สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น

Page 7

อย่างไรก็ตาม, หลังจากผ่านช่วงสงครามไปแล้ว โอกาสในการ จั ด พิ ม พ์ ก็ ดู จ ะมี อ ยู ่ ม าก ดั ง จะเห็ น ว่ า มี ง านบั น ทึ ก ท� ำ นองนี้ ป รากฏ ออกมาไม่น้อย, โดยเฉพาะภายหลังการรัฐประหาร ๒๔๙๐. นับแต่ ปี ๒๔๙๒ มา งานจ�ำพวก เมื่อข้าพเจ้าก่อการกบฏ ของ หลวงโหม รอนราญ, งานอย่าง ยุคทมิฬ ของ พายัพ โรจนวิภาต (ขุนโรจนวิชยั ), ความฝันของนักอุดมคติ (หรือต่อมาจะรู้จักกัน ในชื่อ เมืองนิมิตร) ของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน, ตลอดไปจนถึงงานเขียนอย่างของ “แมลงหวี่’, “ไทยน้อย” และอื่นๆ ต่างทยอยกันออกมา. แต่แม้ใน เวลาที่ประวัติก�ำลังถูกสร้างขึ้นใหม่อย่างเอาการเอางานและอย่างต่อ เนื่องเช่นนี้ งานของหม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล ซึ่งจะว่าไปแล้วก็มี เนือ้ หาทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งราวในช่วงก่อนการเปลีย่ นแปลงการปกครอง อยู่ไม่น้อยไปกว่าบันทึกของท่านอื่นๆ ก็ยังคงมิได้ปรากฏออกมาสู่ สาธารณชน. แต่ไม่ว่าเหตุผลที่แท้จริงจะเป็นอย่างไร, ข้อหนึ่งที่เห็นได้จาก  ต้นฉบับก็คือ หลังจากที่ได้ทรงตระเตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว ก็มิได้  ทรงหวนมาแตะต้องแก้ไขอีกเลย. ภาระในการจัดตรวจทานต้นฉบับ  อีกครั้งเพื่อการจัดพิมพ์ในปี ๒๕๔๒ จึงเป็นของท่านผู้ที่มีส่วน  ส�ำคัญยิ่งในการท�ำให้บันทึกส�ำคัญเรื่องนี้ได้เผยแพร่ออกมาสู่ผู้อ่าน,  นั่ น ก็ คื อ ศาสตราจารย์  หม่ อ มเจ้ า สุ ภั ท รดิ ศ  ดิ ศ กุ ล . การที่ เ รี ย ก ว่าตรวจทานนั้นก็คือ ทรงละพระนามหรือนามของบุคคลที่มีบทบาท อยู่ในบันทึกนี้ออกบ้างในบางแห่งที่ทรงเห็นว่าควรจะละ ดังท่านผู้อ่าน จะเห็นได้โดยง่ายจากจุดไข่ปลาที่มีคั่นอยู่เป็นตอนๆ นั้นเอง. ข้อที่ควรจะได้กล่าวไว้ในที่นี้ด้วยก็คือลักษณะของต้นฉบับ. ต้นฉบับทีท่ า่ นศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภทั รดิศทรงตรวจและประทาน มาให้ ศิลปวัฒนธรรม นัน้  มีจำ� นวน ๓ เล่ม; ๒ ใน ๓ เล่มนัน้  มีเลข หน้าเรียงกันตัง้ แต่หน้า ๒๖๗ ไปจนถึงหน้า ๓๔๙ ในเล่มหนึง่  และ ตั้งแต่หน้า ๓๕๐ ไปจนจบเรื่องบริบูรณ์ในหน้า ๔๒๖. ส่วนอีกเล่ม หนึ่งนับเลขหน้าแปลกไป, คือเริ่มที่หน้า ๓๕๐ เป็นเรื่องวันสวรรคต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.