่​่� ๙ ที่​่�มี​ีความ พิ​ิเศษและได้​้รั​ับการยกย่​่องชิ้​้�นนี้​้� มี​ี ความยาวและต้​้องอาศั​ัยเทคนิ​ิคทาง ดนตรี​ีที่​่�สูงู ซึ่​่�งขณะนั้​้�นมี​ีเพี​ียงบริ​ิดจ์​์ ทาวเวอร์​์คนเดี​ียวที่​่�สามารถบรรเลง ออกมาได้​้อย่​่างสวยงาม ทว่​่าความสามารถทางดนตรี​ี ก็​็ไม่​่ใช่​่สิ่​่�งการั​ันตี​ีถึ​ึงชี​ีวิ​ิตที่​่�สวยงาม ... เบโธเฟนมี​ีชื่​่�อเสี​ียงเรื่​่�องอารมณ์​์ ที่​่�รุ​ุนแรง และหากไม่​่พอใจใครแล้​้ว

การลื​ืมว่​่าอี​ีกคนมี​ีตั​ัวตนน่​่าจะสร้​้าง ความเจ็​็บปวดได้​้ดี​ีที่​่�สุ​ุด และคงไม่​่ น่​่าแปลกใจหากบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์จะ ตกอยู่​่�ในชะตากรรมนั้​้�น ในปี​ี ค.ศ. ๑๘๒๗ เบโธเฟน คี​ีตกวี​ี ซึ่ง่� มี​ีอายุ​ุมากกว่​่าบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ ๘ ปี​ี ก็​็เสี​ียชี​ีวิติ ลง ไม่​่นานหลั​ังจากนั้​้�น ก็​็มี​ีผู้​้�ศึ​ึกษาชี​ีวประวั​ัติ​ิของเบโธเฟน เดิ​ินทางไปพบเขาที่​่�ย่​่าน Peckham ทางใต้​้ของกรุ​ุงลอนดอน เพื่​่�อถาม ว่​่าทั้​้�งสองคนเคยพบกั​ันจริ​ิงหรื​ือไม่​่

ที่​่�นั่​่�นบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์มีคี วามเป็​็นอยู่​่� อย่​่างยากลำำ�บาก บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ได้​้ถ่า่ ยทอดความ ทรงจำำ�ออกมาเป็​็นคำำ�พู​ูด ย้​้อนถึ​ึง เหตุ​ุการณ์​์ในวั​ันพรี​ีเมี​ียร์​์โซนาตา ชิ้​้�นนั้​้�น... ก่​่อนรุ่​่�งสางของเช้​้าวั​ันที่​่� ๒๔ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๘๐๓ เบโธเฟน ได้​้ปลุ​ุก Ferdinand Ries นั​ักเรี​ียน เปี​ียโน เพื่​่�อมาคั​ัดลอกโน้​้ตเพลงชิ้​้�น ใหม่​่ ซึ่​่�งเป็​็นโซนาตาสำำ�หรั​ับเปี​ียโน และไวโอลิ​ิน ที่​่�จะมี​ีการแสดง ณ สวน Augarten ในเช้​้าวั​ันเดี​ียวกั​ัน แต่​่ศิษิ ย์​์คนนั้​้�นก็​็ทำำ�ไม่​่เสร็​็จ ทว่​่าก็​็ไม่​่ เป็​็นปั​ัญหาแก่​่บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์เลย เขาสามารถด้​้นสดหรื​ืออิ​ิมโพรไวซ์​์ ตามการบรรเลงของเบโธเฟนได้​้ อย่​่างยอดเยี่​่�ยม จนเบโธเฟนเอง ยั​ังเอ่​่ยปากชม ‘Once more, my dear fellow!’ นั​ักเปี​ียโนรุ่​่�นพี่​่�ประทั​ับใจการ บรรเลงไวโอลิ​ินของบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ มากเสี​ียจนลุ​ุกจากเปี​ียโน เพื่​่�อวิ่​่�ง ไปสวมกอดนั​ักไวโอลิ​ินผิ​ิวเข้​้ม ก่​่อน จะกลั​ับไปที่​่�เปี​ียโนเพื่​่�อบรรเลงเพลง ให้​้จบ เสี​ียงปรบมื​ืออื้​้�ออึ​ึงของผู้​้�ชม

บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์อายุ​ุน้​้อยกว่​่าเบโธเฟน ๘ ปี​ี ครั้​้�งหนึ่​่�งทั้​้�งสองเคยทำำ�งานอย่​่าง เข้​้าขาและเป็​็นแรงบั​ันดาลใจให้​้กั​ันและกั​ัน

29


ภาพวาดบั​ันทึ​ึกบรรยากาศการบรรเลงไวโอลิ​ินต่​่อหน้​้าเจ้​้าชายแห่​่งเวลส์​์ ณ พระราชวั​ัง The Royal Pavilion

สะท้​้อนความสำำ�เร็​็จได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี ทำำ� ให้​้เบโธเฟนประกาศว่​่า ขออุ​ุทิศิ ไวโอลิ​ิน โซนาตาชิ้​้�นที่​่� ๙ ให้​้แก่​่บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ โดยเขี​ียนข้​้อความบนกระดาษโน้​้ต ว่​่า “Sonata mulattica composta per il mulatto Brischdauer [Bridgetower], gran pazzo e compositore mulattico” (Mulatto Sonata composed for the mulatto Brischdauer, big wild mulatto composer) และตามที่​่�เข้​้าใจ โซนาตา ชิ้​้�นนี้​้�ก็​็ควรจะมี​ีชื่​่�อว่​่า ‘Bridgetower Sonata’ เบโธเฟนมั​ักอุ​ุทิศิ งานเพลงให้​้แก่​่ เพื่​่�อนนั​ักดนตรี​ี เพื่​่�อแลกกั​ับความ โปรดปรานจากเพื่​่�อนนั​ักดนตรี​ี การ สนั​ับสนุ​ุนทางการเงิ​ินจากผู้​้�อุ​ุปถั​ัมภ์​์ รวมถึ​ึงนั​ัยทางการเมื​ืองแบบไม่​่ต้อ้ ง สงสั​ัย แต่​่การถอนการอุ​ุทิศิ ก็​็ไม่​่ใช่​่เรื่​่�อง น่​่าแปลกใจในกรณี​ีของเบโธเฟน ขณะที่​่�ทั้​้�งสองคนนั่​่�งดื่​่�มฉลองความ สำำ�เร็​็จด้​้วยกั​ัน บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ได้​้พูดู ถึ​ึงเพื่​่�อนสาวคนหนึ่​่�งของเบโธเฟน ในทางที่​่�ไม่​่ดี​ี จนเป็​็นต้​้นเหตุ​ุทำำ�ให้​้ เบโธเฟนโกรธ และบอกให้​้บริ​ิดจ์​์ ทาวเวอร์​์คืนื ต้​้นฉบั​ับโซนาตาชิ้​้�นนั้​้�น 30

พร้​้อมบอกว่​่าจะอุ​ุทิ​ิศให้​้นั​ักไวโอลิ​ิน (คนอื่​่�น) ที่​่�เก่​่งที่​่�สุ​ุดในยุ​ุโรป แม้​้บริ​ิดจ์​์ ทาวเวอร์​์จะขอร้​้องว่​่าอย่​่าถอนการ อุ​ุทิ​ิศเลย แต่​่นั่​่�นก็​็ไม่​่เป็​็นผล ความแตกแยกของทั้​้�งคู่​่�ไม่​่ได้​้รับั การเยี​ียวยา ยั​ังไม่​่ทั​ันจะได้​้พู​ูดคุ​ุย ปรั​ับความเข้​้าใจ บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ก็​็ ต้​้องเดิ​ินทางออกจากกรุ​ุงเวี​ียนนา เพื่​่�อไปเยี่​่�ยมญาติ​ิฝั่​่�งแม่​่ในโปแลนด์​์ แล้​้วทั้​้�งสองก็​็ไม่​่ได้​้พบกั​ันอี​ีกเลย ไม่​่ต้อ้ งคาดเดาก็​็คงทราบว่​่านั​ัก ไวโอลิ​ินคนต่​่อไปที่​่�ได้​้รับั การอุ​ุทิศิ คื​ือ

Augarten Concert Hall

Rudolphe Kreutzer (1766-1831) ศาสตราจารย์​์ด้า้ นไวโอลิ​ิน ณ Paris Conservatoire ซึ่​่�งกำำ�ลั​ังโด่​่งดั​ังและ เป็​็นที่​่�นิ​ิยมในหมู่​่�คนฟั​ัง ทั้​้�งคู่​่�เคยพบ กั​ันเมื่​่�อครอต์​์เซอร์​์เดิ​ินทางเยื​ือนกรุ​ุง เวี​ียนนาในปี​ี ค.ศ. ๑๗๙๘ พร้​้อมกั​ับ กลุ่​่�มผู้​้�ติ​ิดตามนโปเลี​ียน โบนาปาร์​์ต เบโธเฟนกั​ับครอต์​์เซอร์​์ไม่​่ได้​้สนิ​ิทกั​ัน นั​ัก แต่​่ก็​็คาดหวั​ังว่​่าศาสตราจารย์​์ คนดั​ังจะช่​่วยโปรโมตงานเพลงของ เขาในปารี​ีส เมื​ืองที่​่�เขาวางแผนจะ ไปเยื​ือน ทั​ันที​ีที่​่�ได้​้รับั ต้​้นฉบั​ับเพลง ครอต์​์ เซอร์​์ก็​็เอ่​่ยออกมาว่​่า “ไม่​่สามารถ บรรเลงออกมาได้​้ เบโธเฟนคงไม่​่ เข้​้าใจไวโอลิ​ินจริ​ิง ๆ” ขณะที่​่� LouisHector Berlioz (1803-1869) คี​ีตกวี​ีชาวฝรั่​่�งเศสที่​่�อยู่​่�แวดวงเดี​ียวกั​ับ เขาก็​็บอกว่​่า ครู​ูไวโอลิ​ินชาวฝรั่​่�งเศส “อ่​่านโน้​้ตไม่​่ออกอย่​่างไม่​่น่​่าเชื่​่�อ” นั่​่�นเป็​็นสาเหตุ​ุให้​้ครอต์​์เซอร์​์ไม่​่ เคยแสดงเพลงนี้​้�ต่​่อหน้​้าผู้​้�ชมเลย แม้​้ว่​่าบทเพลงไวโอลิ​ินโซนาตาที่​่�ยิ่​่�ง ใหญ่​่ที่​่�สุ​ุดของเบโธเฟนจะมี​ีชื่​่�อว่​่า ‘Kreutzer Sonata’ ก็​็ตาม อาจดู​ูไม่​่ยุ​ุติ​ิธรรมสำำ�หรั​ับบริ​ิดจ์​์ ทาวเวอร์​์ นั​ักไวโอลิ​ินผิ​ิวดำำ�ผู้​้�บรรเลง Violin Sonata No. 9, Op. 47 in


ตั​ัวละครบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ จากภาพยนตร์​์เรื่​่�อง Immortal Beloved (1994)

A Major ในรอบพรี​ีเมี​ียร์​์ได้​้อย่​่างไร้​้ที่​่� ติ​ิ ถู​ูกใจทั้​้�งผู้​้�ประพั​ันธ์​์อย่​่างเบโธเฟน และผู้​้�ชมในกรุ​ุงเวี​ียนนา เพลงนี้​้�ควร จะมี​ีชื่​่�อว่​่า ‘Bridgetower Sonata’ ตามชื่​่�อของ จอร์​์จ บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ ผู้​้�ที่​่�สมควรเป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ักทั่​่�วยุ​ุโรป และ คงอยู่​่�ตลอดไป ทว่​่าในความเป็​็นจริ​ิงแล้​้ว ชื่​่�อ ของบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ กลั​ับถู​ูกลื​ืม เลื​ือนไปตามกาลเวลา และตายไป กั​ับความทรงจำำ�ของผู้​้�ล่​่วงลั​ับ ช่​่วง บั้​้�นปลายชี​ีวิ​ิต เขามี​ีความเป็​็นอยู่​่� อย่​่างแร้​้นแค้​้นในกรุ​ุงลอนดอน และ ภาพประกอบบทความเกี่​่�ยวกั​ั บ ในวั​ันที่​่�เขาเสี​ียชี​ีวิ​ิต พยานผู้​้�ต้​้องลง บริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ในหนั​ังสื​ือพิ​ิมพ์​์ของ ลายเซ็​็นในใบมรณบั​ัตร เขี​ียนเพี​ียง สหรั​ัฐอเมริ​ิกา เครื่​่�องหมายกากบาทลงในช่​่องลาย

เซ็​็นเท่​่านั้​้�น เมื่​่�อลองคิ​ิดดู​ูแล้​้ว ท่​่วงทำำ�นอง ชี​ีวิ​ิตของบริ​ิดจ์​์ทาวเวอร์​์ก็​็คงไม่​่ต่​่าง จากโซนาตาชิ้​้�นงามมากนั​ัก ท่​่อนแรกเริ่​่�มขึ้​้�นด้​้วยความเชื่​่�อง ช้​้าของไวโอลิ​ิน ก่​่อนจะหยอกล้​้อและ บรรเลงอย่​่างเข้​้าขาไปกั​ับเปี​ียโน ท่​่อนที่​่�สองเริ่​่�มมี​ีความเศร้​้าเข้​้าปก คลุ​ุม ไวโอลิ​ินได้​้ประสานเสี​ียงเสริ​ิม ให้​้เปี​ียโนได้​้แสดงความสามารถที่​่� ยอดเยี่​่�ยมออกมา ทว่​่าใกล้​้จบท่​่อน ยิ่​่�งเต็​็มไปด้​้วยความเศร้​้า และจบด้​้วย ท่​่วงทำำ�นองที่​่�สะท้​้อนความระมั​ัดระวั​ัง ในมู​ูฟเมนต์​์สุ​ุดท้​้าย ดู​ูคล้​้ายกั​ับเต็​็ม ไปด้​้วยคำำ�ถามมากมายที่​่�ยั​ังหาคำำ� ตอบไม่​่ได้​้ ดั​ังนั้​้�น ครั้​้�งต่​่อไป เมื่​่�อคุ​ุณได้​้ยินิ เพลงนี้​้� โปรดจำำ�ไว้​้ว่า่ แท้​้จริ​ิงแล้​้วมั​ัน ไม่​่ควรมี​ีชื่​่�อว่​่า Kreutzer Sonata แต่​่เป็​็น ‘Bridgetower Sonata’ ตามนามของนั​ักไวโอลิ​ินผิ​ิวดำำ�ผู้​้�ทำำ�ให้​้ งานโซนาตาของเบโธเฟนกลายเป็​็น ผลงานชั้​้�นยอด

อ้​้างอิ​ิง https://www.classicfm.com/composers/beethoven/guides/key-people-beethovens-music and-life-george-bridge/ https://www.bl.uk/people/george-bridgetower# https://www.bl.uk/19th-century-music/articles/beethoven-bridgetower-and-the-kreutzer violin-sonata https://helenrappaport.com/mary-seacole-black-victorian-history/george-bridgetower the-black-violinist-at-the-court-of-the-prince-of-wales/

31


MUSIC EDUCATION

การฝึ​ึกประสบการณ์​์วิชิ าชี​ีพครู​ูดนตรี​ี ของนั​ักศึกึ ษาสาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึกึ ษา เรื่​่�อง: ธั​ันยาภรณ์​์ โพธิ​ิกาวิ​ิน (Dhanyaporn Phothikawin) อาจารย์​์ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล

การฝึ​ึกประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพ ครู​ู เป็​็นการเปิ​ิดโอกาสให้​้นั​ักศึ​ึกษา วิ​ิชาชี​ีพครู​ูได้​้นำำ�ความรู้​้�ทางทฤษฎี​ีไป ปฏิ​ิบั​ัติจิ ริ​ิง และได้​้พัฒ ั นาทั​ักษะการ สอนของตน ตลอดจนได้​้ฝึ​ึกความ รั​ับผิ​ิดชอบต่​่อหน้​้าที่​่�ที่​่�จะต้​้องปฏิ​ิบัติั ิ (Montana State University, 1989 อ้​้างถึ​ึงใน ปุ​ุญชรั​ัสมิ์​์� เต็​็มชั​ัย, ๒๕๔๖) เพื่​่�อเป็​็นการเตรี​ียมนั​ักศึ​ึกษา ให้​้มี​ีความพร้​้อมก่​่อนจะจบออกไป 32

ประกอบอาชี​ีพที่​่�แท้​้จริ​ิง ดั​ังนั้​้�น การ ฝึ​ึกประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพครู​ู ถื​ือเป็​็น หั​ัวใจสำำ�คั​ัญของกระบวนการผลิ​ิต ครู​ู เพราะนั​ักศึ​ึกษาวิ​ิชาชี​ีพครู​ูได้​้ฝึ​ึก ปฏิ​ิบั​ัติ​ิการสอนและปฏิ​ิบั​ัติ​ิหน้​้าที่​่� อื่​่�น ๆ ของครู​ู ซึ่ง่� จะช่​่วยเสริ​ิมสร้​้าง นั​ักศึ​ึกษาวิ​ิชาชี​ีพครู​ูให้​้เป็​็นผู้​้�ที่​่�มี​ีความ รั​ัก มี​ีความศรั​ัทธาต่​่ออาชี​ีพ และมี​ี ความรู้​้�ความสามารถที่​่�จะปฏิ​ิบัติั งิ าน ในหน้​้าที่​่�ครู​ูได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ

(วิ​ิลาวั​ัณย์​์ จารุ​ุอริ​ิยานนท์​์, ๒๕๕๘: ๑๒) การฝึ​ึกประสบการณ์​์วิชิ าชี​ีพครู​ู ดนตรี​ี เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของการเรี​ียน การสอนของสาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหิ​ิดล ในรายวิ​ิชา ดศดษ ๔๘๑ การ ฝึ​ึกประสบการณ์​์วิชิ าชี​ีพครู​ูดนตรี​ี ของ นั​ักศึ​ึกษาระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ีปีที่​่�ี ๔ ในภาคเรี​ียนที่​่� ๒ โดยมี​ีวัตั ถุ​ุประสงค์​์


เพื่​่�อให้​้นั​ักศึ​ึกษาได้​้รั​ับประสบการณ์​์ การทำำ�งานจากสถานศึ​ึกษาภายนอก เพื่​่�อประยุ​ุกต์​์ใช้​้ความรู้​้�ที่​่�ได้​้รั​ับจาก การศึ​ึกษา รวมทั้​้�งเพื่​่�อหาความรู้​้�เพิ่​่�ม เติ​ิมจากประสบการณ์​์การสอน และ สามารถแก้​้ปัญ ั หาจากการทำำ�งานจริ​ิง ทั้​้�งนี้​้� เพื่​่�อให้​้นั​ักศึ​ึกษาได้​้นำำ�ความรู้​้� ความสามารถที่​่�ได้​้ศึ​ึกษามาตลอด ๔ ปี​ี จากการฝึ​ึกฝนของอาจารย์​์ ผู้​้�สอน ในการนำำ�ไปประยุ​ุกต์​์ใช้​้เพื่​่�อ ฝึ​ึกปฏิ​ิบั​ัติ​ิทั​ักษะการสอนในรู​ูปแบบ ที่​่�มี​ีความหลากหลาย ตลอดทั้​้�งได้​้มี​ี โอกาสในการเรี​ียนรู้​้�สภาพความเป็​็น จริ​ิงของการเรี​ียนการสอนในสถาน ศึ​ึกษาในระดั​ับต่​่าง ๆ นอกจากนี้​้� การ ฝึ​ึกประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพครู​ูดนตรี​ี ยั​ังเป็​็นการฝึ​ึกการปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานใน หน้​้าที่​่�ครู​ูทุกุ อย่​่าง ทั้​้�งงานฝึ​ึกปฏิ​ิบัติั ิ

งานสอน งานธุ​ุรการชั้​้�นเรี​ียน งาน แนะแนว งานกิ​ิจการนั​ักเรี​ียน และ งานพั​ัฒนาตนเอง เป็​็นการพั​ัฒนาใน ด้​้านความรู้​้� ด้​้านเทคนิ​ิควิ​ิธีกี ารสอน และด้​้านคุ​ุณลั​ักษณะของความเป็​็นครู​ู

เพื่​่�อที่​่�จะให้​้นักั ศึ​ึกษาสามารถบู​ูรณา การประสบการณ์​์จากการศึ​ึกษา ทั้​้�ง ทางภาคทฤษฎี​ีและภาคปฏิ​ิบั​ัติ​ิที่​่�ได้​้ รั​ับมาก่​่อน ตามสถานการณ์​์ที่​่�เกิ​ิด ขึ้​้�น ได้​้อย่​่างเหมาะสม ประโยชน์​์ของการฝึ​ึกประสบการณ์​์ วิ​ิชาชี​ีพครู​ูดนตรี​ีที่​่�นั​ักศึ​ึกษาจะได้​้ รั​ับ คื​ือ ๑. ได้​้ประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพ เพิ่​่�มเติ​ิม นอกเหนื​ือจากการเรี​ียนใน ห้​้องเรี​ียน และสามารถนำำ�ความรู้​้� จากทฤษฎี​ีไปประยุ​ุกต์​์ใช้​้ในการ ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงาน ๒. ได้​้เรี​ียนรู้​้�ลักั ษณะงานในรู​ูปแบบ ต่​่าง ๆ เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการพั​ัฒนาตนเอง มี​ีความพร้​้อมในการรั​ับผิ​ิดชอบ ต่​่อหน้​้าที่​่�การงานที่​่�ได้​้รับั มอบหมาย ๓. ได้​้เสริ​ิมทั​ักษะการสื่​่�อสาร การมี​ีมนุ​ุษยสั​ัมพั​ันธ์​์ การทำำ�งาน ร่​่วมกั​ับผู้​้�อื่​่�น และเรี​ียนรู้​้�วั​ัฒนธรรม องค์​์กรของสถานศึ​ึกษาที่​่�นั​ักศึ​ึกษา ปฏิ​ิบั​ัติ​ิงาน ๔. ได้​้รับั โอกาสเข้​้าทำำ�งานก่​่อน สำำ�เร็​็จการศึ​ึกษา ดั​ังนั้​้�น การฝึ​ึกประสบการณ์​์ วิ​ิชาชี​ีพ จึ​ึงเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของการพั​ัฒนา นั​ักศึ​ึกษาในหลั​ักสู​ูตร เป็​็นการวาง รากฐานทางการประกอบอาชี​ีพให้​้แก่​่ นั​ักศึ​ึกษา เพื่​่�อให้​้เป็​็นครู​ูหรื​ือบุ​ุคลากร 33


ทางการศึ​ึกษาที่​่�มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ สามารถประกอบวิ​ิชาชี​ีพได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี การฝึ​ึกประสบการณ์​์วิชิ าชี​ีพครู​ู ดนตรี​ีของนั​ักศึ​ึกษาสาขาวิ​ิชาดนตรี​ี ศึ​ึกษาในครั้​้�งนี้​้� มี​ีโรงเรี​ียนที่​่�ให้​้ความ อนุ​ุเคราะห์​์ในการให้​้นักั ศึ​ึกษาได้​้เข้​้าไป ฝึ​ึกประสบการณ์​์ ได้​้แก่​่ โรงเรี​ียนเพลิ​ิน พั​ัฒนา โรงเรี​ียนรุ่​่�งอรุ​ุณ โรงเรี​ียนพิ​ิบูลู วิ​ิทยาลั​ัย จั​ังหวั​ัดลพบุ​ุรี​ี วิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล และ Singapore International School of Bangkok (SISB) โดย การเรี​ียนการสอนดนตรี​ีที่​่�นักั ศึ​ึกษารั​ับ ผิ​ิดชอบนั้​้�น จะมี​ีทั้​้�งในระดั​ับชั้​้�นประถม ศึ​ึกษาจนถึ​ึงระดั​ับชั้​้�นมั​ัธยมศึ​ึกษาตอน ปลาย และมี​ีรายวิ​ิชาที่​่�ให้​้นั​ักศึ​ึกษา ได้​้ฝึ​ึกทั้​้�งภาคทฤษฎี​ีและภาคปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ในด้​้านการสอนทั้​้�งวิ​ิชาดนตรี​ีไทย 34

และดนตรี​ีสากล รวมไปถึ​ึงการฝึ​ึก ประสบการณ์​์ในหน้​้าที่​่�อื่​่�น ๆ ตามที่​่� ได้​้รับั มอบหมายอี​ีกด้​้วย นอกจากนี้​้� ด้​้วยสถานการณ์​์ของไวรั​ัสโคโรนา (COVID-19) ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น นั​ักศึ​ึกษา จะได้​้เรี​ียนรู้​้�วิ​ิธี​ีการจั​ัดการเรี​ียนการ สอนออนไลน์​์ในสถานศึ​ึกษาต่​่าง ๆ รวมทั้​้�งการนำำ�ความรู้​้�ในเรื่​่�องของ การเรี​ียนการสอนมาประยุ​ุกต์​์เพื่​่�อ เป็​็นการพั​ัฒนารู​ูปแบบและวิ​ิธี​ีการ สอนได้​้อี​ีกทางหนึ่​่�งด้​้วย ในระหว่​่างฝึ​ึกประสบการณ์​์ วิ​ิชาชี​ีพอยู่​่�ในสถานศึ​ึกษา นั​ักศึ​ึกษา จะได้​้รั​ับการดู​ูแลโดยครู​ูพี่​่�เลี้​้�ยง ซึ่​่�ง ทำำ�หน้​้าที่​่�ให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาและให้​้คำำ� แนะนำำ�นั​ักศึ​ึกษาในทุ​ุก ๆ ด้​้าน ส่​่ง เสริ​ิมพั​ัฒนาสมรรถภาพการสอนของ นั​ักศึ​ึกษา ทั้​้�งด้​้านความรู้​้� เทคนิ​ิค

วิ​ิธี​ี และคุ​ุณลั​ักษณะของความเป็​็น ครู​ู นั​ักศึ​ึกษาจะได้​้รั​ับการนิ​ิเทศจาก อาจารย์​์ในสาขาวิ​ิชาดนตรี​ีศึกึ ษา ซึ่ง่� ทำำ�หน้​้าที่​่�นิ​ิเทศการสอนของนั​ักศึ​ึกษา ด้​้วยการให้​้คำำ�แนะนำำ�ในการเตรี​ียม แผนการสอน เทคนิ​ิควิ​ิธี​ีการสอน และสื่​่�อการเรี​ียนการสอน ช่​่วยให้​้ นั​ักศึ​ึกษาได้​้ปรั​ับปรุ​ุงแก้​้ไขการสอน ของตนเองได้​้อย่​่างเหมาะสมและมี​ี ประสิ​ิทธิ​ิภาพ นอกจากนี้​้� การนิ​ิเทศ ดั​ังกล่​่าวยั​ังมุ่​่�งเน้​้นให้​้นักั ศึ​ึกษาได้​้นำำ� ความรู้​้�ความสามารถทางดนตรี​ีไปใช้​้ ในเชิ​ิงสร้​้างสรรค์​์ ทั้​้�งในด้​้านการเรี​ียน การสอน การทำำ�วิ​ิจัยั ในชั้​้�นเรี​ียน และ ด้​้านวิ​ิชาการทางดนตรี​ี ทำำ�ให้​้การเรี​ียน การสอนดนตรี​ีในสถานศึ​ึกษาเกิ​ิดการ พั​ัฒนา มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ เป็​็นวิ​ิชาที่​่�ได้​้ รั​ับความสำำ�คั​ัญไม่​่ต่า่ งจากวิ​ิชาอื่​่�น ๆ


และสามารถนำำ�ไปต่​่อยอดความรู้​้�อื่​่�น ๆ ต่​่อไปได้​้ในอนาคต ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� การฝึ​ึกประสบการณ์​์ วิ​ิชาชี​ีพครู​ูดนตรี​ีของนั​ักศึ​ึกษาในสาขา วิ​ิชาดนตรี​ีศึ​ึกษา เป็​็นการฝึ​ึกปฏิ​ิบั​ัติ​ิ การทางวิ​ิชาชี​ีพในสถานศึ​ึกษาต่​่าง ๆ ซึ่​่�งเป็​็นสถานที่​่�จริ​ิง เพื่​่�อให้​้นักั ศึ​ึกษา ได้​้นำำ�ความรู้​้�ความสามารถที่​่�ได้​้รั​ับ

จากอาจารย์​์ผู้​้�สอน ไปประยุ​ุกต์​์ใช้​้ใน การทำำ�งาน ตลอดจนได้​้ทำำ�งานร่​่วม กั​ับครู​ูและบุ​ุคลากรอื่​่�นในโรงเรี​ียน ได้​้ มี​ีโอกาสร่​่วมกิ​ิจกรรมต่​่าง ๆ ของ โรงเรี​ียน ซึ่​่�งจะช่​่วยให้​้นั​ักศึ​ึกษาได้​้ พั​ัฒนาตนเองในทุ​ุก ๆ ด้​้าน นอกจาก นี้​้� การฝึ​ึกประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพครู​ู ดนตรี​ี ไม่​่ได้​้ให้​้ความสำำ�คั​ัญแต่​่เพี​ียง

การเรี​ียนการสอนเท่​่านั้​้�น แต่​่ยั​ัง ต้​้องการให้​้นักั ศึ​ึกษาสามารถสร้​้างคุ​ุณ ประโยชน์​์ให้​้แก่​่การศึ​ึกษาด้​้านดนตรี​ี ในแง่​่มุ​ุมต่​่าง ๆ เพื่​่�อเป็​็นกำำ�ลั​ังหลั​ัก ในการพั​ัฒนาการศึ​ึกษาดนตรี​ีของ ประเทศไทยต่​่อไป

เอกสารอ้​้างอิ​ิง ปุ​ุญชรั​ัสมิ์​์� เต็​็มชั​ัย. (๒๕๔๖). การพั​ัฒนาแบบประเมิ​ินการฝึ​ึกประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพครู​ูสำำ�หรั​ับนั​ักศึ​ึกษา วิ​ิชาชี​ีพครู​ู. วิ​ิทยานิ​ิพนธ์​์ปริ​ิญญามหาบั​ัณฑิ​ิต ภาควิ​ิจั​ัยการศึ​ึกษา สาขาวิ​ิชาการวั​ัดและประเมิ​ินผลการ ศึ​ึกษาจุ​ุฬาลงกรณ์​์มหาวิ​ิทยาลั​ัย. วิ​ิลาวั​ัณย์​์ จารุ​ุอริ​ิยานนท์​์. (๒๕๕๘). การบริ​ิหารจั​ัดการการฝึ​ึกประสบการณ์​์วิ​ิชาชี​ีพครู​ูเพื่​่อ� พั​ัฒนาคุ​ุณภาพครู​ู ยุ​ุคใหม่​่. วารสารจั​ันทรเกษมสาร ปี​ีที่​่� ๒๑ ฉบั​ับที่​่� ๔๑ กรกฎาคม-ธั​ันวาคม. หน้​้า ๙-๑๘.

35


MUSIC THERAPY

How Does Music Affect People’s Emotions? Story: Achareeya Fukiat (อั​ัจฉรี​ียา ฟู​ู เกี​ียรติ​ิ) Piano Instructor, Bromsgrove International School Thailand

Music is a common language in the world because it uses symbols and sounds to communicate ideas and emotions. Music has a grammar, which, like language, consists of rules that specify which notes can follow which other notes in a piece of music (Goldsmiths, University of London, 2010). Currently, music serves an important role in society and it is everywhere: in stores, restaurants, schools, movies, and even in hospitals. Why do people love to listen to music? Why does it affect human emotions? It is very interesting that something that has the length of only three or five minutes can make us cry

36

or feel better. It may be related to the feelings because humans have many emotions that control how we act and what we say. Human emotions are influenced by many things and situations, and one of those things is music. Therefore, there are three possible elements of music that can affect people’s emotions: musical structures, types of music, and the listener’s brain condition. Firstly, most people love listening to music. Some people listen to it every day, while others listen to it all the time. After listening to music some people feel good, happy, and in love while some feel

sad, hurt, and disappointed. Why can it affect their emotions? The musical structures provide one of the answers to these questions. The first important structure is lyrics. Lyrics are an important element of songwriting, which combines the non-literal meanings inherent in instrumental music with the more precise connotations of words (McFerran, 2011). The lyrics of a song can demonstrate the meaning of feelings and affect how you feel. The words can recall life experiences and emotional memories because there are many emotional feelings that we experience. Some examples are


joy, happiness, and trust. Others include fear and anger. Bateman (2002) mentions that “the lyrics of a song will also affect our emotional state. Words of death, stealing, breakups, and lyrics like that are considered to be Negative Stimuli. Lyrics of love, hugs, and mushy words are considered as Constructive Stimuli” (p. 228). That is why lyrics can affect people’s emotions. The next element of music which can affect human emotions is tempo. Tempo is the speed or pace of a composition (Westrup, 1976). The speed of music infers to the character of the mood. Happy music is usually characterized by a fast tempo and major mode, while sadness in music is expressed by slow tempo and minor mode (Pereira, Teixeira, Figueiredo, Xavier, Castro, and Brattico, 2011). Webster and Weir (2005) believe that there are three independent musical elements that have interactive effects on happy-sad ratings and tempo is one of those three elements. The research of Webster et al. also found that increasing tempo increased happiness more at the faster tempos than at slower tempos. It shows that the speed of music is able to increase or decrease the levels of emotion. The last element of music is timbre. Timbre is the perceptual attribute that distinguishes two sounds that have the same pitch, loudness, and duration. For musical timbre, this perceptual attribute distinguishes instruments (e.g., guitar vs. piano) playing the same note with the same loudness (Kong, Mullangi, Marozeau, Epsteina, 2011). Each instrument has its own sound quality and different expression of emotions. Some instruments can express sadness, while some can express happiness. Experiments by Hailstone, Omar, Henley, Frost, Kenward, and, Warren

(2009), which are about how the perception of emotions is influenced by the musical instrument, used 40 different melodies in the first experiment and the same melody in the second experiment played by four different instruments (an electronic synthesizer, a piano, a violin, and a trumpet) to study the interaction between timbre and perception of emotions. The results show that the perception of emotion conveyed by a melody is affected by the timbre of the musical instrument on which it is played. Some combinations of instruments present sadness and anger and some combinations present happiness. This is similar to the study of Behrens and Green (1993), which presented listeners with improvisations intended to evoke specific emotions performed on violin, timpani, and voice. They state that their listeners were more sensitive to sadness and fear expressed in violin and vocal improvisations and to anger expressed in timpani improvisations. From these studies, we can see that timbre can affect people’s emotions, and that using different instruments in the same song might change the feeling and the color of that song as well. Next, the type of music helps to determine the effect on the listener. There are several types of music such as classical, pop, rock, jazz, blues, hip-hop, country, techno, latin, and heavy metal music. Each type has its own character. Some are calm, gentle, and peaceful, while others are violent, intense, and stressful. Labbe, Schmidt, Babin, and Pharr (2007) suggests that listening to relaxing music, such as some selections of classical music, can build positive emotions and increases in parasympathetic nervous system arousal. Moreover, some studies found that classical music, such as Mozart’s music, has the ability to improve the mood

and brain. The study of Husain, Thompson, and Schellenberg (2002) reports that participants who listened to Mozart scored significantly higher on positive mood and arousal and significantly lower on negative mood compared with their counterparts who listened to Albinoni. The short-term effects of listening to Mozart on spatial ability are an artifact of arousal and mood. Therefore, listening to self-selected or classical music might be useful as a stress management strategy, especially if an individual is unwilling to sit in silence for a long enough time to achieve a relaxation response (Labbe et al., 2007). The next type of music is popular music. Pop music is a type of music which can have a strong effect on teenagers’ moods. The American Academy of Pediatrics (2009) revealed that in a study with 100 fourth- through sixthgraders, 98% of these children listened to popular music, 72% of them on “most days” or every day. Furthermore, it has been reported that children eight to ten years of age listen to music an average of one hour per day. This report shows that music really affects on children’s behavior and emotions. In addition, this research mentions that lyrics and the way it is presented is the result of addiction of pop music. Another type of music is heavy metal music. Heavy metal music is a sub-type of rock music with a particular emphasis on strong sound, beat, and personal style (Morss, 2000). The content of heavy metal music lyrics evolved from a society which was very identified with drug use, changing sexual mores, and the general social upheaval associated with the 1960’s. The style and content of heavy metal music has continued to evolve over time into several other subsets but has remained more or less identified with these

37


38

original themes (Becknell, Firmin, Hwang, Fleetwood, Tate, and Schwab, 2008). The study of Labbe et al. reports that participants who listened to heavy metal music not only experienced greater levels of state anxiety, but were even more anxious after listening to the heavy metal music than when they were being stressed. Moreover, heavy metal has been associated in some studies with an increased risk of suicide. It shows that heavy metal music is one type of music that can build the negative effect of the emotion. A final effect of music on people’s emotions that can be noted is the listener’s brain condition. The brain is an important system in our body. It is an amazing thing which is very complex. Johnson (2010) provides an interesting comparison between the brain and orchestra, which can make us picture the system of the brain more clearly:

string section, a woodwind section, and so on. Each has its own job to do and must work closely with the other sections. When playing music, each section waits for the conductor. The conductor raises a baton and all the members of the orchestra begin playing at the same time playing on the same note. If the drum section hasn’t been practicing, they don’t play as well as the rest of the orchestra. The overall sound of the music seems “off” or plays poorly at certain times. This is a better model of how the brain works. We used to think of the brain as a big computer, but it’s really like millions of little computers all working together.

Let’s look at the brain as an orchestra. In an orchestra, you have different musical sections. There is a percussion section, a

Our inner ear contains a spiral sheet that the sounds of music pluck like a guitar string. This plucking triggers the firing of

The previous statement shows that how complex the human brain is. It is important to explore how the brain listens to music. William (1997) explains that

brain cells that make up the hearing parts of your brain. At the highest station, the auditory cortex, just above your ears, these firing cells generate the conscious experience of music. Different patterns of firing excite other ensembles of cells, and these associate the sound of music with feelings, thoughts, and past experiences. According to William’s research, the activity of our brain during music perception can also be studied using various imaging techniques. For instance, increased flow of blood and oxygen to different brain areas can be seen as people play and listen to music. In addition, studies of animals reveal details of anatomy and the workings of brain cells that underlie music perception. That means if the listener’s brain is in good condition, the perception of the listener will be good and then it affects the listener’s emotions. In conclusion, music can alter people’s emotions in three ways: musical structures, types of music, and the listener’s brain


condition. Lyrics can help recall experience of life and emotional memories. Tempo or speed of music can increase or decrease the levels of emotion. Timbre (instrument identity) builds the different expression of emotion by using different instruments.

Classical music can build a positive emotion, while heavy metal music can build the negative effect of the emotion and popular music is the type of music that teenagers love to listen to in part because the lyrics are easy to understand. Lastly, if the listener has a good

brain condition, they will know what kind of music they want and enjoy every moment with that music.

References

Bateman, J. F. (2002). The Brain and Nervous system. The New Book of Popular Science (Vol. 5). USA: Grolier, 228-229. Behrens, G. A., & Green, S. B. (1993). The ability to identify emotional content of solo improvisations performed vocally and on three different instruments. Psychology of music, 21, 20-33. Becknell, M. E., Firmin, M.W., Hwang, C.E., Fleetwood, D.M., Tate, K.L., & Schwab, G.D. (2008). Effects of Listening to Heavy Metal Music on College Women: A Pilot Study. College Student Journal, Vol. 42 Issue 1, p24-35, 12p, 3 Charts. Hailstone, J.C., Omar, R., Henley, S.M.D., Frost, C., Kenward, M.G., & Warren, J.D. (2009). It’s not what you play, it’s how you play it: Timbre affects perception of emotion in music. Quarterly Journal of Experimental Psychology, Vol. 62 Issue 11, p2141-2155, 15p, 1 Illustration, 4 Charts, 2 Graphs. Husain, G., Thompson, W.F., & Schellenberg, E.G. (2002). Effects of Musical Tempo and Mode on Arousal, Mood, and Spatial Abilities. Music Perception, Vol. 20 Issue 2, p151, 21p, 2 Diagrams, 2 Charts, 3 Graphs. How music ‘moves’ us: Listeners’ brains second-guess the composer. (2010, January 15). ScienceDaily. Materials provided by University of Goldsmiths London. Retrieved from http://www.sciencedaily. com/releases/2010/01/100115204704.htm Impact of Music, Music Lyrics, and Music Videos on Children and Youth. (2009, November 1). The American Academy of Pediatrics. Pediatrics, Vol. 124 No. 5, p1488-1494. Johnson, G. (2010). Understanding How The Brain Works. Retrieved from http://www.tbiguide. com/howbrainworks.html Kong, Y., Mullangi, A., Marozeau, J., & Epsteina, M. (2011). Temporal and Spectral Cues for Musical Timbre Perception in Electric Hearing. Journal of Speech, Language & Hearing Research, Vol. 54 Issue 3, p981-994, 14p, 6 Charts, 3 Graphs. Labbé, E., Schmidt, N., Babin, J., & Pharr, M. (2007). Coping with Stress: The Effectiveness of Different Types of Music. Applied Psychophysiology & Biofeedback, Vol. 32 Issue 3/4, p163 168, 6p, 1 Chart, 3 Graphs. McFerran, K., Baker, F., & Krout, R. (2011). What’s in the lyrics? A discussion paper describing the complexities of systematically analyzing lyrics composed in music therapy. Canadian Journal of Music Therapy, Vol. 17 Issue 1, p34-54, 21p, 1 Chart. Morss, B. M. (2000). Pitch-skipping in rock music (Doctoral dissertation, University of California - Davis, 2000). Dissertation Abstracts International, 61, 2513. Pereira, C.S., Teixeira, J., Figueiredo, P., Xavier, J., Castro, S.L., & Brattico, E. (2011). Music and Emotions in the Brain: Familiarity Matters. PLoS ONE, Vol. 6 Issue 11, p1-9, 9p. Webster, G.D., & Weir, C.G. (2005). Emotional Responses to Music: Interactive Effects of Mode, Texture, and Tempo. Motivation & Emotion, Vol. 29 Issue 1, p19-39, 21p, 2 Charts, 5 Graphs. Westrup, J.A., & Harrison, F. Ll. (1976). The new College Encyclopedia of Music. New York: W.W Norton & Company, Inc. William J.C. (1997, November 13). How Your Brain Listens to Music. Retrieved from http://news. harvard.edu/gazette/1997/11.13/HowYourBrainLis.html.

39


MUSIC LITERATURE

เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก

จากบทเพลงปลู​ูกฝั​ังคติ​ิเด็​็กดี​ี สู่​่�การเป็​็นเครื่​่�องมื​ือต่​่อสู้​้� ทางการเมื​ืองของเด็​็กยุ​ุคปั​ัจจุ​ุบั​ัน เรื่​่�อง: จิ​ิตร์​์ กาวี​ี (Jit Gavee) อาจารย์​์ประจำำ�สาขาวิ​ิชาดนตรี​ี คณะมนุ​ุษยศาสตร์​์และสั​ั งคมศาสตร์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยราชภั​ัฏอุ​ุดรธานี​ี

บทนำำ� “...เด็​็กเอ๋​๋ยเด็​็กดี​ี ต้​้องมี​ีหน้​้าที่​่�สิ​ิบอย่​่างด้​้วยกั​ัน...” เชื่​่�อว่​่าเกิ​ินครึ่​่�งของประชาชน ชาวไทยต้​้องเคยได้​้ยิ​ินทำำ�นองอั​ันคุ้​้�นเคย เนื้​้�อร้​้องอั​ันคุ้​้�นหู​ู ของบทเพลง “หน้​้าที่​่�เด็​็ก” บทเพลงยอดฮิ​ิตที่​่�นิ​ิยมนำำ�มาเปิ​ิดในงานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิทุ​ุก ๆ ปี​ี ต่​่อเนื่​่�องมาเป็​็นเวลา นาน จนผู้​้�ฟั​ังยุ​ุคแรกได้​้เติ​ิบโตขึ้​้�นมาเป็​็นผู้​้�ใหญ่​่ในสั​ังคมแล้​้ว เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก ประพั​ันธ์​์คำำ�ร้​้องโดย ครู​ูชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ ประพั​ันธ์​์ทำำ�นองโดย ครู​ูเอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน เป็​็นหนึ่​่�งในเพลงเด็​็กที่​่�เป็​็นที่​่�นิ​ิยมมากเพลงหนึ่​่�งของวงสุ​ุนทราภรณ์​์ ซึ่​่�งมี​ีเพลงในลั​ักษณะเดี​ียวกั​ันนี้​้�อี​ีกหลายบทเพลง เช่​่น มาร์​์ชเยาวชนไทย หนู​ูเล็​็ก หนู​ู เอย เป็​็นต้​้น เป็​็นบทเพลงไทยสากลสำำ�หรั​ับเด็​็กที่​่�มี​ีเนื้​้�อร้​้องเป็​็นภาษาไทยที่​่�สุ​ุภาพและ ค่​่อนข้​้างชั​ัดเจนในการสื่​่�อความหมาย ใช้​้ดนตรี​ีในจั​ังหวะลี​ีลาแบบฟอกซ์​์ทรอต (Foxtrot) โดยมี​ีเนื้​้�อร้​้องว่​่า

เด็กเอ๋ย เด็กดี ต้องมีหน้าที่สิบอย่างด้วยกัน (ซ้ํา) หนึ่ง นับถือศาสนา สอง รักษาธรรมเนียมมั่น สาม เชื่อพ่อแม่ครูอาจารย์ สี่ วาจานั้นต้องสุภาพอ่อนหวาน ห้า ยึดมั่นกตัญญู หก เป็นผู้รู้รักการงาน เจ็ด ต้องศึกษาให้เชี่ยวชาญ ต้องมานะบากบั่น ไม่เกียจไม่คร้าน แปด รู้จักออมประหยัด เก้า ต้องซื่อสัตย์ตลอดกาล น้ําใจนักกีฬา กล้าหาญ ให้เหมาะกับกาลสมัยชาติพัฒนา สิบ ทําตนให้เป็นประโยชน์ รู้บาปบุญคุณโทษ สมบัติชาติต้องรักษา เด็กสมัยชาติพัฒนา จะเป็นเด็กที่พาชาติไทยเจริญ

40


โน้​้ตเพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก (ที่​่�มา: หนั​ังสื​ือสุ​ุนทราภรณ์​์ครึ่​่�งศตวรรษ)

41


ครู​ูชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ และครู​ูเอื้​้�อ สุ​ุนทรสนาน ผู้​้�ประพั​ันธ์​์คำำ�ร้​้องและทำำ�นองเพลงหน้​้าที่​่� เด็​็ก (ที่​่�มา: หนั​ังสื​ือสุ​ุนทราภรณ์​์ครึ่​่�งศตวรรษ)

เห็​็นได้​้ว่า่ เนื้​้�อหาของเนื้​้�อร้​้องอยู่​่� ในลั​ักษณะของการประกาศสารส่​่ง ถึ​ึงเด็​็กผู้​้�ฟั​ัง สารดั​ังกล่​่าวได้​้ต้อ้ งการ สร้​้างคติ​ิบางอย่​่างแก่​่เด็​็กผู้​้�ฟั​ัง นั่​่�นก็​็ คื​ือ คติ​ิแนวคิ​ิดหน้​้าที่​่�ของการเป็​็นคน ดี​ีในสั​ังคมที่​่�พึ​ึงมี​ีและเป็​็นที่​่�ต้​้องการ ด้​้วยเนื้​้�อหาในเนื้​้�อร้​้องและทำำ�นองที่​่� สอดคล้​้องกั​ัน ทำำ�ให้​้บทเพลงจดจำำ� ง่​่าย ติ​ิดหู​ู และเป็​็นที่​่�นิ​ิยมเปิ​ิดในงาน วั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิทุ​ุก ๆ ปี​ี เพลงหน้​้าที่​่เ� ด็​็ก เกิ​ิดขึ้​้น� เมื่​่อ� ใด อย่​่างไร? ประวั​ัติแิ ละที่​่�มาของการประพั​ันธ์​์ บทเพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก มี​ีปรากฏใน หลายแหล่​่งข้​้อมู​ูล แต่​่ไม่​่ชัดั เจนในปี​ี ที่​่�ประพั​ันธ์​์ มี​ีปรากฏข้​้อมู​ูลสาธารณะ ที่​่�ระบุ​ุอย่​่างเลี่​่�ยง ๆ เพี​ียงว่​่า ได้​้เกิ​ิด แนวคิ​ิดจากสหประชาชาติ​ิเรื่​่�องวั​ัน เด็​็ก ช่​่วงปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๘ อั​ันเป็​็นช่​่วง รั​ัฐบาลของจอมพล ป. พิ​ิบูลู สงคราม (ช่​่วงที่​่�สอง) เป็​็นนายกรั​ัฐมนตรี​ีที่​่� รณรงค์​์เรื่​่�องต่​่าง ๆ เกี่​่�ยวกั​ับเด็​็ก มากมาย ประกอบกั​ับคำำ�สำำ�คั​ัญใน 42

เนื้​้�อเพลงที่​่�ว่​่า “เด็​็กสมั​ัยชาติ​ิพัฒ ั นา” ซึ่​่�งก็​็อาจจะทำำ�ให้​้นึ​ึกถึ​ึงช่​่วงการ ปกครองภายใต้​้การนำำ�ของรั​ัฐบาล จอมพล ป. พิ​ิบู​ูลสงคราม จึ​ึงอาจ ทำำ�ให้​้เข้​้าใจได้​้ว่​่า บทเพลงหน้​้าที่​่� เด็​็ กนี้​้� ประพั​ั นธ์​์ ขึ้​้� นในช่​่ วงนั้​้�นก็​็ เป็​็นได้​้ เช่​่น ในฐานข้​้อมู​ูลเว็​็บไซต์​์ ของกระทรวงวั​ัฒนธรรม ได้​้มี​ีการ ระบุ​ุที่​่�มาของบทเพลงนี้​้�ตอนหนึ่​่�งว่​่า “…เพลง ‘หน้​้าที่​่�ของเด็​็ก’ หรื​ือ เพลง ‘เด็​็กเอ๋​๋ยเด็​็กดี​ี’ นี้​้� ประพั​ันธ์​์ คำำ�ร้​้องโดย ชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ นั​ัก เขี​ียนนวนิ​ิยายชื่​่�อดั​ังคนหนึ่​่�งของ ไทย ซึ่​่�งท่​่านเป็​็นพี่​่�สาวของอาจิ​ินต์​์ ปั​ัญจพรรค์​์ ศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ สาขา วรรณศิ​ิลป์​์ พ.ศ. ๒๕๓๔ ครู​ูชอุ่​่�ม ได้​้เล่​่าถึ​ึงที่​่�มาของเพลง ‘หน้​้าที่​่� ของเด็​็ก’ ว่​่า ในอดี​ีต เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๘ ทางสหประชาชาติ​ิได้​้ประกาศ ปฏิ​ิญญาสากลว่​่าด้​้วยหน้​้าที่​่�ของเด็​็ก โดย นาย วี​ี. เอ็​็ม. กุ​ุลกานี​ี ผู้​้�แทน องค์​์การสหพั​ันธ์เ์ พื่​่อ� สวั​ัสดิ​ิภาพเด็​็ก ระหว่​่างประเทศแห่​่งสหประชาชาติ​ิ

ได้​้เชิ​ิญชวนให้​้ทุกุ ประเทศทั่​่�วโลกร่​่วม จั​ัดงานวั​ันเด็​็ก…” เมื่​่�อสื​ืบค้​้นข้​้อมู​ูลและหลั​ักฐานอื่​่�น ๆ ในเชิ​ิงลึ​ึกมากขึ้​้�น ทำำ�ให้​้พบว่​่ามี​ีข้อ้ มู​ูล ในข้​้อเขี​ียน “จดหมายถึ​ึงอาเอื้​้�อ (ผู้​้� เป็​็นน้​้องเขย)” โดยครู​ูชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ ผู้​้�ประพั​ันธ์​์คำำ�ร้​้องของบทเพลงนี้​้� ได้​้ ก ล่​่ า วถึ​ึ ง ที่​่�มาของการกำำ�เนิ​ิ ด บทเพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กว่​่า มาจากบท ประกาศหน้​้าที่​่�เด็​็กที่​่�ออกโดยคณะ กรรมการจั​ัดงานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิมา ใช้​้งาน โดยได้​้ระบุ​ุว่​่า “…เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก นั้​้�น อาเรี​ียก ให้​้ไปที่​่�ห้​้องดนตรี​ีสากล และกล่​่าว ทั​ันที​ีที่​่�เห็​็นหน้​้า ‘อุ่​่�ม’ ทางการเขา จะจั​ัดวั​ันเด็​็ก จะต้​้องแต่​่งเพลงเกี่​่�ยว กั​ับเด็​็กไปบรรเลง ‘เอาเร็​็วมั้​้�ยอา’ ฉั​ัน ถามประวิ​ิงการแต่​่ง ‘ต้​้องเร็​็วซี​ี’ อา เสี​ียงขุ่​่น� ‘เดี๋​๋�ยวนี้​้�!’ ฉั​ันเลยเอาหน้​้าที่​่� เด็​็ก ๑๐ ข้​้อ ของคณะกรรมการจั​ัด งานวั​ันเด็​็กพิ​ิมพ์​์แจกจ่​่ายไปทั่​่�วทุ​ุก โรงเรี​ียน บั​ังเอิ๊​๊ญ � -บั​ังเอิ​ิญอี​ีกน่​่ะแหละ ที่​่�ฉันั เป็​็นผู้​้�แทนจากกรมโฆษณาการ


ไปร่​่วมเป็​็นกรรมการในคณะด้​้วย จึ​ึง มี​ีเอกสารในมื​ือพร้​้อม ตอนนั้​้�นท่​่าน อาจารย์​์อภั​ัย จั​ันทวิ​ิมล ท่​่านเป็​็น ปลั​ัดกระทรวงศึ​ึกษาธิ​ิการอยู่​่� และ เป็​็นประธานโดยตำำ�แหน่​่ง ฉั​ันเป็​็นผู้​้� แทนจากกรมประชาสั​ัมพั​ันธ์ม์ าตั้​้ง� แต่​่ เริ่​่ม� มี​ีคณะกรรมการจั​ัดงานวั​ันเด็​็ก จน กระทั่​่�งเกษี​ียณอายุ​ุจึงึ ผ่​่านพ้​้นหน้​้าที่​่� ไป ดั​ังนั้​้�น ‘...เพลงเด็​็กเอ๋​๋ยเด็​็กดีเี รา มี​ีหน้​้าที่​่� ๑๐ อย่​่างด้​้วยกั​ัน ๆ...’ นั้​้�น จึ​ึงเกิ​ิดขึ้​้น� ...” (ชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์, ๒๕๓๒: ๑๑๖) อย่​่างไรก็​็ตาม จากข้​้อความที่​่�ยก มาข้​้างต้​้นนี้​้� ก็​็มิไิ ด้​้มีกี ารบั​ันทึ​ึกหรื​ือระบุ​ุ ช่​่วงปี​ีการประพั​ันธ์​์ที่​่�ชัดั เจน แต่​่จะเห็​็น ได้​้ว่า่ ในข้​้อเขี​ียนของครู​ูชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ นี้​้� มี​ีการระบุ​ุถึงึ นาม อภั​ัย จั​ันทวิ​ิมล ซึ่​่�งดำำ�รงตำำ�แหน่​่งปลั​ัดกระทรวง ศึ​ึกษาธิ​ิการ และอยู่​่�ร่​่วมในช่​่วงเวลาที่​่� มี​ีการประพั​ันธ์​์บทเพลงนี้​้� เมื่​่�อสื​ืบค้​้น เพิ่​่�มเติ​ิมจะพบว่​่า ท่​่านดำำ�รงตำำ�แหน่​่ง

ปลั​ัดกระทรวงศึ​ึกษาธิ​ิการนี้​้� ช่​่วงปี​ี พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๑๑ บทเพลงหน้​้าที่​่� เด็​็กจึ​ึงควรจะเกิ​ิดขึ้​้�นในช่​่วงเวลาดั​ัง กล่​่าวนี้​้�เช่​่นกั​ัน นอกจากนั้​้�น ครู​ูชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์ ยั​ังกล่​่าวถึ​ึง “หน้​้าที่​่�เด็​็ก ๑๐ ข้​้อ ของ คณะกรรมการจั​ั ด งานวั​ั น เด็​็ ก ” ซึ่​่�งได้​้มี​ีการตี​ีพิ​ิมพ์​์เผยแพร่​่ไปทั่​่�ว ประเทศ หลั​ักฐานการตี​ีพิ​ิมพ์​์คำำ� ประกาศหน้​้าที่​่�เด็​็ก อั​ันยั​ังคงหลง เหลื​ือและเป็​็นหลั​ักฐานสำำ�คั​ัญ มี​ี ปรากฏอยู่​่�ในหนั​ังสื​ือของขวั​ัญวั​ันเด็​็ก ซึ่ง่� เป็​็นหนั​ังสื​ือที่​่�ระลึ​ึกวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ ประจำำ�ปี​ี พ.ศ. ๒๕๐๖ จั​ัดทำำ�โดยคณะ กรรมการจั​ัดงานฉลองวั​ันเด็​็กแห่​่ง ชาติ​ิ ที่​่�เป็​็นเจ้​้าของแนวคิ​ิด “หน้​้าที่​่� เด็​็ก ๑๐ ประการ” นั่​่�นเอง ทั้​้�งนี้​้� ได้​้ปรากฏข้​้อเขี​ียนคำำ�แถลงถึ​ึงการ กำำ�หนดหน้​้าที่​่�เด็​็กไทยขึ้​้�นมา ๑๐ ประการ โดยกล่​่าวว่​่า “…คณะกรรมการจั​ัดงานวั​ันเด็​็ก

แห่​่งชาติ​ิ พ.ศ. ๒๕๐๖ ได้​้พิ​ิจารณา เห็​็นว่​่าสิ​ิทธิ​ิทั้​้�งปวงนั่​่�นย่​่อมคู่​่�กั​ันกั​ับ หน้​้าที่​่� เมื่​่�อเด็​็กมี​ีความสำำ�คั​ัญและ มี​ีสิ​ิทธิ​ิต่​่าง ๆ ฉะนี้​้�แล้​้วก็​็เป็​็นการ สมควรที่​่�จะให้​้เด็​็กได้​้รั​ับการอบรม ฝึ​ึกฝนให้​้สำำ�นึกึ ในหน้​้าที่​่�ของตนที่​่�จะพึ​ึง มี​ี ในฐานะที่​่�เด็​็กจะเป็​็นผู้ส้� ร้​้างสรรค์​์ ความเจริ​ิญมั่​่�นคงให้​้แก่​่ตนเอง แก่​่ ครอบครั​ัว แก่​่ชาติ​ิบ้​้านเมื​ือง และ แก่​่เพื่​่�อนมนุ​ุษย์​์ทั่​่�วไปเป็​็นส่​่วนรวม อี​ีกด้​้วย คณะกรรมการจั​ัดงานวั​ัน เด็​็กฯ จึ​ึงได้​้กำำ�หนดหน้​้าที่​่�ของเด็​็ก ไทยขึ้​้�น ด้​้วยความมุ่​่�งหมายให้​้เด็​็ก ได้​้ตระหนั​ักในหน้​้าที่​่�ของตนคู่​่�ไปกั​ับ สิ​ิทธิ​ิที่​่�พึ​ึงจะได้​้รั​ับและให้​้ยึ​ึดถื​ือเป็​็น หลั​ักปฏิ​ิบั​ัติ​ิ…” (คณะกรรมการจั​ัด งานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ, ๒๕๐๖: ๔๘) หน้​้าที่​่�เด็​็กไทย ๑๐ ประการ ที่​่�ได้​้ ประกาศออกมานั้​้�น ทุ​ุกข้​้อมี​ีเนื้​้�อหา ตรงกั​ับในคำำ�ร้​้องของบทเพลงหน้​้าที่​่� เด็​็กทุ​ุกประการ หากแต่​่จะมี​ีราย

หนั​ังสื​ือที่​่�ระลึ​ึกวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ ประจำำ�ปี​ี พ.ศ. ๒๕๐๖ และหน้​้าที่​่�ตี​ีพิ​ิมพ์​์หน้​้าที่​่�เด็​็กไทย ๑๐ ประการ จั​ัดทำำ�โดย คณะกรรมการจั​ัดงานฉลองวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ

43


music video เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก ในดนตรี​ีแนวร็​็อก (ที่​่�มา: เพจ Facebook แปลงซะเสี​ีย)

ละเอี​ียดเสริ​ิมเติ​ิมขึ้​้�นมาเล็​็กน้​้อย ดั​ังนี้​้� ข้​้อที่​่� ๑ เด็​็กพึ​ึงมี​ีศรั​ัทธาเลื่​่�อมใส ในศาสนา ข้​้อที่​่� ๒ เด็​็กพึ​ึงเคารพและรั​ักษา ไว้​้ซึ่​่�งขนบธรรมเนี​ียมประเพณี​ีของ บ้​้านเมื​ือง ข้​้อที่​่� ๓ เด็​็กพึ​ึงเชื่​่�อฟั​ังบิ​ิดามารดา ผู้​้�ปกครอง และครู​ูอาจารย์​์ ข้​้อที่​่� ๔ เด็​็กพึ​ึงมี​ีกิริ​ิ ยิ าวาจาสุ​ุภาพ ต่​่อคนทั่​่�วไป และเคารพนั​ับถื​ือผู้​้�ใหญ่​่ ข้​้อที่​่� ๕ เด็​็กพึ​ึงมี​ีความกตั​ัญญู​ู กตเวที​ี ข้​้อที่​่� ๖ เด็​็กพึ​ึงเป็​็นผู้​้�มี​ีระเบี​ียบ และรั​ักษาความสะอาดเสมอ ข้​้อที่​่� ๗ เด็​็กพึ​ึงมี​ีความมานะ อดทนขยั​ันหมั่​่�นเพี​ียร และตั้​้�งใจ ศึ​ึกษาหาความรู้​้� ข้​้อที่​่� ๘ เด็​็กพึ​ึงรู้​้�จั​ักประหยั​ัด และเก็​็บออมทรั​ัพย์​์ ข้​้อที่​่� ๙ เด็​็กพึ​ึงมี​ีความซื่​่�อสั​ัตย์​์ สุ​ุจริ​ิต กล้​้าพู​ูดกล้​้าทำำ�ในสิ่​่�งที่​่�ควร และมี​ีน้ำำ��ใจเป็​็นนั​ักกี​ีฬา ข้​้อที่​่� ๑๐ เด็​็กพึ​ึงทำำ�ตนให้​้เป็​็น ประโยชน์​์แก่​่ผู้​้�อื่​่�น และรู้​้�จั​ักรั​ักษา 44

สาธารณสมบั​ัติ​ิของชาติ​ิ จากหลั​ักฐานที่​่�พบ กล่​่าวได้​้โดย เบื้​้�องต้​้นว่​่า เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก น่​่าจะถู​ูก ประพั​ันธ์​์ขึ้​้�นพร้​้อมกั​ับการประกาศ “หน้​้าที่​่�ของเด็​็กไทย” โดยคณะกรรมการ จั​ัดงานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ ช่​่วงก่​่อนจั​ัด งานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ ประจำำ�ปี​ี พ.ศ. ๒๕๐๖ เพื่​่�อให้​้ทันั บั​ันทึ​ึกเสี​ียงและเผย แพร่​่ในงานกิ​ิจกรรมดั​ังกล่​่าว ซึ่​่�งขณะ นั้​้�น การจั​ัดกิ​ิจกรรมวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ ยั​ังกำำ�หนดให้​้จั​ัดขึ้​้�นในวั​ันจั​ันทร์​์แรก ของเดื​ือนตุ​ุลาคม (ก่​่อนจะเปลี่​่�ยน เป็​็นวั​ันเสาร์​์ที่​่� ๒ ของเดื​ือนมกราคม ในปี​ี พ.ศ. ๒๕๐๘: ผู้​้�เขี​ียน) การ จั​ัดงานในปี​ี พ.ศ. ๒๕๐๖ นั้​้�น วั​ัน เด็​็กแห่​่งชาติ​ิจึงึ ตรงกั​ับวั​ันจั​ันทร์​์ที่​่� ๗ ตุ​ุลาคม นั่​่�นเอง เพลงหน้​้าที่​่เ� ด็​็ก ในปั​ัจจุ​ุบันั และในฐานะ เครื่​่�องมื​ือทางการเมื​ือง ผู้​้�เขี​ียนต้​้องขอชี้​้�แจงประการ หนึ่​่�งว่​่า การนำำ�เนื้​้�อเพลงต่​่าง ๆ มา นำำ�เสนอในส่​่วนนี้​้� มิ​ิได้​้ต้​้องการชี้​้�นำำ� เรื่​่�องของการเมื​ืองให้​้เกิ​ิดความคิ​ิดไป

ในทางใดทางหนึ่​่�ง และไม่​่ต้​้องการ ให้​้เกิ​ิดความแตกแยกแต่​่อย่​่างใด หากเพี​ียงเพื่​่�อต้​้องการจะนำำ�เสนอ ปรากฏการณ์​์ที่​่�บทเพลงบทเพลง หนึ่​่�งนั้​้�น ได้​้ถูกู นำำ�ไปรั​ับใช้​้ปรุ​ุงปรนใน กลุ่​่�มคนกลุ่​่�มต่​่าง ๆ ถู​ูกปรั​ับเปลี่​่�ยน ไปตามบริ​ิบทของสั​ังคมตามกระแส ความคิ​ิดที่​่�เปลี่​่�ยนแปลงได้​้ตลอด เวลา และต้​้องการแสดงให้​้เห็​็นถึ​ึง เส้​้นทางการเดิ​ินทางของบทเพลง เล็​็ก ๆ นี้​้� ที่​่�สามารถเดิ​ินทางผ่​่านกาล เวลาและมี​ีการปรั​ับปรุ​ุงให้​้สามารถ อยู่​่�อย่​่างร่​่วมสมั​ัยได้​้จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน เพี​ียงเท่​่านั้​้�น เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก ยั​ังคงดำำ�รงอยู่​่�ใน ปั​ัจจุ​ุบันั และถู​ูกนำำ�เข้​้าสู่​่�กระบวนการ ทำำ�ซ้ำำ��ใหม่​่ แต่​่งเติ​ิม แก้​้ไข เป็​็นดนตรี​ี รสใหม่​่หลายครั้​้�ง เช่​่น การนำำ�มา แปลงเนื้​้�อร้​้อง การใช้​้ประกอบ วี​ีดิ​ิทั​ัศน์​์ การนำำ�มาสร้​้างเป็​็นเพลง ดนตรี​ีแนวใหม่​่ (ถึ​ึงขั้​้�นเป็​็นดนตรี​ีร็อ็ ก ที่​่�หนั​ักหน่​่วง แต่​่ฟั​ังดู​ูดี​ี) แต่​่แม้​้ กระนั้​้�นก็​็ตาม จากการสำำ�รวจในฐาน ข้​้อมู​ูลออนไลน์​์ก็พ็ บว่​่า เพลงหน้​้าที่​่�


เด็​็ก ที่​่�เป็​็นฉบั​ับบั​ันทึ​ึกเสี​ียงโดยวง สุ​ุนทราภรณ์​์ดั้​้�งเดิ​ิมแบบขั​ับร้​้องหมู่​่� ก็​็ยังั คงเป็​็นที่​่�นิ​ิยมมากที่​่�สุ​ุดในการถู​ูก นำำ�มาทำำ�ซ้ำำ��ดั​ัดแปลงใช้​้ในมิ​ิติ​ิบริ​ิบท ต่​่าง ๆ อาจจะเพราะผู้​้�คนมี​ีความ เคยชิ​ินในเสี​ียงและบรรยากาศทาง ดนตรี​ีของยุ​ุคสมั​ัยนั้​้�น ที่​่�ดนตรี​ียุ​ุค ใหม่​่ไม่​่สามารถให้​้ได้​้ หรื​ืออี​ีกนั​ัยหนึ่​่�ง อาจจะเป็​็นเรื่​่�องของความรู้​้�สึ​ึก ที่​่�มี​ี ความพึ​ึงใจซาบซึ้​้�งกั​ับบทเพลงฉบั​ับ นี้​้�ก็​็เป็​็นได้​้ ที่​่�ดึ​ึงดู​ูดผู้​้�คนให้​้นำำ�ดนตรี​ี เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กต้​้นฉบั​ับนี้​้�มาปรุ​ุงปรน ใหม่​่ในแบบของตน หนึ่​่�งในบริ​ิบทที่​่�น่​่าสนใจ คื​ือ การที่​่�เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กถู​ูกนำำ�มาเป็​็น เครื่​่�องมื​ือในการต่​่อสู้​้�/ล้​้อเลี​ียน/ เสี​ียดสี​ี/แซวในเรื่​่�องทางการเมื​ือง เพราะการเมื​ืองในวิ​ิถี​ีประชาธิ​ิปไตย เราจะเห็​็นได้​้บ่​่อยครั้​้�งที่​่�มี​ีการนำำ�สื่​่�อ ต่​่าง ๆ ทั้​้�งสื่​่�อร่​่วมสมั​ัยหรื​ือสื่​่�อใน อดี​ีต มาปรุ​ุงปรนขึ้​้�นใหม่​่ เพื่​่�อ เป็​็นเครื่​่�องมื​ือในการเสี​ียดสี​ี การ ประชดประชั​ัน และบางครั้​้�งก็​็เป็​็น เครื่​่�องมื​ือที่​่�ช่​่วยลดแรงเสี​ียดทานไม่​่ ให้​้บรรยากาศในการต่​่อสู้​้�ทางการ เมื​ืองเหล่​่านั้​้�นตึ​ึงเครี​ียดจนเกิ​ินไป ใน ข้​้อเขี​ียนชิ้​้�นนี้​้� ผู้​้�เขี​ียนจะขอยกกรณี​ี ตั​ัวอย่​่างที่​่�มี​ีการนำำ�เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก มาเป็​็นเครื่​่�องมื​ือทางการเมื​ืองร่​่วม สมั​ัย ที่​่�ได้​้เกิ​ิดขึ้​้�นเป็​็นปรากฏการณ์​์ มานำำ�เสนอบางส่​่วน ดั​ังนี้​้� ปี​ี พ.ศ. ๒๕๕๖ มี​ีการนำำ�เพลง หน้​้าที่​่�เด็​็กมาแปลงเนื้​้�อร้​้องใหม่​่ แต่​่ ใช้​้ทำำ�นองเดิ​ิม เนื้​้�อหาเป็​็นการประชด ประชั​ันพฤติ​ิกรรมของคณะรั​ัฐมนตรี​ี ในรั​ั ฐ บาลช่​่ ว งเวลานั้​้�น โดยให้​้ ชื่​่�อบทเพลงใหม่​่ว่​่า “หน้​้าที่​่�เด็​็กดี​ี v รั​ัฐมนตรี​ี” หรื​ืออี​ีกชื่​่�อหนึ่​่�งว่​่า “หน้​้าที่​่� เด็​็กดี​ี เวอร์​์ชันั รั​ัฐมนตรี​ี” โดยใช้​้ภาพ ที่​่�สะท้​้อนออกมาจากสื่​่�อต่​่าง ๆ ใน ประเด็​็นทางการเมื​ือง มาเรี​ียงร้​้อย เป็​็นบทเพลง ใช้​้ท่อ่ นสร้​้อยคล้​้ายกั​ับ

หน้​้าสื่​่�อวี​ีดิ​ิทั​ัศน์​์บทเพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กดี​ี เวอร์​์ชั​ันรั​ัฐมนตรี​ี (ที่​่�มา: https://hilight.kapook.com/view/87934)

“เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก” ฉบั​ับดั้​้�งเดิ​ิม จากท่​่อนสร้​้อยที่​่�ร้​้องว่​่า “…เด็​็กเอ๋​๋ยเด็​็กดี​ี ต้​้องมี​ีหน้​้าที่​่�สิ​ิบอย่​่างด้​้วยกั​ัน...” เปลี่​่�ยนมาเป็​็น “…เหล่​่ารั​ัฐมนตรี​ี ต้​้อง มี​ีหน้​้าที่​่�สิ​ิบอย่​่างด้​้วยกั​ัน...” มี​ีเนื้​้�อร้​้องเต็​็มคื​ือ เหล่ารัฐมนตรี ต้องมีหน้าที่สิบอย่างด้วยกัน (ซ้ํา) หนึ่ง ล้มล้างการศึกษา สอง นิรโทษกรรม สาม รับญาติ ๆ เข้าไปทํางาน สี่ ปัญญานั้นด้อยกว่าเด็ก ป.๓ ห้า ถามมากต้องเกาหู หก ดูรูปโป๊ในสภา เจ็ด ไม่ต้องเน้นผู้เชี่ยวชาญ ให้มาเน้นเลียไข่นักโทษสยาม แปด รู้จักอมงบกัน เก้า ต้องขนผักตลอดกาล กู้มาแล้วก็ต้องรีบผลาญ ให้เหมาะกับกาลสมัยชาติพัฒนา สิบ สาวกต้องดูโหด ๆ เห็นใครชุมนุมโกรธ เสียงข้างมากต้องรักษา นี่แหละรัฐชาติพัฒนา จะเป็นสิ่งที่พาชาติไทยเจริญ

ช่​่วงปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๐ บทเพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กถู​ูกนำำ�มาใช้​้เป็​็นสั​ัญลั​ักษณ์​์ในการ แสดงจุ​ุดยื​ืนและแนวคิ​ิดของคนรุ่​่�นใหม่​่ เป็​็นการจั​ัดงานโดยกลุ่​่�มที่​่�เรี​ียกตน ว่​่า กลุ่​่�มการศึ​ึกษาเพื่​่�อความเป็​็นไท ภายใต้​้แนวคิ​ิดที่​่�ว่​่า ในทุ​ุก ๆ ปี​ี รั​ัฐไทย จะมี​ีการจั​ัดงานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ เป็​็นวั​ันที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่จะเดิ​ินเข้​้ากำำ�หนดทิ​ิศทาง พื้​้�นที่​่�ของเด็​็ก มี​ีการจั​ัดงานให้​้เด็​็กเข้​้าไปเห็​็นโลกของผู้​้�ใหญ่​่ เห็​็นได้​้ชั​ัด จากการเปิ​ิดพื้​้�นที่​่�ให้​้เด็​็กได้​้สัมั ผั​ัส เช่​่น การจั​ัดแสดงเครื่​่�องบิ​ินรบ เก้​้าอี้​้�ผู้​้�ว่า่ ราชการจั​ังหวั​ัด เก้​้าอี้​้�นายกรั​ัฐมนตรี​ี การจั​ัดแสดงรถถั​ัง เป็​็นต้​้น การจั​ัด งานในครั้​้�งนี้​้�จึ​ึงต้​้องการกลั​ับด้​้านบริ​ิบทเดิ​ิม ๆ ที่​่�เคยเกิ​ิดขึ้​้�น จากงานวั​ันเด็​็ก 45


ป้​้ายประชาสั​ัมพั​ันธ์​์งานวั​ันผู้​้�ใหญ่​่แห่​่งชาติ​ิ ภายในเนื้​้�อหามี​ีการพู​ูดถึ​ึงหน้​้าที่​่�เด็​็ก ๑๐ อย่​่าง (ที่​่�มา: เพจ Facebook วั​ันผู้​้�ใหญ่​่แห่​่งชาติ​ิ)

แห่​่งชาติ​ิ เป็​็นงานวั​ันผู้​้�ใหญ่​่แห่​่งชาติ​ิ โดยจั​ัดขึ้​้�นในวั​ันที่​่� เนื้​้�อร้​้องทั้​้�งหมดได้​้กล่​่าวว่​่า ๗ กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ พิ​ิพิ​ิธบางลำำ�พู​ู ถนน พระสุ​ุเมรุ​ุ กรุ​ุงเทพฯ ซึ่​่�งภายในงานมี​ีกิจิ กรรมมากมาย ผู้ใหญ่เอ๋ย ผู้ใหญ่ดี ต้องมีหน้าที่สิบอย่างด้วยกัน (ซ้ํา) ได้​้แก่​่ การเสวนาปั​ัญหาชี​ีวิ​ิตประเด็​็นลู​ูกเป็​็นตุ๊​๊�ด หนึ ่ง เปิดกว้างศาสนา (LGBT), ทอล์​์กโชว์​์ว่​่าด้​้วยกิ​ิจกรรมที่​่� (ดู​ูเหมื​ือน) ไร้​้ สอง เห็นค่ามนุษย์มั่น สาระที่​่�ลู​ูกหลานชอบทำำ�, สอยดาวภาษาวั​ัยรุ่​่�น ลุ้​้�นรั​ับ สาม มีวิจารณญาณ รางวั​ัล “ชุ​ุดใหญ่​่ไฟกระพริ​ิบ”, สอนทำำ�ภาพสวั​ัสดี​ีวั​ัน จั​ันทร์​์สำำ�หรั​ับส่​่งในไลน์​์ และการทดลองเป็​็นลู​ูกหลาน สี่ วาจานั้นไม่ยัดเยียดเหยียดหยาม ด้​้วยการทำำ�ข้​้อสอบ ONET และ PAT ห้า ยึดมั่นในเหตุผล เมื่​่�อมี​ีการจั​ัดงานที่​่�เป็​็นการสร้​้างบริ​ิบทใหม่​่ที่​่�ตรงกั​ัน หก เคารพคนคิดต่าง ข้​้ามกั​ับงานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ บทเพลงที่​่�ใช้​้ในงานวั​ันเด็​็ก เจ็ด รับฟังเด็กบ้าง รับรู้โลกอย่างไม่กีดขวาง แห่​่งชาติ​ิมาโดยตลอดอย่​่างเพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กจึ​ึงถู​ูกนำำ�มา แปด ego ต้องขจัด ปรั​ับเปลี่​่�ยนเป็​็นเพลง “หน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่” เพื่​่�อใช้​้ในงานวั​ัน เก้า ต้องปรับตัวตลอดกาล โลกใหม่กว้างใหญ่ ผู้​้�ใหญ่​่แห่​่งชาติ​ินี้​้�ด้​้วย เนื้​้�อหาของบทเพลงนั้​้�นต้​้องการ ไพศาล ให้เหมาะกับกาลนานาชาติพัฒนา จะให้​้คนวั​ัยผู้​้�ใหญ่​่เปิ​ิดใจยอมรั​ับเด็​็ก เนื้​้�อหาของเพลง สิบ ทําตนให้เป็นประโยชน์ ทําผิดก็ขอโทษ หน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่นี้​้� แม้​้มี​ีความตรงไปตรงมา จิ​ิกกั​ัดเสี​ียดสี​ี อย่าโยนผิดให้ลูกหลาน ตามประสาเพลงที่​่�ข้​้องเกี่​่�ยวกั​ับสั​ังคมและการเมื​ือง ผู้ใหญ่สมัยชาติพัฒนา ต้องออกนอกกะลา เน้​้นถึ​ึงปั​ัญหาที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจริ​ิง แต่​่ยังั คงใช้​้ภาษาที่​่�สุ​ุภาพ ไม่​่ ชาติไทยเจริญ เป็​็นการระราน หรื​ือมี​ีความหยาบคายแต่​่อย่​่างใด โดย 46


บทเพลง “หน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่” ที่​่�เผยแพร่​่ในงานวั​ันผู้​้�ใหญ่​่แห่​่งชาติ​ิ วั​ันที่​่� ๗ กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ พ.ศ. ๒๕๖๐ นี้​้� ยั​ังได้​้ ถู​ูกนำำ�มาเป็​็นเครื่​่�องมื​ือในการต่​่อสู้​้�ทางการเมื​ืองอี​ีกครั้​้�ง ในปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๓ นั่​่�นคื​ือการชุ​ุมนุ​ุมของกลุ่​่�มที่​่� เรี​ียนตนว่​่า “คณะนั​ักเรี​ียนเลว” เป็​็นกลุ่​่�มของเด็​็กนั​ักเรี​ียนที่​่�รวมตั​ัวกั​ันขึ้​้�นใต้​้นิยิ ามที่​่�ตนตั้​้�งว่​่าเป็​็นผลผลิ​ิตที่​่� ผิ​ิดพลาดของระบบการศึ​ึกษาที่​่�แสนดี​ี นอกจากการนำำ�เพลงหน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่มาขั​ับร้​้องแล้​้ว กลุ่​่�มของนั​ักเรี​ียน เหล่​่านี้​้�ยั​ังสร้​้างชุ​ุดการแสดงหน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่ โดยใช้​้บทเพลงหน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่นี้​้�ร้อ้ งประกอบการแสดงเล่​่าเรื่​่�อง นั​ับ เป็​็นสี​ีสันั หนึ่​่�งของการชุ​ุมนุ​ุมที่​่�จั​ัดขึ้​้�นโดยเด็​็กนั​ักเรี​ียนในยุ​ุคปั​ัจจุ​ุบันั ที่​่�หน้​้ากระทรวงศึ​ึกษาธิ​ิการ ในวั​ันที่​่� ๕ กั​ันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓ แม้​้ว่า่ บทเพลงจะใช้​้ชื่​่�อว่​่า “หน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่” เช่​่นเดี​ียวกั​ันกั​ับฉบั​ับปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๐ แต่​่ ก็​็มี​ีการปรั​ับเปลี่​่�ยนคำำ�ร้​้องเล็​็กน้​้อยให้​้มี​ีความลื่​่�นไหลและร่​่วมสมั​ัยมากขึ้​้�น ผู้​้�เขี​ียนขอชี้​้�ให้​้เห็​็นถึ​ึงคำำ�ร้​้องที่​่�มี​ีการเปลี่​่�ยนแปลง ระหว่​่างเพลงหน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่ ฉบั​ับปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๐ กั​ับ ฉบั​ับปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๓ นี้​้� ในรู​ูปแบบตารางเปรี​ียบเที​ียบเนื้​้�อร้​้อง ดั​ังนี้​้�

หน้าที่ผู้ใหญ่ ๒๕๖๐

หน้าที่ผู้ใหญ่ ๒๕๖๓

หนึ่ง เปิดกว้างศาสนา

หนึ่ง เปิดกว้างศาสนา

สอง เห็นค่ามนุษย์มั่น

สอง รู้ค่าคนด้วยกัน

สาม มีวิจารณญาณ

สาม มีวิจารณญาณ

สี่ วาจานั้นไม่ยัดเยียดเหยียดหยาม

สี่ วาจานั้นไม่แดกดันเหยียดหยาม

ห้า ยึดมั่นในเหตุผล

ห้า คิดด้วยเหตุผล

หก เคารพคนคิดต่าง

หก ให้เคารพคนมองต่าง

เจ็ด รับฟังเด็กบ้าง รับรู้โลกอย่างไม่กีดขวาง

เจ็ด วางใจให้เป็นกลาง ฟังผู้น้อยดูบ้าง อย่าเพิ่ง รีบไปค้าน

แปด ego ต้องขจัด

แปด มีอัตตาจงขจัด

เก้า ต้องปรับตัวตลอดกาล โลกใหม่กว้างใหญ่ เก้า อย่าจํากัดประสบการณ์ เรียนรู้โลกใหม่ ไพศาล ให้เหมาะกับกาลนานาชาติพัฒนา ไพศาล ให้เท่าทันการณ์นานาชาติพัฒนา สิบ ทําตนให้เป็นประโยชน์ ทําผิดก็ขอโทษ สิบ ทําตนให้น่าเอาอย่าง รู้จักขอโทษบ้าง และ อย่าโยนผิดให้ลูกหลาน ผู้ใหญ่สมัยชาติพัฒนา ไม่สร้างแต่ปัญหา ผู้ใหญ่สมัยชาติพัฒนาร่วม ต้องออกนอกกะลา ชาติไทยเจริญ จับมือเด็กพา ชาติไทยเจริญ ตารางเปรียบเทียบเนื้อร้องหน้าที่ผู้ใหญ่ ระหว่างฉบับปี พ.ศ. ๒๕๖๐ และ พ.ศ. ๒๕๖๓ (ที่มา: จิตร์ กาวี)

47


เนื้​้�อเพลงหน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่ ที่​่�ถู​ูกติ​ิดไว้​้ภายในงานวั​ันผู้​้�ใหญ่​่แห่​่งชาติ​ิ (ที่​่�มา: https://prachatai.com/journal/2017/02/69935)

ตั​ัวอย่​่างบทเพลงที่​่�ได้​้ยกมา ทั้​้�งหมดนี้​้� เป็​็นเพี​ียงส่​่วนหนึ่​่�งเท่​่านั้​้�น แต่​่อย่​่างน้​้อยก็​็ได้​้แสดงให้​้เห็​็นถึ​ึงภาพ กว้​้างของบทเพลงเล็​็ก ๆ บทเพลง หนึ่​่�ง ได้​้สร้​้างปรากฏการณ์​์ทางสั​ังคม ในฐานะที่​่�เป็​็นบทเพลงการเมื​ืองสมั​ัย นิ​ิยมสู่​่�การเป็​็นบทเพลงการเมื​ือง ร่​่วมสมั​ัย แม้​้ว่​่าบทเพลงนี้​้�จะถู​ูกทำำ� ซ้ำำ��เปลี่​่�ยนแปลงไปมากเท่​่าใด แต่​่จะ เห็​็นได้​้เช่​่นกั​ันว่​่า เสน่​่ห์แ์ ละความนิ​ิยม ของบทเพลงต้​้นฉบั​ับดั้​้�งเดิ​ิม (ขั​ับร้​้อง หมู่​่�และบรรเลงโดยวงสุ​ุนทราภรณ์​์) แทบจะไม่​่ถู​ูกทำำ�ลายหรื​ือลดคุ​ุณค่​่า ลงไปเลย เพราะยั​ังคงถู​ูกหยิ​ิบจั​ับ มาประกอบสื่​่�อ ประกอบการสอน ต่​่าง ๆ อยู่​่�อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ในขณะที่​่� หลายบทเพลงที่​่�ประพั​ันธ์​์ขึ้​้�นอั​ันมี​ีจุดุ ประสงค์​์หรื​ือรู​ูปแบบที่​่�คล้​้ายคลึ​ึงกั​ัน ไม่​่ว่า่ บทประพั​ันธ์​์นั้​้�นจะประพั​ันธ์​์ขึ้​้�น 48

มาก่​่อนหน้​้าหรื​ือหลั​ังบทเพลง “หน้​้าที่​่� เด็​็ก” นี้​้�ก็​็ตาม ต่​่างก็​็หายสาบสู​ูญไป ตามกาลเวลา เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กจึ​ึงได้​้ พิ​ิสู​ูจน์​์เรื่​่�องหนึ่​่�งว่​่า ตั​ัวบทเพลงนี้​้� มี​ีคุ​ุณค่​่าและได้​้แทรกซึ​ึมไปอยู่​่�ในใจ ของผู้​้�ฟั​ังเป็​็นที่​่�เรี​ียบร้​้อยแล้​้ว ผ่​่าน กาลเวลาที่​่�ยาวนานนั​ับตั้​้�งแต่​่มี​ีการ เผยแพร่​่ขึ้​้�นมาครั้​้�งแรก ไม่​่ว่​่าผู้​้�ฟั​ัง ทุ​ุกท่​่านจะมองบทเพลงนี้​้�ในมุ​ุมมอง ใดก็​็ตาม ดั​ังนั้​้�น คำำ�ถามที่​่�จะพิ​ิสู​ูจน์​์ เรื่​่�องนี้​้�อย่​่างง่​่าย ๆ ก็​็คื​ือ หากเพี​ียง เกริ่​่�นเนื้​้�อร้​้องว่​่า “…เด็​็กเอ๋​๋ยเด็​็กดี​ี…” เราจะนึ​ึกถึ​ึงท่​่อนต่​่อไปของบทเพลง นี้​้�ออกหรื​ือไม่​่? เท่​่านี้​้� ข้​้อพิ​ิสูจู น์​์ก็น่็ า่ จะเด่​่นชั​ัดในระดั​ับหนึ่​่�งแล้​้ว

ชื่​่�อว่​่ากำำ�เนิ​ิดขึ้​้�นจากการเป็​็นบทเพลง กระบอกเสี​ียงของรั​ัฐไทย แต่​่ก็ถู็ กู แปร เปลี่​่�ยนมาเป็​็นเครื่​่�องมื​ือทางการเมื​ือง ในบริ​ิบทต่​่าง ๆ ได้​้อย่​่างน่​่าสนใจ หากมาทบทวนดู​ูแล้​้ว จุ​ุดประสงค์​์ แรกเริ่​่�มของการกำำ�เนิ​ิดเพลงหน้​้าที่​่� เด็​็กนี้​้� ก็​็เป็​็นเหตุ​ุผลทางการเมื​ืองเช่​่น กั​ัน ด้​้วยเป็​็นการใช้​้วงดนตรี​ีของรั​ัฐ คนของรั​ัฐ สร้​้างสื่​่�อปลู​ูกฝั​ังค่​่านิ​ิยม อั​ันเป็​็นไปตามความต้​้องการของรั​ัฐ โดยมี​ีเป้​้าใหม่​่ในกลุ่​่�มคนที่​่�เป็​็นพลั​ัง ของรั​ัฐมากที่​่�สุ​ุดในอนาคต คื​ือ “เด็​็ก” คำำ�พู​ูดที่​่�พู​ูดกั​ันทั่​่�วว่​่า “เด็​็กคื​ืออนาคต ของชาติ​ิ” แม้​้ว่า่ จะดู​ูเก่​่าและเชย แต่​่ ข้​้อความเหล่​่านี้​้�นั้​้�นก็​็ “จริ​ิง” ที​ีเดี​ียว อย่​่างไรก็​็ตาม การจะมี​ีอนาคตของ สรุป ชาติ​ิที่​่�ดี​ี แน่​่นอนว่​่าต้​้องได้​้รั​ับความ เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก ยั​ังคงเป็​็นเพลง ร่​่วมมื​ือจากกลุ่​่�ม “ปั​ัจจุ​ุบันั ของชาติ​ิ” เด็​็กอมตะที่​่�เป็​็นที่​่�นิ​ิยม เป็​็นเพลงที่​่�ได้​้ ด้​้วย เพราะหากปั​ัจจุ​ุบั​ันไม่​่สู้​้�ดี​ีนั​ัก


อนาคตก็​็ย่​่อมมองไม่​่เห็​็นแสงสว่​่าง เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็ก หน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่ ก็​็จะถู​ูก ทำำ�ซ้ำำ�� รอบแล้​้วรอบเล่​่า เป็​็นสนาม ให้​้นั​ักดนตรี​ีวิ​ิทยาเก็​็บข้​้อมู​ูลไม่​่รู้​้�จบ ก็​็เท่​่านั้​้�นเอง… บั​ันทึ​ึกเตื​ือนความจำำ� บทความชิ้​้�นนี้​้� เขี​ียนขึ้​้�นวั​ันที่​่� ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็​็นวั​ัน เด็​็กแห่​่งชาติ​ิ ประจำำ�ปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๔ ในขณะที่​่�โรคระบาดโควิ​ิด-๑๙ กำำ�ลั​ัง ระบาดหนั​ักระลอกใหม่​่ในประเทศไทย จนทำำ�ให้​้งดจั​ัดงานวั​ันเด็​็กทั่​่�วประเทศ เป็​็นครั้​้�งแรกในรอบกว่​่า ๕๐ ปี​ี แต่​่ บทเพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กยั​ังคงดั​ังก้​้องในทุ​ุก ภาพข่​่าว เพลงหน้​้าที่​่�ผู้​้�ใหญ่​่ที่​่�ใช้​้ในเวที​ีการชุ​ุมนุ​ุมของกลุ่​่�มนั​ักเรี​ียนเลว (ที่​่�มา: https://thestandard.co/composing-good-adult-songs-must- สื่​่�อสั​ังคมออนไลน์​์ที่​่�พูดู ถึ​ึงงานวั​ันเด็​็ก have-10-duties/)

บรรณานุ​ุกรม THE STANDARD TEAM. (๕ กั​ันยายน ๒๐๒๐). กลุ่​่�มนั​ักเรี​ียนเลว แต่​่งเพลงผู้​้�ใหญ่​่ดีต้ี ้องมี​ีหน้​้าที่​่� ๑๐ อย่​่าง ร่​่วมจั​ับมื​ือเด็​็กพาชาติ​ิไทยเจริ​ิญ. เข้​้าถึ​ึงได้​้จาก The Standard: https://thestandard.co/composing good-adult-songs-must-have-10-duties/ กระทรวงวั​ัฒนธรรม. (๒๖ กั​ันยายน ๒๕๕๖). ที่​่�มา เพลงหน้​้าที่​่�ของเด็​็ก. เข้​้าถึ​ึงได้​้จาก www.m-culture.go.th: https://www.m-culture.go.th/surveillance/ewt_news.php?nid=820&filename=index#:~:text= สำำ�หรั​ับเพลง%20”หน้​้าที่​่�ของเด็​็ก,ได้​้ประกาศปฏิ​ิญญาสากลว่​่า กระปุ​ุกดอทคอม. (มิ​ิถุ​ุนายน ๒๕๕๖). เพลงหน้​้าที่​่�เด็​็กดี​ี เวอร์​์ชั​ันรั​ัฐมนตรี​ี จิ​ิกกั​ัดรั​ัฐบาลแบบสุ​ุดเจ็​็บ. เข้​้าถึ​ึงได้​้ จาก kapook.com: https://hilight.kapook.com/view/87934 คณะกรรมการจั​ัดงานวั​ันเด็​็กแห่​่งชาติ​ิ. (๒๕๐๖). ของขวั​ัญวั​ันเด็​็ก ๒๕๐๖. กรุ​ุงเทพฯ: โรงพิ​ิมพ์​์คุ​ุรุ​ุสภา. ชอุ่​่�ม ปั​ัญจพรรค์​์. (๒๕๓๒). จดหมายถึ​ึงอาเอื้​้�อ (ผู้​้�เป็​็นน้​้องเขย). ใน คณะอนุ​ุกรรมการหนั​ังสื​ือที่​่�ระลึ​ึก คณะ กรรมการดำำ�เนิ​ินการจั​ัดงานเนื่​่�องในโอกาสครบรอบ ๔๙ ปี​ี และ ๕๐ ปี​ี วงดนตรี​ีสุนุ ทราภรณ์​์, สุ​ุนทราภรณ์​์ ครึ่​่�งศตวรรษ. (หน้​้า ๑๑๔-๑๑๙). กรุ​ุงเทพฯ: สำำ�นั​ักพิ​ิมพ์​์เพื่​่�อนชี​ีวิ​ิต.

49


STUDY ABROAD

การเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ี ในประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา (ตอนที่​่� ๑) เรื่​่�อง: ปริ​ิญธร ป่​่ านแก้​้ว (Parintorn Pankaew) นั​ักศึ​ึกษาชั้​้�นปี​ีที่​่� ๔ สาขาดนตรี​ีบำำ�บัด ั มหาวิ​ิทยาลั​ัยจอร์​์เจี​ีย ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา

เมื่​่�อพู​ูดถึ​ึงการเรี​ียนดนตรี​ี ผู้​้� เขี​ียนเชื่​่�อว่​่า มี​ีน้​้อยคนนั​ักจะนึ​ึกถึ​ึง การเรี​ียนด้​้านดนตรี​ีบำำ�บั​ัด เพราะ เป็​็นสาขาที่​่�ใหม่​่มากโดยเฉพาะใน ประเทศไทย ผู้​้�เขี​ียนเองก็​็เคยเป็​็น หนึ่​่�งในคนเหล่​่านั้​้�น แม้​้แต่​่คนใน แวดวงดนตรี​ีหลายคนยั​ังไม่​่ทราบ ว่​่ามี​ีสาขาดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ย้​้อนกลั​ับไปสมั​ัยที่​่�ผู้​้�เขี​ียนศึ​ึกษาอยู่​่� ในระดั​ับเตรี​ียมอุ​ุดมดนตรี​ีที่​่�วิทิ ยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ผู้​้�เขี​ียนเองไม่​่เคยทราบว่​่าดนตรี​ี บำำ�บั​ัดคื​ืออะไร จนกระทั่​่�งมี​ีโอกาส ได้​้คุ​ุยกั​ับผู้​้�ปกครองของนั​ักเรี​ียนชั้​้�น 50

มั​ัธยมศึ​ึกษาปี​ีที่​่� ๔ ซึ่​่�งได้​้รับั การบำำ�บั​ัด ทางดนตรี​ีบำำ�บั​ัดอย่​่างต่​่อเนื่​่�องเป็​็น ระยะเวลาหลายปี​ี ก่​่อนเข้​้าเรี​ียนที่​่� มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ในปี​ีเดี​ียวกั​ันนั้​้�น Dr. Dena Register และนั​ักศึ​ึกษาดนตรี​ีบำำ�บัดั จาก University of Kansas และ West Virginia University ได้​้เดิ​ิน ทางมาทำำ�กิ​ิจกรรมดนตรี​ีบำำ�บัดั ร่​่วม กั​ับนั​ักศึ​ึกษาสาขาวิ​ิชาดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาโท ของวิ​ิทยาลั​ัย ดุ​ุริ​ิยางคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล ขณะนั้​้�นผู้​้�เขี​ียนศึ​ึกษาอยู่​่�ในระดั​ับชั้​้�น มั​ัธยมศึ​ึกษาปี​ีที่​่� ๕ กำำ�ลั​ังเริ่​่�มวางแผน

การศึ​ึกษาต่​่อในระดั​ับปริ​ิญญาตรี​ี เพราะเพี​ียงอี​ีกปี​ีเดี​ียวก็​็จะเรี​ียนจบ ชั้​้�นมั​ัธยม จะต้​้องตั​ัดสิ​ินใจว่​่าจะ เรี​ียนต่​่อด้​้านดนตรี​ีในสาขาใดและที่​่� มหาวิ​ิทยาลั​ัยไหน ผู้​้�เขี​ียนเริ่​่�มมี​ีความ สนใจในสาขาดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ถึ​ึงแม้​้ว่​่า จะยั​ังไม่​่ตัดั สิ​ินใจว่​่าจะเรี​ียนดี​ีหรื​ือไม่​่ ยั​ังไม่​่เข้​้าใจมากนั​ักว่​่าดนตรี​ีบำำ�บัดั คื​ือ อะไร แต่​่คิดิ ว่​่าศึ​ึกษาไว้​้คงไม่​่เสี​ียหาย จึ​ึงได้​้ขอเข้​้าไปร่​่วมชั้​้�นเรี​ียนและทำำ� กิ​ิจกรรมต่​่าง ๆ กั​ับนั​ักศึ​ึกษาสาขา วิ​ิชาดนตรี​ีบำำ�บัดั ที่​่�วิ​ิทยาลั​ัย หลั​ังจาก การเข้​้าร่​่วมกิ​ิจกรรม ในมุ​ุมมองของ ผู้​้�เขี​ียนเข้​้าใจว่​่าดนตรี​ีบำำ�บัดั คื​ือการใช้​้


ดนตรี​ีในการบำำ�บั​ัดผู้​้�ป่​่วยในด้​้านต่​่าง ๆ เช่​่น ด้​้านสภาพอารมณ์​์ จิ​ิตใจ การ เข้​้าสั​ังคม ทางกายภาพ และอื่​่�น ๆ อี​ีกมากมาย รวมไปถึ​ึงการรั​ักษาโรค ดนตรี​ีบำำ�บัดั แตกต่​่างจากดนตรี​ีศึกึ ษา ตรงที่​่� ดนตรี​ีศึ​ึกษามี​ีจุ​ุดประสงค์​์คื​ือ มุ่​่�งเน้​้นทางด้​้านทั​ักษะทางดนตรี​ี แต่​่ ดนตรี​ีบำำ�บัดั ใช้​้ดนตรี​ีในการรั​ักษาโรค ถึ​ึงแม้​้ผู้​้�เขี​ียนจะมี​ีความสนใจทาง ด้​้านดนตรี​ีบำำ�บั​ัดหลั​ังจากได้​้ฟั​ังการ บรรยายของ Dr. Dena Register และทำำ�กิ​ิจกรรมร่​่วมกั​ับนั​ักศึ​ึกษา ดนตรี​ีบำำ�บัดั การตั​ัดสิ​ินใจที่​่�จะเรี​ียน ดนตรี​ีบำำ�บัดั ในระดั​ับปริ​ิญญาตรี​ียังั มี​ี อะไรให้​้ต้​้องไตร่​่ตรองอี​ีกมาก สิ่​่�งแรกที่​่�เป็​็นอุ​ุปสรรคในการ เรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บั​ัดระดั​ับปริ​ิญญา ตรี​ีสำำ�หรั​ับนั​ักศึ​ึกษาชาวไทยคื​ือ ใน ประเทศไทยยั​ังไม่​่มี​ีหลั​ักสู​ูตรการ เรี​ียนการสอนสาขาดนตรี​ีบำำ�บั​ัดใน ระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ี ถึ​ึงแม้​้จะมี​ีการ เรี​ียนการสอนสาขาดนตรี​ีบำำ�บัดั ระดั​ับ ปริ​ิญญาโทแล้​้วในบางมหาวิ​ิทยาลั​ัย รวมถึ​ึงมหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล และถ้​้า เรี​ียนด้​้านดนตรี​ีสาขาอื่​่�น ๆ ในระดั​ับ ปริ​ิญญาตรี​ีที่​่�ประเทศไทย และอยากไป เรี​ียนต่​่อระดั​ับปริ​ิญญาโทสาขาดนตรี​ี บำำ�บั​ัดในต่​่างประเทศ ก็​็มี​ีข้​้อจำำ�กั​ัด มากมาย เช่​่น บางมหาวิ​ิทยาลั​ัยใน ต่​่างประเทศกำำ�หนดว่​่าต้​้องจบปริ​ิญญา ตรี​ีสาขาดนตรี​ีบำำ�บัดั เท่​่านั้​้�นจึ​ึงจะต่​่อ ปริ​ิญญาโทดนตรี​ีบำำ�บั​ัดได้​้ หรื​ือบาง มหาวิ​ิทยาลั​ัยบั​ังคั​ับว่​่าหากนั​ักศึ​ึกษา ไม่​่ได้​้จบสาขาดนตรี​ีบำำ�บัดั มา จะต้​้อง มี​ีการเรี​ียนปรั​ับพื้​้�นฐาน ๑ ปี​ีก่​่อน เริ่​่�มเรี​ียนระดั​ับปริ​ิญญาโท ทำำ�ให้​้ใช้​้ เวลาในการเรี​ียนนานขึ้​้�น นั่​่�นหมาย ถึ​ึง หากผู้​้�เขี​ียนต้​้องการเรี​ียนสาขา ดนตรี​ีบำำ�บัดั ในระดั​ับปริ​ิญญาตรี​ี จะ ต้​้องไปศึ​ึกษาที่​่�ต่​่างประเทศเท่​่านั้​้�น การไปเรี​ียนดนตรี​ีที่​่�ต่า่ งประเทศ ในระดั​ับปริ​ิญญาโท คงไม่​่ใช่​่เรื่​่�อง แปลกใหม่​่สำำ�หรั​ับนั​ักศึ​ึกษาชาวไทย

เนื่​่�องจากมี​ีมหาวิ​ิทยาลั​ัยและอาจารย์​์ ดนตรี​ีที่​่�มี​ีชื่​่�อเสี​ียงมากมายในต่​่าง ประเทศ อี​ีกทั้​้�งมี​ีทุ​ุนการศึ​ึกษาให้​้ แต่​่การไปศึ​ึกษาต่​่อในระดั​ับปริ​ิญญา ตรี​ี เป็​็นที่​่�นิ​ิยมน้​้อยกว่​่า ด้​้วยเหตุ​ุผล หลายประการ เช่​่น ทุ​ุนการศึ​ึกษา ปริ​ิญญาตรี​ีสำำ�หรั​ับนั​ักเรี​ียนต่​่างชาติ​ิ มี​ีน้อ้ ยกว่​่า ค่​่าใช้​้จ่า่ ยตลอดหลั​ักสู​ูตร ค่​่อนข้​้างสู​ูง เนื่​่�องจากระดั​ับปริ​ิญญา ตรี​ีใช้​้เวลาเรี​ียนนานกว่​่าระดั​ับปริ​ิญญา โท เป็​็นต้​้น แต่​่เดิ​ิมผู้​้�เขี​ียนวางแผน ว่​่าจะศึ​ึกษาต่​่อในระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญา ตรี​ีที่​่�ประเทศไทย แล้​้วไปเรี​ียนต่​่อ ระดั​ับปริ​ิญญาโทที่​่�ต่​่างประเทศเช่​่น กั​ัน นอกจากนี้​้� การเรี​ียนในสาขา ดนตรี​ีบำำ�บัดั นั้​้�น ยั​ังไม่​่เป็​็นที่​่�รู้​้�จักั มาก นั​ักแม้​้ในต่​่างประเทศ และถึ​ึงแม้​้จะมี​ี มหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�เปิ​ิดสอนสาขาดนตรี​ี บำำ�บั​ัดหลากหลายแห่​่งในประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา แต่​่ด้​้วยค่​่าใช้​้จ่​่ายที่​่� ค่​่อนข้​้างสู​ูง ทำำ�ให้​้ต้อ้ งคิ​ิดอย่​่างหนั​ัก ในช่​่ ว งปิ​ิ ด เทอมก่​่ อ นขึ้​้�นชั้​้�น มั​ัธยมศึ​ึกษาปี​ีที่​่� ๖ อาจารย์​์ ดร.ดวง ฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิ​ิริ​ิ ได้​้ชวนให้​้ไปดู​ู มหาวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา พร้​้อมกั​ับอาจารย์​์ เนื่​่�องจากอาจารย์​์ จะต้​้องเดิ​ินทางไปทำำ�ธุ​ุระที่​่�นั้​้�น ผู้​้�เขี​ียน ตั​ัดสิ​ินใจเดิ​ินทางไปดู​ูมหาวิ​ิทยาลั​ัย West Virginia University เพื่​่�อ ตั​ัดสิ​ินใจว่​่าจะไปเรี​ียนต่​่อด้​้านดนตรี​ี บำำ�บั​ัดที่​่�นั่​่�นดี​ีหรื​ือไม่​่ มหาวิ​ิทยาลั​ัย West Virginia University อยู่​่�ใน เมื​ืองเล็​็ก ๆ ชื่​่�อมอร์​์แกนทาวน์​์ รั​ัฐเวส เวอร์​์จิ​ิเนี​ีย ผู้​้�เขี​ียนได้​้มี​ีโอกาสเที่​่�ยว ชมมหาวิ​ิทยาลั​ัย ดู​ูหอพั​ักนั​ักศึ​ึกษา เข้​้าร่​่วมชั้​้�นเรี​ียนกั​ับนั​ักศึ​ึกษาดนตรี​ี บำำ�บั​ัด พู​ูดคุ​ุยกั​ับ Dr. Dena Register ซึ่​่�งเป็​็นหั​ัวหน้​้าภาคดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ณ ขณะนั้​้�น และเคยมาทำำ�กิ​ิจกรรม ดนตรี​ีบำำ�บัดั ที่​่�วิ​ิทยาลั​ัยดุ​ุริยิ างคศิ​ิลป์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหิ​ิดล หลายครั้​้�ง นอกจากนี้​้�ยั​ังได้​้มีโี อกาสเรี​ียนเปี​ียโน กั​ับอาจารย์​์สอนเปี​ียโนที่​่� West

Virginia University อี​ีกสองท่​่าน นั​ับว่​่าเป็​็นโอกาสและประสบการณ์​์ ที่​่�ดี​ีมาก ทำำ�ให้​้ผู้​้�เขี​ียนตั​ัดสิ​ินใจสมั​ัคร สอบเข้​้าเรี​ียนในสาขาดนตรี​ีบำำ�บั​ัด ระดั​ับปริ​ิญญาตรี​ีที่​่�นี่​่� ในระหว่​่างรอการตอบรั​ับจาก มหาวิ​ิทยาลั​ัย ผู้​้�เขี​ียนได้​้มีโี อกาสเรี​ียน มาสเตอร์​์คลาสกั​ับ Dr. Ching-wen Hsiao อาจารย์​์เปี​ียโนจาก West Virginia University ที่​่�ได้​้เดิ​ินทาง มาแสดงคอนเสิ​ิร์ต์ และสอนมาสเตอร์​์ คลาสที่​่�ประเทศไทย จากการเรี​ียน มาสเตอร์​์คลาสทำำ�ให้​้ผู้​้�เขี​ียนสนใจ ที่​่�จะไปเรี​ียนต่​่อกั​ับอาจารย์​์ท่​่านนี้​้�ที่​่� West Virginia University และใน ท้​้ายที่​่�สุ​ุด เมื่​่�อประกาศผลการสมั​ัคร เรี​ียน ผู้​้�เขี​ียนได้​้รับั ทุ​ุนการศึ​ึกษาเต็​็ม จำำ�นวน บวกกั​ับเงิ​ินสดสำำ�หรั​ับเป็​็น ค่​่าใช้​้จ่​่ายจำำ�นวนทั้​้�งสิ้​้�น ๑๐,๕๐๐ ดอลลาร์​์สหรั​ัฐ (ประมาณ ๓๑๕,๐๐๐ บาท) ต่​่อปี​ีการศึ​ึกษา ทำำ�ให้​้ผู้​้�เขี​ียน ตั​ัดสิ​ินใจไปเรี​ียนต่​่อสาขาดนตรี​ีบำำ�บัดั ในระดั​ับชั้​้�นปริ​ิญญาตรี​ีที่​่�ประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา บทความนี้​้� ผู้​้�เขี​ียนได้​้บรรยายถึ​ึง ประสบการณ์​์ส่ว่ นตั​ัวและจุ​ุดเริ่​่�มต้​้น ของการเรี​ียนในสาขาดนตรี​ีบำำ�บัดั ใน ส่​่วนของเนื้​้�อหาวิ​ิชาเรี​ียนดนตรี​ีบำำ�บัดั ไปตลอดจนถึ​ึงการปรั​ับตั​ัวและชี​ีวิ​ิต การเป็​็นนั​ักศึ​ึกษาต่​่างชาติ​ิในประเทศ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา จะบรรยายในตอนต่​่อไป สุ​ุดท้​้ายนี้​้� ผู้​้�เขี​ียนขออนุ​ุญาตใช้​้พื้​้�นที่​่� ในการขอบคุ​ุณอาจารย์​์ ดร.ดวงฤทั​ัย โพคะรั​ัตน์​์ศิ​ิริ​ิ สำำ�หรั​ับคำำ�แนะนำำ�ใน การเรี​ียนต่​่อต่​่างประเทศ ตลอดจน ช่​่วยเตรี​ียมการสมั​ัครสอบเข้​้า และ Dr. Dena Register ผู้​้�ซึ่​่�งทำำ�ให้​้ผู้​้� เขี​ียนสนใจและอยากเรี​ียนต่​่อด้​้าน ดนตรี​ีบำำ�บั​ัด

51


ผลการประกวด SET เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๒๓ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ วันอาทิตย์ที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ระดั​ับประถมศึ​ึกษา ชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง เด็​็กชายปราชญ์​์นที​ี อิ​ินทรประสิ​ิทธิ์​์� (ระนาดเอก) รองชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง อั​ันดั​ับ ๑ เด็​็กหญิ​ิงเอมิ​ิ โอโนะ (ไวโอลิ​ิน) รองชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง อั​ันดั​ับ ๒ เด็​็กชายชยพล จั​ันทร์​์พร (เปี​ียโน) รองชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง อั​ันดั​ับ ๓ เด็​็กหญิ​ิงธั​ัญญ์​์นภั​ัส ล้​้วนพิ​ิชญ์​์พงศ์​์ (เปี​ียโน) เหรี​ียญเงิ​ิน เด็​็กชายดรั​ัส วรรณสารเมธา (เปี​ียโน) เด็​็กหญิ​ิงพิ​ิชญาภั​ัค วั​ัฒนาจิ​ิรวั​ัฒน์​์ (ขั​ับร้​้อง) เด็​็กชายทั​ัตพล อิ๊​๊�ดเหล็​็ง (กลองชุ​ุด) เด็​็กหญิ​ิงปุ​ุณิ​ิกา มหึ​ึเมื​ือง (ขั​ับร้​้อง) เด็​็กชายณั​ัฏฐชั​ัย ชั​ัยวณิ​ิชย์​์ (กี​ีตาร์​์คลาสสิ​ิก) เด็​็กหญิ​ิงกานต์​์ธิ​ิดา ปั​ัญจปภาวิ​ิน (ไวโอลิ​ิน)

52

ระดั​ับมั​ัธยมศึ​ึกษาตอนต้​้น ชนะเลิศเหรียญทอง เด็กหญิงอชิรญา รวิวรรณา (ไวโอลิน) รองชนะเลิศเหรียญทอง อันดับ ๑ เด็กชายวีร์ทิวัตถ์ ศิริวัฒนากร (เปียโน) รองชนะเลิศเหรียญทอง อันดับ ๒ นายอัครวินท์ ค�ำตรง (อัลโต แซกโซโฟน) รองชนะเลิศเหรียญทอง อันดับ ๓ เด็กชายธนธร ศรเฉลิม (กีตาร์คลาสสิก) เหรียญเงิน เด็กชายโอมกิจ สัตยาพันธุ์ (อัลโต แซกโซโฟน) เด็กชายธนวิน ธนพรธวัล (กู่เจิง) เด็​็กหญิ​ิงกั​ัญญาณั​ัฐ สวั​ัสดิ์​์�วงษ์​์ (โหวด) เด็​็กชายณภั​ัทร บุ​ุญวรเศรษฐ์​์ (เปี​ียโน) นายณั​ัฏฐกิ​ิตติ์​์� โลจนาภิ​ิวั​ัฒน์​์ (ไวโอลิ​ิน) นายธนกฤษ บุ​ุญจั​ันทร์​์ (ระนาดเอก)


ผลการประกวด SET เยาวชนดนตรีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๒๓ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ วันอาทิตย์ที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ระดั​ับมั​ัธยมศึ​ึกษาตอนปลาย ชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง นายกลิ​ินท์​์ มี​ีเทศ (ระนาดเอก) รองชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง อั​ันดั​ับ ๑ นายฐปนนท์​์ บวรวนิ​ิชพงษ์​์ (เปี​ียโน) รองชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง อั​ันดั​ับ ๒ นางสาวเมธาณี​ี ธวั​ัชผ่​่องศรี​ี (ไวโอลิ​ิน) รองชนะเลิ​ิศเหรี​ียญทอง อั​ันดั​ับ ๓ นางสาวชนั​ันชิ​ิดา สมี​ีรั​ักษ์​์ (ขั​ับร้​้อง) เหรี​ียญเงิ​ิน นายณรงค์​์ชั​ัย ตรี​ีพรวสุ​ุ (กี​ีตาร์​์คลาสสิ​ิก) นางสาวณิ​ิชนั​ันท์​์ คู​ูร์​์พิ​ิพั​ัฒน์​์ (เปี​ียโน) นายพี​ีรเศรษฐ์​์ เคหาเสถี​ียร (อั​ัลโต แซกโซโฟน) นายฉั​ันทั​ัช นี​ีล ไนท์​์ (ขั​ับร้​้อง) นางสาวปลื้​้�มปิ​ิติ​ิ โชติ​ิกุ​ุโล (ไวโอลิ​ิน) นายธรรมศาสตร์​์ ทองแกมแก้​้ว (มาริ​ิมบา)

ระดั​ับอุ​ุดมศึ​ึกษา ชนะเลิศเหรียญทอง นายนิชฌาน พิทยาธร (บาริโทน แซกโซโฟน) รองชนะเลิศเหรียญทอง อันดับ ๑ นางสาวปริยฉัตร สิทธิด�ำรงการ (ขับร้อง) รองชนะเลิศเหรียญทอง อันดับ ๒ นายอิษฎ์นันทน์ โชติรสนิรมิต (เปียโน) รองชนะเลิศเหรียญทอง อันดับ ๓ นายหนึ่งศรัณย์ ปรึกไธสง (พิณ) เหรียญเงิน นางสาวณภัทรติภา ปรีชานนท์ (ไวโอลิน) นางสาวชนกานต์​์ อมรางกู​ูร (ขั​ับร้​้อง) นายรวิ​ิสุ​ุต ปฏิ​ิพั​ัทธ์​์วศิ​ิน (กี​ีตาร์​์คลาสสิ​ิก) นายธยานะ ทวิ​ิบุ​ุญยะกร (เปี​ียโน) นายจตุ​ุพล ปิ​ินทิ​ิพย์​์ (ขั​ับร้​้อง) นางสาวริ​ินรดา ไกรรั​ักษ์​์ (ขั​ับร้​้อง)

53


54


55


56


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.