กรุงเทพฯ น่ารู้ ตอน ลำคลอง

Page 1


กรุงเทพฯ น่ารู้ ตอน

ลำ�คลอง มณฑล ประภากรเกียรติ เขียน ส.พลายน้อย บรรณาธิการวิชาการ

กรุงเทพมหานคร M Young, สำ�นักพิมพ์มติชน 2556


กรุงเทพฯ น่ารู้ ตอน

ลำ�คลอง

กำ�เนิดแม่น�้ำลำ�คลอง ..........................................9 แม่น�้ำเจ้าพระยา แม่ ใหญ่ตัวจริงของไทย ...................

12 แม่ ใหญ่ ทำ�ไมชื่อ “เจ้าพระยา” .......... 14

ลำ�คลองเขาขุดกันยังไงนะ ............................... 16 เล่าสู่กันฟังเรื่องลำ�คลอง ................................. 18 คลองตระกูล “บาง” ในบางกอก ............................. คลองบางกอก คลองลัดโบราณ “ไม่ทันหม้อข้าวเดือดก็ถึงแล้ว” ....... คลองบางกอกน้อย

“ครึกครื้นตลอดเวลา” ................

คลองบางกอกใหญ่ ใหญ่จริงหรือไม่ .........................

20

22 27 31

คลองบางหลวง ชื่อนี้ปริศนา .................

34

คลองบางยี่ขัน

36

วังเดิมกษัตริย์ลาว ..........

คลองบางซ่อน

แหล่งทำ�สมุดไทย ...........

39


คลองลับในกรุงเทพฯ ............................... 42 คลองคูเมืองเดิม ถูกหลอกให้เป็น “คลองหลอด” .........................

43

คลองหลอด

ตัวจริงอยู่ที่นี่ ...............................

คลองพญาไท

ลืมกันแล้วหรือยัง ......................... คลองถม ไม่ได้ขายของ เดิมเรียกว่า “คลองพระแก้ว”.......................

46

ขุดเอง ลอกเอง คลองชาวบ้านชื่อว่า “คลองนางหงส์”...............

49

ชื่อนี้เปลี่ยนไป .......................

52

คลองสาน

คลองถนนตรง

ตามใจฝรั่ง ...........................

54

56 58

คลองสายประวัติศาสตร์ ........................ 60 คลองด่าน ด่านอะไร? ............................... คลองด่าน เส้นทางสายประวัติศาสตร์ ...... ใครอยู่ ในคลองด่านบ้าง .....................

62 66 68

คลองรอบกรุง พ่อใหญ่แห่งลำ�คลอง .......... คลองผดุงกรุงเกษม คูเมืองน้องคนสุดท้อง ........ คลองมหานาค “จงทำ�ให้เหมือนกรุงเก่า” ...

72 76 80


คลองสายประวัติศาสตร์ คลองเปรมประชากร คลองแห่งแรกในรัชกาลที่ 5 ..... คลองมอญ... คลองรามัญ ก็คลองเดียวกันนั่นแหละ .........

84 88

(ต่อ)

คลองสารหงส์ อู่เรือรบที่หายไป ..............

92

คลองนี้มีเรื่องเล่า ................................................. 94 คลองประปา ต้นกำ�เนิดน�้ำ “ประปา” ...........

คลองพระโขนง บ้านนางนาก? ..............

107

98

คลองมหาชัย กับพันท้ายนรสิงห์ .........

110

102

คลองสามวา กว้างสามวา จริงหรือ? ..

114

คลองสรรพสามิต คลองหกวา คลองนี้เค็ม .................... ซอยถี่ยิบ ...................... คลองแสนแสบ อะไรแสบ? ........................

116

คลองมหาสวัสดิ์ คลองรักษาโรค ..................... คลองรังสิตประยุรศักดิ์ จักรกลขุดเอง ......................

96

105

119


ร.เรือ พายไป ....................................... 122 มารู้จักส่วนประกอบ ของเรือกันดีกว่า ................

รู้จัก เรือหลากชนิด ....................

124

แหล่งเรียนรู้ เรื่องเรือไทย ........................

126

รู้ไว้ใช่ว่า... ความเชื่อเรื่องแม่ย่านาง ...

132

131

ของเล่นที่เด็กชาวเรือ “ไม่เล่นไม่ ได้แล้ว” ............

136

ทิ้งท้ายก่อนลา .................................. 141 หนังสืออ่านเพิ่มได้ความรู้ ............... 143


กรุงเทพฯ น่ารู้ ตอน

ลำ�คลอง ไปกับพวกเรานะ

อยากรู้

น�้ำใส

เด็กหญิง หัวใจรักธรรมชาติ เรื่องแม่น�้ำล�ำคลองเหรอ ? ขอให้บอก !!!

8

ไม้พาย

เด็กริ มคลองบางหลวง พายเรือขั้นเทพ...ไปมาแล้วทุกคลอง ในกรุงเทพฯ


กำ�เนิด แม่น�้ำลำ�คลอง

เราเคยสงสัยกันไหมว่าล�ำคลองเกิดขึ้นได้อย่างไร ก่อนอื่ นเลย เรามาท�ำความรู้จั กธรรมชาติของ “น�้ำ” กันก่อน ลองสังเกตกันดู เวลาฝนตกก็จะตกมาจากที่สูง นั่นคือท้องฟ้า คงจะไม่มีฝนที่ ไหนตกขึ้นฟ้าแน่นอน เช่นเดี ยวกับน�้ำที่จะไหลจากที่สูง ลงที่ต�่ำ พื้นที่ ไหลผ่านก็คือดิน เมื่อน�้ำวิ ่ งไหลแรงขึ้นเรื่อยๆ ทางดิน ที่ น�้ำไหลผ่านก็ต้องขยายตัว ขยายตัว และขยายตัว เมื่อขยาย จนกว้างมากๆ ก็เปลี่ยนจากทางน�้ำไหลผ่าน กลายเป็นล�ำน�้ำที่ ใหญ่ โต เรี ยกว่า “แม่น�้ำ” หากเป็นล�ำน�้ำเล็กๆ ก็จะเรียกว่า “ล�ำคลอง”

9


แม่น�้ำจึงเป็นเสมือนแม่ ส่วนล�ำคลองก็คือลูก ดังนั้น หากล�ำคลองจะเกิดได้ ก็ต้องอาศัยแม่น�้ำเสียก่อน เมื่อมีแม่น�้ำไหลผ่านที่ดินส่วนไหน มักจะมีผู้คนไปสร้างบ้านอยู่บริ เวณนั้น เพราะเมื่อมีน�้ำ เราก็สามารถปลูกข้าว ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ได้ น�ำไปสู่ความอุดมสมบูรณ์ ในชี วิ ตนั่นเอง มนุษย์เราจึงนิยมปลูกบ้าน ใกล้แหล่งน�้ำ เรียกว่า “พื้นที่ราบลุ่มแม่น�้ำ” อยู่ไปนานวันเข้า เมื่อมนุษย์รู้จั กเรี ยนรู้ ก็เริ่ มขุดคลองเองได้ เพื่อที่จะชักน�้ำจากแม่น�้ำ เข้าไปในพื้นที่ของตัวเอง เรียกกันว่า “คลองขุด” แบ่งได้เป็นสองแบบคือ

คลองเรื อ ขุดคลองส�ำหรับ เป็นเส้นทางเดินเรือไปมาค้าขาย คลองนา ขุดคลองในพื้นที่ว่างเปล่า เพื่อท�ำการเกษตร

ท�ำให้เกิดพื้นที่ท�ำนาขึ้น

คลองในกรุ งเทพฯ ส่วนใหญ่จึงเป็นคลองขุด จะมีทั้ งคลองเรื อและคลองนาผสมกันไปแต่ละพื้นที่

10

ปนกันไป ตามการใช้งาน


?

คลองเรือ มีของมาขาย

คลองนา

นี่ต้นข้าวนะ

ค้าขาย หรือ ท�ำนา

สมัยไหนขุดคลองมากที่สุด?

ค�ำว่า “คลองขุด” เริ่มใช้เรียกมากขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมัยที่ มีการขุดคลองเจริ ญมากๆ คลองขุดในสมัยนีจ้ ึงมีจ�ำนวนมากที่สุด จนกระทั ่ ง ใน พ.ศ. 2445 ถึงกับต้องตั้งกรมคลองขึ้น สังกัดกระทรวงเกษตราธิการ มีนายเย โฮ มันวันเดอร์ ไฮเด วิ ศวกรชาวเนเธอร์แลนด์ เป็นเจ้ากรมคลอง ดูแลการขุดคลองและรักษาคลอง

11


ตัวจริง

มาแล้ว

...

แม่น�้ำเจ้าพระยา

แม่ ใหญ่ตัวจริงของไทย เรารู้กันไปแล้วว่าล�ำคลองเกิดจากแม่น�้ำ ทีนล้ี องมาดูแผนที่ ประเทศไทยกัน จะเห็นได้ว่ามีแม่น�้ำสายใหญ่ยักษ์พาดผ่านใจกลางขวานทอง ของไทยตั้งแต่ภาคเหนือ จนมาสิ้นสุดที่ภาคกลางตอนล่าง และ ไหลลงทะเลไปในที่สุด เมื่อลองดูแผนที่แล้ว บริ เวณจุ ดเริ่ มต้นของแม่น�้ำสายนี้ ก่อนที่ จะเป็นสายใหญ่ ด้านบนของมันจะมีแม่น�้ำหลายสายชื่อว่า “ปิง วัง ยม น่าน” ไหลลงมาจากคนละทาง แต่มจี ุ ดนัดพบเดี ยวกันที่เรียกว่า “ปากน�้ำโพ” เมื่อไหลลงมารวมตัวกันแล้ว จึงเกิดแม่น�้ำที่ ใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย เรี ยกว่า “แม่น�้ำเจ้าพระยา” เป็นสายน�้ำที่เลี้ยงชี วิ ต คนแทบทุกพื้นที่ที่ ไหลผ่าน จนไปสิ้นสุดที่เมืองสมุทรปราการ ออกไปรวมตัวกันที่อ่าวไทย

12


น.ยม น.ปิง น.วัง

ตรงนี้ นี่ไงล่ะ

น.น่าน

น.เจ้าพระยา

แผนที่แม่น�้ำ ปิง วัง ยม น่าน จนไหลมาเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยา

แม่น�้ำเจ้าพระยาจึงเป็นแม่ ใหญ่ตัวจริ งเสียงจริ งของไทย และแน่นอนที่สุด เป็นแม่น�้ำที่ ไหลผ่านกรุ งเทพมหานคร เป็นแม่ที่คลอดลูกคลองขึ้นมากมายในกรุ งเทพฯ ทั ้ งจากธรรมชาติ และจากการลงมือขุดเองของมนุษย์

13


สวัสดีค่ะ...

แม่ ใหญ่ ทำ�ไมชื่อ

“เจ้าพระยา”

เดี๋ยวมี ค�ำอธิบายค่ะ... ไม่รู้สิ...

เคยสงสัยกันไหมว่า ท�ำไมถึงต้องชื่อ “แม่น�้ำเจ้าพระยา” เราลองไปดูแผนที่ สมัยสมเด็จพระนารายณ์ อยุธยาตอนปลาย ที่ชาวยุโรปเขี ยนขึ้น จะปรากฏค�ำว่า “MENAM” ในแผนที่ อ่านตรงตัวได้เลยว่า “แม่น�้ำ” แสดงว่าในอดี ตผู้คนนิยม เรี ยกกันว่า “แม่น�้ำ” แต่สุดท้ายแล้วกลายเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยาได้อย่างไร? ก่อนอื่ นเราต้องรู้ก่อนว่า สมัยโบราณมีประเพณีการเรียกชื่ออะไรก็ตามที่เป็น หัวหน้าว่า “แม่” เช่น แม่น�้ำ แม่ทั พ แม่ย่านาง ฯลฯ ต่อมาเริ่ มทั นสมัยหน่อย เรี ยกชื่อแม่น�้ำตามสถานที่ เช่น แม่น�้ำบางปะกง ตรงสุดทางแม่น�้ำที่ ไหลลงทะเล เดิมทีเรียกปากน�้ำพระประแดง เพราะอยู่ ใกล้เมืองพระประแดง แต่เมื่อเกิดแผ่นดินงอกใหม่ ที่สุดท้ายมีแม่น�้ำไหลลงทะเล จึงเป็นที่ที่เรี ยกว่าบางเจ้าพระยา คงเป็นบางหรือต�ำบลเก่า ที่ น่าจะมีท่านเจ้าพระยา เป็นผู้ตรวจตราด่านอยู่แถวนี้ จึงกลายเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยาในที่สุด

14


แม่น�้ำ

แผนที่สมัยอยุธยา เขียนโดยชาวยุโรป

แผนที่ชาวยุโรปสมัยอยุธยา เขี ยนชื่อแม่น�้ำเจ้าพระยาว่า “Menam (แม่น�้ำ)”

15


ลำ�คลอง

?

อยากรู้

เขาขุดกันยังไงนะ แม้ล�ำคลองจะมีขนาดไม่ ใหญ่เท่ากับ แม่น�้ำ แต่ก็ถือว่าใหญ่เอาเรื่องเหมือนกัน แล้วคนในอดี ต ที่ยังไม่มีเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทั นสมัยเขาขุด คลองกันได้อย่างไร

ขยาย ให้กว้างเลยนะ

16

ล�ำคลองบางสายมีการขุดขึ้นตั้งแต่ส มัย อยุธยาตอนปลาย อาจไม่ได้เริ่ มขุดจากดิน จนกลายเป็นล�ำน�้ำสายใหม่เลยก็ ได้ เรื่องนี้ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริ ศรานุวัด ติวงศ์ “นายช่างใหญ่แห่งกรุ งสยาม” ได้กล่าวถึง ว่า น่าจะมีคลองเดิมๆ ที่ชาวบ้านใช้เดินเรื อ เป็นทางลัดน�ำร่องขุดกันอยู่แล้ว อาจเป็นแค่ ทางแคบๆ ส�ำหรั บ เดินเรื อเล็กๆ จนราชการ มาเห็นก็ขุดให้เป็นคลองใหญ่


สิ่งที่น่าอัศจรรย์ยิ่งกว่านั้นคือ

ผู้ช่วยขุดคลอง กับ ผู้ช่วยเกษตรกร เป็นสิ่งเดี ยวกัน !!!

ทายซิว่าอะไร...

สิ่งนั้นคือ “ควาย” นั่นเอง คนและควายช่วยกันชักพื้นดินโคลนตม ให้เป็นทางน�้ำ เมื่อเป็นทางน�้ำเล็กๆ แล้ว คนกับควายก็ช่วยกันขยายมัน ให้กว้างขึ้นจนกลายเป็นล�ำน�้ำใหญ่ที่เรียกว่า “คลอง” นั่นเอง

หากใครถามว่า “เขาขุดคลองกันยังไง” ก็ตอบไปได้เลย สู้... สู้ “คนกับควายช่วยกันขุด” เราช่วยกันนะ

ใช่... เราช่วยกัน

17


เล่าสู่กันฟัง

เรื่องลำ�คลอง

?

ทำ�ไมถึงต้องขุดคลอง ?

การขุดคลอง จะต้องใช้ทั้ งแรงคน แรงควาย แรงเงินมากมาย มหาศาล แต่ผลที่ ได้รับถือว่าคุ้มค่า และยังช่วยพั ฒนาบ้านเมือง ให้ดี ขึ้นอีกในหลายๆ ด้าน

ผลงานพวกเรา

18

ในอดี ตผู้คนนิยมเดินทางด้วยเรื อ แม่น�้ำจึงเป็น เหมือนถนนในปัจจุ บันที่เป็นเส้นทางคมนาคมหลัก แต่เส้นทางแม่น�้ำเจ้าพระยาค่อนข้างคดเคี้ยวมาก มีทางโค้งหลายโค้ง เสียเวลาในการล่องเรือไป-มามาก จึงจ�ำเป็นต้องขุดลอกคลองเพื่อเป็นทางลัด ท�ำให้ การเดินทางด้วยเรื อรวดเร็วขึ้น การค้าขายทางน�้ำ เป็นเหมือนช่องทางการหาเงินของประชาชนและรั ฐ สมัยโบราณ บรรดาเมืองต่างๆ ที่อยู่ ในเส้นทาง การเดินเรือผ่านจึงมีฐานะร�่ำรวยมหาศาล และการที่ แม่น�้ำเจ้าพระยาไหลผ่านกรุ งเทพฯ ลงสู่อ่าวไทย จนท�ำให้กรุ งเทพฯ กลายเป็นเมืองส�ำคัญในที่สุด


ฝีมือ... ผมเอง

จุ ดเริ่ มต้นส�ำคัญของการขุดคลองขึ้นใน กรุ งเทพฯ เพื่อเป็นทางลัดในการเดินเรือ คือ การขุดคลองบางกอก หลังจากนีจ้ ะมีล�ำคลอง เกิดขึ้นมากมาย มีทั้ งที่เป็นเส้นทางการเดินทั พเรือ มีทั้ งเรื่องเล่าที่เกิดขึ้นในล�ำคลอง มีทั้ งคลองลับ ที่รับรองได้เลยว่าเราอาจยังไม่เคยเห็น ไม่เคย รู้เลยว่ามีอยู่จริ ง

ทางนี้ทางลัดเร็วกว่า มีของมาขายจ้ะ

ไปด้วย

พร้อม ไปกัน อุ่นเครื่องกันพอเหมาะแล้ว

เรามาเรียนรู้คลองในกรุงเทพฯ กันดี กว่า 19


คลองตระกูล“บาง” ในบางกอก คล

องเ

20

ก่าแ

ก่...

คลองตระกูล “บาง” มีอยู่มากมายในกรุ งเทพฯ เรี ยกได้ว่าเป็นตระกูลส�ำคัญเก่าแก่แรกเริ่ มใน กรุ งเทพฯ เลยก็ว่าได้ เรามาดูกันว่าคลองตระกูลบาง ท�ำไมถึงเก่าแก่นักหนา รสนิยมการตั้งชื่อแม่น�้ำล�ำคลองในสมัยโบราณ มักจะตั้งตามสถานที่ส�ำคัญ เช่น วัด ตลาด ย่านเก่า รวมไปถึงชุมชนที่อยู่ ใกล้แม่น�้ำด้วย ชุมชนที่ว่านีแ่ หละ ส�ำคัญ เพราะมักจะมีชมุ ชนเก่าแก่ที่อยู่ตรงปากทางน�้ำ เล็กๆ ริ มแม่น�้ำเจ้าพระยาเรียกว่า “บาง” ซึ่งมีมากมาย หลายสาขา บางกอก บางเขน บางกรูด บางพลู บางระมาด บางฉนัง ฯลฯ เมื่อมีชมุ ชนตระกูลบางแล้ว ล�ำคลองที่อยู่ ใกล้ กับชุมชนตระกูลบางจึงถูกเรี ยกว่า “บาง” ต่างๆ ไปด้วย ท�ำให้ชื่อคลองที่ น�ำหน้าด้วยบางมีมากมาย ตามชุมชนในกรุ งเทพฯ


มีบางอะไรบ้างนะ

คลอง

คลอง

บางหลวง

บางยี่ขัน

คลอง

บางซ่อน

คลอง

บางกอกใหญ่ คลอง

คลอง

บางกอก

บางกอกน้อย

ไปด้วย

คลองตระกูลบางในกรุงเทพฯ

มีความสำ�คัญอย่างไร มีบางอะไรบ้างที่สำ�คัญ ตามไปดูกันเลย 21


คลองบางกอก คลองลัดโบราณ “ไม่ทันหม้อข้าวเดือด ก็ถึงแล้ว”

ในสมัยอยุธยาจนถึงธนบุรี ตรงบริ เวณกรุ งธนบุรีเก่า ถูกเรี ยกว่า “บางกอก” เป็นชื่อที่รู้จั กกันทั ่ วไป เราลองสังเกตระหว่างมหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ กับโรงพยาบาลศิริ ราชจะมีแม่น�้ำเจ้าพระยาคั่ นกลางอยู่ จะไป-มาสองฝั่งก็ต้องนัง่ เรื อข้ามฟากเรียกกันว่าท่าวังหลัง

22


รู้ไหมว่า...เดิมทีแม่น�้ำเจ้าพระยาที่กั้นสองฝั่ง คือล�ำคลองที่เรียกกันว่า “คลองบางกอก”

จะขุด ตรงไหน กันล่ะ

เมืองบางกอก (กรุงธนบุรีเดิม) ที่ยังไม่ได้ขุดคลองลัด

23


ขุดตรงนี้

ถึงตรงนี้

ประหยัด เวลาได้มาก แผนที่เมืองบางกอก หลังขุดคลองลัด

คลองบางกอกเป็นเส้นทางลัด ที่ส มเด็จพระไชยราชาธิราช พระมหากษัตริ ย์กรุ งศรี อยุธยา (พ.ศ. 2077-2089) โปรดให้มีการขุดคลองบางกอกตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย จนไปถึงปากคลองบางกอกใหญ่ เพื่อเป็นทางลัด ในการเดินเรือจากอ่าวไทยไปกรุ งศรีอยุธยา

24


แต่ ในปัจจุ บันคนมักจะเข้าใจว่าเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยา อันที่จริ งแล้ว เข้าใจถูกต้องแล้วละ เพราะว่าคลองบางกอกเป็นเส้นตรงสายน�้ำจะไหลได้ดี กว่า ทางคดเคี้ยว ท�ำให้น�้ำเริ่ มไหลแรง แรงขึ้น แรงขึ้น ล�ำคลองก็เริ่ มขยาย ขยาย ขยาย จนในที่สุดจากคลองบางกอกก็กลายเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยาไปซะได้

ภาพปัจจุ บัน ที่คลองบางกอกกลายเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยา

ต่อมาภายหลังชื่อ “คลองบางกอก” จึงหายไปพร้อมๆ กับชื่อ “เมืองบางกอก” เมื่อได้เรี ยนรู้เรื่องนีแ้ ล้วก็อย่าลืมล�ำคลองส�ำคัญที่ชื่อว่าคลองบางกอกกันนะ

25


บางกอก ใหญ่

ได้มาแล้ว หม้อข้าว

คลอง บางกอก

เรื่องเล่าหุงข้าวกับคลองลัด มีชาวบ้านล่องเรือไปหยุดพั กตรง ปากคลองบางกอกน้อย หุงข้าวปลาอาหาร กินเรี ยบร้อย ก็แจวเข้าคลองบางกอกน้อยไป จนถึงคลองบางกอกใหญ่ ใช้เวลาวันนึงเต็มๆ ก็หยุดพั กหุงข้าว นึกขึ้นได้ว่าลืมหม้อหุงข้าว ไว้ที่ปากคลองบางกอกน้อย จึงลงทุนลุยข้ามฟาก ตัด ตรงไปเอาหม้อ กลับมาหุงข้าวเย็นได้ทั น เรื่องนีท้ �ำให้เห็นว่า ถ้าเป็นเส้นทางตัด ตรง ก็ ใช้เวลาเพี ยงเล็กน้อยเท่านั้นเอง

26

บางกอก น้อย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.