บทความ วิชาการ ประจาวันที่ 29 กันยายน 2557
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ม.พะเยา Tel. 054 466 666 ต่อ 1790
อาหารมังสวิรัติและสุขภาพ โดย ศุภชัย เจริญสิน อาจารย์สาขาวิชาชีวเคมีและโภชนาการ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากอดีตจนถึงปัจจุ บันอาหารมัง สวิรัติได้ เข้ามามีบทบาทสาคัญในวิถีการกินของคนไทย เดิม ทีการรับประทานอาหารมังสวิรัติจะเป็นที่นิยมใน กลุ่ ม คนที่ ไ ม่ ต้ อ งการบริ โ ภคเนื้ อ สั ต ว์ เ นื่ อ งด้ ว ย ต้องการหลีกเลี่ยงการเบียดเบียนสัตว์และความ เกรงกลัวที่จะได้รับสารตกค้างซึ่งอาจส่งผลเสียต่อ สุ ข ภ า พ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ค ว า ม นิ ย ม ใ น ก า ร รับ ประทานอาหารมัง สวิรัติใ นปัจจุบัน นี้มีมากขึ้ น จากอดีตเป็นอย่างมาก อันเนื่องมาจากมีผลการ
2) กึ่งมังสวิรัติ (Semivegetarian) เป็นกลุ่มผู้บริโภค
ศึกษาวิจัย ที่สนับ สนุน ผลดีต่ อสุข ภาพของอาหาร
ที่เลือกรับประทานอาหารจากพืชมากกว่าเนื้อสัตว์และ
มังสวิรัติในแง่ของการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ รูปแบบการเลือกรับประทานจะไม่
เรื้อรังหลายชนิด
เคร่งครัดเหมือนกับกลุ่มมังสวิรัติแท้ แหล่งของอาหาร
รูปแบบการรับประทานอาหารมังสวิรัติ 1) มังสวิรัติแท้ (Vegan) เป็นกลุ่มนักมังสวิรัติที่งด
จะมีความหลากหลายและโอกาสที่จะขาดสารอาหาร ก็จะน้อยกว่า
เว้นการรับประทานเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ทุกชนิดแต่จะรับประทานอาหารที่มาจากพืชเท่านั้น
3) มังสวิรัติที่รับประทานไข่และนม (Lacto-ovo
คนกลุ่ ม นี้จ าเป็ นต้ อ งเลื อกรับ ประทานอาหารที่ มี
vegetarian) เป็นกลุ่มนักมังสวิรัติที่รับประทานไข่และ
แคลเซี ย ม ธาตุ เ หล็ ก สั ง กะสี ก รดอะมิ โ นจ าเป็ น
นมร่วมกับผัก ผลไม้ และธัญพืช
กรดไขมันกลุ่มโอเมกา 3 และ 6 และไวตามินบี 12 เพราะสารอาหารเหล่านี้พบมากในสัตว์
พัชรินทร์ ใจข้ อ เครือข่ ายนักประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ม.พะเยา : เรียบเรียง