พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู วั ทรงฉายกับ (แถวหลังจากซ้าย) คุณหญิง เฉลา อนิรุทธเทวา, เจ้าพระยารามราฆพ, พระยาอนิรุทธเทวา และคุณประจวบ สุขุม (แถวหน้าจากซ้าย) พระนางเจ้าสุวัทนา และพระสุจริตสุดา ในงานฤดูหนาวราว พ.ศ. ๒๔๖๗ (ภาพจาก ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรี พระยาอนิรุทธ เทวา (ม.ล. ฟื้น พึ่งบุญ) พ.ศ. ๒๔๙๔)
ไม่เพียงเพื่อแสดง “บารมี” เพราะยิ่งมีเมียและสาวรับใช้มากก็ยิ่งเป็น ที่ เ ชิ ด หน้ า ชู ต า ประกาศความมั่ ง คั่ ง และความสามารถในการเลี้ ย ง ดูบริวารไพร่พลได้๒ แต่ยังเป็นการรักษาเสถียรภาพทางการเมืองที่ กษัตริย์จะต้องสมรสกับธิดาเจ้านายเชื้อพระวงศ์เพื่อป้องกันการแย่งชิง พระราชสมบัติ กับลูกสาวหลานสาวขุนนางข้าราชการให้เป็นเครือญาติ เกี่ยวดองกันเพื่อดึงความจงรักภักดีและสร้างฐาน และกับธิดาเจ้าเมือง ประเทศราชเพื่อเป็นตัวประกัน ป้องกันเจ้าเมืองภายใต้การปกครอง 4 “ น า ย ใ น ” สมัยรัชกาลที่ ๖