ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่2 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2557

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่2 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2557

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้เปนฉบับที่ 2 ซึ่งมีเนื้อหาตอเนื่องจากฉบับแรก ในฉบับนี้ทานจะไดรับความรูเกี่ยวกับ เคมีภัณฑสองชนิดสําคัญที่ใชบอยในงานอนุรักษและสามารถนําไปประยุกตใชในบานเรือนไดคือ ถานดูดกลิ่นหรือถานกัมมันต และซิลิกาเจล ซึ่งเชื่อวาหลายทานคงเคยเห็นหรือเคยใชงานอาจจะดวยวัตถุประสงคตางๆ กัน ถานดูดกลิ่นนั้นใชในงาน อนุรักษเพื่อลดไอระเหยที่ทําอันตรายตอวัตถุพิพิธภัณฑ รวมทั้งใชในทางการแพทยหรือกรองน้ําดื่มไดดวย สวนซิลิกาเจลนั้น เปนสารดูดความชื้นที่พบเห็นไดตั้งแตในซองใสขนมจนถึงในงานอนุรักษ แตตองรูจักวิธีการใชจึงจะเกิดประสิทธิผล ซึ่งทาน จะไดรับทราบรายละเอียดจากขาวสารการอนุรักษในฉบับนี้ นอกจากนั้นคําถามจากผูปฏิบัติงานดานพิพิธภัณฑที่ถามมายัง สถาบันฯ เรื่องการแกปญหาตูและลิ้นชักมีกลิ่นฉุนตองทําอยางไร และการดูแลรักษาขนสัตว เขาสัตว กระดองเตา เชื่อวา หลายคนคงอยากรูคําตอบ และ เชนเคยครับ หากใครมีคําถาม หรือตองการความชวยเหลือดานการอนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑ ทานสามารถติดตอมายังสถาบันฯ ไดตามที่อยูขางหลังครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

กิจกรรม

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติรวมกับพิพิธภัณฑสถานเครื่องถวยเอเชียตะวันออกเฉียงใต จัดสัมมนาเรื่อง การแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรมบนเสนทางการคาทางทะเล 7-8 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมวินเซอรสวีท สุขุมวิท 20 กรุงเทพฯ


ถานดูดกลิ่น ในจดหมายขาวฉบับที่ 1 ประจําป 2557 กลาวถึงที่มาของกลิ่นฉุนในตูและลิ้นชัก หลายคนมีคําถามวาควรแกไข อยางไร วิธีที่ทํางายวิธีหนึ่งในการกําจัดกลิ่นคือการใช “ถานดูดกลิ่น” “ถานดูดกลิ่น” หมายถึงถานที่มีคุณสมบัติพิเศษเรียกวาถานกัมมันต (Activated carbon หรือ Activated charcoal) ซึ่งเกิดจากการนําวัตถุที่มีคารบอนเปนองคประกอบ เชน ไม ถานหิน น้ํามันดิน กะลามะพราว เปลือกมะพราว เปลือกแข็งของผลไมและสวนตางๆ ของพืช ฯลฯ มาเผาโดยกระบวนการพิเศษ เชน เผาที่อุณหภูมิ 600-900 องศา เซลเซียส ในบรรยากาศที่มีไอน้ําหรือไมมีออกซิเจนหรือเผาในบรรยากาศมีคารบอนไดออกไซด หรือเผาในบรรยากาศทีม่ ี อากาศหรือผสมสารเคมีบางชนิดกอนเผา ผลผลิตที่ไดมีทั้งเปนผงละเอียด (PAC – Powdered Activated Carbon) เปน เม็ดเล็กๆ(GAC- Granular Activated Carbon) เปนแทง(EAC- Extruded Activated Carbon) เปนเม็ดกลม(BAC – Bead Activated Carbon ) บางชนิดเกิดจากนําผงถานไปแชในสารเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซับกาซและสารพิษ เรียกวา Impregnated Carbon ถานกัมมันตชนิดนี้นิยมใชในพิพิธภัณฑ หอศิลปะ หอจดหมายเหตุและหองสมุดรวมทั้งใชใน การกรองน้าํ ดื่ม ในทางการแพทยใชถานกัมมันตชนิดพิเศษในการดูดซับสารพิษในทางเดินอาหารและใชในการดูดซับสารพิษ ออกจากเลือด เรียกวา polymer coated carbon กระบวนการผลิตอยางระมัดระวัง ทําใหไดถานที่มีรูพรุนขนาดเล็กๆ จํานวนมาก จึงมีพื้นที่ผิว (Surface area) สูง ประมาณ 300-3000 ตารางเมตรตอกรัม รูพรุนเหลานี้ชวยดูดซับกาซ ของเหลวและสารละลาย โดยอาศัยแรงดึงดูดทาง ฟสิกสหรือปฏิกิริยาเคมี หากรูพรุนมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.2 - 2.0 นาโนเมตร จะชวยดูดซับกาซ รูพรุนขนาด เสนผาศูนยกลางสูงกวานี้จนถึง 100 นาโนเมตร จะชวยดูดสีหรือฟอกสี ถานกัมมันตมีประโยชนหลายอยาง เชน ใชทําใหไดกาซบริสุทธิ์สกัดโลหะทําใหไดทองบริสุทธิ์ กรองน้ําสําหรับดื่ม บําบัดน้ําเสีย ทําแผนกรองอากาศ ทําหนากากกรองสารพิษ ดูดซับมลพิษ ใชในทางการแพทย ใชแกปญหาเวลาสารเคมีหก ฯลฯ ในพิพิธภัณฑ หอศิลปะและหองสมุดที่มีปญหาเรื่องกลิ่นจากมลพิษหรือจากวัสดุที่ใชในการทําตู โตะ ลิ้นชัก กลอง หีบ และวัสดุประกอบการจัดนิทรรศการ จําเปนตองใชถานดูดกลิ่น เพื่อลดปริมาณกาซและไอระเหยที่อาจทําอันตรายตอวัตถุ หากทราบที่มาและชนิดของสารเคมีที่ทําใหเกิดกลิ่น จะสามารถเลือกซื้อถานกัมมันตที่มีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับการดูดกลิ่น สารเคมีนั้นๆ เชน หากในตูมีกลิ่นไอระเหยจากกาวที่ใชทําไมอัด (ฟอรมัลดีไฮด) ซึ่งรวมตัวกับไอน้ําจะกลายเปนกรดฟอรมิค หรือมีกลิ่นกาซไขเนา ควรเลือกใชถานกัมมันตประเภทที่ผานการแชในสารเคมี (Impregnated Carbon) ซึ่งผูผลิตเลือกใช สารเคมีที่ทําปฏิกิริยากับกาซหรือสารเคมีที่ไมพึงประสงค ถานกัมมันตประเภทนี้มักทําจากกะลามะพราว ซึ่งมีพื้นที่ผิว ภายในรูพรุนสูงกวาวัตถุดิบอื่นๆ ทําใหสามารถดูดซับกาซและสารระเหยไดถึง 50% ของน้ําหนักตัวเอง


ซิลิกาเจล การเก็บรักษาวัตถุพิพิธภัณฑ เอกสารสําคัญ หรืองานศิลปะที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไดงายหากไดรับความชื้นสูงเกินระดับ ที่เหมาะสม เชน โลหะมักเกิดสนิม แกวมักขุนมัว กระดาษ ผา หนัง และอินทรียวัตถุทั้งหลายมักมีเชื้อราขึ้นเจริญ หรือ มีแมลงกัด กิน ฯลฯ วิธีปองกันการเปลี่ยนแปลงดังกลาวที่นิยมใชกันมาก ก็คือการใช “สารกันชื้น” หรือ “สารดูดความชื้น” ที่มีชื่อเรียกทั่วไปวา ซิลิกาเจล (Silica gel) นั่นเอง ซิลิกาเจลเปนสารเคมีที่สังเคราะหขึ้นจากการผสมโซเดียมซิลิเกตกับกรดจนกลายเปนสารที่มีลักษณะคลายเจล จากนั้น นําไปลางและทําใหแหงสนิทจะไดซิลิกาเจลที่ไมมีสี หากตองการใหซิลิกาเจลมีสีเพื่อบงบอกปริมาณความชื้นที่ซิลิกาดูดซับไว จะเติม สารเคมีที่มีคุณสมบัติเปลี่ยนสีไดเมื่อความชื้นแปรเปลี่ยน เชน ใชสารประกอบของโคบอลต จะไดซิลิกาเจลที่มีสีน้ําเงินขณะแหงและมี สีชมพูเมื่อชื้นหรือใชเมทธิลไวโอเล็ตจะไดซิลิกาเจลสีสมเมื่อแหงและเปลี่ยนไปเปนสีเขียวเมือ่ ชื้น เมื่อซิลิกาเจลเปลี่ยนสีแสดงวาระดับ ความชื้นในพื้นที่นั้นๆ กําลังเปลี่ยนไปจากระดับที่ตองการ ทําใหสะดวกในการปฏิบัติงาน แตควรปองกันตัวเองเมือ่ จับตองสัมผัส ซิลิกาเจลที่มีสีเหลานี้ เนื่องจากนักวิทยาศาสตรรายงานวาสารเคมีที่ทําใหเกิดสีดังกลาวเปนสารกอมะเร็ง ในขณะที่ซิลกิ าเจลที่ไมมีสี ไมเปนอันตราย ยกเวนฝุนจากซิลิกาเจลอาจทําใหเกิดการระคายเคืองในทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร แตการใชซิลิกาเจลไมมีสี จะตองใชอุปกรณวัดความชื้นเพื่อตรวจสอบระดับความชื้นตลอดเวลาเพื่อจะไดทราบระดับความชื้นในตู ซิลิกาเจลมีคุณสมบัติบางอยางคลายถานกัมมันต กลาวคือ มีรูพรุนและพื้นที่ผิวสูงมาก ซิลิกาเจล 1 กรัม มีพนื้ ที่ผิว ประมาณ 800 ตารางเมตร สามารถดูดซับน้ําและไอน้ําบนพื้นผิวของรูพรุนไดประมาณ 40% ของน้ําหนักตัว ชวยทําใหความชื้นในตู หรือกลอง (ที่ปดไดมิดชิด) ลดลงหรืออาจใชรักษาระดับความชื้นใหคงที่ เนื่องจากซิลิกาเจลสามารถคายความชื้นออกมาไดดวย นอกจากนี้ซิลิกาเจลยังชวยดูดซับกาซและสารมลพิษบางอยางไดดวย ซิลิกาเจลที่บดละเอียดเปนผงชวยกําจัดแมลงบางชนิดโดยใช โรยในบริเวณที่แมลงชอบคลานผาน ผงซิลิกาจะติดตามตัวแมลงและดูดน้ําจากผิวของแมลง จนแมลงขาดน้ําและตายอยางชา ๆ การใชซิลิกามีรายละเอียดที่ควรศึกษากอนใชงาน กอนอื่นควรตัดสินใจวาจะใชซิลิกาเจลเพื่อดูดความชื้นหรือเพื่อรักษา ระดับความชื้น เชน วัตถุจําพวกโลหะ แกว ไมตองการความชื้นมากนักจึงควรดูดความชื้น สวนอินทรียวัตถุตางๆ ตองการความชื้น ปานกลาง (55-65%) จะตองใชซิลิกาเจลที่ผานการปรับระดับความชื้นใหอยูในระดับปานกลางแลว วิธีที่จะทําไดงายที่สุดคือการนํา ซิลิกาเจลที่อบแลวไปวางในกลองพลาสติกที่มีแกวบรรจุน้ําและมีเครื่องวัดความชื้น ทิ้งไวจนความชื้นภายในกลองอยูในระดับที่ ตองการ จากนั้นคํานวณปริมาตรของตูห รือกลองที่ใชเก็บรักษาวัตถุสาํ คัญ ตลอดจนตรวจสอบรอยรั่วของตูที่ความชื้นผานเขาออก ได ใชซิลิกาเจลในปริมาณมากพอที่จะชวยรักษาระดับความชื้นภายในตูไดนานพอ หากใชซิลิกาเจลปริมาณนอยไป ซิลิกาเจลจะดูด ความชื้นไวเต็มที่อยางรวดเร็วจนอิ่มตัวไมสามารถดูดความชื้นเพิ่มไดอีก อากาศรอบๆ วัตถุอาจมีความชืน้ สูงเกินกวาระดับที่ตองการ การใชซิลิกาเจลปริมาณนอยทําใหตองเปดตูเพื่อเปลี่ยนซิลิกาบอยๆ สรางปญหาตอผูปฏิบตั ิงาน ซิลิกาเจลที่ดูดความชื้นเต็มที่แลวสามารถนําไปอบไลความชื้นออกแลวนํากลับมาใชใหม โดยการอบที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส เปนเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง หากใชกับโลหะ แกว สามารถนําซิลิกาเจลที่อบแลวไปใชงานไดเลย ซิลิกาเจลที่ใชเพื่อ

รักษาระดับความชื้นตองนําไปผานการปรับระดับความชื้นดวยวิธีที่กลาวแลว


แลกเปลี่ยนความรู คุณวชิรา: ตูและลิ้นชักมีกลิ่นฉุน ควรทําอยางไร จิราภรณ: การแกปญหากลิ่นฉุนในตูและลิ้นชัก สามารถลดกลิ่น ไดโดยการเปดตูทิ้งไวใหกลิ่นระเหยออกไป หากตองการ ใหกลิ่นลดลงเร็วขึ้น ใชผงฟู (โซเดียมไบคารบอเนต) ใสถาดเล็ก ๆ วางในตู จะชวยลดกลิ่นกรดไดหรือใชผง ถานกัมมันตใสถาดวางในตูเพื่อใหดูดกลิ่น บางครั้งมีกลิ่นจากเชื้อราในชวงที่มีความชื้นสูง ในกรณีนี้ควรลด ความชื้นลง แตอยาใหต่ํามากจนเปนอันตรายตอสิ่งของที่อยูภายในตู โดยเปดตูใหอากาศถายเท หากตูวางอยู ในมุมอับ ควรใชพัดลมชวยระบายอากาศหรือเลื่อนตูไปไวใกลประตูหรือหนาตาง ใหไดรับแสงแดดออนๆ หาก ไมไมไดทาเชลแลค ใชสําลีจุมอัลกอฮอลเล็กนอยเช็ดคราบเชื้อราออกไป โดยสวมถุงมือและหนากาก ไมควรใช น้ํายาปรับอากาศหอมๆ ที่มีขายทั่วไปพนภายในตู เพราะอาจมีผลเสียตอสิ่งของที่อยูภายในตู คุณปทมา: ขอทราบวิธีดูแลเขาสัตว ขนสัตว กระดองเตา จิราภรณ: เขาสัตว ขนสัตวและกระดองเตามีโปรตีนเปนองคประกอบหลัก จึงควรเก็บรักษาในบรรยากาศที่เปนกรด เล็กนอย เชนเก็บในกลองที่ทําดวยกระดาษแข็งคุณภาพต่ําหรือไมอัดที่ปดไดมิดชิด และควรระวังแมลงที่ชอบ กินโปรตีนเชน ดวงขนสัตว เปนพิเศษ โดยหมั่นตรวจตราและควรวางกลองบนกระดาษที่ฉีดพนยาฆาแมลง เปนระยะๆ ไมควรใสลูกเหม็นหรือกอนดับกลิ่น หรือการบูรในกลอง เพราะหากเปนกระดองเตาเทียมซึ่งทํา จากเซลลูลอยดจะออนตัวเยิ้มเหนียว สวนขนสัตวเกามักกรอบเปราะ ควรหลีกเลี่ยงการแตะตองหยิบจับโดย การบรรจุในกลองพลาสติกหรือถุงพลาสติก ที่ปดไดมิดชิดและควรเก็บในที่มืด คุณอมร:

คราบสีขาวบนเหรียญตะกั่วเกิดจากอะไร

จิราภรณ: คราบสีขาวนั้นเปนสนิมของตะกั่ว เมื่อตะกั่วสัมผัสกับไอระเหยของกรดที่ลองลอยอยูในตูหรือลิ้นชักที่ทําดวย ไมหรือไมอัด กาวบางชนิดที่ใชในการทําตูหรือแทนฐานก็ปลดปลอยไอระเหยของกรดออกมาเชนกัน บางครั้ง พบผลึกสีเทาบนผิวของตะกั่วรวมดวย

ผูจัดทํา นางจิราภรณ อรัณยะนาค ที่ปรึกษาดานงานอนุรักษ นายศุภกร ปุญญฤทธิ์ นางวัชนี สินธุวงศานนท นางสาวพัชรลดา จุลเพชร นายคุณาพจน แกวกิ่ง นายพรพิชิต พรรัตน

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถ.สนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 109 fax 022251881-2 e-mail : pacharalada@ndmi.ro.th http://www.ndmi.or.th/home.php http://www.facebook.com/museumsiamfan



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.