{ข่าวสารการอนุรักษ์} ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน 2560

Page 1

{ขาวสารการอนุรักษ} ปที่ 5 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน 2560

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้ สพร.ขอนำเสนอตัวอยางกิจกรรมสรางสรรคสำหรับเด็กปฐมวัยในพิพิธภัณฑ ตางแดน เพื่อกระตุนและสรางจิตสำนึกรักและภูมิใจในถิ่นฐานบานเกิดดวยประวัติศาสตรชุมชน จากนั้นขอนำ เสนอกิจกรรมในรั้วสพร. ซึ่งเปนภาพบรรยากาศการอบรมซอมแซมชุดโขน ปดทายขาวสารการอนุรักษฉบับนี้ ดวยการไขขอของใจกับปญหาที่พบบอยครั้งจากการซอมแซมกระดาษ รวมถึงเคล็ดลับการแกไขปญหาดวย การใชวิธีการที่งาย สุดทาย หากทานใดมีขอมูลขาวสาร ขอแนะนำดานงานอนุรักษ และงานพิพิธภัณฑดานอื่นๆ สามารถ ติดตอมายังสพร. ทางสพร.มีความยินดีเปนอยางยิ่งในการรวมสรางกระบวนการเรียนรูแกสังคมครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอำนวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

กิจกรรม เมื่อวันที่ 28 - 30 มีนาคม 2560 ไดมีการจัดอบรมการอนุรักษวัตถุเครื่อง แตงกายโขนที่จะนำไปใชจัดแสดงในนิทรรศการถาวร ใหแกเจาหนาท่ิของสพร. มีวิทยากรจากศูนยการศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก วิทยาลัยในวัง โดยได เรียนรูเทคนิคและวิธีการปกผาพื้นฐานนำมาปรับใชในการซอมแซมวัตถุ ในการอนุรักษเครื่องกายโขนครั้งนี้ เจาหนาที่ สพร. ไดใชอุปกรณที่หาซื้อ ไดงาย เชน ดิ้นโปรง ดิ้นขอ เขามาเสริมสวนที่ชำรุด ทั้งนี้ดิ้นโปรงและดิ้นขอ ที่มีความเงาและขาวใส จะมีการเคลือบสารเคมีบนดิ้น ในการปฏิบัติงานจึงจำ เปนตองระมัดระวังในการสัมผัส และตองลางมือและซับมือใหแหง หลังจาก สัมผัสกับวัสดุเปนเวลานาน หนา 1


พิพิธภัณฑกับงานบริการศึกษาในมิติประวัติศาสตรชุมชน พิพิธภัณฑทางประวัติศาสตรซานวอรคีน (San Joaquin County Historical and Museum) ตั้งอยูในสวน สาธารณะมิคกี้โกรฟ ระหวางเมืองสต็อคตั้นและเมืองโลได รัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา กอตั้งขึ้นเมื่อปคศ. 1966 มีอาณาบริเวณพื้นที่ 2 ไร 1 งาน (3,716 ตารางเมตร) อาคาร 12 หลัง ประกอบดวย อาคารจัดแสดงคอลเลคชั่น ประเภทเครื่องมือ เครื่องใช สิ่งประดิษฐ เครื่องเรือน เฟอรนิเจอร อุปกรณและเครื่องจักรกลทางการเกษตรมากกวา 50,000 ชิ้น ซึ่งวัตถุจัดแสดงบางชิ้นมีอายุสมัยนับตั้งแตป ค.ศ.1860, อาคารจัดแสดงนิทรรศการ และอาคารซึ่งเปน ที่ตั้งรานจำหนายสินคาที่ระลึกของพิพิธภัณฑ สิ่งที่โดดเดนและนาสนใจของพิพิธภัณฑแหงนี้คือการจัดกิจกรรมพิเศษสำหรับ เด็ก (อายุ 5-10 ป) ซึ่งไดเริ่มดำเนินการมาตั้งแตป คศ. 1983 โดยการนำ รูปแบบวิถีการดำเนินชีวิตของชาวพื้นเมืองซานวอรคีน ซึ่งเปนบรรพบุรุษรุน แรกที่บุกเบิกและกอตั้งเมืองโลได (ราว ค.ศ.1800) มาเปนครูตนแบบใหเด็กได ใชบทบาทสมมติการเปนผูคนสมัยนั้น การจัดการเรียนการสอนเริ่มตั้งแตการ นำเสื้อผาเครื่องแตงกาย ในแบบชาวพื้นเมืองซานวอรคีนมาใหเด็กไดสวมใส มีการฝกสอนใหเด็กเรียนรูดวย การลงมือปฏิบัติจริง (Learning by Doing) ผานโปรแกรมการเรียนรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เด็กจึงสามารถศึกษา เรียนรูไดอยางเปนอิสระ และเพลิดเพลินไปกับกิจกรรมตางๆ ที่ทางพิพิธภัณฑ ไดคัดเลือกไวใหอยางนาสนใจ ไดแก งานฟารมโคนม งานบดขาวโพด งานทำ อาหาร งานซักรีด งานทอผา งานประดิษฐสิ่งของเครื่องใช งานเหมืองทอง และงานศิลปะวาดภาพ กิจกรรมดังกลาวถูกดำเนินไปภายใตการดูแลของครู อาสาของพิพิธภัณฑซึ่งเปนผูถายทอดความรู ใหความชวยเหลือและคำแนะนำ ตลอดชวงการฝกฝนเรียนรูที่สอดแทรกไวดวยทักษะ ดานการเรียนรูและการคิด วิเคราะห ทักษะการแกไขปญหา ทักษะ การ เปนผูนำ ทักษะการทำงานเปนทีม ทักษะดานอาชีพ ทักษะดานความเขาใจวัฒนธรรมที่แตกตางจนนำไปสูการรับรู และเขาใจประวัติศาสตรชุมชนของตนเอง เปนการปลุกจิตสำนึกรักและภาคภูมิ ใจในถิ่นฐานบานเกิด สรางเสริมความรับผิดชอบในหนาที่ตอตนเองและสังคม จากกิจกรรมการเรียนรูดังกลาวทำใหเห็นวา บทบาทและภารกิจของพิพิธภัณฑในปจจุบัน ไมใชแคเพียงพื้นที่จัดแสดง วัตถุสิ่งของเพียงเทานั้น แตพิพิธภัณฑยังถูกทำหนาที่เสมือนผูนำทางในการสงตอความรู ความคิด จากคนรุนอดีตมาสู คนรุนปจจุบันไดอยางดี หากพิพิธภัณฑสามารถนำทรัพยากรวัฒนธรรมที่มีมาเปนเครื่องมือในการออกแบบกิจกรรม รวม ถึงการสรางบรรยากาศการเรียนรูอยางสรางสรรคและนาสนใจ สามารถเชิญชวนใหเด็กตื่นตัวที่จะเรียนรูไดอยางสนุก สนาน คงไมใชเรื่องยากอีกตอไปที่พิพิธภัณฑจะถูกทำหนาที่เปนหองเรียนหองที่สองของเด็กๆ

หนา 2


ขอมูลทั่วไปของพิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑทางประวัติศาสตรซานวอรคีน (San Joaquin County Historical and Museum) วันและเวลาเปดทำการ : วันพุธ – อาทิตย (เวลา 11.00 – 16.00 น.) คาธรรมเนียมการเขาชม : - ผูใหญ (อายุ 18-64 ป) $5 - ผูสูงอายุ (อายุ 65 ป ขึ้นไป) $4 - เยาวชน (อายุ 13-17ป) $4 - เด็ก (อายุ 6-12 ป) $2

ขอมูลอางอิง “Discover and Learn.” พิพิธภัณฑทางประวัติศาสตรซานวอรคีน. เขาถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2560. http://www.sanjoaquinhistory.org/teachers.php หนา 3


รักษวัตถุ ทานรูหรือไมวา เทปกาว หรือกระดาษกาว วัสดุอยางแรกที่เรานึกถึงเพื่อนำมาใชซอมแซมรอยขาดหนังสือ เอกสาร กระดาษ หรือนำมาติดฉลากบนวัตถุนั้น เปนวิธีการทำรายโบราณวัตถุโดยที่เราอาจไมเคยทราบมากอน ปญหาจากการ ใชเทปกาวซอมแซมกระดาษมักพบเจอบอยครั้งในงานอนุรักษ เพราะเทปกาวหาไดงาย และสะดวกในการนำมาซอมชิ้น งานตางๆ หรือแมแตการนำมาติดเปนฉลากบนวัตถุในการจัดแสดงก็ตาม แตเมื่อเวลาผานไปก็จะพบวาเทปกาวแตก หลุดรอน ทำใหเกิดคราบเหนียว และเปลี่ยนเปนคราบสีเหลืองทิ้งรองรอยบนผิววัตถุ ซึ่งปญหาเหลานี้แกไขไดยากมาก และหากเปนวัตถุชิ้นสำคัญที่เสื่อมสภาพไดงาย การดำเนินการอนุรักษวัตถุยิ่งมีความยากมากขึ้น เพราะจำเปนตอง หลีกเลี่ยงการดำเนินการใดๆ ที่สงผลเสียตอวัตถุ

ดังนั้นเมื่อเกิดปญหาหนังสือ เอกสาร หรือกระดาษ ชำรุดฉีกขาดควรประเมินสภาพความเสียหายเบื้องตนกอน หากทานยังไมมีเวลาในการเตรียมการซอมแซมในทันที ใหนำแผนไมรา (Mylar) มาประกบ ดานหนาและดานหลัง ของวัตถุที่ชำรุดฉีกขาด จากนั้นนำเก็บใสกลอง หลีกเลี่ยงการหยิบจับเพื่อปอง กันชิ้นสวนหลุด หายและฉีกขาดเพิ่มขึ้น เอกสารอางอิง Preservation at National Archive. (2017) Tape is Evil. Accessed May 1. Available from http://preservearchives.tumblr.com/post/160012392520/preservation-through-poetry-tape-is-evil-tape-is

ผูจัดทำ นางสาวปฐยารัช ธรรมวงษา นางสาวศิรดา เฑียรเดช นางสาววรรณวิษา วรวาท

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท: 02 225 2777 ตอ 101 Fax: 02 225 1881-2 e-mail: Sirada@ndmi.or.th, Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan หนา 4


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.