เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2557
ปีที่ 1 ฉบับที่
1
Research Newsletter คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา
จดหมายข่าวงานวิจยั
โครงการสัมมนาและส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการและ วิจัยของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปี 2558 เริม่ ขึ้นแล้ว เมือ่ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 ทีผ่ า่ นมา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ จัดสัมมนาและ ส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการและวิจยั ของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครัง้ ที่ 1 ประจาปี 2558 เรือ่ ง การตรวจวัดส่วนประกอบและฤทธิต์ า้ นจุลนิ ทรียข์ องน้ามันหอม ระเหยจาก “มะแขว่น”(Evaluation of the components and antibacterial activity of essential oil from Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. Fruit) “มะแขว่น” นั้น เป็นพืชพื้นบ้านที่ เป็ น เครื่ อ งเทศทางภาคเหนื อ ชื่ อ อื่ น ลู ก ระมาศ หมากมาศ (กรุงเทพฯ) กาจัด กาจัด ต้น มะแขว่น (เหนือ) มะแข่น มะข่วน บ่าแข่น หมักข่ว ง (แม่ ฮ่องสอน) ชื่ อวิทยาศาสตร์ Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. อย่างไร ก็ตาม มะแขว่น นัน้ อาจหมายความรวมถึงพืช ได้ อี ก หลายตั ว เช่ น มะแขว่ น ที่ มี ชื่ อ วิทยาศาสตร์ Zanthozylum limonella ก็ได้ มักขึน้ ในป่าดิบแล้ง หรือป่าดิบเขา เป็นไม้ยนื ต้น สูง 5-10 เมตร มีหนามตามลาต้นและกิง่ ก้าน
มุง่ เน้นให้คณาจารย์ในคณะฯ หรืออาจารย์พเิ ศษ ทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยมี การแลกเปลีย่ นเรียนรูด้ า้ นการวิจยั ตลอดจนส่งเสริมกิจกรรมด้านการวิจยั แก่คณาจารย์บคุ ลากร ทางวิทยาศาสตร์และนิสติ โดยได้รบั เกียรติจากวิทยากรพิเศษ ผศ.ดร.ภญ.มาลีรกั ษ์ อัตต์สนิ ทอง คณะเภสัชศาสตร์ ม.พะเยา เป็นผูบ้ รรยาย ได้รบั ความสนใจจากคณาจารย์ภายใน และนอกคณะ รวมทัง้ บุคลากรทางวิทยาศาสตร์ และนิสติ หลักสูตรชีวเคมีชนั้ ปีที่ 3 เข้าร่วมรับฟังกว่า 80 คน โดยทีมผูท้ างานวิจยั ดังกล่าว ได้เก็บตัวอย่าง “ผลมะแขว่น” จาก จ.น่าน มาสกัดเอาน้ามันหอม ระเหยไปทาการทดลองในห้องปฏิบตั กิ ารทางด้านจุลชีววิทยา ซึง่ ได้ผลการทดลองคือ น้ามันหอม ระเหยจากมะแขว่น แสดงฤทธิต์ า้ นเชือ้ แบคทีเรีย ซึง่ สัมพันธ์กบั โรคในระบบทางเดินอาหารและ ผิวหนัง นอกจากนีส้ ารสาคัญกลุม่ เทอร์ปนี (terpenes) ในน้ามันมะแขว่น ทาหน้าทีเ่ ป็นสารฆ่าเชือ้ โรคทีอ่ าจปนเปือ้ นในอาหารพืน้ บ้านล้านนา ช่วยถนอมอาหาร และป้องกันการติดเชือ้ โรคในทางเดิน อาหารของผูบ้ ริโภคอีกด้วย ทัง้ นีไ้ ด้มกี ารต่อยอดงานวิจยั โดยการนาน้ามันหอมระเหยจาก “มะแขว่น” มาเป็นองค์ประกอบใน ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ อาทิ เจลล้างมือมะแขว่นฆ่าเชือ้ โรค ยาหม่อง เป็นต้น”
ผลมีลักษณะแห้งกลม ผิวขรุขระสี น้าตาล เมื่อแก่ผลจะแตกจนเห็นเมล็ดสีด า กลม ผิวเรียบเป็นมัน มีกลิน่ หอมฉุนคล้ายผักชี มีรสเผ็ดเล็กน้อย นอกจากนี้ ยังนิยมใส่ในยา เนือ้ ไก่ หลู้ แกงขนุน แกงผักกาด ช่วยทาให้ รสชาติของอาหารดีขนึ้ และถือเป็นภูมปิ ญ ั ญา ชาวบ้านที่ใช้กิน แก้ส าหรับอาหารจานที่มี เนือ้ สัตว์มาก เพราะช่วยย่อยเนือ้ ได้ ส่วนทีใ่ ช้ ในการประกอบอาหารคือ ใบอ่อนและผล ใบ และยอดอ่อนรับประทานเป็นผักสดจิม้ น้าพริก