บทบาทอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตำบลเหล่าโพนค้อ

Page 1

บทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

จารุวรรณ โบขุนทด

พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


ประกาศคุณูปการ พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยความอนุเคราะหจากทานอาจารยสายไหม ไชยศิ รินทร ที่ปรึกษาพัฒนานิพนธ ทานไดเสียสละเวลาอันมีคา เพื่อใหคําปรึกษาแนะนําการจัดทําวิจัย ทุกขั้นตอนในการศึกษาคนควาตลอดเวลาทีท่ ําวิจัย ตรวจขอสอบแกไขขอบกพรองตางๆดวยความ เอาใจใสอยางดียิ่งตลอดมา ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ดวย ขอกราบขอบพระคุณ นายเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตรองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาจารยภาคสนาม ที่ไดกรุณาให คําแนะนําตลอดจนใหความชวยเหลือเกี่ยวกับขอมูลตางๆ ในการฝกงานภาคสนาม ซึ่งทานไดคอย แนะนําเรื่องราวตางๆใหผูศึกษามาโดยตลอด ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย ขอกราบขอบพระคุณองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่ใหการตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางดีทําใหไดรับประสบการณที่ดีในการ ฝกงานครั้งนี้ ขอกราบขอบพระคุณคุณอนุสรณ พลราชม นายกองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ นางสาวดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษาและนายรัตนะ คําโสมศรี ปลัด อบต.เหลาโพนคอ และ เจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอทุกทานที่คอยใหขอมูล แนะนํา รวมถึงใหการ ตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางดี ขอบพระคุณอาจารยประจําภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทุกทาน ที่ไดกรุณาให คําแนะนําขอบกพรองตางๆ คอยอบรมสั่งสอน คอยชีแ้ นะมาตลอด ทําใหพัฒนานิพนธฉบับนี้ สมบูรณยิ่งขึ้น ขอขอบคุณเพื่อนนิสิตที่ฝกงานรวมกัน ที่ใหการแนะนําและชวยเหลือในการลงพื้นที่ใน การเก็บขอมูลตางๆ งานวิจัยเลมนี้ลุลวงไมไดหากไมไดรับการสนับสนุนจากครอบครัวโบขุนทด โดยเฉพาะ อยางยิ่งคุณพอคุณแม ขอบคุณเพื่อนๆทุกคนที่ชวยเหลือสนับสนุนทั้งแรงกายแรงใจและ กําลังสติปญญาตลอดมา ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบใหแก นายนิวัฒน โบขุนทด บิดาของผูศึกษา นางบุญยาพร โบขุนทด มาดาของผูศึกษา รวมถึงสมาชิกในครอบครัวโบขุนทด รวมถึงผูที่สนใจพัฒนานิพนธฉบับนี้

จารุวรรณ โบขุนทด


ชื่อเรื่อง ผูศึกษา อาจารยที่ปรึกษา ปริญญา มหาวิทยาลัย

บทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นางสาวจารุวรรณ โบขุนทด อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศศ.บ.)สาขาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปที่พิมพ 2555

บทคัดยอ งานวิจัยเรื่องบทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรี สุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค 1.เพื่อศึกษาสภาพปญหาของผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพน คอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 2.เพื่อศึกษาบทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีกลุมเปาหมาย คือ อาสาสมัคร ดูแลผูสูงอายุในตําบลเหลาโพนคอ จํานวน 5 คน ผูสูอายุที่ไดรับการดูแล จํานวน 15 คน ครอบครัวผูดูแลผูสูงอายุ 10 คน โดยผูวิจัยไดเขาไปสังเกตการณและมีสวนรวมภายในชุมชนใน ระยะเวลา 2 เดือน ระหวางวันที่ 11 มิถุนายน- 15 สิงหาคม 2555 เพื่อสังเกตพฤติกรรมตางๆ ภายในชุมชน วิธีการศึกษาในครั้งนี้ การสัมภาษณผูดูแลผูสูงอายุ(อผส.)และผูสูงอายุที่ไดรับการ ดูแลจาก อผส. ภายในชุมชน โดยใชเครื่องมือในการเก็บขอมูล แบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสังเกตการณแบบมีสวนรวม การบันทึกภาคสนาม แผนที่ชุมชนในตําบล กลองถายรูป แลว นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาสรุปและวิเคราะหเปนผลการศึกษาดังนี้ ประการแรก พบวาสภาพปญหาของผูสูงอายุในตําบลเหลาโพนคอ 3 ดานคือ ปญหาดาน สังคม ปญหาดวนสุขภาพ ปญหาดานเศรษฐกิจ จึงทําใหบุตรหลานที่เคยดูแลเอาใจใสผูสูงอายุตอง ออกไปหางานทําที่ตางจังหวัด เพื่อนําเงินมาจุนเจือครอบครัว ทําใหผูสูงอายุในตําบลตองจํานวน มากอาศัยอยูเพียงลําพัง จึงตองการการไดรับการชวยเหลือจากชุมชนและหนวยงานตางๆ โดยเฉพาะอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ที่จะตองใหการชวยเหลืออยางใกลชิด


ประการที่สอง พบวาบทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ในตําบลเหลาโพนคอปฎิบัติ คือ มีการออกไปเยี่ยมบานผูสูงอายุที่อยูในการดูแลของตน จึงสงผลใหผูสูงอายุมีความเปลี่ยนแปลงใน เรื่องของ สุขภาพรางกาย จิตใจ และสังคม ในทางที่ดีขึ้น และอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุสามารถ ปฏิบัติหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุที่ตนรับผิดชอบไดอยางทั่วถึง ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ(อผส.) ไดแก ปญหาเรื่องการไมปฏิบัติตามคําแนะนําของผูสูงอายุ จํานวนผูสูงอายุที่ตองดูแลมีมากเกินไป การ ขาดความรูในการปฏิบัติหนาทีใ่ นบางเรื่องและการสื่อสารกับผูสูงอายุมีปญหา สําหรับขอเสนอแนะสําคัญที่ไดจากการวิจัย คือ 1) ควรมีการอบรมความรู เรื่องสิทธิประโยชน และวิธีการดูแลสุขภาพผูสูงอายุใหแก อผส. บอยครั้งขึ้น 2) ควรมีการสรางขวัญและกําลังใจใหกับ อผส. ในรูปแบบตาง ๆ เชน การมอบรางวัล ใหแก อผส. ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเดน 3) ควรจัดตั้งหนวยงานหลัก สําหรับดําเนินโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน เพื่อ เปนรากฐานในการดําเนินงาน เชน การสงตองาน เวลาที่ อผส. ตองไปประกอบอาชีพเมื่อถึง ฤดูกาลเก็บเกี่ยว หรือติดภารกิจไมสามารถไปปฏิบัติหนาที่ได ในการฝกงานครั้งนี้ไดจัดโครงการสงเสริมการใชสมุนไพรพื้นบานในการดูแลสุขภาพ ผูสงู อายุ เพื่อเปนการสงเสริมบทบาทของผูดูแลผูสูงอายุในการนําสมุนไพรมาทําเปนยา โดยสรุปแลวการศึกษานี้ใหความสําคัญกับ การใชสมุนไพรในรักษาสุขภาพของผูสูงอายุ และจะทําใหผูดูแลผูสูงอายุสามารถนําสมุนไพรมาทําเปนยา ทําใหผูศึกษามีความสนใจที่จะศึกษา บทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ


สารบัญ บทที่ หนา 1 บทนํา ....................................................................................................................... 1 ภูมิหลัง ........................................................................................................... 1 วัตถุประสงคของการศึกษา ............................................................................. 3 ขอบเขตของการศึกษา .................................................................................... 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ............................................................................. 5 นิยามศัพทเฉพาะ ............................................................................................. 5 แนวคิดที่ใชในการศึกษา ................................................................................. 6 วิธีการศึกษา .................................................................................................... 20 งานวิจัยที่เกี่ยวของ .......................................................................................... 30 2 บริบทตําบล ............................................................................................................... 34 สภาพทั่วไป ..................................................................................................... 34 ประวัติตําบล .................................................................................................... 35 บริบททางวัฒนธรรม ....................................................................................... 36 โครงสรางทางการเมือง ................................................................................... 41 สถานบริการรัฐ ............................................................................................... 42 แหลงทองเที่ยว ............................................................................................... 43 3 สภาพปญหาของผูสูงอายุ .......................................................................................... 44 ขอมูลดานสถิติของผูสูงอายุ ........................................................................... 44 สภาพความเปนอยูของผูสูงอายุ ..................................................................... 46 สภาพปญหาของผูสูงอายุ .............................................................................. 47 4 บทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ .............................................................................. 49 ความเปนมาของอาสาสมัคร .......................................................................... 49 ขอมูลทั่วไปของอาสาสมัคร .......................................................................... 51 กระบวนการเขาสูตําแหนง ............................................................................ 52 บทบาทของอาสาสมัคร ................................................................................. 54 ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ ........................................................ 59 ผลดําเนินงานของอาสาสมัค .......................................................................... 60 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ........................................................................... 63 สรุปผลการศึกษา ........................................................................................... 63 อภิปรายผลการศึกษา ..................................................................................... 67


ขอเสนอแนะ ................................................................................................. บรรณานุกรม .............................................................................................................. ภาคผนวก .................................................................................................................. ภาคผนวก ก รายนามผูใหสัมภาษณ ........................................................................... ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ ....................................................................................... ภาคผนวก ค แผนที่หมูบาน ........................................................................................ ภาคผนวก ง ภาพประกอบพัฒนานิพนธ ..................................................................... ประวัติยอของผูศึกษา .................................................................................................

68 70 74 75 77 85 92 100


สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 จํานวนประชากร ...................................................................................................... 40 2 รายชื่อผูนําหมูบาน ................................................................................................... 41 3 จํานวนผูสูงอายุแตละหมูบาน ................................................................................... 44 4 เพศของผูสูงอายุแตละหมู ......................................................................................... 45 5 ชวงอายุผูสูงอายุ ........................................................................................................ 46 6 ความถี่ในการออกเยี่ยม ............................................................................................. 62


บัญชีภาพประกอบ ภาพ หนา ภาพประกอบ 1 แผนที่ตําบล ....................................................................................... 34 ภาพประกอบ 2 กิจกรรมพิธีทิ้งครก ทิ้งสากขอฝน ....................................................... 37 ภาพประกอบ 3 กิจกรรมพิธีขอฝนที่หนองกุดแกลบ .................................................... 37 ภาพประกอบ 4 กิจกรรมพิธีขอฝนที่หนองกุดแกลบ .................................................... 38 ภาพประกอบ 5 อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ...................................................................... 52


บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ผูสูงอายุ หมายถึง บุคคลในวัยสุดทายของวงจรชีวิต องคการสหประชาชาติ ไดกําหนด เกณฑสังคมผูสูงอายุไววา ประเทศใดที่มีประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป เปนสัดสวนเกิน 10% หรือ อายุ65 ปขึ้นไป เกิน 7% ของประชากรทั้งประเทศ ถือวาประเทศนั้นไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ (AgingSociety) และจะเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ (Aged Society) เมือ่ สัดสวนประชากรอายุ 60 ปเพิ่มเปน 20% และอายุ 65 ปขึ้นไป เพิ่มเปน 14% ของประชากรทั้งประเทศ สวนประเทศ ไทยเกณฑการเกษียณอายุโดยทั่วไป คือ 60 ป และในพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. 2546 ก็ให ความหมายผูสูงอายุ หมายถึง ผูที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ในปจจุบันประเทศไทยกําลังกาวเขาสูยุคดิจิตอล มีการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี โดยเฉพาะสาขาการแพทยและสาธารณสุข ทําใหประชากรมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีอายุ ยืนมากขึ้น ประกอบกับความสําเร็จจากนโยบายประชากร และการวางแผนครอบครัว ทําให โครงสรางประชากรในปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร อยางรวดเร็ว ไดสงผลใหประชากรในวัยเด็กมีแนวโนมลดลง วัยแรงงานมีสัดสวนคงที่และมี แนวโนมที่ลดลง สวนประชากรผูสูงอายุจะมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร จะทําใหอัตราภาวะวัยผูสูงอายุที่ เพิ่มขึ้น และสงผลกระทบโดยตรงตอผูสูงอายุในอนาคตอันใกล กลาวคือ ผูที่อยูในวัยแรงงาน จะตองรับภาระในการเลี้ยงดูผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทายที่สุดผูที่อยูในวัยแรงงานและผูสูงอายุจะอยู ในสภาพที่ออนแอทั้งสองฝาย ซึ่งจะสงผลกระทบใหผูสูงอายุถูกละเลยและถูกทอดทิ้งในที่สุด (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2551: คํานํา) จากการสํารวจขอมูลสวัสดิการสังคมระดับครัวเรือนทั่ว ประเทศ พบวาผูสูงอายุไมมีผูดูแลและชวยเหลือตัวเองไมไดเปนจํานวน 253,360 ครอบครัว คิด เปนรอยละ 7.3 ของผูสูงอายุทั้งหมดในเวลานั้น ซึ่งสวนใหญอยูในชนบทและยังไมสามารถเขาถึง บริการสําหรับผูสูงอายุของภาครัฐและเอกชนไดอยางเพียงพอและทั่วถึงอันเนื่องมาจากบริการ สวัสดิการสังคมของผูสูงอายุในทองถิ่น จากการสํารวจขอมูลสวัสดิการสังคมระดับครัวเรือนทั่วประเทศ พบวาผูสูงอายุไมมีผูดูแล และชวยเหลือตัวเองไมไดเปนจํานวน 253,360 ครอบครัว คิดเปนรอยละ 7.3 ของผูสูงอายุ ทั้งหมดในเวลานั้น ซึ่งสวนใหญอยูในชนบทและยังไมสามารถเขาถึงบริการสําหรับผูสูงอายุของ ภาครัฐและเอกชนไดอยางเพียงพอและทั่วถึง อันเนื่องมาจากบริการสวัสดิการสังคมของผูสูงอายุ ในทองถิ่น


ดวยเหตุดังกลาวสํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและ พิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย ไดดําเนินโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน สงเสริมใหเกิดระบบงาน อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ (อผส.) เพื่อเปนกลไกลในระดับฐานรากของชุมชน โดยมีการฝกอบรม ฝกทักษะเสริมสรางทัศนคติ ใหมีความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อไปชวยเหลือดูแลผูสูงอายุ ที่ชวยเหลือตัวเองไมได ถูกทอดทิ้งใหอยูลําพัง ถูกละเลยเฉย ไดรับการดูแลที่ไมถูกตอง ยากจน ฯลฯ โดยเปนมาตรการเชิงรุกทางสังคมที่มุงเขาไปดูแลชวยเหลือผูสูงอายุถึงตัวถึงบาน ทั้งนี้ไดเริ่มดําเนินโครงการนํารอง เมื่อป พ.ศ. 2546 – 2547 ในพื้นที่ 8 จังหวัด และมีมติ คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานผูสูงอายุแหงชาติ ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2547 ใหขยายผลพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ และในวันที่ 10 เมษายน 2550 คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบใหขยายผลโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน โดยกําหนดเปนนโยบายดานผูสูงอายุ และใหองคการปกครองสวนทองถิ่น เปนองคกรหลักในการดําเนินงานรวมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในทองถิ่น และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เปน หนวยงานสนับสนุนดานวิชาการ จากพัฒนาการจะเห็นขั้นตอนที่สําคัญคือการโอนถายงานสงเสริมสวัสดิการผูส ูงอายุไปสู องคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งนอกเหนือจากการดําเนินการเรื่องเบี้ยยังชีพแลวนาจะมีการ ดําเนินการสงเสริมสวัสดิการผูสูงอายุในเรื่องตาง ๆ เนื่องจากชุมชนจะเปนผูรูถึงปญหาและความ ตองการของผูสูงอายุไดอยางดีและสามารถดําเนินการดูแลผูสูงอายุในชุมชน โดยทุกคนในชุมชนมี สวนรวม ผูสูงอายุมีความคุนเคย รูจัก รูสึกมั่นคงทางใจอบอุนรวมทั้งไดอยูใกลชิดครอบครัว การเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้จะสงผลกระทบตอระบบตาง ๆ ของประเทศเปนอยางมากโดยจะเปน ปรากฏการณที่สงผลกระทบทางลบแกผูสูงอายุ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม นอกจากนี้ ประชากรผูสูงอายุมักมีปญหาสุขภาพมากขึ้น ซึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพรางกายเขาสูวัย สูงอายุและผลแทรกซอนของความเจ็บปวยในชวงชีวิตกอนหนานี้ ทําใหผูสูงอายุตกอยูในภาวะ พึ่งพิงการบริการและการดูแลจากผูอื่นมากบางนอยบางในแตละชวงเวลาและการดูแลผูสูงอายุโดย บุคคลในครอบครัวเริ่มเปนปญหา ดังนั้นสังคมโดยเฉพาะชุมชนที่ใกลชิดผูสูงอายุมากที่สุดควร วางแผนการเตรียมการปองกันปญหาตาง ๆ รวมทั้งศึกษาองคความรูที่จะเตรียมความพรอม ในตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครมีทั้งหมด 11 หมูบาน จํานวนหลังคาเรือน 872 หลังคาเรือน ประชากร4,662 คน จํานวนผูสูงอายุ 843 คน จํานวน ผูสูงอายุ ที่ปวยเปนโรคเรื้อรัง 200 คน จํานวนผูสูงอายุ ที่ชวยตนเองไมได 9 คนจํานวนผูสูงอายุที่รับ เบี้ยยังชีพ 843 คน มีรูปแบบการดําเนินการเกี่ยวกับผูสูงอายุคือจัดตั้งชมรมผูสูงอายุ สนับสนุน กิจกรรมวันผูสูงอายุ จัดตั้งอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานๆละ 5 คน จัดตั้งกองทุน ชวยเหลือ ผูสูงอายุ กรณีเจ็บปวย และเสียชีวิต โดยเจ็บปวยตองนอนโรงพยาบาลตั้งแต 3 วันขึ้นไป


สามารถเบิกเงินจากกองทุนไดวันละ 300 บาท ถา เสียชีวิตจะไดเงินชวยเหลือศพละ 2000 บาท และมีปญหาในการดูแลไมทั่วถึงเพราะผูสูงอายุตองการที่จะไดรับความรักความเอาใจใสจากสังคม และการใหสวัสดิการดานอื่นๆที่ไดจากการวางกลยุทธสนับสนุนองคกรชุมชนใหมีบทบาทในการ จัดสวัสดิการสังคม ดังนั้นทางองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดรับแจงจากสํานักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษยจังหวัดสกลนครใหดําเนินโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน(อผส.) ประจําป2555 เพื่อทําหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบตามคําสั่ง สน 0004/2555 จึงมีคําสั่งใหแตตั้งอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน(อผส.) ตําบลเหลาโพนคอประจําป 2555 จํานวน 5 รายที่จะมีหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุและมีการติดตามผลของการทํางานและจะมีการ ทํางานรวมกับ โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณในการทํางานคือจะมีการออกตรวจสุขภาพผูสูงอายุ ผูวิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาสภาพชีวิตความเปนอยูและสภาพปญหาของผูสูงอายุและ บทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําหมูบาน ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่มีผลการดําเนินงานโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน หลังจากที่ผานการ อบรมใหความรูจากหมอที่โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณและไดปฏิบัติงานมาแลวชวงระยะเวลาหนึ่ง รวมไปศึกษาปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน (อผส.) ใน ตําบลเหลาโพนคอ ทั้งนี้ เพื่อนําผลการศึกษาไปใชเปนขอมูลในการพิจารณาปรับปรุงการ ดําเนินงานตามโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บานและแนวทางการพัฒนาบทบาทอาสาสมัคร ดูแลผูสูงอายุประจําของตําบลเหลาโพนคอตอไป วัตถุประสงคการวิจัย งานวิจัยนี้ ผูวิจัยตองการศึกษาบทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน รูปแบบการจัด สวัสดิการผูสงู อายุโดยมีองคการบริหารสวนตําบลเปนผูจ ัดสรรงบประมาณในการใหสวัสดิการ ตางๆในชุมชน จึงใหความสําคัญกับกลุมผูสูงอายุ โดยมีวัตถุประสงคในการวิจัยดังนี้ 1. เพื่อศึกษาสภาพปญหาของผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร 2. เพื่อศึกษาบทบาทของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


คําถามในวิจัย ในพัฒนานิพนธนี้ ผูวิจัยมีคําถามในการวิจัยดังนี้ 1. สภาพผูสูงอายุมีชีวิตความเปนอยูอยางไร มีปญหาอะไรบาง 2. ปจจุบันอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุมีการดําเนินงานชวยเหลือผูสูงอายุอยางไรบาง มีปญหา หรืออุปสรรคในการดําเนินงานหรือไม อะไรบาง 3. แนวทางการพัฒนาบทบาทอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานเปนอยางไร ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตเชิงพื้นที่ ในการวิจัยนี้ผูวิจัยไดเลือกพื้นที่ชุมชนตําบล เหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร เนื่องจากเปนชุมชนที่มีผสู ูงอายุที่ไมคอยไดรับการดูแลจากครอบครัว จึงมีโครงการ อาสามัครดูแลผูสูงอายุในตําบลขึ้น ขอบเขตดานระยะเวลา ทําการเก็บรวบรวมขอมูลตั้งแตเดือนมิถุนายน 2555 ถึงสิงหาคม 2555 ขอบเขตดานเนื้อหา ในการศึกษาบทบาทของอาสาสมัครในการดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานในตําบลเหลาโพน คอ เพื่อที่จะเปนแนวทางการพัฒนาบทบาทของอาสาสมัคในการดูแลผูสูงอายุ 1. ศึกษาปญหาดานความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการบทบาทของอาสาสมัครในการดูแล ผูสูงอายุประจําหมูบานในตําบลเหลาโพนคอ 2. ศึกษาการทํากิจกรรมระหวางผูดูแลผูสูงอายุและผูสูงอายุวามีการทํางานอยางไรและมี การติดตามผลการทํางานมากนอยแคไหน 3. ศึกษาขอมูลสถานการณภายในของกลุม โดยเปนการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของ กลุม ในประเด็นการทํางานดูแลผูสูงอายุ 4. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสภาพความเปนอยูของผูสูงอายุผูสูงอายุ


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ การศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของอาสาสมัครในการดูแลผูสูงอายุ ครั้งนี้คาดวาจะกอใหเกิด ประโยชนแกผูเกี่ยวของ 1.ทราบถึงการดําเนินงานโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บานหลังจากที่ผานการอบรม ใหความรูและไดปฏิบัติงานมาแลวชวงระยะเวลาหนึ่ง 2.ทราบถึงปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน (อผส.) ในตําบลเหลาโพนคอ 3.สามารถนําผลการศึกษาไปใชประโยชนในการปรับปรุงโครงการอาสาสมัครดูแล ผูสูงอายุที่บาน ในตําบลเหลาโพนคอ ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไดตอไป พื้นที่เปาหมาย ชุมชนที่มีประชากรผูสูงอายุทั้ง11หมูบานในตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ที่ไดรับการดูแลจากอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุประจําตําบลเหลาโพนคอ องคกรที่เกี่ยวของ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นิยามศัพทเฉพาะ อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน (อผส.) หมายถึง เปนประชาชนในชุมชน ที่มีความสมัครใจ และไดรับการคัดเลือกจากการประชุมประชาคมหมูบานหรือตําบล ใหเปนตัวแทนมาปฏิบัติหนาที่ ดูแลผูสูงอายุที่บาน จํานวนผูสูงอายุที่ตองดูแล หมายถึง จํานวนผูสูงอายุที่ อผส. 1 คน ตองดูแลทั้งหมดซึง่ ไดแก จํานวนผูสูงอายุที่ อผส. ตองดูแลในครอบครัว และจํานวนผูสูงอายุที่ อผส. ตองดูแลใน หมูบาน การมีตําแหนงทางสังคม หมายถึง ตําแหนงของบุคคลซึ่งไดมาจากการเปนสมาชิกของกลุม และของสังคมในหมูบาน จํานวนระยะเวลาในการปฏิบัติหนาที่ หมายถึง จํานวนระยะเวลาที่ อผส. ไดเริ่มปฏิบัติ หนาที่ในการดูแลผูสูงอายุ ภายใตโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน ความรูของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน หมายถึง ความรูขั้นพื้นฐานของอาสาสมัครดูแล ผูสูงอายุ ที่ตองทราบในการปฏิบัติหนาที่ ไดแก ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผูส ูงอายุ และความรู เกี่ยวกับสิทธิประโยชนที่ผูสูงอายุพึ่งไดรับ


ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ไดแก ความรูดานการจัดอาหารที่เหมาะสม สําหรับผูสูงอายุ รูปแบบการออกกําลังกายที่เหมาะสม การชวยบรรเทาความเครียดในผูสูงอายุ การพักผอนที่เหมาะสมสําหรับผูส ูงอายุ การจัดสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับผูสูงอายุ การสนับสนุนทางสังคมจากเจาหนาที่ หมายถึง ความรวมมือและความชวยเหลือที่ไดรับ จากเจาหนาที่ ในการปฏิบัติหนาที่ ของ อผส. เชน คอยมาชวยแนะนําใหความรูเพิ่มเติมระหวาง ปฏิบัติหนาที่ และเมื่อมีปญหาในการปฏิบัติหนาที่ มักจะเขามาชวย อผส. แกไขปญหาอยูเสมอ การปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ หมายถึง ความถี่ในการปฏิบัติหนาที่ของ อผส. และความทั่วถึงในการปฏิบัติหนาที่ในการดูแลผูสูงอายุ แนวคิดทฤษฎีที่ใชในการศึกษา แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับบทบาท แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาทเปนแนวคิดทางสังคมวิทยาและจิตวิทยาสังคม ที่ใหความ สนใจเรื่องตัวบุคคลในฐานะเปนสมาชิกของสังคม การปฏิสัมพันธหรือการเกี่ยวของในสังคม เปน ลักษณะที่สําคัญของบทบาทที่แสดงอยู และเราไมมีทางหลีกเลี่ยงไดจึงจําเปนตองมีการปฏิสัมพันธ กันตลอดเวลา เพื่อใหสังคมกาวไปสูสังคมที่บุคคลสวนใหญปรารถนา และตองการจะเปน การศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาทนั้น ไดมีนักวิชาการหลายทานไดทําการศึกษาและให แนวความคิดตาง ๆ ไวดังนี้ Turner (1982: 349-351) ไดกลาวถึงทฤษฎีบทบาทเชิงปฏิกรรมสัญลักษณนิยม (SymbolicInteractionism) โดยเปรียบเทียบเหมือนกับ การเลนละครบนเวที (Dramaturgical Approach) ซึ่งประกอบดวยลักษณะความคาดหวัง(Expectation) ทั่ว ๆ ไป 3 ประการ 1) ความคาดหวังจาก “บท” (Expectation from the “Script”) หมายถึง ภาวะความเปนจริงตาง ๆ ทาง สังคม(Social Reality) จะสามารถเปรียบเทียบไดกับละคร(Script) ซึ่งประกอบดวยตําแหนงตาง ๆ ทางสังคม โดยมีบรรทัดฐาน(Norm) เปนตัวกําหนดตาง ๆ ทางสังคมจะถูกจัดระบบและควบคุม โดยบรรทัดฐานที่แตกตางกันไปตามสถานการณและเงื่อนไขทางสังคมที่แตกตางกัน 2) ความคาดหวังจากผูรวมแสดงอื่น ๆ (Expectation from other “Players”) หมายถึง การที่สังคมมีบรรทัดฐานซึ่งเปรียบเสมือน Script ที่กําหนดบทบาทของบุคคลใน ความสัมพันธกับทางสังคมดังกลาวแลว บุคคลในสังคมจึงตองมีการสวมบทบาท(Role Taking) ซึ่ง กันและกัน เพื่อที่บุคคลจะไดคาดหวังพฤติกรรมของบุคคลอื่นในสังคมที่แสดงออก และสามารถมี ปฏิสัมพันธที่ถูกตองไดตามความคาดหวังของสังคมและบุคคลอื่นๆ 3) บทบาทคาดหวังจากผูชม(Expectation from the “Audience”) หมายถึง เปนความคาดหวังของ บุคคลในสังคมที่อยูในสถานภาพตาง ๆ กัน ซึ่งจะตองคาดหวังและสวมบทบาทของบุคคลอืน่ เพื่อที่จะเปนเครื่องนําทางไปสูการปฏิสัมพันธของสังคมอยางถูกตองและเปนไปตาม


หลักเกณฑที่ความคาดหวังรวมกัน Boom และ Selznick (1977:18) ไดกลาววาตําแหนงทางสังคม จะตองมีการกําหนดสิทธิ และหนาที่ไวเสมอเพื่อใหแตละคนรูวาจะตองแสดงบทบาทอยางไรบาง บทบาทเปนสิ่งที่ติดตามมา กับตําแหนงอันเปนเครื่องกําหนดการดํารงตําแหนงนั้น ๆ นอกจากนั้น Boom และ Selznick จําแนกลักษณะบทบาทไว 3 ประการ ดังนี้ 1) บทบาทที่กําหนดไว หรือบทบาทตามอุดมคติ(Prescribe or Ideal Role) เปน บทบาทตามอุดมคติที่กําหนดของสิทธิและหนาที่ของตําแหนงไวอยางแนนอนและชัดเจน 2) บทบาทที่ควรกระทํา(The Precisive Role) เปนบทบาทที่แตละบุคคลเชื่อวาควรกระทําในหนาที่ ในตําแหนงนั้นๆ ซึ่งอาจไมตรงตามบทบาทตามอุดมคติทุกประการ และอาจแตกตางไปแตละ บุคคลก็ได 3) บทบาทที่กระทําจริง (The Performed Role) เปนบทบาททีแ่ ตละบุคคลไดกระทําไปจริง ตาม ความเชื่อและความคาดหวัง ตลอดจนความกดดันและโอกาสที่จะกระทําในแตละสังคมในชวง ระยะเวลาหนึ่ง ๆ Murray (1968: 46) กลาวถึงความคาดหวัง (Expectation) วาหมายถึง ระดับผลงานที่บุคคล กําหนด หรือคาดหมายวาจะกระทํา เพื่อใหบุคคลทํางานที่ตนเคยทํา และความคาดหวังนั้นเปน ระดับที่บุคคลปรารถนาไปใหถึงเปาหมายที่กําหนดไวในการทํางาน แตละครั้งที่เขาไดกลาวถึง บทบาทที่คาดหวัง(Role Expectation) วาหมายถึง ความคิดเห็นที่มีตอบุคคลซึ่งอยูในตําแหนงหนึ่ง Theodore (1972: 546) ไดจําแนกลักษณะที่สําคัญของบทบาทออกเปน 2 ประเภท คือ 1) ความคาดหวัง (Expectations) เปนความคาดหวังของบุคคลที่ตําแหนงนั้น ๆวาควรที่จะแสดง พฤติกรรมที่เหมาะสมกับตําแหนงนั้นอยางไร 2) การแสดงบทบาท (Enactment) เปนการแสดงบทบาทของบุคคลใหสอดคลองกับบทบาทที่ กําหนดไว Cohen (1979: 17) อธิบายวา บทบาทเปนพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังที่ผูอื่นที่จะใหผูที่ดํารง ตําแหนงปฏิบัติโดยยึดบทบาทเปนมาตรการโดยการตรวจสอบที่จะใหเห็นวาบุคคลผูดํารงตําแหนง นั้นจะปฏิบัติอยางไรภายใตขอบเขตฐานะของตนเอง Merrill (1957: 183) ไดใหคําจํากัดความของคําวา บทบาท คือ แบบแผนของพฤติกรรมที่ คาดหวัง ซึ่งผูกพันกับตําแหนงในสังคม พัทยา สายหู (2516: 66) อธิบายวา บทบาทหนาที่ คือ สิ่งที่ทําใหเกิดความเปน “บุคคล” และเปลี่ยนไดเสมือน “บท” ของตัวละครที่กําหนดใหผูแสดงในละครนั้น ๆ เปน(ละคร) อะไร มี บทบาทที่ตองจะแสดงอยางไร ถาแสดงพฤติกรรมหรือไมสมบทบาทก็อาจถูกเปลี่ยนตัวไมใหแสดง ไปเลย ในความหมายเชนนี้ “บทบาท” ก็คือการกระทําตาง ๆ ที่ “บท” กําหนดไวใหผูแสดงตองทํา ตราบใดที่ยังอยูใน “บท”นี้


ปฬาณี ฐิติวัฒนา (2523 : 66-67) กลาววา โดยทั่วไปบทบาทมีความหมายใกลเคียงกับ สถานภาพมาก เปนรูปการที่เปลี่ยนไปตามสถานภาพ กลาวคือ จะใชบทบาทเมื่อหมายถึงการที่ บุคคลปฏิบัติตามสิทธิและหนาที่ของตนมีอยู โดยทั่วไป บทบาทอาจพิจารณาได 2 ความหมาย ใน ความหมายแรกพิจารณาในดานโครงสรางทางสังคม บทบาทหมายถึงตําแหนงทางสังคมที่มีชื่อ เรียกตางๆ ซึ่งแสดงลักษณะโดยคุณสมบัติและกิจกรรมของบุคคลที่ครองตําแหนงนั้น ความหมาย อีกนัยหนึ่ง หมายถึงการแสดงบทบาทหรือการกระทําตอกัน หรือการปะทะสังสรรคกันทางสังคม (Social Interaction) อุทัย หิรัญโต (2526: 197) อธิบายวา บทบาทเปนหนาที(่ Function) หรือพฤติกรรมอันพึง คาดหมาย (Expected Behavior) ของบุคคลแตละคนในกลุมหรือในสังคมหนึ่งๆ หนาที่หรือ พฤติกรรมดังกลาว โดยปกติเปนสิ่งที่กลุมหรือสังคมหรือวัฒนธรรมกลุมหรือสังคมนั้นกําหนดขึ้น ฉะนั้น บทบาทจึงเปนแบบแหงความประพฤติของบุคคลในสถานที่หนึ่งที่พึงมีตอบุคคลอื่นใน สถานอีกอยางหนึ่งในสังคมเดียวกัน ทิตยา สุวรรณะชฎ (2527: 43) ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทไววา บทบาทเปน ลักษณะของพฤติกรรมที่ถูกกําหนดในฐานะของตําแหนงและไดแบงบทบาทออกเปนบทบาทอุดม คติ หรือบทบาทที่ผูดํารงตําแหนงทางสังคมจะปฏิบัติจริง ทั้งนี้บทบาทที่ปฏิบัติจริงเปนผลรวมของ บทบาทตามอุดมคติ บุคลิกภาพของผูดํารงตําแหนง อารมณและการแสดงบทบาทและปฏิกิริยาของ ผูเกี่ยวของอยางไรก็ตาม ทิตยา สุวรรณะชฎ ไดสรุปฐานะ ตําแหนง และบทบาทหนาที่ทางสังคมไว ดังนี้ 1) มีสถานภาพ อยูจริงในทุกสังคมและมีอยูกอนที่ตัวเขาไปครอง 2) มีบทบาทที่ควรเปน ประจําอยูในแตละตําแหนง 3) วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีในสังคมนั้น เปนสวนหนึ่งซึ่งสําคัญใน การกําหนดฐานะตําแหนงและบทบาทที่ควรจะเปน 4) การที่คนเราทราบถึงฐานะ ตําแหนงหรือบทบาทนั้นไดมาจากสถานการณใน สังคมนั้นๆ บทบาทที่ควรจะเปนนั้นไมแนนอนเสมอวาจะเหมือนกับพฤติกรรมจริง ๆ ของคนที่ครอง ฐานะตําแหนงอื่น ๆ เพราะพฤติกรรมจริง ๆ นั้น เปนผลของปฏิกิริยาของคนที่ครองฐานะตําแหนงที่ มีบทบาทที่ควรจะเปนบุคลิกภาพของตนเอง และบุคลิกภาพของผูอื่นที่เขามารวมพฤติกรรมและ เครื่องกระตุน ที่มีอยูในเวลาและสถานที่เกิดการติดตอทางสังคม แสวง รัตนมงคลมาศ และคณะ (2537) ไดจําแนกลักษณะบทบาทไว 5 ประการ ดังนี้ 1) บทบาทในอุดมคติ (Ideal Roles) หมายถึงบทบาทที่ควรจะเปนไปตามอุดมคติอุดมการณหรือ หลักการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง


2) บทบาทที่เปนจริง (Actual Roles) หมายถึง ขอเท็จจริงในดานกิจกรรมหรือผลงานที่ไดปฏิบัติจริง 3) บทบาทที่รับรู (Perceived Role) หมายถึง ความรูความเขาใจในหนาที่ความรับผิดชอบหรือ ภารกิจ ของตนวาควรเปนอยางไร 4) บทบาทที่คาดหวัง (Expecting Role) หมายถึง ฝายใดฝายหนึ่งมุงหวังตองการใหอีกฝายหนึ่ง ประพฤติปฏิบัติอยางไร 5) บทบาทที่ถูกคาดหวัง (Expected Role) หมายถึง การที่ฝายหนึ่งถูกคาดหวังจากอีกฝายหนึ่งวา ตองประพฤติปฏิบัติอยางไรจึงจะเปนไปตามคาดหวังของอีกในการศึกษาเรื่องบทบาทในแตละคู นั้น มีหลักการวิเคราะหวาบทบาทในแตละคูควรที่จะสอดคลอง จึงจะมีความสําเร็จสูง หากมีความ ขัดแยงในบทบาท (Role Conflict) มากเทาไร ความลมสลายจะเกิดขึ้น สนทยา ผลศรี (2545: 125) อธิบายวา บทบาท หมายถึง หนาที่ของบุคคลตามสถานภาพ หรือตําแหนงฐานะที่ดํารงอยู บทบาทจึงเปนกลไกลอยางหนึ่งของสังคมที่ทําใหคนที่อยูรวมกัน สามารถสรางระบบความสัมพันธตอกัน ไดอยางเปนระเบียบเรียบรอย บุคคลจะมีสถานภาพและ บทบาทหลายสถานภาพและแตกตางกันออกไป เชนเปน พอ แม ลูก ครู อาจารย ทหาร ตํารวจ แพทย นักเรียน นิสิต เปนตน จากความหมายดังกลาวขางตน สรุปไดวา บทบาทหนาที่หมายถึง หนาที่หรือพฤติกรรรมที่ บุคคลกระทําหรือแสดงออก ตามฐานนะหรือตําแหนงที่ไดรับมา ซึ่งในการศึกษาเรื่องบทบาท อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุในชุมชน ต.เหลาโพนคอ ในครั้งนี้จะเปนการศึกษาการปฏิบัติหนาที่ของ อาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน จะเปนการศึกษาถึงบทบาทที่เปนจริงของ อผส. วามีการปฏิบัติ หนาที่ตามบทบาทที่ไดรับเพียงใด แนวคิดการศึกษากระบวนการของภาวะสูงอายุ ความหมายของผูสูงอายุ วัยสูงอายุจัดเปนวัยที่อยูในระยะสุดทายของชีวิต ลักษณะและพัฒนาการในวัยนี้ จะตรง ขามกับวัยเด็ก คือมีแตความเสื่อมโทรมและสึกหรอ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะดําเนินไปอยางคอยเปน คอยไป (ชูศรี วงเครือ, 2543, น. 47) จึงเปนการยากที่จะกําหนดวาบุคคลใดอยูในวัย สูงอายุ เกณฑ ที่สังคมจะกําหนดวาบุคคลใดเปนผูสูงอายุนั้น จะแตกตางกันไปตามสภาพสังคมซึ่งไดมีผูใหคํา นิยามเกี่ยวกับผูสูงอายุไว เชน ฮอลล (Hall D.A., 1976, pp. 3-4 อางใน แสงเดือน มุสิกรรมณี, 2545, น. 7) ไดแบงการสูงอายุของบุคคลออกเปน 4 ประเภท คือการสูงอายุตามวัย (Choronological Aging) หมายถึง การสูงอายุตามปปฏิทินโดยการนับจากปที่เกิดเปนตนไป และ บอกไดทันทีวา ใครมีอายุมากนอยเพียงใดการสูงอายุตามสภาพรางกาย (Biological Aging) เปนการ พิจารณาการสูงอายุจากสภาพรางกายและสรีระของบุคคลที่เปลี่ยนไป เมื่อมีอายุเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ประสิทธิภาพการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ในรางกายลดนอยลง เปนผลมาจากความเสื่อมโทรมตาม


กระบวนการสูงอายุซึ่งเปนไปตามอายุขัยของแตละบุคคลการสูงอายุตามสภาพจิตใจ (Psychological Aging) เปนการเปลี่ยนแปลงในหนาที่ การรับรู แนวความคิด ความจํา การเรียนรู เชาวปญญา และ ลักษณะบุคลิกภาพที่ปรากฎในระยะตาง ๆ ของชีวิตแตละคนที่มีอายุเพิ่มขึ้นการสูงอายุตามสภาพ สังคม (Sociological Aging) เปนการเปลี่ยนแปลงในบทบาทหนาที่สถานภาพของบุคคลในระบบ สังคม รวมทั้งความคาดหวังของสังคมตอบุคคลนั้นซึ่งเกี่ยวกับอายุ การแสดงออกตามคุณคาและ ความตองการของสังคมสําหรับการกําหนดวา ผูสูงอายุเริ่มเมื่ออายุเทาใดนั้น ขึ้นอยูกับความแตกตาง กันในแตละสังคม สําหรับสังคมไทยนั้นกําหนดวา ผูสูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีสัญชาติไทยและมี อายุตั้งแต 60 ปบริบูรณขึ้นไป (พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ.2546) ทั้งนี้ผูสูงอายุมิไดมีลักษณะ เหมือนกันหมดแตจะมีความแตกตางกันไปตามชวงอายุ องคการอนามัยโลกจึงไดแบงเกณฑอายุ ตามสภาพของการมีอายุเพิ่มขึ้น ดังนี้ ผูสูงอายุ (Elderly) มีอายุระหวาง 60 –74 ป คนชรา (Old) มีอายุระหวาง 75 –90 ป คนชรามาก (Very Old) มีอายุ 90 ปขึ้นไป การแบงผูสูงอายุเปน 3 ชวงดังกลาว สําหรับในสังคมไทยยังมิไดมีขอสรุปวาจะมีการจัดประเภท ของผูสูงอายุในลักษณะใด การจัดโดยใชเกณฑอายุก็ยังมีขอถกเถียงวายังไมเหมาะสม นักวิชาการ บางทานจึงใชเกณฑความสามารถของผูสูงอายุแบงเปน 3 กลุม ไดแก กลุมที่ชวยเหลือตนเองไดดี กลุมที่ชวยเหลือตนเองไดบาง กลุมที่ชวยเหลือตนเองไมได เนื่องจากมีปญหาสุขภาพ มีความพิการ ลักษณะของผูสูงอายุ บริบูรณ พรพิบูลย (2536, น. 10-11) ไดจําแนกลักษณะของผูสูงอายุ ไว ดังนี้ ผิวหนังเหี่ยวยน ผมหงอก ฟนสั่นคลอน ผูหญิงจะหมดประจําเดือน และมีความเสื่อมโทรม โดยทั่วไปใหเห็นมีความรูสึกวาตัวเองเรี่ยวแรงนอยลง กําลังลดถอย เหนื่อยงาน มองเห็นอะไร ไมคอยชัด หูตึง รับกลิ่นรสเลวลง ความจําเสื่อม เรียนรูสิ่งใหมไดชา ความสามารถในการทํางาน ลดลง เจ็บปวยงายและเมื่อเจ็บปวยแลวก็หายไดชาขาดความมั่นใจในตัวเอง มีอารมณกังวลงายและ กลัวในสิ่งที่ไมเคยกลัวมากอน โดยเฉพาะอยางยิ่งกลัวถูกทอดทิ้งและกลัวความตายนอกจากนี้ยัง รูสึกหงอยเหงาเปนนิจ ใจนอยและสะเทือนใจงาย บางคนกลายเปนคนหงุดหงิดโมโหราย ชอบ แยกตัวบางคนก็มีอารมณเศรา ตองการตายเร็วหรืออยากฆาตัวตาย แตก็มีบางคนกลายเปนคนเพอเจ อชอบโออวดและชอบ ตอเติมความเปนจริง การจัดประเภทผูสูงอายุจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง เพราะผูสูงอายุในแตละประเภทจะมีความ ตองการบริการสวัสดิการสังคมที่แตกตางกันไป ความเขาใจตอบริการสวัสดิการผูสูงอายุ ที่ผาน


มาจึงถูกจํากัดดวยการจัดบริการแบบ One Size fits for all ซึ่งไมสามารถตอบสนองกับความ ตองการของผูสูงอายุที่แทจริง นิวการเตนและคณะ (Neugarten และคณะ, 1968 อางในบุษยมาส สินธุประมา, 2539, น. 48) กลาวถึงบุคลิกภาพและการปรับตัวของผูสูงอายุไว 8 ประเภท ดังนี้ 1.Reorganizer เปนพวกหากิจกรรมใหมๆ เพื่อมาแทนที่กิจกรรมที่สูญเสียไป 2.Focusal เปนพวกชางเลือกในการทํากิจกรรม พวกนี้จะหยุดทํากิจกรรมบางอยาง ในขณะเดียวกัน ก็จะจูจี้ในการที่จะเลือกกิจกรรมใหม 3.Disengaged เปนพวกที่ดึงตัวเองออกมาจากบทบาทความรับผิดชอบที่มีอยูเดิม โดยสมัครใจ 4.Holding – on พวกที่พยายามจะอยูใกลชิดกับคนวัยกลางคน 5.Constricted เปนพวกที่พยายามจะปดตัวเองจากโลกภายนอกมากขึ้นเรือ่ ย ๆ(ไมยุงเกี่ยวกับโลก) 6.Succorance – seeking เปนพวกที่มีความพอใจในชีวิตตนเอง ตราบที่สามารถหาคนเปนที่พึ่งพา ได พวกนี้ตองการคนมาชวยดูแลและเอาใจใส 7.Apathetic เปนพวกดึงตัวเองออกมา จะหยุดคิดหรือหมดหวังในชีวิตคอนขางเร็วตั้งแตเนิ่น ๆ ไม เคยเปลี่ยนความเชื่อแบบทํารายตนเอง วาตนเองไมสามารถที่จะจัดการสิ่งแวดลอมของตนเองได 8.Disorganized เปนพวกมีกิจกรรมตางๆ นอยและมีสภาพจิตไมเปนปกติกลุมหมายเลข 1-3 เปน พวกที่ความพึงพอใจในชีวิตสูง มีบุคลิกภาพที่มั่นคง หมายเลข6 - 8 เปนพวกมีความพึงพอใจในชีวิต นอย แนวคิดการศึกษากระบวนการของภาวะสูงอายุ กระบวนการของภาวะสูงอายุ หมายถึง ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของบุคคลที่อยูใน ภาวะสูงอายุ ซึ่งเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นอยางสม่ําเสมอ (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2539,น. 53อางถึง Mcpherson, 1983) ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้รวมทัง้ การเปลี่ยนแปลงทางรางกายและสรีระวิทยา จิตใจและสังคมที่มนุษยไมอาจหลีกเลี่ยงได ดังนี้ 1. กระบวนการภาวะสูงอายุทางสรีระวิทยา ภาวะสูงอายุทางสรีระวิทยาเปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผูสูงอายุทางรางกาย เปนการ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่จะปรากฎใหเห็นอยางชัดเจนกับรางกายของคนเมื่อวัยสูงขึ้น กระบวนการนี้มี 2 ลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลงทางรางกายและการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2539, น. 54–55) (1) การเปลี่ยนแปลงทางรางกาย เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและโครงสรางของ รางกายที่ปรากฎใหเห็นอยางชัดเจน เชน ผิวหนังเหี่ยวยน ตกกระ ผิวบาง เกิดบาดแผลไดงาย กลามเนื้อลดจํานวนลงทําใหความแข็งแรงของกลามเนื้อลดลง กระดูกเปราะบาง กระดูผุ กระดูกขอ อักเสบ ฯลฯ


(2) การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาเปนการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของอวัยวะตางๆ ใน รางกายที่เคยใชงานไดดี เชน การใชสายตา หู ลิ้น ฯลฯ หยอนสมรรถภาพลง จํานวนเซลลสมอง ลดลงทําใหความจําเสื่อมลงไป ระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปสสาวะ ฯลฯทํางาน ไดนอยลง ทําใหเกิดอาการผิดปกติตามมา เชน อาหารไมยอย เปนไขหวัดไดงาย อั้นปสสาวะไมได ฯลฯ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยานี้มีผลทําใหผูสูงอายุมีปญหาสุขภาพไมมากก็นอย ซึ่งหากผูใดมีปญหามาก ก็มักจะสงผลไปถึงจิตใจของผูสูงอายุไปดวย อาจจะเกิดความหดหู ซึมเศรา หรือหงุดหงิด เกรี้ยวกราด เปนตนผลการสํารวจสุขภาพของผูสูงอายุไทยในงานวิจัยจํานวนมาก พบวาปญหาหลักของผูสูงอายุคือ ปญหาสุขภาพ ทั้งที่สุขภาพไมสมบูรณไมแข็งแรงเชนแตกอน และปญหาการเจ็บไขไดปวยดวยโรคตางๆ ซึ่งโรคที่มักพบในผูสูงอายุทั่วไปไดแก ปวดหลัง/เอว ไข ขออักเสบ ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ โรคหัวใจ ตอกระจกตา ตอเนื้อตา โรคเกี่ยวกับหู อัมพาต/อัมพฤกต (นภาพร ชโยวรรณ และ จอหน โนเดล, 2539) 2. กระบวนการภาวะสูงอายุทางจิตวิทยาสังคม แนวคิดทฤษฎีที่ใชอธิบายภาวะสูงอายุทางจิตวิทยาสังคมที่ใชกันแพรหลายในปจจุบันมี 2 แนวทาง คือ ทฤษฎีกิจกรรมและทฤษฎีภาวะถดถอย (สุรกุล เจนอบรม, 2534, น. 34-35) (1) ทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory) เปนทฤษฎีที่เสนอโดย Robert Havighurst (1963) ซึ่ง ทําการศึกษาผูสูงอายุชาวผิวขาวที่มีฐานะปานกลางและมีสุขภาพดี พบวา ผูสูงอายุที่มีกิจกรรม ปฏิบัติอยูเสมอๆ จะมีบุคลิกที่กระฉับกระเฉงและการมีภาระกิจกรรมสม่ําเสมอจะทําใหมีความพึง พอใจในชีวิตและปรับตัวไดดีกวาผูสูงอายุที่ปราศจากกิจกรรมหรือบทบาทภาระกิจหนาที่ใดๆ (2) ทฤษฎีภาวะถดถอย (Disengagement Theory) เปนทฤษฎีที่อธิบายในสิ่งที่ ตรงขามกับ ทฤษฎีกิจกรรม เสนอโดย William Henry (1961) ซึ่งกลาววา เมื่อเขาสูวัยสูงอายุ ผูสูงอายุจะลด กิจกรรมและบทบาทของตนเองลง ซึ่งจะเปนผลจากการที่รูสึกวาตนเองมีความสามารถลดลงและ การที่ผูสูงอายุไมเขาไปยุงเกี่ยวกับกิจกรรมและบทบาททางสังคม เปนการถอนสถานภาพและ บทบาทของตนเองใหแกหนุมสาวหรือคนที่จะมีบทบาทหนาที่ไดดีกวาทั้งนี้เพราะสังคมตองการคน ที่มีทกั ษะใหมและคนรุนใหมเขาไปแทนที่ ทฤษฎีทั้งสองทฤษฎีนี้มีความสําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากเปนทฤษฎีที่สามารถอธิบายภาวะการ สูงอายุของผูสูงอายุที่มีพื้นฐานของชีวิตในวัยหนุมสาวที่แตกตางกัน อันอาจเนื่องมาจากการใชชีวิต ในวัยหนุมสาวที่มีสภาพสังคมและเศรษฐกิจตางกัน ทฤษฎีกิจกรรมที่นํามาใชกับผูสูงอายุที่มีวิถีชีวิต ที่เกี่ยวของกับการมีสถานภาพและบทบาทในสังคมมาตลอดชวงวัยหนุมสาวจนถึงวัยกลางคน เมื่อ ตองละบทบาทและสถานภาพนั้นลงตามชวงวัยชราการเกษียณอายุ จําเปนอยางยิ่งที่สังคมจะตอง


เตรียมสถานภาพและบทบาทอื่นๆรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของ ผูสูงอายุกลุมนั้น ในขณะที่ผูสูงอายุที่มีวิถีชีวิตแบบเดิมๆ ตั้งแตวัยหนุมสาว วัยกลางคนจนเขาสูวัยสูงอายุ อาจจะไมตองการกิจกรรมรองรับมากเทาผูสูงอายุกลุมแรก สวนทฤษฎีภาวะถดถอยใชอธิบายกับ ผูสูงอายุที่มีความพรอมในการเขาสูภาวะสูงอายุที่แตกตางกัน ผูสูงอายุที่มีความพรอมเขาสูภาวะ สูงอายุจะลดบทบาททางสังคมของตนไดเมื่อเขาสูวัยสูงอายุ และทําหนาที่สนับสนุนคนหนุมสาวให รับภาระทางสังคมแทน ตัวผูสูงอายุเองจะหันเขาหากิจกรรมอื่น ๆ ตามภาวะถดถอยของตน เชน การศึกษาธรรมะ ฯลฯ ดังนั้นผูสูงอายุที่ถดถอยตนเองลงไดชา จึงตองนําทฤษฎีกิจกรรมมาใชในการ อธิบายภาวะสูงอายุของผูสูงอายุกลุมนี้แทน

แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ ลอวตัน (Lawton, 1985 อางใน สิทธิอาภรณ ชวนป, 2540, น. 17 และ ลลิลญา ลอย ลม, 2545, น. 42) ไดศึกษาคุณภาพชีวิตหรือการมีชีวิตที่ดีในผูสูงอายุและกลาววาผูสูงอายุที่มี คุณภาพชีวิตที่ดีตองประกอบดวยปจจัยสําคัญ 4 ดาน คือ 1. การมีความผาสุกทางดานจิตใจ (Psychological Well-Being) หมายถึง การที่บุคคล สามารถประเมินไดวา ประสบการณในชีวิตที่ผานมามีคุณภาพ โดยประเมินไดจากผลกระทบระดับ ความสุขที่ไดรับและความสําเร็จที่ไดบรรลุตามความตองการหรือเปาหมายที่ตั้งไว 2. ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม (Behavioral Competence) หมายถึงความสามารถ ในการทําหนาที่ของบุคคล ซึ่งรวมถึงการทําหนาที่ของรางกาย การมีสุขภาพที่ดี การรับรูที่ ถูกตองและการมีพฤติกรรมทางสังคมที่ถูกตอง 3. สิ่งแวดลอมของบุคคล (Objective Environment) หมายถึง สิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอ คุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ ประกอบดวย 5 สวน ไดแกสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และที่อยูอาศัยบุคคลที่มีความสําคัญตอผูสูงอายุ เชน สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคคลอื่นทั่วไปที่มีปฏิสัมพันธกับผูสูงอายุสถานภาพทางสังคม อายุ เชื้อชาติ และเศรษฐกิจ สภาพสังคมและวัฒนธรรมภายในชุมชนที่ผูสูงอายุอาศัยอยู 4. การรับรูคุณภาพชีวิต (Perceived Quality of Life) หมายถึง การทีบ่ ุคคลมีการประเมินตนเอง เกี่ยวกับความผาสุกทางดานจิตใจ ความสามารถในการทําหนาที่ ตลอดจนสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพล ตอบุคคลดังที่ไดกลาวมา ปจจัยดานความผาสุกดานจิตใจอันเปนเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตที่สําคัญยิ่งของการดําเนิน ชีวิต มีความใกลเคียงกับความพึงพอใจในชีวติ เปนสิ่งที่พึงปรารถนาของบุคคล เพราะเปนการ สะทอนใหเห็นถึงคุณภาพชีวิตของบุคคลนั้น และในการศึกษาดานวิทยาการผูสูงอายุ (Gerontology)


มักใชความพึงพอใจในชีวิตเปนตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ โดยมีผูใหนิยามของความพึงพอใจ ในชีวิตของผูสูงอายุไว ดังนี้ Wolman (1973 อางใน สุรกุล เจนอบรม, 2541, น. 48) ไดใหความหมายของ ความพึง พอใจในชีวิตวา เปนความรูสึกที่เกิดขึ้นเมื่อความตองการไดรับการตอบสนอง Barrow and Smith (1977 อางใน สุรกุล เจนอบรม, 2541, น. 48) กลาวถึง ความพึงพอใจ ในชีวิตวาเปนความรูสึกที่เปนสุข ประกอบดวยความสนุกสนาน ไมตองเผชิญความเครียดความไม พึงประสงค และความชอกช้ํา ซึ่งความรูสึกนี้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลไดเปรียบเทียบสถานการณปจจุบันที่ เปนอยูกับสถานการณที่เขาคาดหวังใหเปน ซึ่งสอดคลองกับความเห็นของ Cambell (1976) และ Powell (1983) ที่ไดใหความหมายเพิ่มเติมวา ความสุขนั้นไมจําเปนตองเกิดขึ้นจากการที่บุคคล ไดรับการตอบสนองอยางสมบูรณในทุกๆสิ่งที่ตองการ แตหมายถึง ความสุขที่เกิดจากการปรับตัว รับสภาพที่เกิดขึ้นจากสิ่งตางๆหรือจากสภาพแวดลอมไดเปนอยางดี ความสุขของผูสงู อายุนั้น มิลเลอรและคณะ (Miller, et. al., 1986) ไดจําแนกองคประกอบที่ ทําใหผูสูงอายุที่มีชีวิตอยางสมบูรณและเขมแข็งไวดังนี้ มองโลกในแงดี และมีความพึงพอใจในชีวิต มีความรักคือ พรอมที่จะใหและรับความรักจากผูอื่น มีความศรัทธาในสิ่งที่ถูกตองและแนนอน มีอารมณขัน มีความยึดมั่นในตนเองในทางที่เหมาะสม ใหอํานาจแกตนเอง มีการจัดการกับความเครียด มีความสัมพันธกับสังคม บริบูรณ พรพิบูลย (2528,น.112-113) กลาวถึงความสุขของผูสูงอายุวาควรประกอบดวย องคประกอบ 3 ประการ คือ มีสุขภาพดี มีความพอใจในการดํารงชีวิต มีความสุขตามสภาพตนเอง นอกจากนั้นยังกลาวถึงทางเลือกในการหาความสุขของผูสูงอายุ 2 ทาง คือ การหาความสุขในทาง โลก การมุงหาความสุขในทางธรรม ประสพ รัตนากร (2529 อางใน แสงเดือน มุสิกรรมณี, 2545, น. 9-10) ไดกลาวถึง คุณลักษณะ 7 ประการที่ผูสูงอายุพึงมี อันจะนําไปสูการมีความสุขทางใจ หรือการที่ผูสูงอายุจะมี ความพึงพอใจในชีวิตได คือ


1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เปนผูมีสุขภาพดี เปนผูที่ไมเคยหมดหวัง เปนผูที่มีความขยันขันแข็ง เปนผูที่ทําตัวดี เปนผูที่เชื่อถือได เปนผูที่มีเกียรติในตนเอง เปนผูที่มีความสุภาพ

จิราพร เกศพิชญวัฒนา จันทรเพ็ญ แสงเทียนฉายและยุพิน อังสุโรจน (2543) สรุปแนวคิด เกี่ยวกับความผาสุกทางใจของผูสูงอายุไทย ซึ่งประกอบดวยมิติตาง ๆ 5 มิติ คือ ความสามัคคี ปรองดอง การพึ่งพาอาศัยกันและกัน ความสงบสุขและการยอมรับ การเคารพนับถือและความเบิก บาน โดยแตละมิติมีรายละเอียดดังนี้ ความสามัคคีปรองดอง (Harmony) เกิดขึ้นระหวางบุคคลในครอบครัว เชน ลูกหลาน การ เปนมิตรที่ดีตอกันระหวางเพื่อน เพื่อนบาน ตลอดจนความสําเร็จ ความกาวหนาของบุคคลใน ครอบครัว ลูกหลาน นํามาซึ่งความผาสุกทางใจของผูสูงอายุ การพึ่งพาอาศัยกันและกัน (Interdependence) ผูสูงอายุแสดงความรูสึกสบายใจมีความสุข ในการที่ตนเองไดทําตนใหเปนประโยชนหรือชวยเหลือลูกหลาน บุคคลในครอบครัวใน ขณะเดียวกันบุคคลในครอบครัวหรือลูกหลานตอบแทนโดยการเลี้ยงดู ชวยเหลือดูแลผูสูงอายุ โดยเฉพาะในยามเจ็บปวย ความสบายใจเกิดจากการมีคุณคาในตนเอง ที่ผูสูงอายุรูสึกวาตนเองยัง สามารถชวยเหลือตนเองได มีประโยชนแกลูกหลาน มิใชพึ่งพาลูกหลานฝายเดียว ความสงบสุขและการยอมรับ (Acceptance and Calmness) การทําใจใหยอมรับและหา ความสงบในจิตใจ การปลอยวางความคิดที่ทําใหไมสบายใจ ปลงกับสิ่งที่ตนเองไมสามารถ ขัดขวางหรือควบคุมได ทําใจใหสงบ ไมคิดมากหรืออารมณเสีย ไมกลุมกับสิ่งที่ทําใหไมสบายใจ การเคารพนับถือ (Respect) การที่ผูสูงอายุรับรู มีความรูสึกถึงการเคารพใหเกียรติหรือ คําแนะนําใหแกผูอาวุโสนอยกวา มีผูรับฟงหรือปฏิบัติตามการเคารพนับถือที่ผูสูงอายุไดรับจาก บุคคลอื่นแสดงใหเห็นถึงความสําเร็จในชีวิตของผูสูงอายุในการดําเนินชีวิตที่ดี เปนที่เคารพนับถือ ของบุคคลในชุมชนนั้น ๆ ความเบิกบาน (Enjoyment) ความรูสึกสดชื่นมีชีวิตชีวา และสนุกสนานรื่นรมยกับ สิ่ง รอบตัว ความเบิกบานอาจเกิดจากการทํากิจกรรมกับเพื่อนหรือกลุมผูสูงอายุในวัยเดียวกัน เชน รวม กิจกรรมชมรมผูสูงอายุ ไปวัด หรืออาจเปนความเบิกบานจากการทําสิ่งที่ตนเองชอบงานยามวาง หรือเก็บเกี่ยวความสุขเล็กๆนอยๆที่อยูรอบตัว รวมทั้งการมีอารมณขันคุณภาพชีวิตและความพึง พอใจในชีวิตของผูสูงอายุจะเปนตัวแปรหนึ่งที่กําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัยอันเปนปจจัยที่


สงผลตอความตองการสวัสดิการสังคมของผูสูงอายุในการวิจัยครั้งนี้ ซึ่งมารศรี นุชแสงพลี (2532, น. 26-36) ไดศึกษาปจจัย 3 ดานที่คาดวาจะมีผลตอความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ คือ 1. ปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย ระดับการศึกษา การมีงานอดิเรก และสุขภาพ 1.1 ระดับการศึกษา เปนปจจัยที่มีความสัมพันธกับความพึงพอใจในชีวิตเพราะระดับ การศึกษามีอิทธิพลตอชนิดของอาชีพ รวมไปถึงระดับรายได สุขภาพ คานิยม รสนิยม ความคิด เกี่ยวกับตนเองและทัศนคติตอการศึกษาในอนาคต จากผลการศึกษาเกี่ยวกับการใชเวลาวางของ ผูสูงอายุไดผลที่ใกลเคียงกันวา มีความแตกตางระหวางกลุมที่ไดรับการศึกษาสูงสุดกับกลุมที่ไดรับ การศึกษาต่ําสุด ในเรื่องการใชเวลาวาง กลาวคือ กลุมผูสูงอายุที่มีการศึกษาสูงใชเวลาวางในการทํา กิจกรรมดานนันทนาการ ทํางานอดิเรก เลนกีฬา เปนสมาชิกชมรม ทํากิจกรรมทางการเมือง งาน อาสาสมัคร หรืออานหนังสือ และกลุมที่มีระดับการศึกษาสูงสวนใหญมักจะเคยมีอาชีพที่ตองใช วิชาชีพและการจัดการ สวนผูสูงอายุที่มีระดับการศึกษาต่ําจะมีอาชีพทางดาน การเกษตร บริการ และอาชีพที่ตองใชแรงงาน ซึ่งใหคาตอบแทนในระดับที่ต่ํากวา นอกจากนี้ภาวะสุขภาพของผูสูงอายุยังขึ้นอยูกับความสามารถในการดูแล ตนเอง จากผลการวิจัยพบวา ผูสูงอายุที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีความสามารถในการดูแลตนเอง และมีโอกาสเลือกทํากิจกรรมไดดีและมากกวากลุมทีม่ ีการศึกษาต่ํา ดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา ระดับการศึกษาสงผลตอรายได ภาวะสุขภาพ และโอกาสในการเลือกปฏิบัติกิจกรรมตางๆ อันจะ สงผลตอความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุได 1.2 งานอดิเรก หมายถึง วิถีทางในการใชเวลาทํากิจกรรมดานตาง ๆ นอกเหนือไปจาก หนาที่การงานประจํา หรือเปนกิจกรรมที่ทําในเวลาวางดวยความสมัครใจเพื่อกอใหเกิดความ เพลิดเพลินแกผูกระทําโดยตรง นักทฤษฎีกิจกรรมเชื่อวาผูสูงอายุทั่วไปพยายามรักษากิจกรรมและ ทัศนะของคนวัยกลางคนไวใหนานที่สุด บทบาทและกิจกรรมใดที่บุคคลผลักดันใหเลิกกระทํา จะตองมีกิจกรรมใหมขึ้นมาทดแทน และกิจกรรมที่ถูกเลือกเขามาคืองานอดิเรก ดังนั้นงานอดิเรกจึง มีความสัมพันธทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ 1.3 สุขภาพ ผูสูงอายุมักประสบปญหาเกี่ยวกับสุขภาพที่ทรุดโทรมลงเนื่องจากความมีอายุ ซึ่งทําใหเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการเสื่อมถอย เปนผลใหความสามารถ ทางดานรางกายของผูสูงอายุลดนอยลง และมักประสบปญหาสุขภาพ ซึ่งเปนอุปสรรตอการปฏิบัติ กิจวัตรประจําวัน จําเปนตองพึ่งพิงผูอื่นและการที่ตองพึ่งพิงผูอื่นนี้เองที่ทําใหผูสูงอายุมีความรูสึก ดอยในสายตาของบุคคลทั่วไปและจะสงผลตอความพึงพอใจของผูสูงอายุดวย 2. ปจจัยทางเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจนับวามีบทบาทสําคัญตอการดํารงชีวิตของบุคคลที่ จะสนองความตองการในดานตาง ๆ ทั้งดานที่อยูอาศัยในสภาพที่ดี อาหารที่มีคุณคา การ รักษาพยาบาลอยางถูกตอง อุปกรณอํานวยความสะดวกแกตนเอง ตลอดจนสงผลไปถึงการเลือกทํา กิจกรรม เนื่องจากการมีสวนรวมในกิจกรรมบางอยางตองอาศัยเงินเปนปจจัยสําคัญ ปญหา


เศรษฐกิจมักเปนปญหาหลักของผูสูงอายุ เนื่องจากขอจํากัดของการประกอบอาชีพเนื่องมาจาก ความมีอายุทําใหรายไดลดลง สงผลทําใหเกิดความยากลําบากในการดูแลตนเองทางดานสุขภาพ และสงผลตอความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ ดังนั้นรายไดจะเปนตัวลดปญหาสุขภาพและ ยกระดับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ 3. ปจจัยดานความสัมพันธทางสังคม เมื่อเขาสูวัยชรา จากสภาพรางกายที่ไมเอื้ออํานวยตอ การประกอบอาชีพเหมือนเชนในชวงวัยที่ผานมา หรือจากขอกําหนดของสังคมใหตองเกษียณอายุ งาน ทําใหผูสูงอายุตองเสียบทบาทในการทํางาน ดังนั้นผูสูงอายุจึงเปลี่ยนจุดสนใจไปยังครอบครัว หาบทบาทใหมใหกับตนเองดวยการเปนผูใหคําปรึกษาแนะนํา ชวยเหลือดูแลลูกหลานภายในบาน และในทางกลับกัน ลูกหลานในครอบครัวสามารถเปนที่พึ่งพาทางดานเศรษฐกิจและกําลังใจใหแก ผูสูงอายุดวย ผูสูงอายุเปนผูที่ตองการความรัก ความเอาใจใสจากครอบครัวโดยเฉพาะผูที่ชวยเหลือ ตนเองไดนอยลงจากปญหาสุขภาพ ดังนั้น การที่ผูสูงอายุ มีคูสมรสหรือบุตรหลานเปนผูคอยดูแล ทุกขสุขคอยชวยเหลือหรือใหความเคารพนับถือ ยกยองใหความสําคัญ ทําใหผูสูงอายุรูสึกวาตนเอง เปนบุคคลที่มีความหมายตอครอบครัว ดวยเหตุนี้ความสัมพันธที่ดีในครอบครัวจึงมีอิทธิพลตอ ความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุนอกจากความสัมพันธภายในครอบครัวแลว ความสัมพันธของ ผูสูงอายุกับบุคคลภายนอกก็มผี ลตอความพึงพอใจในชีวิตเชนกัน ญาติหรือเพื่อนที่มีความรูสึกที่ดี ตอกัน มีความหวังดี คอยใหความชวยเหลือ เห็นอกเห็นใจและสามารถปรับทุกขกันไดทําให ผูสูงอายุสามารถยอมรับสภาพกับความรูสึกที่ตองสูญเสียสถานภาพทางสังคมเดิมหรือสูญเสียบุคคล อันเปนที่รัก ซึ่งรูปแบบความสัมพันธดังกลาวนี้จะนําไปสูความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุอยาง มากโดยเฉพาะผูสูงอายุที่ไมมีบุตรหลาน ซึ่งมักแยกตัวเองออกจากสังคมอันจะทําใหรูสึกโดดเดี่ยว วาเหว หรือรูสึกวาตนเองไมมีความหมายซึ่งสงผลใหความพึงพอใจในชีวิตลดต่ําลง ดังนั้นจึง จําเปนอยางยิ่งที่ผูสูงอายุควรไดรับความชวยเหลือ ความอบอุน ความรักและความสนใจจากทั้ง บุคคลในครอบครัวและบุคคลในสังคม ซึ่งบุคคลเหลานี้เปรียบเสมือนเครือขายการสนับสนุนทาง สังคมในอันที่จะชวยประดับประคองสภาพจิตใจของผูสูงอายุ ซึ่งจะเปนการชวยยกระดับคุณคา ใน ชีวติ ตลอดจนความเชื่อมั่นในตนเองและยังเปนการชวยรักษาความสมดุลยระหวางจิตใจและ อารมณของผูสูงอายุ ซึ่งจะนําไปสูความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ วรรณี ชัชวาลทิพากร; มาลินี ชลานันท; อรพิณ ฐานกุลศักดิ;์ และดารุณี ภูษณสุวรรณศรี (2543) ศึกษาพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุ 8 ดาน ไดแก การรับประทานอาหาร การ ออกกําลังกาย การรับผิดชอบตอสุขภาพและการจัดการกับความเครียดพบวา ผูสูงอายุมีการออก กําลังกายในระดับต่ํา การรับผิดชอบตอสุขภาพของเพศหญิงอยูในระดับต่ํา เพศชายอยูในระดับปาน กลาง การรับประทานอาหารอยูในระดับปานกลางและการจัดการกับความเครียดอยูในระดับสูง และพบปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมสุขภาพดังนี้ - เพศหญิงดูแลสุขภาพดีกวาเพศชาย


- ผูสูงอายุที่อายุนอยดูแลสุขภาพดีกวาผูสูงอายุที่อายุมาก - ผูสูงอายุที่ระดับการรับรูภาวะสุขภาพของตนเองสูง ดูแลสุขภาพดีกวาผูทมี​ี่ ระดับการรับรู ระดับภาวะสุขภาพต่ํา - ผูสูงอายุที่มีอาชีพหลังอายุ 60 ป ในกลุมอาชีพเกษตรกรรม ทําสวนทําไร ทํานาและรับจาง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวากลุมที่เคยเปนขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และไมไดทํางาน - ผูสูงอายุที่ไมมีโรคประจําตัวมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวากลุมผูมีโรคประจําตัว - ผูสูงอายุที่มีสถานบริการและสถานที่ในการสงเสริมสุขภาพในชุมชนที่ผูสูงอายุสามารถ เขาถึงและใชบริการไดสูง มีพฤติกรมการดูแลสุขภาพดีกวากลุมที่ไมมีสถานบริการและเขาถึง บริการไดต่ํา - ผูสูงอายุที่มีสวนรวมในกิจกรรมการสงเสริมสุขภาพในชุมชนมีพฤติกรรมการดูแล สุขภาพดีกวากลุมที่ไมไดเขารวมกิจกรรม - ผูสูงอายุที่ไดรับการสนับสนุนดานการสงเสริมสุขภาพจากเจาหนาที่สูงมีพฤติกรรมการ ดูแลสุขภาพดีกวากลุมที่ไมไดรับการสนับสนุนดานการสงเสริมสุขภาพจากเจาหนาที่ - ผูสูงอายุที่ไดรับขาวสารเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวา กลุมที่ไมไดรับขาวสารเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ เมื่อผูวิจัยทําการวิเคราะหถดถอยพหุคุณระหวางตัวแปรตางๆ ตอพฤติกรรมการดูแล สุขภาพของผูสูงอายุ พบวา ตัวแปรดานการมีสถานบริการและสถานทีใ่ นการสงเสริมสุขภาพ และ ตัวแปรดานการไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพจากสื่อตาง ๆ มีอิทธิพลตอการที่ ผูสูงอายุจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพสูง ประนอม โอทกานนท; ชวนพิศ สินธุวรการ และ ผองใส เจนศุภการ (2543) ศึกษาความ พึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ โดยศึกษาปจจัยดานสวนบุคคลและปจจัยดานการปฏิบัติตน จากการ วิเคราะหพบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจของผูสูงอายุเรียงตามลําดับไดแก การปฏิบัติตน ดานสังคม (การมีกิจกรรมทั้งตอครอบครัว เมืองและชุมชน) การปฏิบัติตนดานรางกาย (การดูแล รางกาย) การปฏิบัติดานเศรษฐกิจ (การทํางานและมีรายได) การมีรายไดพอดีใช การมีรายไดเหลือ เก็บ และการมีอายุยังนอย (เปนผูสูงอายุวัยตน) นอกจากนั้นยังพบวาตัวแปรอื่นๆที่มีความสัมพันธกับความพึงพอใจในชีวิตของผูสูงอายุ ไดแก การมีสมาชิกอื่นอยูในครอบครัว การมีคูสมรส การมีอาชีพเกษตรกรรมและการมีการศึกษา สูง ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรในการศึกษา ผูสูงอายุทั้ง 11 หมูบาน ในตําบลเหลาโพนคอ


กลุมประชากรวัยสูงอายุ (อายุตั้งแต 60 ขึ้นไป) ที่ไดรับการดูแล 15 คน ครอบครัวผูดูแลผูสูงอายุ 10 คน ผูดูแลผูสูงอายุ 5 คน วิธีการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยที่ผูศึกษาจะใชชีวิตอยูใน ชุมชนเพื่อสังเกตการณแบบมีสวนรวมและการสัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ เครื่องมือที่ใชในการเก็บ รวบรวมขอมูลมีดังนี้ 1. สมุดจดบันทึก 2. กลองถายรูป 3. แบบสัมภาษณ 4. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม 5. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ 6. แผนที่เดินดิน

การทบทวนวรรณกรรมและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวิจัย เอกสารที่เกี่ยวของ ความหมายของผูสูงอายุ ผูใหความหมายของคําวา “ผูสูงอายุ” มีดังตอไปนี้องคการสหประชาชาติ ไดใหความหมาย ของคําวา “ผูสูงอายุ” หมายถึง ผูที่มี 60 ปขึ้นไปโดยเอาอายุเปนหลักในการเรียก สวนคําวา “คนชรา” หมายถึง การใชลักษณะทางการภาพเปนหลักในการเรียก สวนคําวา “อาวุธโส” หมายถึง การเอาสถานภาพทางชราที่แกกวาเปนหลักในการเรียกนอกจากนี้คําภาษาอังกฤษที่เรียกผูสูงอายุ Aging, Elderly, Older Person, Senior Citizen แตองคการสหประชาชาติใชคําวา Older Persons เรียกผูสูงอายุ (บรรลุ ศิริพานิช, 2551 : 107) นภาพร ชโยวรรณ (2542 : 2-3) ใหความหมายของผูสูงอายุไววา เปนประชากรที่มีอายุ 60ป ขึ้นไป เนื่องจากเปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกายที่ชัดเจนและใชเปนอายุที่เกษียณสําหรับ ราชการไทย โดยพิจารณาวาวัยนี้เปนวัยที่มีความเสื่อมของรางกายซึ่งเปนไปโดยธรรมชาติ มีกําลัง ลดนอยถอยลง เชื่องชา จึงเปนบุคคลที่ตองการการดูแลเปนพิเศษ


นาถ พันธุมนาวิน และคณะ(2549: 32) ผูสูงอายุหมายถึง บุคคลอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ซึ่ง เปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงไปสูความเสื่อมถอยของรางกายและจิตใจ การเปลี่ยนแปลงทางรางกาย และจิตใจของผูสูงอายุจะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับพันธุกรรมสิ่งแวดลอมของชีวิตที่ผานมา พระราชบัญญัติผูสูงอายุแหงชาติ พ.ศ. 2546 ไดให ความของคําวา “ผูสูงอายุ” หมายความวา บุคคล ที่มีอายุหกสิบปบริบูรณขึ้นไป และสัญชาติไทย (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย, 2548 : 2) สุรกุล เจนอบรม (2541 : 6-7) ไดกําหนดเกณฑการพิจารณาผูสูงอายุไว 4 ลักษณะ คือ 1) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากอายุจริงที่ปรากฏ (Chronological Aging) เปนการดูที่ จํานวนป หรืออายุที่ปรากฏจริงตามปฏิทินโดยไมนําเอาปจจัยอื่นมาพิจารณา 2) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากหลักการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย(Physiological Aging หรือ Biological Aging) โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทางรางกายที่เกิดขึ้น ซึ่งกระบวนการ ทางการเปลี่ยนแปลงทางรางกายที่เกิดขึ้น ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้จะเพิ่มขึ้นตามอายุขัยในแต ละป 3) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจ(Psychological Aging) เปนการพิจารณาจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจ สติปญญา การรับรูและเรียนรู ที่ถดถอยลง 4) พิจารณาความเปนผูสูงอายุจากบทบาททางสังคม( Sociological Aging) เปนการดูจาก บทบาทหนาที่ทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การมีปฏิสัมพันธกับกลุมบุคคลอื่นๆ ตลอดจนความ รับผิดชอบในการทํางานดวยจากความหมายดังกลาวสรุปไดวา ผูสูงอายุหมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ขึ้นไป ซึ่งมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ หรือความเจ็บปวยจะขึ้นอยูกับพฤติกรรม สิ่งแวดลอมภาวะโภชนาการ และเปนวัยที่สมควรมีผูดูแลหรือใหความชวยเหลือ สถานการณผูสูงอายุในระดับสากลประชากรสูงอายุ หมายถึงผูที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ใน ป ค.ศ. 1950 มีประชากรทั่วโลกที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป จํานวน 205 ลานคน ในตอนนั้น มีเพียง 3 ประเทศเทานั้นที่มีประชากรอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปจํานวนมากกวา 10 ลานคน คือ จีน (42 ลานคน) อินเดีย (20 ลานคน) และสหรัฐอเมริกา (20 ลานคน) แตในป ค.ศ. 2007 จํานวนประชากรโลกที่มี อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปไดเพิ่มจํานวนขึ้น 3.5 เทาตัว เปน 705 ลานคน โดยมี 11 ประเทศที่มีจํานวน ประชากรที่มีอายุ รายงานขององคการสหประชาชาติ ไดระบุวา ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Aging) ไดกลายเปนแนวโนมหลัก และเปนลักษณะเดนของศตวรรษที่ 21 และกระบวนการที่เปนพื้นฐาน ของภาวะประชากรสูงอายุ คือ การเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร (Demographic Transition) (United Nations, 2008 : 1 )


1) การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรในระดับสากลกระบวนการที่เปนพื้นฐานของ ภาวะประชากรสูงอายุคือ การเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร (Demographic Transition) อัตรา การตายที่ลดลง และอัตราการเกิดใหมที่ลดลงในขณะที่ชวงอายุของคน มีความยืนยาวมากขึ้น เปน ผลใหโครงสรางประชากรในภูมิภาคตางๆ ของโลกไดมีการลดสัดสวนประชากรที่มีอายุนอย แลว เพิ่มขึ้นในสัดสวนของประชากรผูสูงอายุ (United Nations, 2008 : 5) อัตราการเกิดใหมที่ลดลงอยางสม่ําเสมอเปนสาเหตุหลักของภาวะประชากรสูงอายุ ประชากรในวัยเจริญพันธุมีลูกนอยลงทําใหสัดสวนของประชากรวัยเด็กและหนุมสาวมีนอยลงเมื่อ เปรียบเทียบกับสัดสวนของประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้น ในระดับโลกนั้น อัตราการเกิดที่ลดลง เปน สิ่งที่เห็นไดตั้งแตทศวรรษที่ 1950 โดยลดลงจากจํานวนเด็ก 5 คนตอผูหญิง 1 คนในชวงป ค.ศ. 1950-1955 เปน 2.7 ตอ 1 ในชวงป ค.ศ. 2005-2010 และไดมีการคาดการณกันวาในชวงป ค.ศ. 2045-2050 จะลดลงเหลือ 2.1 ตอ 1 อัตราการเกิดใหมที่ลดลงนี้เริ่มปรากฏในกลุมประเทศที่พัฒนา แลวในศตวรรษที่ 20 สวนในกลุมประเทศที่พัฒนานอยอัตราการเกิดใหมที่ลดลงเริ่มขึ้นชากวาแตมี อัตราที่เร็วกวา (United Nations, 2008 : 5-6)ในขณะที่อัตราการเกิดใหมลดลง อัตราการตายก็ลดลง ดวยเชนกันโดยเฉพาะในกลุมผูสูงอายุ และเปนสาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งของภาวะประชากร สูงอายุ ในประเทศที่พัฒนาแลว ที่อัตราการเกิดใหมไดลดลงสูระดับต่ํามาเปนเวลานานกวา 2 ทศวรรษ การเพิ่มสัดสวนของประชากรผูสูงอายุเปนผลมาจากการเพิ่มความยืนยาวของอายุใหแก คนวัยชราตั้งแตทศวรรษที่ 1950 ชวงอายุขัยเมื่อแรกเกิดของคนไดเพิ่มขึ้นประมาณ 20 ป กลาวคือ เพิ่มขึ้นจาก 2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากรและ ภาวะประชากรสูงอายุไดสงผลกระทบอยางลึกซึ้งและกวางขวางในทางเศรษฐกิจ การเมือง และ สังคม ตัวอยางเชน ความกังวลที่เพิ่มขึ้น เกี่ยวกับความสามารถในการเจริญเติบโตระยะยาวของ ระบบการสนับสนุนทางสังคมระหวางคนรุนตาง ๆ ซึ่งเปนสิ่งที่มีความสําคัญตอทั้งประชากรที่ สูงอายุและประชากรที่มีอายุนอยกวา ความกังวลเชนนี้มีความเขมขนมากขึ้นภายในสังคมที่การดูแล ระหวางบุคคลในครอบครัวไดมีความยุงยากมากขึ้น เนื่องจากผูหญิง(ซึ่งตามประเพณีมีบทบาทเปน ตัวหลักในการดูแลคนในครอบครัว)ไดออกไปทํางานหารายไดนอกบาน และในขณะที่ผูคนมีอายุ ยืนยาวมากขึ้นคาใชจายดานบํานาญ เบี้ยผูสูงอายุ บริการสาธารณสุข และการดูแลผูสูงอายุ ก็มี ชวงเวลาที่ตองแจกจายยาวนานเพิ่มขึ้นตามไปดวย ผลที่ตามมาก็คือ ระบบประกันสังคมตองมีการ ปรับปรุง ชวงอายุที่ยืนยาวมากขึ้นนี้ทําใหตนทุนดานการแพทย และอุปสงคตอบริการสาธารณสุข เพิ่มขึ้น 2.1สถานการณผูสูงอายุในประเทศไทย ประเทศไทยมีแนวโนมของประชากรที่ลดลงอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการลดลงอยางรวดเร็วของ อัตราการเกิดในระยะเวลาอันสั้น สงใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางของอายุประชากร ในป


พ.ศ. 2503 มีจํานวนประชากรสูงอายุ 1.5 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 54 ของประชากรทั้งหมด จํานวนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเปน 6.7 ลานคนในป พ.ศ. 2548หรือคิดเปนรอยละ 10.3 ของประชากรทั้งหมด และจะเพิ่มเปน 2 เทาตัวในป พ.ศ. 2568 คือ 14.0 ลานคน หรือรอยละ 20 ของประชากรทั้งหมด สถานการณนี้ทําใหสังคมไทยไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ(บรรลุ ศิริพานิช และคณะ, 2551: 2-3) 1) การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรในประเทศไทยสืบเนื่องจากการนโยบายประชากร และการวางแผนครอบครัวที่ประสบความสําเร็จ ทําใหโครงสรางประชากรในปจจุบันได เปลี่ยนแปลงไปอยางมาก เห็นไดจากป พ.ศ.2513 ซึ่งมีสัดสวนประชากร วัยเด็ก: วัยแรงงาน: วัน สูงอายุ เทากับ 45.1: 49.99: 4.89 เปลี่ยนแปลงไปเปน 21.51: 67.37: 11.12 ในปจจุบันซึ่งเห็นไดวา ประชากรในวัยเด็กมีแนวโนมลดลง วัยแรงงานมีสัดสวนคงที่และมีแนวโนมที่ลดลง สวนประชากร ผูสูงอายุจะมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และจะมีสัดสวนมากวากลุมเด็กตั้งแตป พ.ศ. 2563 ซึ่งสงผล ใหประชากรในวัยแรงงานตองรับภาระเพิ่มขึ้นในการดูแลประชากรวัยเด็กและสูงอายุ(สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2551:16) สํานักงานสถิติแหงชาติ (2551: คํานํา) ไดกลาวถึง อัตราภาวะวัยผูสูงอายุที่เพิ่มขึ้นจะสงผล กระทบโดยตรงตอผูสูงอายุในอนาคตอันใกล หมายถึง ผูทอี่ ยูในวัยแรงงานจะตองรับภาระในการ เลี้ยงดูผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น และในที่สุดผูที่อยูในวัยแรงงานและผูสูงอายุจะอยูในสภาพที่ออนแอ ทั้งสองฝาย ซึ่งจะสงผลกระทบใหผูสูงอายุถูกละเลยและถูกทอดทิ้งในที่สุด 2) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรสูงอายุผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงโครงสรางทางประชากรตอสัดสวนการพึ่งพา การเปลี่ยนแปลงทางประชากรใน ประเทศไทยที่มีอัตราการเกิดนอยลงทําใหโครงสรางประชากรที่ประกอบดวยประชากรในวันเด็กมี แนวโนมลดลงและอัตราสวนการพึ่งพาก็นอยลงดวยในขณะที่สัดสวนในวัยแรงงานและวัยสูงอายุ อาจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางทางอายุของประชากร มีผลสืบเนื่องทางเศรษฐกิจ ในแงอุปทานแรงงาน ในอีก 20 ป ขางหนา (นภาพร ชโยวรรณ, 2545: 17-23) ซึ่งคนกลุมนี้เปนแกน สําคัญที่จะชวยเพิ่มผลผลิตของประเทศ สงผลใหผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP) ลดลงและ สงผลกระทบตอการลงทุนของประเทศ(สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ, 2551: 21) บรรลุ ศิริพานิช (2542 : 30-31) กลาววา เมื่อโครงสรางประชากรสังคมเปลี่ยนแปลงไป โดยมีสัดสวนผูสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ยอมกอใหเกิดผลกระทบในดานตาง ๆ ตามมาดังนี้ 1) ดานเศรษฐกิจ ผูสูงอายุมีความสามารถในการผลิตลดลงตามสมรรถภาพของรางกายที่ คอยๆ เสื่อมถอย ยิ่งอายุมากขึ้นก็ยิ่งตองการความชวยเหลือ แทนที่เคยเปนผูผลิต สังคมโดยรวมจึง จําเปนตองชวยเหลือ


2) ดานสุขภาพอนามัย รางกายของผูสูงอายุจะออนแอเพิ่มขึ้นโอกาสโรคภัยไขเจ็บมากขึ้น ถึงแมไมมีโรคภัยรางกายก็เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพธรรมชาติและเกิดความพิการในที่สุด ซึ่งสังคม โดยรวมตองชวยเหลือ 3) ดานสังคมและครอบครัว ยอมเปนภาระที่จะใหความคุมครองดูแลชวยเหลือผูสูงอายุใน ดานตาง ๆ 4) ดานการศึกษา แบงได 2 ดาน คือ นอกจากตองใหการศึกษาใหผูสูงอายุไดรูเทาทันโรค แลว ยังตองศึกษาวิจัยในวิทยาการเกี่ยวกับผูสูงอายุ เพื่อดําเนินการใหผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ ผูสูงอายุและสังคมเปนไปในทางที่ดี

สวัสดิการผูสูงอายุ ศศิพัฒน ยอดเพชร (2534: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “แนวทางการจัดบริการ สวัสดิการสําหรับผูสูงอายุ” โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ และสถานภาพของ ผูสูงอายุในสังคมไทย แนวความคิดและหลักการจัดบริการสวัสดิการสังคมสําหรับผูสูงอายุ งาน สังคมสงเคราะหกับการบริการสังคมสําหรับผูสูงอายุ วิธีการศึกษาในเรื่องนี้เนนการศึกษาจาก เอกสารและการศึกษาเฉพาะกรณี ผลการศึกษาปรากฎวา ในวัยสูงอายุจะเนนการพัฒนาการขั้นหนึ่ง ของชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ กอใหเกิดปญหาตอผูสูงอายุก็คือปญหาทางดานรางกายอันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพทางรางกาย การทํางานของอวัยวะตาง ๆ ดําเนินไปไมปกติ ทําใหเกิดภาวะการเจ็บปวยหรือมีโรคแทรกซอนและ กอใหเกิดปญหาทางดานจิตตามมา ที่สําคัญ ปญหาทางดานเศรษฐกิจสังคมเปนอีกปญหาหนึ่งที่ ผูสูงอายุตองเผชิญในปจจุบัน การเปลี่ยนแปลงจากหนาที่การงานอาชีพ และสถานการณทางสังคม กอใหเกิดปญหาการขาดรายไดและการถูกทอดทิ้ง และการไมยอมรับในความสามารถและปญหา อื่น ๆ ตามมาอีกหลายประการ ดังนั้นผูสูงอายุจึงเปนกลุมบุคคลที่ไดรับการชวยเหลือดูแลและมี บริการสวัสดิการสังคมที่เพียงพอตอบสนองตอความตองการ ผูวิจัยใหความเห็นเกี่ยวกับความ ตองการของผูสูงอายุควรจะครอบคลุมเรื่องชีวิตการทํางาน (Professional Life) ความรูสึกทาง อารมณ(Sentimental Life) ชีวิตครอบครัว(Family Life) ชีวิตสังคม(Social Life) การใชเวลาวาง (Leisure Activities) ความตองการเหลานี้ชี้ใหเห็นวาเปนความตองการของบุคคลที่มีความเจริญใน วุฒิภาวะแลว เพราะครอบคลุมทั้งการมีความสําเร็จ และโอกาสกาวหนาในหนาที่การงาน ความ ตองการมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ในสังคม รวมทั้งการดําเนินชีวิตเพื่อใหเกิดประโยชนทั้งแก ตนเองและสังคมอีกดวย บรรพต ศรีจันทรนิตย และคณะ (2546 : บทคัดยอ) วิจัยเรื่องการพัฒนาระบบสวัสดิการ สําหรับผูสูงอายุในชุมชนแออัด เทศบาลเมืองสุรินทร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพชีวิตของ


ผูสูงอายุที่อยูอาศัยในชุมชนแออัดในเขตเทศบาลเมือง และปจจัยที่เปนสาเหตุของปญหาการดํารง ชีพแนวทางและรูปแบบการแกไขปญหาดวยการชวยเหลือกันเองในกลุมสูงอายุชุมชน หนวยงาน ภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ ในทองถิ่น และการเขาถึงระบบบริการของรัฐโอกาสและรูปแบบ ในการใหความชวยเหลือแกผูสูงอายุเปนการศึกษาเชิงคุณภาพโดยคัดเลือกพื้นที่ศึกษาแบบเจาะจง คือชุมชนแออัดในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร กลุมตัวอยางคือผูสูงอายุที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ผูใหขอมูล คือผูนําและคณะกรรมการชุมชน ผลการศึกษาพบวา ผูสูงอายุที่อาศัยอยูในชุมชนแออัดมักประกอบ อาชีพเก็บของเกาในตลาดเปนสวนใหญ ผูสูงอายุในชุมชนแออัดมักถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานใหอยู ตามลําพัง และไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากบุตรหลาน และมีโรคภัยไขเจ็บเปนอุปสรรคตอการ ดํารงชีพ การแกไขปญหา โดยนําแนวคิดพุทธศาสนา บุญกรรมมาอธิบายปรากฏการณของตน และ ความชวยเหลือจากเพื่อนบานในชุมชน หนวยงานดานสาธารณสุขใหความชวยเหลือจัดทําบัตร สงเคราะหการรักษาพยาบาลและการตรวจรักษาโรคในชุมชน สําหรับบทบาทขององคกรชุมชนใน การจัดทําโครงการสวัสดิการชุมชนคือ จัดเบี้ยยังชีพสงเคราะหแกผูสูงอายุและคนพิการในชุมชน (โดยชุมชนจัดเอง) แตเปนโครงการไมตอเนื่อง และแนวทางในการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมแก มรกต สิงหคะเชนทร (2545,น. 4-5) ไดกลาวถึงบริการสําคัญสวนใหญจะเปนภารกิจหลัก ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย หนวยงานที่ดูแล คือ กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ บริการและสวัสดิการผูสูงอายุที่ดําเนินการโดยหนวยงานของรัฐที่เปนรูปธรรม ไดแก - บริการสถานสงเคราะห เปนบริการดานที่อยูอาศัยที่จัดใหกับผูสูงอายุที่ประสบปญหา ความทุกขยากเดือดรอน เชน ถูกทอดทิ้ง ไมมีที่อยูอาศัย ไมมีผูอุปการะดูแล บริการที่จัดใหไดแก บริการดานปจจัยสี่ บริการตรวจสุขภาพทั่วไป การรักษาพยาบาล บริการดานกายภาพบําบัด บริการ ใหคําปรึกษา แนะนํา และการปรับตัวฯลฯ ปจจุบันสถานสงเคราะหของรัฐจํานวน 20 แหงกระจาย อยูทั่วทุกภาคของประเทศ สามารถรับผูสูงอายุไดประมาณ 3,000 คน ในปงบประมาณ 2546 สถาน สงเคราะหจะถูกโอนภาระกิจไปใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดูแลดําเนินการจํานวน 13 แหง - ศูนยบริการสังคมผูสูงอายุ (Day Center) เปนบริการใหแกผูสูงอายุที่อยูกับครอบครัว ไดมาใชบริการและกิจกรรมภายในศูนยในลักษณะเชาไปเย็นกลับ บริการที่จัดใหภายในศูนยไดแก บริการตรวจรักษาโรค บริการดานกายภาพบําบัดและฟนฟูสมรรถภาพ บริการใหคําปรึกษาแนะนํา บริการนันทนาการ กิจกรรมเสริมรายได บริการหนวยเคลื่อนที่และบริการบานพักฉุกเฉิน ฯลฯ ปจจุบันประเทศไทยมีศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุจํานวน 18 แหงทั่วประเทศและหนวยบริการ 1 แหง สามารถใหบริการแกผูสูงอายุไดประมาณ 330,000 คนในปงบประมาณ 2546 จะโอน ภาระกิจ ไปใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดูแลดําเนินการจํานวน 9 แหง - ศูนยบริการผูสูงอายุในวัดโดยชุมชน เปนการสนับสนุนใหชุมชนมีสวนรวมในการดูแล ผูสงู อายุในชุมชนของตนเอง โดยวัดหรือสถาบันทางศาสนา เชน โบสถ มัสยิด ฯลฯ เปนศูนยกลาง ในการจัดกิจกรรมตามความตองการของชุมชน ปจจุบันมีการตั้งศูนยฯประมาณ 200 แหงทั่วประเทศ


นอกจากบริการหลักดังกลาวแลวยังมีการใหบริการสงเคราะหเครื่องอุปโภคบริโภค เครื่องชวยความพิการอื่นๆ บริการหนวยเคลื่อนที่และการจัดอบรมดูแลผูสูงอายุ เปนตน การดูแลผูสูงอายุโดยลดการพึ่งพาสถาบัน (Deinstitutionalization) บริการดูแลผูสูงอายุโดย ลดการพึ่งพาสถาบันที่สําคัญ คือ บริการการสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ เปนการสนับสนุนให ผูสูงอายุอยูในครอบครัว ในชุมชนโดยโดยไมตองเขามาอยูใน สถานสงเคราะห บริการนี้ไดกําหนด คุณสมบัติของผูสูงอายุยากจน ไมมีรายได ไมมีผูดูแลเริ่มดําเนินการในป พ.ศ. 2536 โดยรัฐจัดสรร ใหเปนเงินชวยเหลือรายเดือนๆละ 200 บาท/คน แบบตลอดชีพ ระยะแรกจัดสรรให 20,00 คนใช งบประมาณจํานวน 12 ลานบาท (3 เดือน) และขยายเพิ่มขึ้นเรื่อยและในป พ.ศ. 2542 เมื่อประเทศ ไทยประสบภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ รัฐไดเพิ่มเงินเบี้ยยังชีพเปนเดือนละ300 บาท/คน มีจํานวน ผูสูงอายุที่ไดรับเบี้ยยังชีพ 400,000 คนใชงบประมาณทั้งสิ้น 1,101.6 ลานบาท เมื่อรัฐมีการปฏิรูป ระบบราชการสงผลใหในปงบประมาณ 2545 ไดมีการโอนภารกิจของบริการเบี้ยยังชีพจากกรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ (กรมประชาสงเคราะหเดิม) ไปใหกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น เปนผูดําเนินการเบิกจายใหกับผูสูงอายุแทน บริการประกันสังคมสําหรับผูสูงอายุเนื่องจากสภาพปญหาดานรายไดถือเปนปญหาหลัก ของผูสูงอายุไทย และบริการที่รัฐจัดใหผูสูงอายุมักเปนบริการที่มุงชวยเหลือผูสูงอายุที่ยากจน ขาด การอุปการะและ ชวยเหลือตนเองไมได ในรูปของการใหสิ่งของและบริการ และในระยะหลัง เปลี่ยนมาในรูปของเงินในโครงการเบี้ยยังชีพ เมื่อคิดคํานวณออกมาเปนตัวเงินแลวจะมีจํานวนนอย มากและไมสามารถกระจายไปยังผูสูงอายุไดอยางทั่วถึงและเหมาะสมกับความตองการของผูสูงอายุ ในแตละ สถานภาพได รัฐบาลจึงไดนําความคิดการสรางหลักประกันโดยสรางระบบใหผูที่กําลังอยูใน ตลาดแรงงานชวยกันออมเพื่อสรางหลักประกันชราภาพสําหรับตนเองและบุคคลภายในกลุมเพื่อให สามารถดํารงชีวิตอยูไดในระดับมาตรฐานที่ไมแตกตางจากเดิมกอนที่จะกลายเปนผูไมไดทํางาน เนื่องจากความสูงอายุ ดังนั้นพระราชบัญญัติประกันสังคมซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2533 ระบุใหมี การขยายขอบเขตของการประกันชราภาพ หลังจากที่กฎหมายใชครบแลว 6 ป ดังนั้นในป 2539 จึง มีการเก็บเงินสมทบเพิ่มขึ้นทั้งจากฝายลูกจาง นายจางและรัฐบาล ในอัตรารอยละ 2 โดย ผูประกันตนกรณีชราภาพจะไดรับประโยชนภายใตเงื่อนไข คือ จายเงินสมทบไมนอยกวา180 เดือน ไมวาระยะเวลา 180 เดือนจะติดตอกันหรือไมก็ตาม และมีอายุครบ55 ปบริบูรณและความ เปนผูประกันตนสิ้นสุดลงโดยจะไดรับประโยชนทดแทนในสองกรณีคือเงินบํานาญชราภาพ ผูประกันตนจะไดรับเงินบํานาญชราภาพในอัตรารอยละ 15 ของคาจางเฉลี่ย 60 เดือนสุดทายที่ใช เปนฐานในการคํานวณเงินสมทบกอนความเปนผูกันตนสิ้นสุดลง และหากจายเงินสมทบเกินกวา 180 เดือนจะไกรับเงินเพิ่มรอยละ 1 ตอระยะเวลาการจายเงินสมทบทุก 12 เดือนเงินบําเหน็จชรา


ภาพ กรณีผปู ระกันตนจายเงินสมทบต่ํากวา 12 เดือนใหจายเงินบําเหน็จชราภาพเทากับจํานวนเงิน สมทบที่ผูประกันตนจายสมทบเขากองทุนและในกรณีที่จายเงินสมทบตั้งแต 12 เดือนขึ้นไปให จายเงินบําเหน็จชราภาพเทากับจํานวนเงินสมทบที่ผูประกันตนและนายจางจายสมทบเขากองทุน พรอมผลประโยชนตอบแทนที่สํานักงานประกันสังคมประกาศ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 สงเสริมให นายจางและลูกจางจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเพื่อเปนสวัสดิการแกลูกจางออกจากงาน สงเสริม การออมและระดมเงินออมออกไปใชในการพัฒนาประเทศ โดยกองทุนดังกลาวมีฐานะเปนนิติ บุคคลและมี คณะกรรมการกองทุนเปนผูดูแลและบริหารจัดการ โดยลูกจางยินยอมใหหักเงินคาจาง รอยละ 3 –15 ของคาจางเพื่อเปนเงินสะสมเขากองทุน และนายจางตองสงเงินสมทบในอัตราไมต่ํา กวา เงินสะสมของลูกจาง แนวทางการปฏิบัติงานของผูที่เกี่ยวของกับโครงการอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน แนวทางปฏิบัติงานของ อผส. 1) อผส. ใหการดูแล ชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิ โดยใหการดูแล การเฝาระวังและ เตือนภัย และการจัดบริการและสวัสดิการใหแกผูสูงอายุในชุมชนทุกคนทั้งนีให ้ จัดแยกผูสูงอายุ ออกเปน 2 กลุม คือ ผูสูงอายุที่ประสบปญหาความทุกขยาก เดือดรอน และผูสูงอายุอื่นในชุมชนโดย อผส. ใหการดูแลชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิตามความจําเปนและความตองการของ ผูสูงอายุอยางทั่วถึง เทาเทียม เพียงพอ และสม่ําเสมอ รวมทั้งครอบคลุมสิทธิของผูสูงอายุทั้ง 4 ดาน ไดแก สิทธิการมีอายุยืน สิทธิการคุมครอง สิทธิการสงเสริม สิทธิการมีสวนรวม 2) อผส. ใหความรูในเรื่องตาง ๆ ที่เปนประโยชนแกผูสูงอายุ 3) อผส. ใหความรูแกสมาชิกครอบครัว และประชาชนในชุมชน เพื่อให การดูแลผูสูงอายุอยางถูกตองเหมาะสม 4) อผส. เฝาระวังและเตือนภัยสําหรับผูสูงอายุ 5) อผส. เปนสื่อกลางในการนํา ประสาน สงตอ บริการสวัสดิการสังคม ใหแกผูสูงอายุ 6) อผส. เปนสื่อกลางในการนํา ประสาน สงตอ บริการสวัสดิการสังคม ใหแกผูประสบความทุกขยากเดือดรอน ผูดอยโอกาสในชุมชน 7) อผส. 1 คน ใหการดูแลผูสูงอายุที่แบงตามความรับผิดชอบเปน 2 กลุม คือ  ดูแลผูสูงอายุกลุมที่ 1 ไมนอยกวา 5 คน  ดูแลผูสูงอายุกลุมที่ 2 ไมนอยกวา 15 คน (สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ,2550: 41 - 42) แนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการ อผส.


คณะกรรมการ อผส. ประจําเขตพื้นที่ เปนบุคคลที่ไดรับการเลือกจาก อผส. ในเขตพื้นที่นั้น ๆ ใหทํา หนาที่เปนผูแทน มีขอแนะนําวากรรมการ อผส. ควรเปนผูแทนของ อผส. จากหมูบานตาง ๆ ภายในเขตพื้นที่ อยางนอยหมูบานละ 1 คนแนวปฏิบัติของคณะกรรมการ อผส. ประจําเขตพื้นที่แต ละแหง คือ 1) ประสาน สงเสริม สนับสนุนระบบการปฏิบัติงานของ อผส. ในเขตพื้นที่ ใหสามารถ ดูแลชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิผูสูงอายุทุกคนในเขตพื้นที่ใหไดรับสิทธิผูสูงอายุ ทั้ง 4 ดาน (การมีอายุยืน การคุมครอง การสงเสริม และการมีสวนรวม) 2) ประสานกับองคการปกครองสวนทองถิ่น ในฐานะศูนยสนับสนุนการปฏิบัติงานใน พื้นที่ และผูนําชุมชน รวมทั้งหนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชน องคกรชุมชนและผูเกี่ยวของ ตางๆ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการ อผส. และ อผส. 3) นิเทศ ใหคําปรึกษา แนะนํา ดูแล อผส. ใหปฏิบัติหนาที่อยางจริงจัง 4) พัฒนาการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของ อผส. 5) ระดมเงินและทรัพยากรสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของ อผส. 6) รักษาปริมาณและคุณภาพของ อผส. ใหเพียงพอแกการดูแลชวยเหลือคุมครอง และ พิทักษสิทธิผูสูงอายุ 7) ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของ อผส. และรายงานตอฝายที่เกี่ยวของ 8) ปฏิบัติหนาที่ใหการดูแลชวยเหลือ คุมครอง และพิทักษสิทธิผูสูงอายุเชนเดียวกับอผส. (สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ, 2550 : 42 - 43) แนวทางปฏิบัติขององคการปกครองสวนทองถิ่นและผูนําชุมชน การปฏิบัติงานของ อผส. และคณะกรรมการ อผส. จะดําเนินไปไดเปนผลดี หากไดรับการสงเสริม สนับสนุนจากภาค/สวนตาง ๆ ในพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่ง จากองคการปกครองสวนทองถิ่นและ ผูนําชุมชน 1) แนวทางปฏิบัติขององคการปกครองสวนทองถิ่น  ทําหนาที่เปนศูนยสนับสนุนการปฏิบัติงานในพื้นที่ ใหการ สนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการ อผส. และ อผส. อยางใกลชิด สม่ําเสมอ และตอเนื่อง  ประสาน สงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานของ อผส.รวมกับผูนําชุมชน  นิเทศงานแกฝายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ  สนับสนุนเงินและทรัพยากรตาง ๆ ในการดําเนินงานของคณะกรรมการ อผส. อผส. และผูสูงอายุ  อํานวยความสะดวกดานอาคารสถานที่ เพื่อจัดการประชุมพบปะของ อผส. และ การจัดกิจกรรมเพื่อผูสูงอายุ  ติดตามประเมินผลการดําเนินงาน และรายงานตอฝายที่เกี่ยวของ


 แตงตั้งเจาหนาที่ 1 คน เปนผูประสานงานและปฏิบัติหนาที่อยางตอเนื่อง (สํานัก สงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ, 2550: 44 - 45)

     

2) แนวทางปฏิบัติของผูนําชุมชน ประสาน สงเสริม สนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานเริ่มตน และดําเนินงานรวมกับ องคการปกครองสวนทองถิ่น ประสานกับหนวยงานและผูเกี่ยวของตางๆ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการ อผส. และ อผส. นิเทศงานแกคณะกรรมการ อผส. และ อผส. พัฒนาการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของคณะกรรมการ อผส.และ อผส. สนับสนุนเงินและทรัพยากร และอํานวยความสะดวกเพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ ของ คณะกรรมการ อผส. อผส. และผูสูงอายุ ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ อผส.และ อผส. และรายงานตอฝายที่ เกี่ยวของ (สํานักสงเสริมและพิทักษผูสูงอายุ, 2550: 45)

งานวิจัยที่เกี่ยวของ บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุข รัชนีกร ภูกร (2523: 54-69) ไดศึกษาเรื่อง ทัศนคติของประชาชนตอการปฏิบัติงานของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) ในเขตอําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พบวา ประชาชนเห็นดวยกับการมี อสม. เปนสวนมากเพื่อชวยเหลือยามเจ็บปวย และทําใหรูเรื่องเกี่ยวกับ สุขภาพ แตยังมีปญหาในการใหบริการเนื่องจากประชาชนเห็นวา อสม. มีความรูความสามารถใน การใหบริการแกประชาชนยังไมเพียงพอมีถึงรอยละ22.5 อสม.ขาดยาและอุปกรณในการ รักษาพยาบาล รอยละ12.0 ไปหา อสม. ไมคอยพบ เพราะ อสม. ตองไปประกอบอาชีพนอกบาน รอยละ4.0 และมีประชาชนที่ยังไมคอยรูจักหนาที่ของ อสม.รอยละ9.0 ซึ่งแสดงวา การ ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงบทบาทและหนาที่ของ อสม. ยังไมทั่วถึง สนธยา มโหทาน (2548: 86) ศึกษาเรือ่ งการรับรูบทบาทที่กําหนด บทบาทที่คาดหวัง และ บทบาทที่เปนจริงของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ในศูนยสาธารณสุขมูลฐาน ชุมชน (สสมช) พบวาระดับการรับรูบทบาทที่กําหนด บทบาทที่คาดหวัง และบทบาทที่เปนจริงใน ภาพรวม อยูในระดับปานกลางทุกบทบาท โดยมีบทบาทคาดหวังมีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือการ รับรูบทบาทที่กําหนด และบทบาทที่ปฏิบัติจริง เปนไปตามหลักจิตวิทยาที่วาบุคคลมักมีความ ตองการหรือความคาดหวังสูงกวาความเปนจริงเสมอ ถึงอยางไรก็ดี บทบาทที่ปฏิบัติจริงก็มีคา


คะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด นั่นแสดงวาอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในศูนยสาธารณสุขมูลฐาน ชุมชนในจังหวัดสระบุรี มีการปฏิบัติงานไมเปนไปตามที่คาดหวัง นาจะเปนขอบงชี้ถึงความไม สอดคลองในบทบาทของอาสาสมัคร และอาจทําใหเกิดสภาวะความเครียด ดังนั้น สิ่งที่สงผลตอ การปฏิบัติงานของอาสาสมัครที่ปฏิบัติงานในศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชนสวนหนึ่งเกิดจากการที่ ไมสามารถปฏิบัติบทบาทจริงไดตามความคาดหวังในบทบาทหนาที่ที่ตนเองและสังคมตองการให ปฏิบัติ ทวีทอง หงษวิวัฒน และคณะ (2524 : 3-4) ไดทําการศึกษาประเมินผลโครงการสาธารณสุข มูลฐานไทย ผลของการศึกษาที่เกี่ยวกับ อสม. พบวาการปฏิบตั ิงานของ อสม. มีผลตอการใชบริการ สุขภาพต่ํามาก โดยเฉพาะจากปญหาการนิเทศงานและปญหาในการสนับสนุนยา จะทําให ความสามารถ ในการคงระดับหรือการยกระดับการบริการของ อสม.เปนไปไดยาก นอกจากนั้นอ สม. สวนใหญมักเนนหนักการรักษาพยาบาล การจําหนายยาสามัญประจําบานและบริการวางแผน ครอบครัว ในการเขามามีสวนรวมของประชาชนนั้น เนนหนักดานรักษาพยาบาล สวนงานดาน สงเสริมสุขภาพและปองกันโรค เชน งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค งานสุขาภิบาล และงาน โภชนาการ ยังไมมีการเขารวมเทาที่ควร สาโรจน ลิมปภูษณะ (2548: บทคัดยอ, 104) ไดศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยมีวัตถุประสงค เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาศึกษาระดับของปจจัยตาง ๆ และหาความสัมพันธระหวางปจจัยตาง ๆ ในการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครสาธรณสุขประจําหมูบาน การศึกษาครั้งนี้ใชรูปแบบการวิจัย สํารวจเชิงพรรณนา ประชากรที่ใชในการศึกษาไดแก อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ในเขต อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม จํานวน 15 ตําบล 204 หมูบาน 1,697 คน กําหนดตัวอยางโดย ใชสูตรยามาแน ไดจํานวนตัวอยาง 324 คน ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ผลการศึกษาพบวา (1) สิ่งที่เปนแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ อสม.ในระดับมากคือ อยากใหมี เงินเดือนเปนคาตอบแทน และสิ่งที่เปนแรงจูงใจในระดับคอนขางมาก ไดแก การมีความรูดาน นิตยา อุนเบา (2549: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขใน การดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรัง กรณีศึกษาเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาความรูของอาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรัง และบทบาท อาสาสมัครสาธารณสุขตอการปฏิบัติงานการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังวิธีการศึกษาเปน การศึกษาแบบสํารวจ โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือ อาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานใน ศูนยบริการสาธารณสุขที่ 10 และ41 จํานวน 150 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือแบบสอบถามผล การศึกษาพบวา ภาพรวมของความรูของอาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรัง อยูในระดับปานกลาง เวนดานผลกระทบของการเจ็บปวยเรื้อรังตอผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังที่กลุม


ตัวอยางมีความรูอยูในระดับสูงในประเด็นเรื่องผูสูงอาจเกิดโรคแทรกซอนไดงาย และการเจ็บปวย เรื้อรังทําใหผูสูงอายุวิตกกังวลและซึมเศรา ภาพรวมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขตอการ ปฏิบัติงานดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังพบวา กลุมตัวอยางเห็นดวยในระดับปานกลาง ยกเวนดาน ใหคําแนะนํา/เผยแพรความรู ที่เห็นดวยในระดับสูงในประเด็นการกระตุนใหผูสูงอายุในชุมชน ตระหนักถึงการตรวจสุขภาพประจําปและการกระตุนใหผูสูงอายุในชุมชนเห็นความสําคัญของการ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู นอกจากนี้พบวาความรูของอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับโรค เรื้อรัง และผลกระทบของโรคเรื้อรังที่แตกตางกัน มีผลตอบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขตอ การปฏิบัติงานการดูแลผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรังในดานการใหคําแนะนํา/เผยแพรความรู ดานการรับ ขาวสาร และดานการประสานงานที่แตกตางกัน ประเทือง วงษแจง (2541: 88-98) ไดทําการศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของอาสาสมัคร สาธารณสุขในการสงเสริมสุขภาพประชาชนเรื่องโรคความดันโลหิตสูง ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี วัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาการมีสวนรวมของอาสาสมัครสาธารณสุขใน เรื่องการสงเสริมสุขภาพประชาชนเรื่องความดันโลหิตสูงโดยเก็บรวบรวมขอมูลจาการสัมภาษณ อาสาสมัครสาธารณสุขโดยใชแบบสัมภาษณกลุมตัวอยางจํานวน 40 หมูบาน และเลือกอาสาสมัคร มาหมูบานละ 5 คน ผลการศึกษาพบวา อาสาสมัครสาธารณสุขสวนใหญเปนเพศหญิงมากวาเพศ ชาย มีอายุระหวาง 36-50 ป จบการศึกษาระดับประถมศึกษา วิธีการที่ไดรับคัดเลือกเขามาเปน กรรณิการ พงษสนิท และคณะ(2535) ไดศึกษาการดูแลตนเองของผูสูงอายุที่มีความดัน มี โลหิตสูง ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ในกลุมตัวอยางจํานวน 100 ราย พบวาผูสูงอายุที่มี ความดันโลหิตสูง และมีการดูแลตนเองไดดี โดยมีการปฏิบัติตัวในดานรับประทานอาหาร การ ขับถาย การรักษาความสะอาดของรางกาย การพักผอนนอนหลับ การทํากิจกรรมและการออกกําลัง กาย ดานที่อยูอาศัย และการปองกันอุบัติเหตุ ดานบทบาทหนาที่ และการปรับตัวจะสามารถควบคุม อาการและภาวะโรคแทรกซอนความดันโลหิตได นิรนาท วิทยโชคกิติคุณ(2534) ไดศึกษาความสามารถในการดูแลตนเองและภาวะสุขภาพ ของผูสูงอายุ และปจจัยพื้นฐานบางประการ ไดแก เพศ สถานภาพสมรส การศึกษา และรายได ใน ผูสูงอายุที่มีภูมิลําเนาอยูในเขต อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค จํานวน 120 ราย ผลการศึกษาพบวา ผูสูงอายุกลุมตัวอยางเปนวัยสูงอายุตอนตน (60-74ป) ประเมินภาวะสุขภาพคอนขางดี และดีมาก ระดับความสามารถในการดูแลตนเองอยูในเกณฑคอนขางสูง และพบวาโรคที่พบในกลุมตัวอยาง คือ โรคกระดูกและขอ และโรคความดันโลหิตสูง สวนปจจัยดานการศึกษา และสถานภาพสมรส เปนปจจัยที่มีความสัมพันธเชิงบวกกับความสามารถในการดูแลตนเอง จากความหมายดังกลาวขางตน สรุปไดวา บทบาทหนาที่หมายถึง หนาที่หรือพฤติกรรรมที่ บุคคลกระทําหรือแสดงออก ตามฐานนะหรือตําแหนงที่ไดรับมา ซึ่งในการศึกษาเรื่องอาสาสมัคร ดูแลผูสูงอายุที่บานในครั้งนี้จะเปนการศึกษาการปฏิบัติหนาที่ของอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุที่บาน


จะเปนการศึกษาถึงบทบาทที่เปนจริงและบทบาทที่คาดหวังของ อผส. วามีการปฏิบัติหนาที่ตาม บทบาทที่ไดรับเพียงใด สภาพปญหาและความตองการของผูสูงอายุ นภาพร ชโยวรรณ (2531) ทําการศึกษาสภาวะเศรษฐกิจและรายไดของ ผูสูงอายุ พบวา ผูสูงอายุสวนใหญมักประสบปญหาเกี่ยวกับการเงิน (รอยละ 39) รองลงมาคือปญหาเกี่ยวกับสุขภาพ (รอยละ 34) และปญหาสุขภาพจิต (รอยละ 13) และมีเพียงรอยละ 11 เทานั้นที่ไมมีปญหา ซึ่งทั้ง เพศชายจะมีปญหามากกวาเพศหญิง และผูสูงอายุในชนบทมีปญหาทางการเงินมากกวาผูสูงอายุใน เมือง โดยผูสูงอายุรอยละ 48 มีรายไดสวนใหญจากบุตร รอยละ 28 มาจากการทํางานของตนเอง รอยละ 8 มาจากเงินออม และรอยละ 2 มาจากเงินบํานาญ นภาพร ชโยวรรณ และ จอหน โนเดล (2539) ไดทําการศึกษาถึงรายไดในรอบปที่ผานมา ของผูสูงอายุและคูสมรส พบวา ผูสูงอายุมีรายไดเฉลี่ยระหวาง10,000–19,999 บาทตอป และแหลง รายไดสําคัญคือจากบุตร รองลงมาคือจากการทํางานของตนเองและการไดรับการสงเคราะหมี สัดสวนที่ต่ําที่สุด โดยผูสูงอายุในเขตชนบทมีแหลงรายไดจากการทํางานสูงกวา ผูสูงอายุในเขตเมือง สุทธิชัย จิตะพันธุกุลและคณะ (2537 และ 2542) ไดทําการศึกษาถึงสภาพปญหาดาน สุขภาพและภาวะทุพพลภาพ (ภาวะจํากัดในการปฏิบัติกิจอันเปนปกติของบุคคลอันเนื่องมาจาก ความเจ็บปวยหรือความบกพรอง หรือความพิการทางรางกาย) ภาวะพึ่งพาและภาวะสมองเสื่อมใน ผูสูงอายุไทย พบวา ปญหาดานสุขภาพที่ผูสูงอายุไทยประสบอยูคือ กลุมโรคไมติดตอและอุบัติเหตุ ซึ่งสวนใหญเปนโรคเรื้อรัง เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือด ภาวะซึมเศรา และการหกลม เปนตน นอกจากนี้ สุทธิชัย จิตะพันธุกุลและคณะ (2542) ยังพบวาปญหาดาน สุขภาพสงผลใหผูสูงอายุทุก 1 ใน 4 คน ไมสามารถเคลื่อนไหวหรือทํากิจกรรมไดตามปกติและถือ วามีปญหาทุพพลภาพ โดยมีผูที่ประสบปญหาทุพพลภาพนานกวา 6 เดือนถึงรอยละ 19 และ ประชากรผูส ูงอายุรอยละ 4 ประสบปญหาภาวะสมองเสื่อม ผูสูงอายุไทยอยูในภาวะทุพพลภาพรุนแรงปานกลางหรือรุนแรงมากมีจํานวนประมาณรอย ละ 1.7 –2.1 ซึ่งจะตองมีผูดูแลชวยเหลือและมีการพึ่งพาผูอื่นในกิจวัตรประจําวัน เชน การ รับประทานอาหาร การสวมใสเสื้อผา เปนตน มัลลิกา มัติโก (2542, น.6-7)สุขภาพจิตของผูสูงอายุมีผลตอคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ จาก การประมวลสถานภาพทางสุขภาพและสังคมของผูสูงอายุไทย พบวาภาวะสุขภาพของผูสูงอายุ ขึ้นอยูกับปจจัยแวดลอม เชน การที่ผูสูงอายุไดรับความเคารพนับถือและเชื่อฟงของบุตรหลาน การ ไดรับการดูแลเอาใจใสจากบุตรหลาน และการที่บุตรหลานยังใหความสําคัญในฐานะเปนที่ปรึกษา ทําใหผูสูงอายุมีความสุขและความพึงพอใจในการดํารงชีวิตของผูสูงอายุ สวนปจจัยที่สงผลตรงกัน


ขามคือความรูสึกสูญเสียจะมีผลตอสุขภาพจิตของผูสูงอายุในระดับสูง อยางไรก็ตามโดยทั่วไปจะ พบวาผูสูงอายุมีความวิตกกังวลทุกขรอนหวงใยลูกหลาน กลัวจะถูกทอดทิ้ง กังวลวาจะไมมีคนดูแล ไปจนถึงความรูสึกเหงาและโดดเดี่ยว หมดกําลังใจและเศราใจบอยๆ และตัวแปลดานสถานภาพ สมรส สภาวะสุขภาพและโรคประจําตัวมีความสัมพันธกับสุขภาพจิตรของผูสูงอายุโดยผูสูงอายุที่ มีคูจะมีสุขภาพจิตรที่ดีกวาผูที่มีสถานภาพโสด หยา มาย ผูที่แข็งแรงมีสุขภาพจิตที่ดีกวาผูที่มี สุขภาพออนแอและมีโรคภัยไขเจ็บ

บทที่ 2 บริบทของชุมชน สภาพทั่วไปของตําบล ตําบลเหลาโพนคอ ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางหางจาก อําเภอประมาณ 9 กิโลเมตร อาณาเขตตําบล มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ตางๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ต.แมดนาทุม อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ทิศใต ติดกับ เทือกเขาภูพาน อ.เตางอย จ.สกลนคร ทิศตะวันออก ติดกับ ต.หนองบอ อ.นาแก จ.นครพนม ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ตองโขบ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร


ภาพประกอบ 1 แผนที่องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูรอน เริ่มประมาณเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือนเมษายน อากาศจะรอนไมมากนัก เพราะติด กับเขตอุทยานภูผายล ฤดูฝน เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ในบางปจะมีฝนตกชุก ในชวงนี้จะ เปนชวงที่ชาวบานกําลังทําสวน ทํานา และทําใหทรัพยากรทางธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ เชน ดิน น้ํา ปา เปนตน ฤดูหนาว เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ อากาศเย็นในบางปอากาศเย็น จัดประมาณ 13Cº เพราะติดกับเขตอุทยานภูผายล และเปนฤดูกาลที่ชาวบานจะเก็บเกี่ยวผลผลิตทาง การเกษตรโดยเฉพาะผลิตจากการทํานา


ภาพประกอบ 2 ลักษณะภูมิอากาศ ประวัติศาสตรตําบลเหลาโพนคอ จากคําบอกเลาจากผูเฒาผูแกในแตละหมูบาน ประชากรตําบลเหลาโพนคอ เดิมอพยพจาก เมืองวังอางคํา ฝงซายของแมน้ําโขง ในสมัยรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 3 แหงกรุงรัตนโกสินทร ประกอบดวยเผาภูไทยอ เปนพื้นที่รอยตอระหวางจังหวัดสกลนครกับจังหวัดนครพนม โดยแยก ออกจากอําเภอเมืองสกลนครมาขึ้นกับกิ่งอําเภอโคกศรีสุพรรณ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2524 ปจจุบันตําบลเหลาโพนคอขึ้นตรงตออําเภอโคกศรีสุพรรณ ในตําบลเหลาโพนคอปจจุบันมีหมูบาน ทั้งหมด11หมูบาน คือ บานโพนคอ หมูที่ 1 บานโพนไฮ หมูที่ 2 บานดง หมูที่ 3 บานหนองเหียน หมู 4 บานเหลา หมูที่ 5 บานหวยยาง หมูที่ 6 บานเหลาเหนือ หมูที่ 7 บานดงนอย หมูที่ 8 บานหวย ยางเหนือ หมูที่ 9 บานโพนสูง หมูที่ 10 บานนอยหนองไผสวน หมูที่ 11 ซึ่งแตละหมูบานในอดีตมีการแยกบานและหาที่ตั้งคือ เริ่มแรกเดิมทียังมีพระธุดงคองคหนึ่ง แขวงเมืองสุวรรณเขต ประเทศลาว ไดเดินธุดงคไปตามวิสัยสมณะบรรพชิตทั้งในปาและในบาน วันหนึ่งพอไปถึงบึงแหงหนึ่ง (นาบึง) อันมีอาณาเขตติดตอกับบานหนองเหียนอุปหาด (คําวา “อุป หาด” เปนชื่อของผูมาตั้งบานหนองเหียนเปนคนแรก)เห็นวาเปนที่อุดมสมบูรณพอที่จะตั้งถิ่นฐาน บานเรือนไดพอพระธุดงคองคนั้นกลับถึงบานก็เลาเรื่องตางๆที่ไดไปพบไปเห็นมาใหพี่นองและ ชาวบานฟงวาไดไปพบเห็นที่อุดมสมบูรณแหงหนึ่งในเมืองไทย ขาวนี้ไดแพรไปถึงบุคคลที่มีชื่อ วา อาญาพระพลและอาญาพระประเทพ ทานทั้งสองไดสอบถามถึงรายละเอียดตางๆ จากผูที่ไป พบเห็นมานั้นเห็นวาเปนความจริง จึงไดรวบรวมสมัครพรรคพวก เผากะเลิงไดประมาณ 8 ครอบครัว นําโดยอาญาพระพลและอาญาพระเทพเปนหัวหนา ขามลําน้ําโขงเดินทางรอนแรมมา จนถึงบานหนองเหียนอุปหาดในระยะนั้นไดพากันหยุดอยูที่นั้น เพื่อจะไดคนหาทําเลอันเหมาะสม พอที่จะตั้งบานเรือนได แลวก็ไดพบลําน้ําแหงหนึ่งชื่อลํา (หวยทรายในปจจุบัน) ทานทั้งสองจึง แยกจากกันออกเปน 2 พวก คือพวกของพระยาเทพไดพากันไปตั้งบานเรือนอยูที่ดอนตากลา ริม หวยทราย ปจจุบันเปนหวยทราย สวนอาญาพระพลนั้นไดพาสมัครพรรคพวกไปตั้งบานเรือนอยูที่ ดงหมน ริมหวยทรายตอนบน เปนสายธารอันเดียวกัน เรียกชื่อวา บานอุมไผนาทาม ปจจุบัน เปนทุงนา แตหมูบา นทั้งสองนี้ไดรับความลําบากมากเพราะอุทกภัย คือพอฤดูฝนน้ําจะทวมแทบ


ทุกป ทําใหการทํามาหากิน การอยูอาศัย การสัญจรไปมาลําบากมากจึงไดพรอมกันเลือกที่ทํามา หากินทําเลใหมใหดีและเหมาะสมกวาเดิม แลวก็ไดพบโนนแหงหนึ่ง มีตนคอมาก เห็นวา เหมาะสมสําหรับจะตั้งบานเรือนได จึงไดพากันอพยพไปตั้งบานเรือนอยูที่โนนคอนั้น เรียกชื่อ บานวา บานโพนคออุมไผ ขึ้นกับอําเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม อาชีพของชาวบานเวลานั้น สวนใหญไดแก การทําไร ตอมามีประชากรเพิ่มมากขึ้นการทําไรก็ขยายออกไปเรื่อยๆ จนมีอาณา เขตกวางขวาง และหางไกลออกไปจากบานเดิม เปนเหตุใหลําบากในการดูแลรักษาพืชไรของตน เมื่อเปนดังนี้ ตางคนก็ตางพากันไปปลูกบานเรือนอยูตามไร ตามสวนของตนเอง ซึ่งยังเปนปาเปน ดงอยูจึงกลายเปนหมูบานเล็กๆ ขึ้นหมูบานหนึ่ง เรียกวา บานเหลา เพราะสถานที่ตงั้ บานเรือน ยัง เปนเหลาเปนดงอยูนั่นเองเมื่อกาลตอมาจึงไดเอาชื่อบานทั้งสองนี้รวมเขากัน เรียกวา บานเหลา โพนคอ หรือตําบลเหลาโพนคอในปจจุบัน บริบททางวัฒนธรรม ในตําบลเหลาโพนคอสวนใหญจะเปนคนภูไท จะถูกอบรมสั่งสอนมา ใหยึดหลักความ ถูกตองในทุกๆเรือ่ ง จะเนนในเรื่องไมใหทําผิดศีลธรรม โดยเฉพาะศีลหา และเนนไมใหไปผิดลูก เขาเมียใคร ผูเฒาผูแกก็จะคอยสั่งสอนลูกหลานใหอยูในธรรมเนียมประเพณีในเรื่องชูสาว เพราะ อาจจะทําใหผิดผีได ผิดผีในที่นี้คือ ผิดประเพณีการปฏิบัติที่ดีงามของบรรพบุรุษ คือ เจาปูแหง หมูบานนั้นเอง ถาทําผิดแลวก็มีความเชื่อวาอาจกอใหเกิดเหตุเภทภัยขึ้นตอผูคนในหมูบานหรืออาจ เกิดเรื่องรายๆขึ้นตอคนในครอบครัวที่ทําผิดนั้นได แตหากมีผูทําผิดประเพณีแลว ตองมีการแกเคล็ด โดยการไหวเจาปู ดวยวิธีการที่บรรพบุรุษสืบถอดกันมาเพื่อประกาศใหคนทั้งหมูบาน และภูตผี เทวดาไดรับรู วาไดทําการขอขมาลาโทษ ตอผูเฒาผูแกที่ตนเคารพนับถือคือสารภาพบาปนั้นเอง ก็ จะไดรับการใหอภัยจากภูตผีเทวดาและจากญาติพี่นองของตนเองรวมไปถึงคนในหมูบานดวย ภาษา ชาวบานในตําบลเหลาจะใชภาษาผูไทและภาษากลางในการสื่อสาร และยังคงรักษา ไวไดดวยดีตลอดมา ภาษาผูไทเปนภาษาที่พูดแปรงไปจากภาษาลาวและภาษาไทยภาคกลาง ซึ่งไม สามารถอธิบายเปนภาษาเขียนได

ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และพิธีกรรม 1. ประเพณีพิธีกรรมที่ทําทั้งตําบล พิธีทิ้งครก ทิ้งสากขอฝน ชาวบานโพนคอ โพนสูง ไดทําพิธีทงิ้ ครก ทิ้งสากขอฝน บริเวณวังเดือนหา อางเก็บน้ําหวย ทราย เนื่องจากในปนี้ชาวบานประสบปญหาฝนทิ้งชวงทําใหอางเก็บแหงขอดไมมีน้ําเพียงพอใน การทํานาจึงไดทําพิธีขอฝนโดยการทิ้งครกทิ้งสาก ซึ่งมีเรื่องเลาวาผีแมหมายทีอยู ่ ในวังเดือนหา (อาง


เก็บน้ําหวยทราย) มาเขาฝนบอกวาอยากไดครกและสากสําหรับไวตําขาว เมื่อไดครกและสากแลว จะชวยบรรดาลใหฝนฝาตกตามฤดูกาล ขาวปลาอาหารอุดมสมบูรณ ชาวบานจึงไดยึดถือปฏิบัติ เรื่อยมาในปที่ฝนแลงก็จะทําพิธีนี้ทุกป

ภาพประกอบ 3 กิจกรรมพิธีทิ้งครก ทิ้งสากขอฝน

พิธขี อฝน หนองกุดแกลบ เปนพิธีกรรมที่ชาวบานในตําบลที่จะทําเปนประจําทุกป มีชาวบานสวนมากจะเปนบานดง นอยที่ไปเขารวมมากที่สุดและจะไปทําพิธีที่สระน้ําหนองกุดแกลบ โดยจะมีการฟอนรํารอบสระน้ํา และก็มีการทํากับขาวไปถวายเพลที่บริเวณนั้นดวย ซึ่งเปนความเชื่อของชาวบานวาทําแลวจะทําให ฝนตกลงมาใหไดทําการเกษตร ซึ่งจะทําเปนประจําทุกป


ภาพประกอบ 4 กิจกรรมพิธีขอฝนที่หนองกุดแกลบ

งานประเพณีสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนจะ ทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุงในชวงบาย พระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความเชื่อวา หากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล

ภาพประกอบ 5 กิจกรรมพิธพี ิธีสรงน้ําพระภู

2. ประเพณีพิธีกรรมที่ทําทุกหมูบาน ประเพณีอันเกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาในบรรดาประเพณีตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ พระพุทธศาสนาดูเหมือนวา “ฮีตสิบสอง” จะเปนประเพณีที่ชาวภูไทรูจักกันดีและปฏิบัติสืบตอกัน มาอยางไมขาดสาย ถึงแมบางฮีตจะถูกลบเลือนและปฏิบัติกันนอยลง หรือไมปฏิบัติเลยก็ตาม แต


บางฮีตก็ไดรับการยอมรับและปฏิบัติการอยางเครงครัดมาถึงปจจุบัน ฮีต ประเพณีที่ปฏิบัติกันทั้ง ตําบลมีดังนี้ เดือนอาย “ทําบุญปใหม” ชาวบานจะไปวัดทําบุญตักบาตร ถวายสังฆทานและมีงานรื่นเริง กัน เดือนสาม “ประทายขาวเปลือก” (บุญกองขาว) และเลี้ยงเจาปูตาในเดือนสามของแตละปจะ มีการเลี้ยงผีปูตา ซึ่งชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซื้อไกทําพิธี โดย มีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักที่เคยนับถือกันมา เดือนสี่ “บุญบั้งไฟ” และหมอเหยา เปนการรักษาคนปวยหรือเรียกขวัญคลายๆ กับพิธีของ ชาวไทยอีสานทัว่ ไป เพื่อเปนกําลังใจใหผูปวยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทําหนาที่เปนลาม สอบถามวิญญาณของบรรพบุรุษ เดือนหา “บุญบั้งไฟ” และสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เปนการขอฝนตามความเชื่อดั้งเดิม โดยชาวบานทั้งตําบลจะตกลงเลือกวันกัน แลวเตรียมอาหารเพื่อนําไปถวายเพล โดยเดินขึ้นไปยัง พระธาตุดอยอางกุง เมื่อพระสงฆฉันเพลเสร็จก็จะทําพิธีที่บริเวณพระธาตุ และก็ใหชาวบานสรง น้ําพระธาตุเพื่อใหเปนสิริมงคล เดือนหก “บุญมหาชาติ” หรือเรียกวา “บุญพระเวส” เปนบุญที่ยิ่งใหญที่สุดของฮีตสิบสองผู ที่มีศรัทธาทั้งหลายจะไปรวมทําบุญกันอยางคับคั่ง ตองเตรียมงานทั้งฝายฆราวาสและฝายสงฆจะ ชวยกันตกแตงประดับธงและตกแตงศาลาธรรมใหมีบรรยากาศคลายกับเรื่องพระเวสสันดร ฝายฆราวาสหญิงตองเตรียมอาหารไวทําบุญและเลี้ยงแขก นิยมทําขนมจีนเปนหลัก แตงคําหมาก กรอกยา ดอกไมธูปเทียน และตักน้ําเตรียมไวใหแขกใช แขกตางหมูบานนอกจากนั้นในวัน “โฮม” นี้ยังตองเตรียมขาวพันกอนเพื่อใชในการแหขาวพันกอนไปถวายพระ ที่ตองทําใหไดถึงพันกอนนั้น เนื่องจากถือวาเปนการบูชา “คาถาพัน” ในการเทศนมหาชาติในวันงานตอนเย็นก็จะมีการแหตน ดอกเงิน และการแหกัณฑจอบกัณฑหลอนรอบหมูบานแลวนําเขามาถวายที่วัดก็เปนเสร็จพิธี เดือนแปด “เขาพรรษา” เปนงานบุญที่ชาวบานไมเคยละเลยตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน วัน เขาพรรษานั้นตอนเชาจะมีการทําบุญตักบาตร โดยนิมนตพระสงฆจาก วัดภูนอย และวัดโพธิ์ชัย ถวายภัตตาหาร ผาอาบน้ําฝน และถวายเทียนพรรษาสําหรับใหพระจุดตลอดพรรษา เดือนเกา “ทําบุญขาวประดับดิน” หรือที่เรียกวา “บุญหอขาว” เปนบุญที่แสดงความกตัญู กตเวทีตอบรรพบุรุษ รําลึกถึงคุณงามความดีที่ไดกระทําตอตนเองเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยูความผูกพัน กันเชนนี้ทําใหระบบเครือญาติไมขาดสาย กําหนดทํากันในวันแรม 14 ค่ําเดือนเกาชาวบานจะนํา ขาวพรอมอาหารคาวหวานที่ทําเปนหอๆ ไปวางไวตามบริเวณสิม วิหาร กิ่งไมพื้นดินหรือลานบาน ในตอนเชามืดแลวกรวดน้ําอุทิศสวนกุศลใหญาติพี่นอง บรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว เพราะเชื่อวาใน วันแรม 14 ค่ําเดือนเกาบรรดาผูลวงลับไปแลวจะถูกปลอยจากนรกขึ้นมารับอาหารจากลูกหลาน นั่นเอง


เดือนสิบ “ทําบุญขาวสาก” ประเพณีการทําบุญขาวสากมีจุดประสงคเชนเดียวกับการทําบุญ ขาวประดับดิน คือ อุทิศเปนทานแดญาติที่ลวงลับไปแลวเชนกัน แตจะทําใหชวงเพล เดือนสิบเอ็ด “ทําบุญกฐิน” เมื่อพระภิกษุสงฆเขาพรรษาตามฮีตที่ 8 และออกพรรษาตามฮีต ที่แลวแสดงวาจําพรรษาครบสามเดือน ก็จะไดรับอานิสงสพรรษาในฮีตที่ 12 นี้ พระพุทธเจาทรง อนุญาตใหพระภิกษุแสวงหาไตรจีวรไดในทายฤดูฝน 1 เดือนเริ่มตั้งแตกลางเดือนสิบเอ็ดถึง กลางเดือนสิบสองเทศกาลนี้เรียกวาเทศกาลกฐิน นอกจากบุญประเพณีตางๆแลวการที่ผูสูงอายุในตําบลไดทํากิจกรรมตางๆแลวผูสูงอายุใน ตําบลยังไดรับการชวยเหลือจากหนวยงานขางนอกที่ผูสูงอายุไดรับ

จํานวนประชากรของตําบล จํานวนประชากรในเขต อบต. 5,809คน และจํานวนหลังคาเรือน 1,325 หลังคาเรือน ตารางแสดง 1. จํานวนและครัวเรืองในตําบลเหลาโพนคอ หมูที่ ชื่อหมูบาน จํานวน จํานวน ชาย หญิง ครัวเรือน ประชากร 1 โพนคอ 168 767 375 392 2 โพนไฮ 55 263 136 127 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ดง 83 289 155 หนองเหียน 144 675 324 เหลา 130 545 257 หวยยาง 185 897 456 เหลาเหนือ 79 414 196 ดงนอย 121 342 164 หวยยางเหนือ 159 804 419 โพนสูง 166 649 325 นอยหนองไผสวน 35 164 85 รวม 1,325 5,809 2,892 ที่มาองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ(พ.ศ. 2554) การรวมกลุมชวยเหลือ มวลชนจัดตั้ง ลูกเสือชาวบาน รุนที่ 6779/1 จํานวน 288 คน รุนที่ 2 จํานวน 120 คน

134 351 288 441 218 178 388 324 79 2,917


รุนที่ 3 จํานวน 50 คน ไทยอาสาปองกันชาติ รุนที่ 1242/2528 จํานวน 300 คน กองหนุนเพื่อความมั่นคงแหงชาติ จํานวน - คน อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน 2 รุน จํานวน 113 คน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม) จํานวน 98 คน ชมรมผูสูงอายุ จํานวน 164 คน หนวยกูชีพ กูภัยและหนวยแพทยฉุกเฉิน จํานวน 150 คน กลุมบานพักโฮมสเตย จํานวน 11 ครัวเรือน อาสาสมัครนําเที่ยว จํานวน 10 คน การตั้งกลุม

ภาพประกอบ 6 กลุมไวน ภาพประกอบ 7 กลุมเพาะพันธกลาไม กลุมทําไวนและน้ําหวานบานเหลาเหนือ สถานที่ตั้ง : 95/1 หมู 7 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร 47280 ผูนําชุมชนและกลุม : นายฮงชัย ขันทีทาว กลุมน้ําดื่มออมทรัพย สถานที่ตั้ง : 82 เหลา หมู 5 ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร 47280 ผูนําชุมชนและกลุม : นายบานเย็น คําเพชรดี กลุมเพาะพันธุกลาไม สถานที่ตั้ง : หมู9 บานหวยยาง ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร 47280 ผูนําชุมชนและกลุม : นายเริง ยางธิสาร โครงสรางอํานาจทางการเมืองการปกครอง ในตําบลเหลาโพนคอจํานวน 11 หมูบานมีการอํานาจในการการปกครองของแตละหมูบาน คือ ตาราง 2. แสดงรายชื่อผูนําหมูบาน


ชื่อ-สกุล ตําแหนง หมูที่ ชื่อหมูบาน นาย เหรียญทอง พลราชม กํานัน 1 บานโพนคอ นาย อุทัย พลราชม ผูใหญบาน 2 บานโพนไฮ นาย ทองพูน ทวีสุข ผูใหญบาน 3 บานดง นาย วารินทร จันทะวงศ ผูใหญบาน 4 บานหนองเหียน นาย บานเย็น คําเพชรดี ผูใหญบาน 5 บานเหลา นาย พายับ โตะชาลี ผูใหญบาน 6 บานหวยยาง นาย นรงค กันหา ผูใหญบาน 7 บานเหลาเหนือ นาย วิพล หาญชนะ ผูใหญบาน 8 บานดงนอย นาย ทวีชัย ยางธิสาร ผูใหญบาน 9 บานหวยยางเหนือ นาย วีราวัตน เทือกตาหลอย ผูใหญบาน 10 บานโพนสูง นายประเวส ศรีกะษร ผูใหญบาน 11 บานนอยหนองไผสวน ที่มา: องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ(พ.ศ. 2555) ขอมูลอาชีพของตําบล อาชีพหลัก ทํานา ทําสวน ทําไร

ภาพประกอบ 8 อาชีพทํานา ชาวบานสวนใหญที่อยูบานจะเปนผูสูงอายุเปนสวนใหญและจะดํารงอาชีพทําการเกษตร เปนหลักเพราะวาถาเปนวัยทํางานสวนใหญก็จะไปทํางานในเมืองไมไดทําการเกษตรเหมือนแต กอนทําใหผูที่อยูบานตองทําการเกษตรไปเรื่องรวมทั้งสภาพภูมิอากาศเปนที่เอื้อตอการทํา การเกษตรและไดผลผลิตดีสวนการทํานานั้นชาวบานสวนใหญจะไมคอยไปรับจางจะเปนการไป ชวยแรงทําใหเพื่อนบานแลวเพื่อนบานนั้นก็จะมาชวยกลับ อาชีพเสริม เลี้ยงสัตว


ชาวบานที่อยูกับบานสวนใหญจะมีการเลี้ยงสัตวเปนอาชีพเสริมจากรองจากการทํา การเกษตรเพื่อที่จะไดเลี้ยงไวเปนอาหารและไวขายเสริมรายไดสวนสัตวเลี้ยงที่มีชื่อเสียงและเลี้ยง มากที่สุดคือโคขุน สถานบริการของรัฐ 1. การบริการดานความจําเปนขั้นพื้นฐาน มีดังนี้

ภาพประกอบ 9 รพสต.

ภาพประกอบ 10 แจกเบี้ยยังชีพ

1.1 การบริการดานสุขภาพ ในการใหการบริการดานสุขภาพของรัฐ หนวยงานที่ใหการ บริการ คือ โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเหลาโพนคอ และ อาสาสมัครสาธารณสุขและผูดูแลผูสูงอายุประจําหมูบานและการชวยเหลือจากองคการบริหารสวน ตําบลเหลาโพนคอซึ่งมีรถบริการฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง 1.2 การใหบริการเบี้ยยังชีพ แกผูพิการและคนชรา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ จะเปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการใหบริการเบี้ยยังชีพแกชุมชน ในรอบ 1 ป จะใหบริการทุก เดือน

การศึกษา


ภาพประกอบ 11 โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 3 แหง คือ  โรงเรียนบานหวยยาง ใหการบริการดานการศึกษาตั้งแตระดับ อนุบาลจนถึงระดับ มัธยมศึกษาปที่ 3  โรงเรียนบานเหลาโพนคอเหลาราษฎรวิทยา ใหการบริการดานการศึกษาตั้งแต ระดับ อนุบาลจนถึงระดับ มัธยมศึกษาปที่ 6  โรงเรียนดงหนองเหียน ใหการบริการดานการศึกษาตั้งแตระดับ อนุบาลจนถึง ระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่อานหนังสือประจําหมูบาน 7 แหง โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 2 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 2 แหง จะอยูที่บานหวยยาง 1 แหงและบานหนองเหียน 1 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เปนการใหบริการ การศึกษาเด็กกอนวัยเรียน ตั้งแตอายุ 2 ปถึง 4 ป

ขอมูลผลิตภัณฑที่นาสนใจ


เพาะชํากลาไม กลาไมนานาชนิด ไมดอก ไมประดับ รวมทั้งพืชสวนครัวใชถุงพลาสติกบรรจุ แกลบเผานําเมล็ดลงกลาในถุงประมาณ 1 เดือน จะไดตนกลา นําไปจําหนายได (แลวแตประเภท ของพืชชนิดนั้นที่ใชระยะเวลาในการเพาะ) เครื่องดื่มที่มีการจัดตั้งกลุมในตําบล 1. น้ําหมากเมาพรอมดื่ม 2. น้ําดื่มออมทรัพย ขอมูลแหลงทองเที่ยว อางเก็บน้ําหวยโท หวยยาง ตั้งอยูทางทิศใตของบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ เปนอางเก็บน้ําฝายดิน ขนาด บรรจุ 200,000 ลูกบาตรเมตร เปนอางเก็บน้ําเพื่อใชในการเกษตรกรรม อางเก็บน้ําหวยโท หวยยางเปนแหลงน้ําที่ติดอยูแนวภูเขา (เขาดอยอางกุง) เปนแหลงทองเที่ยวที่ สวยงามมากเวลาน้ํามาในฤดูฝน สามารถพายเรือเที่ยวชมทิวทัศนได สถานที่ทองเที่ยวปาโลกลานป  ลองเรือชมทัศนียภาพโดยรอบอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ระยะทางนั่งเรือจากจุดชม วิวอาง เก็บน้ําหวยโท หวยยางถึง ทามวง 1.32 กิโลเมตรทามวง 1.32 กิโลเมตร  สนุกสนานกับการเลนน้ําตกศรีตาดโตน ระยะทางเดินจากทามวงถึงน้ําตกศรีตาด โตน 1.86 กิโลเมตร  พักแรมจุดชมวิวภูผาเจื่อน  ชมจุดพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ปาโลกลานป  กราบนมัสการพระอรหันตธาตุ 24 พระองค ที่พระธาตุดอยอางกุง  ลอดถ้ําใตบาดาล ที่ถ้ําอางกุง กราบนมัสการหลวงปูภา พระผูทรงอภิญญาแหงถ้ําผาเก


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.