test doc

Page 1

เรื่อง ซอฟต์ แวร์ (Software) จัดทำโดย นางสาวสุ พตั รา แสงยศ ID 544148155 นางสาวบุษกร นะมัสไธสง ID 544148156 นายอดิศร อุดมพวก ID 544148153 โปรแกรม วิทยาศาสตร์ ทวั่ ไป หมู่ 3

เสนอ อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย อาจารย์ประจารายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สาหรับครู (PC54504)

รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารสาหรับครู (PC54504)

ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บา้ นจอมบึง


คำนำ รายงานเล่มนี้ผจู้ ดั ทาได้จดั ทาขึ้นมาเพื่อต้องการให้ผทู ้ ี่ได้ศึกษารายงานเล่มนี้มีความรู ้ความ เข้าใจมากขึ้น ในเรื่ องของซอฟท์แวร์ ต่างๆในคอมพิวเตอร์ เพื่อสามารถนามาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ ผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าจะมีประโยชน์ต่อผูท้ ี่ได้อ่าน ศึกษาไม่มากก็นอ้ ย หากผิดพลาด ประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่น้ ีดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา


สำรบัญ เรื่อง

หน้ ำ

คำนำ สำรบัญ ควำมหมำยและควำมสำคัญของซอฟต์ แวร์ - ความจาเป็ นในการใช้ซอฟต์แวร์

1 2

- ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์

3-4

ประเภทของซอฟต์ แวร์ - ซอฟต์แวร์ระบบ ระบบปฏิบตั ิการ ตัวแปรภาษา - ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์สาเร็ จ ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ กำรใช้ ซอฟต์ แวร์ ในกำรทำงำน เอกสำรอ้ำงอิง

5-6 7 8 9-11 12 13-14 15 16-17 18


1

ควำมหมำยและควำมสำคัญของซอฟต์ แวร์ ซอฟต์ แวร์ (software) หมายถึงชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรมที่ใช้สงั่ งานให้คอมพิวเตอร์ ทางานตามลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์ คาสัง่ เหล่านี้เรี ยงกัน เป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ ทางานตามคาสัง่ การทางาน พื้นฐานเป็ นเพียงการกระทากับข้อมูลที่เป็ นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็ นตัวเลข ตัวอักษร รู ปภาพ หรื อแม้แต่เป็ นเสี ยงพูดก็ได้ การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ ทางานให้กบั เราได้อย่างหลากหลาย เพราะมีซอฟต์แวร์ ต่างๆ ช่วยสนับสนุนการทางานเหล่านั้น เช่น ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ ในการจัดทาบัญชีที่ยงุ่ ยาก ซับซ้อน บริ ษทั ขายตัว๋ เครื่ องบินใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตัว๋ ธนาคารใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดการข้อมูลต่างๆ ที่มีอยูม่ ากมาย ครู และนักเรี ยนใช้คอมพิวเตอร์ ช่วย ในการจัดพิมพ์เอกสาร ดังนั้นซอฟต์แวร์ จึงหมายรวมถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ ทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ การที่คอมพิวเตอร์ดาเนินการได้อย่างไรและก่อให้เกิดประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใดนั้น จึงขึ้นอยูก่ บั ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ จึงเป็ นส่ วนสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาด ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทางานได้ ซอฟต์แวร์ จึงเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นและสาคัญมาก ซอฟต์แวร์เป็ นส่ วนประกอบหนึ่งที่ทาให้ระบบสารสนเทศเป็ นไปได้ตามที่ตอ้ งการ


2

ความจาเป็ นในการใช้ ซอฟต์ แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรมที่ใช้สงั่ งานให้คอมพิวเตอร์ ทางาน ซอฟต์แวร์ จึงหมายถึงลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยคาสัง่ ของคอมพิวเตอร์ คาสัง่ เหล่านี้เรี ยง กันเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ ทางานตามคาสัง่ การทางานพื้นฐาน เป็ นเพียงการกระทากับข้อมูลที่เป็ นตัวเลขฐานสอง ซึ่ งใช้แทนข้อมูลที่เป็ นตัวเลข ตัวอักษร รู ปภาพ หรื อแม้แต่เป็ นเสี ยงพูดก็ได้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สงั่ งานคอมพิวเตอร์จึงเป็ นซอฟต์แวร์ เพราะเป็ นลาดับขั้นตอน การทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่งทางานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่ แตกต่างกัน ซอฟต์แวร์ จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทุกประเภทที่ทาให้คอมพิวเตอร์ ทางาน ได้ การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ ทางานให้กบั เราได้มากมาย เพราะว่ามีผพู ้ ฒั นาโปรแกรม คอมพิวเตอร์มาให้เราสัง่ งานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ ทาบัญชีที่ยงุ่ ยากซับซ้อน บริ ษทั ขายตัว๋ ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตัว๋ คอมพิวเตอร์ ช่วยในเรื่ องกิจการงานธนาคารที่มีขอ้ มูล ต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม เป็ นต้น การที่คอมพิวเตอร์ ดาเนินการ ให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยูท่ ี่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ จึงเป็ นส่ วนสาคัญของระบบ คอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ กไ็ ม่สามารถทางานได้ ซอฟต์แวร์ จึงเป็ นสิ่ งที่จาเป็ น และมีความสาคัญมาก และเป็ นส่ วนประกอบหนึ่งที่ทาให้ระบบสารสนเทศเป็ นไปได้ตามที่ตอ้ งการ


3

ซอฟต์ แวร์ และภำษำคอมพิวเตอร์ เมื่อมนุษย์ตอ้ งการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทางาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้ คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่ งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์ รับรู ้ และทางานได้อย่างถูกต้อง จาเป็ นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรี ยบเทียบกับชีวติ ประจาวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ตอ้ งการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์ รับรู ้และปฏิบตั ิตาม จะต้องมี สื่ อกลางสาหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรี ยกสื่ อกลางนี้วา่ ภาษาคอมพิวเตอร์ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทางานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้ า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผูอ้ อกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตวั เลข 0 และ 1 นี้เป็ นรหัสแทนคาสั่งในการสัง่ งานคอมพิวเตอร์ รหัสแทน ข้อมูลและคาสัง่ โดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจได้ เราเรี ยกเลขฐานสองที่ ประกอบกันเป็ นชุดคาสัง่ และใช้สงั่ งานคอมพิวเตอร์วา่ ภาษาเครื่ อง การใช้ภาษาเครื่ องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์ จะเข้าใจได้ทนั ที แต่มนุษย์ผใู้ ช้จะมีขอ้ ยุง่ ยากมาก เพราะเข้าใจและจดจาได้ยาก จึงมีผสู้ ร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบที่เป็ นตัวอักษร เป็ นประโยค ข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรี ยกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสู ง ภาษาระดับสู งมีอยูม่ ากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สงั่ งานการคานวณทางคณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามี ความเหมาะสมไว้ใช้สงั่ งานทางด้านการจัดการข้อมูล ในการทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะแปลภาษาระดับสูงให้เป็ นภาษาเครื่ อง ดังนั้นจึงมีผพู้ ฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสู งให้เป็ นภาษาเครื่ อง โปรแกรมที่ใช้แปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็ นภาษาเครื่ องเรี ยกว่า คอมไพเลอร์ (compiler) หรื ออินเทอร์พรี เตอร์ (interpreter) คอมไพเลอร์ จะทาการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็ นภาษาระดับสู งทั้งโปรแกรมให้เป็ น ภาษาเครื่ องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทางานตามภาษาเครื่ องนั้น ส่ วนอินเทอร์ พรี เตอร์จะทาการแปลทีละคาสัง่ แล้วให้คอมพิวเตอร์ ทาตามคาสัง่ นั้น เมื่อทา เสร็ จแล้วจึงมาทาการแปลคาสัง่ ลาดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์ กบั อินเทอร์ พรี เตอร์ จึงอยู่ ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรื อแปลทีละคาสั่ง ตัวแปลภาษาที่รู้จกั กันดี เช่น ตัวแปลภาษาเบสิ ก ตัว แปลภาษาโคบอล


4 ซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงเป็ นส่ วนสาคัญที่ควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ให้ดาเนินการตามแนวความคิดที่ได้กาหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว คอมพิวเตอร์ ตอ้ งทางาน ตามโปรแกรมเท่านั้น ไม่สามารถทางานที่นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโปรแกรม

ประเภทของซอฟต์ แวร์ ในบรรดาซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีผพู้ ฒั นาขึ้นเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์ มีมากมาย ซอฟต์แวร์เหล่านี้อาจได้รับการพัฒนาโดยผูใ้ ช้งานเอง หรื อผูพ้ ฒั นาระบบ หรื อผูผ้ ลิต จาหน่าย หากแบ่งแยกชนิดของซอฟต์แวร์ ตามสภาพการทางาน พอแบ่งแยกซอฟต์แวร์ ได้เป็ นสอง ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)

ซอฟต์ แวร์ ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริ ษทั ผูผ้ ลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จดั การกับระบบ หน้าที่ การทางานของซอฟต์แวร์ ระบบคือดาเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับ ข้อมูลจากแผงแป้ นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นาข้อมูลไปแสดงผลบน จอภาพหรื อนาออกไปยังเครื่ องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้ มข้อมูลบนหน่วยความจารอง เมื่อเราเปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทางานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกที่สงั่ คอมพิวเตอร์ ทางานนี้เป็ น ซอฟต์แวร์ ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรื อในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มี ซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึง ซอฟต์แวร์ ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ


5

ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ใช้กบั งานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผูใ้ ช้ ที่ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบนั มีผพู้ ฒั นาซอฟต์แวร์ ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจาหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์ จึงกว้างขวางและแพร่ หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ ประยุกต์ออกเป็ นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สาเร็ จ และซอฟต์แวร์ ที่พฒั นาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์ สาเร็ จในปั จจุบนั มีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ ประมวลคา ซอฟต์แวร์ ตารางทางาน ลลล


6

ซอฟต์ แวร์ ระบบ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่ งออก หน่วยความจา และหน่วยประมวลผล ใน การทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็ นต้องมีการดาเนินงานกับอุปกรณ์พ้นื ฐานที่จาเป็ น ดังนั้นจึงต้องมี ซอฟต์แวร์ระบบเพื่อใช้ในการจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย 1. ใช้ ในกำรจัดกำรหน่ วยรับเข้ ำและหน่ วยส่ งออก เช่น รับการกดแป้ นต่าง ๆ บนแผงแป้ น อักขระ ส่ งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรื อเครื่ องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า และส่ งออกอื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์สงั เคราะห์เสี ยง 2. ใช้ ในกำรจัดกำรหน่ วยควำมจำ เพื่อนาข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยงั หน่วยความจาหลัก หรื อในทานองกลับกัน คือนาข้อมูลจากหน่วยความจาหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก 3. ใช้ เป็ นตัวเชื่อมต่ อระหว่ำงผู้ใช้ งำนกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดู รายการสารระบบในแผ่นบันทึก การทาสาเนาแฟ้ มข้อมูล ซอฟต์แวร์ ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทัว่ ไป แบ่งออกเป็ นระบบปฏิบตั ิการ และตัวแปลภาษา ซอฟต์แวร์ ทงั่ สองประเภทนี้ทาให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึ้น


7

ระบบปฏิบตั ิกำร หรื อที่เรี ยกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System : OS) เป็ นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องจะต้องมีซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบตั ิการนี้ ระบบปฏิบตั ิการที่ นิยมใช้กนั มากและเป็ นที่รู้จกั กันดีเช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอ เอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) 1) ดอส เป็ นซอฟต์แวร์ จดั ระบบงานที่พฒั นามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสัง่ เป็ น ตัวอักษร ดอสเป็ นซอฟต์แวร์ที่รู้จกั กันดีในหมู่ผใู้ ช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 2) วินโดวส์ เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่พฒั นาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถ ทางานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยูใ่ นกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การ ใช้งานเน้นรู ปแบบกราฟิ ก ผูใ้ ช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่งเพื่อเลือกตาแหน่งที่ปรากฏบน จอภาพ ทาให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปั จจุบนั 3) โอเอสทู เป็ นระบบปฏิบตั ิการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริ ษทั ผูพ้ ฒั นาคือ บริ ษทั ไอบีเอ็ม เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ให้ผใู้ ช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็ น แบบกราฟิ กเช่นเดียวกับวินโดวส์ 4) ยูนิกซ์ เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่พฒั นามาตั้งแต่ครั้งใช้กบั เครื่ องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบ ปฎิบตั ิการยูนิกซ์เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กบั เครื่ องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่ องปลายทางได้หลายเครื่ อง พร้อมกัน ระบบปฏิบตั ิการยังมีอีกมาก โดยเฉพาะระบบปฏิบตั ิการที่ใช้ในเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ทางานร่ วมกันเป็ นระบบ เช่น ระบบปฏิบตั ิการเน็ตแวร์ วินโดว์สเอ็นที


8

ตัวแปลภำษำ ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ จาเป็ นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อ แปลภาษาระดับสูงให้เป็ นภาษาเครื่ อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา ภาษาระดับสูงเหล่านี้สร้างขึ้น เพื่อให้ผเู ้ ขียนโปรแกรมเขียนชุดคาสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ ตลอดจนถึงสามารถปรับปรุ งแก้ไขซอฟต์แวร์ ในภายหลังได้ ภาษาระดับสูงที่พฒั นาขึ้นมาทุกภาษาจะต้องมีตวั แปลภาษาสาหรับแปลภาษา ภาษา ระดับสูงซึ่ งเป็ นที่รู้จกั และนิยมกันมากในปัจจุบนั เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิ ก ภาษาซี และภาษาโล โก 1) ภำษำปำสคำล เป็ นภาษาสัง่ งานคอมพิวเตอร์ที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้าง เขียนสัง่ งาน คอมพิวเตอร์เป็ นกระบวนความ ผูเ้ ขียนสามารถแบ่งแยกงานออกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ แล้วมารวมกันเป็ น โปรแกรมขนาดใหญ่ได้ 2) ภำษำเบสิ ก เป็ นภาษาที่มีรูปแบบคาสัง่ ไม่ยงุ่ ยาก สามารถเรี ยนรู ้และเข้าใจได้ง่าย มี รู ปแบบคาสัง่ พื้นฐานที่สามารถนามาเขียนเรี ยงต่อกันเป็ นโปรแกรมได้ 3) ภำษำซี เป็ นภาษาที่เหมาะสาหรับใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ อื่น ๆ ภาษาซีเป็ นภาษาที่มี โครงสร้างคล่องตัวสาหรับการเขียนโปรแกรมหรื อให้คอมพิวเตอร์ ติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ 4) ภำษำโลโก เป็ นภาษาที่เหมาะสาหรับการเรี ยนรู้และเข้าใจหลักการโปรแกรมภาษาโลโก ได้รับการพัฒนาสาหรับเด็ก นอกจากภาษาที่กล่าวถึงแล้ว ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กนั อยูใ่ นปั จจุบนั อีกมากมายหลาย ภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล ภาษาอาร์ พีจี


9 ตัวแปลภำษำแบ่ งได้ 3 ตัวแปล ดังนี้ ภำษำแอสเซมบลี (อังกฤษ: Assembly Language) หมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่ งจะทางานโดยขึ้นกับรุ่ นของไมโคร โพรเซสเซอร์ หรื อ "หน่วยประมวลผล" (CPU) ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ การใช้ภาษาแอสเซมบลี จาเป็ นต้องผ่านการแปลภาษาด้วยคอมไพเลอร์เฉพาะเรี ยกว่า แอสเซมเบลอร์ (assembler) ให้อยูใ่ นรู ป ของรหัสคาสัง่ ก่อน (เช่น .OBJ) โดยปกติ ภาษานี้ค่อนข้างมีความยุง่ ยากในการใช้งาน และการเขียน โปรแกรมเป็ นจานวนบรรทัดมากมากกว่า เมื่อเปรี ยบเทียบกับการใช้ภาษาระดับสู ง เช่น ภาษา C หรื อ ภาษา BASIC แต่จะทาให้ได้ผลลัพธ์การทางานของโปรแกรมเร็ วกว่า และขนาดของตัวโปรแกรมมี ขนาดเนื้อที่นอ้ ยกว่าโปรแกรมที่สร้างจากภาษาอื่นมาก จึงนิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลา ทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของโปรแกรม เนื่องจากตัวคาสัง่ ภายในภาษา อ้างอิงเฉพาะกับรุ่ นของหน่วยประมวลผล ดังนั้นถ้ามีการเปลี่ยนแปลงไปใช้กบั หน่วยประมวลผลอื่น หรื อระบบอื่น (เช่น หน่วยประมวลผล x86 ไม่เหมือนกับ z80) จะต้องมีการปรับแก้ตวั คาสัง่ ภายในซึ่ง บางครั้งอาจไม่สามารถปรับปรุ งแก้ไขได้อย่างสมบูรณ์ คอมไพเลอร์ (Compiler) หรื อ โปรแกรมแปลโปรแกรม, ตัวแปลโปรแกรม เป็ น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้า แปลโปรแกรมที่เขียนเป็ นภาษาระดับสูงทั้ง โปรแกรมให้เป็ นภาษาเครื่ องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ ทางานตามภาษาเครื่ องนั้น ขึ้นตอนการทางานหลัก ๆ ของคอมไพเลอร์ ซึ่งในปั จจุบนั คอมไพเลอร์ สมัยใหม่ อาจมีข้นั ตอนมากกว่า และมีเทคนิคเพิ่มเติมขึ้นมาก ซึ่งแต่ละผลิตภัณฑ์ จะไม่บอก รายละเอียดการทางาน เนื่องจากเป็ นความลับของแต่ละผลิตภัณฑ์ของตน ในปั จจุบนั นี้ มีภาษาจาวา (Java) , ดอดเน็ต (.NET FramWork) การคอมไพล์ได้เปลี่ยนไปเป็ นการแปล เป็ นภาษาเป้ าหมาย และหากเป็ นจาวา ก็ใช้ จาวาวิชวั เมซีน (Java Visual Machine : JVM) หรื อหาก เป็ น ดอดเน็ต จะใช้ (Just In Time :JIT Compiler) เพื่อแปลไปเป็ นภาษาเครื่ อง ตามแต่สภาวะแวดล้อม ของเครื่ อง (Environment) ในขณะนั้น เพื่อทางานต่อไป


10 ตัวแปลโปรแกรมส่ วนใหญ่ จะทาการแปล รหัสต้นแบบ (source code) ที่เขียนในภาษาระดับสูง เป็ น ภาษาระดับต่า หรื อภาษาเครื่ อง ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถที่จะทางานได้โดยตรง. อย่างไรก็ตาม การ แปลจากภาษาระดับต่าเป็ นภาษาระดับสูง ก็เป็ นไปได้ โดยใช้ตวั แปลโปรแกรมย้อนกลับ (decompiler)

ขั้นตอนกำรทำงำนของตัวแปลโปรแกรม ผลลัพธ์ของการแปลโปรแกรม (คอมไพล์) โดยทัว่ ไป ที่เรี ยกว่า ออบเจกต์โค้ด จะ ประกอบด้วยภาษาเครื่ อง (Machine code)ที่เต็มไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อและ สถานที่ของแต่ละจุด และการเรี ยกใช้วตั ถุภายนอก (Link object)(สาหรับ ฟังก์ชนั ที่ไม่ได้อยูใ่ น อ็อบเจกต์) สาหรับ เครื่ องมือที่เราใช้รวม อ็อบเจกต์เข้าด้วยกัน จะเรี ยกว่าโปรแกรมเชื่อมโยงเพื่อที่ผลลัพธ์ที่ออกมาในขั้น สุ ดท้าย เป็ นไฟล์ที่ผใู้ ช้งานทัว่ ไปสามารถใช้งานได้สะดวก ตัวแปลภาษาตัวที่สมบูรณ์ตวั แรก คือ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ของ ไอบีเอ็ม ในปี ค.ศ. 1957 และ ภาษาโคบอล (COBOL) ก็เป็ นตัวแปลภาษาตัวแรก ๆ ที่สามารถทางานได้บนหลาย ๆ สถาปัตยกรรมทางคอมพิวเตอร์. การพัฒนาตัวแปลภาษารุ ดหน้าอย่างรวดเร็ ว และเริ่ มมีรูปแบบที่ ชัดเจนยิง่ ขึ้นต่อมา ในช่วงทศวรรษ 1960

กำรแปลโปรแกรม กระบวน การแปลโปรแกรมแบบอ่านทีเดียวแล้วแปล เครื่ องมือที่ใช้แปลโปรแกรมเรี ยกว่า ตัวแปลโปรแกรม การทางานเริ่ มจากตัวแปลโปรแกรมจะอ่านซอร์ สโค้ด ของภาษานั้นๆ แล้วเริ่ ม ตรวจสอบความผิดพลาด ถ้าพบก็จะแปลโปรแกรมไม่ผา่ นและให้ผใู ้ ช้แก้ไขซอร์ สโค้ดก่อน เมื่อ คอมไพล์ผา่ น ตัวแปลโปรแกรมก็จะสร้าง ไฟล์วตั ถุ (.obj บนดอส และ .o บนลินุกซ์) ขึ้นมา แล้ว


11 ตัวแปลโปรแกรมจะทาการเชื่อมโยงแฟ้ มข้อมูลวัตถุเข้ากับซอร์ สโค้ด และสร้างไฟล์เอ็กซ์คิวต์ (.exe บนดอส) ขึ้นมา

อินเทอร์ พรีเตอร์ (interpreter) หรื อ โปรแกรมแปลคาสัง่ , ตัวแปลคาสัง่ , หรื อ อินเทอร์พรี เตอร์ (interpreter) หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทางานตาม ชุดคาสัง่ ที่เขียนไว้ทนั ที ซึ่งจะทาการแปลทีละคาสัง่ แล้วให้ คอมพิวเตอร์ ทาตามคาสัง่ นั้น เมื่อทาเสร็ จแล้วจึงมาทาการแปลคาสัง่ ลาดับต่อไป โดยทัว่ ไปแล้วการทางานของโปรแกรมผ่านโปรแกรมแปลคาสัง่ จะช้ากว่าทางาน จากโปรแกรมที่ ผ่านการแปลโปรแกรมเป็ นภาษาเครื่ องแล้ว เพราะโปรแกรมแปลคาสัง่ จะต้องแปลแต่ละคาสั่งใน ระหว่างการทางานว่าจะต้องทา อะไรต่อไป

ตัวอย่างภาษาที่มีการใช้โปรแกรมแปลคาสัง่ เช่น ภาษาเบสิ ก, ภาษาเพิร์ล, ภาษาพีเอชพี

ภำษำเบสิ ก (BASIC programming language) เป็ นภาษาโปรแกรมที่ออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย และยังได้รับความนิยมมาจนถึงทุก วันนี้ เบสิ กออกแบบมาให้ใช้กบั คอมพิวเตอร์ ตามบ้านชื่อภาษาเบสิ ก หรื อ BASIC ย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ต้องเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ บริ ษทั ไมโครซอฟท์ได้นาภาษาเบสิ กมาปรับปรุ งให้ทนั สมัย และพัฒนาเครื่ องมือพัฒนาโปรแกรม Visual Basic ทาให้เบสิ กได้รับความนิยมในการพัฒนาโปรแกรมยุคใหม่ รุ่ นล่าสุ ดของวิชวลเบสิ ก เรี ยกว่า VB.NET


12 ภำษำเพิร์ล หรื อ Perl (ย่อมาจาก Practical Extraction and Report Language) เป็ นภาษาโปรแกรมแบบไดนามิก พัฒนาโดยนายแลร์รี วอลล์ (Larry Wall) ในปี ค.ศ. 1987 เพื่อใช้งานกับระบบปฏิบตั ิการยูนิกซ์ ภาษาเพิร์ล นั้นถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย โครงสร้างของภาษาจึงไม่ซบั ซ้อน มี ลักษณะคล้ายกับภาษาซี นอกจากนี้เพิร์ลยังได้แนวคิดบางอย่าง มาจากเชลล์สคริ ปต์, ภาษา AWK, sed และ Lisp ปัจจุบนั เวอร์ ชนั ล่าสุ ดคือ 5.10.0 (ออกเมื่อเดือนธันวาคม 2007)

ภำษำพีเอชพี (PHP) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ในลักษณะเซิร์ฟเวอร์ -ไซด์ สคริ ปต์ โดยลิขสิ ทธิ์ อยูใ่ นลักษณะ โอเพนซอร์ส ภาษาพีเอชพีใช้สาหรับจัดทาเว็บไซต์ และแสดงผลออกมาในรู ปแบบ HTML โดยมี รากฐานโครงสร้างคาสัง่ มาจากภาษา ภาษาซี ภาษาจาวา และ ภาษาเพิร์ล ซึ่ง ภาษาพีเอชพี นั้นง่ายต่อ การเรี ยนรู้ ซึ่งเป้ าหมายหลักของภาษานี้ คือให้นกั พัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีความตอบ โต้ได้อย่างรวดเร็ ว ภาษาพีเอชพี ในชื่อภาษาอังกฤษว่า PHP ซึ่ งใช้เป็ นคาย่อแบบกล่าวซ้ า จากคาว่า PHP Hypertext Preprocessor หรื อชื่อเดิม Personal Home Page ซอฟต์แวร์ หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงเป็ นส่ วนสาคัญที่ควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ให้ ดาเนินการตามแนวความคิดที่ได้กาหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว คอมพิวเตอร์ ตอ้ งทางานตาม โปรแกรมเท่านั้น ไม่สามารถทางานที่นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโปรแกรม


13 ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ได้พฒั นาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะการที่มี คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทาให้มีการใช้งานคล่องตัวขึ้น จนในปั จจุบนั สามารถนาคอมพิวเตอร์ ขนาด เล็ก ติดตัวไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก การใช้งานคอมพิวเตอร์ตอ้ งมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็ นซอฟต์แวร์สาเร็ จที่มีผพู้ ฒั นา เพื่อใช้งานทัว่ ไปทาให้ทางานได้สะดวกขึ้น หรื ออาจเป็ นซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะ ซึ่งผูใ้ ช้เป็ นผู ้ พัฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการทางานของตน ซอฟต์แวร์สาเร็ จ ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กนั ทัว่ ไป ซอฟต์แวร์ สาเร็ จ (package) เป็ นซอฟต์แวร์ที่ มีความนิยมใช้กนั สู งมาก ซอฟต์แวร์สาเร็ จเป็ นซอฟต์แวร์ ที่บริ ษทั พัฒนาขึ้น แล้วนาออกมา จาหน่าย เพื่อให้ผใู ้ ช้งานซื้ อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์ อีก ซอฟต์แวร์ สาเร็ จที่มีจาหน่ายในท้องตลาดทัว่ ไป และเป็ นที่นิยมของผูใ้ ช้มี 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคา (word processing software) ซอฟต์แวร์ตารางทางาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นาเสนอ (presentation software) และซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (data communication software) 1) ซอฟต์ แวร์ ประมวลคำ เป็ นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สาหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถ แก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรู ปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จดั เป็ นแฟ้ มข้อมูล เรี ยก มาพิมพ์หรื อแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครื่ องพิมพ์กม็ ีรูปแบบตัวอักษรให้เลือกหลายรู ปแบบ เอกสารจึงดูเรี ยบร้อยสวยงาม ปัจจุบนั มีการเพิ่มขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ ประมวลคาอีก มากมาย ซอฟต์แวร์ประมวลคาที่นิยมอยูใ่ นปัจจุบนั เช่น วินส์เวิร์ด จุฬาจารึ ก โลตัสเอมิโปร 2) ซอฟต์ แวร์ ตำรำงทำงำน เป็ นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการคิดคานวณ การทางานของ ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทางานที่มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่ องมือ คล้ายปากกา ยางลบ และเครื่ องคานวณเตรี ยมไว้ให้เสร็ จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ ตวั เลข ข้อความ หรื อสู ตร สามารถสัง่ ให้คานวณตามสู ตรหรื อเงื่อนไขที่กาหนด ผูใ้ ช้ซอฟต์แวร์ ตารางทางาน สามารถ


14 ประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอื่น ๆ ได้กว้างขวาง ซอฟต์แวร์ตารางทางานที่นิยมใช้ เช่น เอกเซล โลตัส 3) ซอฟต์ แวร์ จดั กำรฐำนข้ อมูล การใช้คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งคือการใช้เก็บข้อมูล และ จัดการกับข้อมูลที่จดั เก็บในคอมพิวเตอร์ จึงจาเป็ นต้องมีซอฟต์แวร์ จดั การข้อมูล การรวบรวมข้อมูล หลาย ๆ เรื่ องที่เกี่ยวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรี ยกว่าฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์ จดั การฐานข้อมูลจึง หมายถึงซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการเก็บ การเรี ยกค้นมาใช้งาน การทารายงาน การสรุ ปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์ จดั การฐานข้อมูลที่นิยมใช้ เช่น เอกเซส ดีเบส พาราด็อก ฟ๊ อกเบส 4) ซอฟต์ แวร์ นำเสนอ เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ใช้สาหรับนาเสนอข้อมูล การแสดงผลต้องสามารถ ดึงดูดความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จึงเป็ นซอฟต์แวร์ที่นอกจากสามารถแสดงข้อความในลักษณะที่จะ สื่ อความหมายได้ง่ายแล้วจะต้องสร้างแผนภูมิ กราฟ และรู ปภาพได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ นาเสนอ เช่น เพาเวอร์ พอยต์ โลตัสฟรี แลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิ ก 5) ซอฟต์ แวร์ สื่อสำรข้ อมูล ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูลนี้หมายถึงซอฟต์แวร์ ที่จะช่วยให้ ไมโครคอมพิวเตอร์ ติดต่อสื่ อสารกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นในที่ห่างไกล โดยผ่านทางสายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์ สื่อสารใช้เชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์ เน็ต ทาให้สามารถ ใช้บริ การอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ สามารถใช้รับส่ งไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้ มข้อมูล ใช้ แลกเปลี่ยนข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากนี้ยงั ใช้ในการเชื่อมเข้าหามินิคอมพิวเตอร์หรื อเมนเฟรม เพื่อ เรี ยกใช้งานจากเครื่ องเหล่านั้นได้ ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูลที่นิยมมีมากมายหลายซอฟต์แวร์ เช่น โป รคอม ครอสทอล์ค เทลิก


15 ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์ สาเร็ จมักจะเน้นการใช้งานทัว่ ไป แต่อาจจะนามา ประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่นในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งาน ทางด้านบัญชี หรื อในห้างสรรพสิ นค้าก็มีงานการขายสิ นค้า การออกใบเสร็ จรับเงิน การควบคุม สิ นค้าคงคลัง ดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะสาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง กับความต้องการของผูใ้ ช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็ นซอฟต์แวร์ที่ผพู้ ฒั นาต้องเข้าไปศึกษารู ปแบบการทางาน หรื อความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดทาขึ้น โดยทัว่ ไปจะเป็ นซอฟต์แวร์ ที่มีหลายส่ วนรวม กันเพื่อร่ วมกันทางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กนั ในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริ หารการเงิน และการเช่าซื้อ ความต้องการของการใช้คอมพิวเตอร์ในงานทางธุรกิจยังมีอีกมาก ดังนั้นจึงต้องมีความต้องการ ผูพ้ ฒั นาซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะต่าง ๆ อีกมากมาย


16

กำรใช้ ซอฟต์ แวร์ ในกำรทำงำนในชั้นเรียน ในชั้นเรี ยนมีกิจกรรมที่นกั เรี ยนจะต้องเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการ ทางาน ดังนี้ 1. กำรพิมพ์เอกสำร การพิมพ์เอกสาร เช่น รายงาน จดหมาย บทความ เป็ นต้น นิยมใช้โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing) เช่น ไมโครซอฟต์เวิร์ด เวิร์ดสตาร์ และปลาดาว writer เป็ นต้น โปรแกรมประมวลผลคามีหลักการ คือ จาลองหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้เป็ นเหมือนแผ่นกระดาษ มีการกาหนดกั้นหน้า กั้นหลัง ด้านซ้าย-ขวา บน-ล่าง แล้วมีตาแหน่งการพิมพ์บนหน้ากระดาษนั้น ผู้ พิมพ์สามารถพิมพ์เอกสารย่อหน้า เว้นวรรค และสร้างภาพประกอบข้อความได้ ลบแก้ไข และคัดลอก เอกสารได้ ดังนั้น ในชั้นเรี ยนปัจจุบนั จึงนิยมใช้คอมพิวเตอร์ ในการสร้างงานด้านเอกสารเป็ นหลัก 2. กำรสร้ ำงตำรำง การสร้างตารางเป็ นการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกข้อมูลในรู ปแบบเป็ นแถว และคอลัมน์เพื่อความสะดวกในการคานวณหรื อประมวลผล เช่น บัญชีรายรับ-รายจ่าย บัญชีเงินเดือน และแฟ้ มประวัติบุคคล เป็ นต้นโปรแกรมตารางงานเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า Spreadsheet เช่น โปรแกรม ไมโครซอฟต์เอ็กเซล โปรแกรมปลาดาวตารางงาน และโลตัส เป็ นต้น หลักการทางานของโปรแกรมประเภทนี้ คือ การสร้างกระดาษทาการ หรื อกระดาษคานวณ ขนาดใหญ่ข้ ึนมา แล้วแบ่งออกเป็ นช่อง ๆ แต่ละช่องสามารถพิมพ์ตวั หนังสื อ ตัวเลข สู ตรคานวณต่าง ๆ ดังนั้นการสร้างตารางจึงเหมาะกับงานด้านบัญชี หรื อตัวเลขที่นามาคานวณประมวลผล 3. กำรสร้ ำงกรำฟ กราฟเป็ นการนาเสนอข้อมูลในรู ปของแผนภาพ ทั้งแบบ 2 มิต และ 3 มิติ ลักษณะของกราฟที่ นิยมใช้กนั คือ กราฟแท่ง กราฟวงกลม กราฟเส้น และกราฟแท่งแนวนอน การสร้างกราฟโดยปกติใช้


17 โปรแกรมสาเร็ จรู ป คือ ไมโครซอฟต์เอ็กเซล เพราะได้รวมเอาคุณสมบัติที่โดดเด่นของการสร้างกราฟ ไว้ครบถ้วน ทั้งยังสามารถโอนไฟล์ไปร่ วมกับโปรแกรมอื่น ๆ ได้ 4. กำรออกแบบ การออกแบบ เช่น ออกแบบบ้าน ออกแบบกล่องใส่ ปากกา-ดินสอ ออกแบบเสื้ อผ้า ออกแบบ โต๊ะ-เก้าอี้ เป็ นต้น การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์มีโปรแกรมสาเร็ จรู ปหลายโปรแกรมให้เลือกใช้ เช่น โปรแกรม AutoCad โปรแกรม PhotoShop และโปรแกรม Freehand เป็ นต้น โปรแกรมประเภทนี้จะออกแบบ หน้ากระดาษให้เป็ นพื้นที่วา่ ง ๆ และมีเครื่ องมือสาหรับออกแบบไว้ให้ผใู ้ ช้งาน สามารถนาเครื่ องมือมาสร้างแบบเป็ นรู ปทรงต่าง ๆ ได้ตามต้องการ 5. กำรนำเสนองำน การนาเสนองานก็เป็ นบทบาทอีกประเภทหนึ่งของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชั้นเรี ยน กล่าวคือ เป็ นการนาเสนองานที่ได้สร้างไว้แล้วจากโปรแกรมต่าง ๆ เช่น เอกสารจากโปรแกรม Word ตารางจากโปรแกรมตารางงาน แล้วนามาเสนอแก่ที่ประชุมหรื อเพื่อน ๆ ร่ วมห้องให้ทราบโปรแกรม การนาเสนอที่ได้รับความนิยม คือ โปรแกรมไมโครซอฟต์ PowerPoint ลักษณะของโปรแกรม ประเภทนี้จะมีเครื่ องมือช่วยให้ผใู้ ช้สร้างภาพและตกแต่งสไลด์ได้อย่างสวยงาม ใส่ ภาพเคลื่อนไหว และบันทึกเสี ยงประกอบการนาเสนอได้


18

เอกสำรอ้ ำงอิง www.comsimple.com www.thaigoodview.com web.ku.ac.th http://www.navy34.com/index.php/com-software/206-what-hardware-is http://www.com5dow.com

http://education.bodin.ac.th/ict_m2/page6_content6.html


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.