1
ประวัติและความเปนมาของ องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ
กลาไมพันธุดี ผาไหมมัดหมี่งาม ระบือนามไกชน ทองถิ่นคนธรรมะ ภูพระธาตุดอยอางกุง ตําบลเหลาโพนคอ ตั้งอยูทางทิศตะวันออก ของอําเภอโคกศรีสุพรรณ มี ระยะทางหางจากอําเภอประมาณ 10 กิโลเมตร และหาง จากจังหวัดสกลนครประมาณ 30 กิโลเมตร ตําบลเหลา โพนคอ มีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 14,636 ไร เปนพื้นที่ทําการเกษตร 9,787 ไร ชาวตําบลเหลาโพน คอ เปนชนเผาภูไทที่อพยพขามแมน้ําโขงมาตั้งแตสมัย รัชกาลที่ 3 จากกลุมเล็กๆและขยายใหญขึ้นเรื่อยๆ จน ปจจุบันมีประชากรทั้งสิ้น 5,809 คนแยกเปนชาย 2,892 คน หญิง 2,917 คน แบงการปกครองออกเปน 11 หมูบาน การพัฒนาตําบลเหลาโพนคอนั้นไดยึดหลักวิสัยทัศนที่วา ประชาชนจะไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ดวยการนํา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ภายใตการบริหาร จัดการที่ดี องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอเปนหนวย การบริหารราชการสวนทองถิ่น มีฐานะเปนนิติบุคคลและ ราชการสวนทองถิ่น หลังจากเหตุการณพฤษภาทมิฬใน พ.ศ.2535 กระแสการปฏิรูปการเมืองไดกอตัวขึ้นอยาง รวดเร็ว มีการเรียกรองใหมีการปฏิรูปการเมืองในหลายๆ ดาน และดานหนึ่งคือการเรียกรองใหมีการกระจายอํานาจ ดังนั้นในป 2537 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสภา ตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2537 และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม
พ.ศ.2538[4] โดยสาระสําคัญของกฎหมายฉบับดัง กลาวคือการยกฐานะสภาตําบลที่มีรายไดโดยไมรวมเงิน อุดหนุนในปงบประมาณที่ลวงมาติดตอกันสามปเฉลี่ยไมตํา กวาปละ 150,000 บาท สามารถจัดตั้งเปนองคการบริหาร
สวนตําบลได ในสวนขององคการบริหารสวนตําบลเหลา โพนคอไดยกฐานะจากสภาตําบลเปนองคการบริหารสวน ตําบล เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๐ โครงสรางขององคการบริหารสวนตําบลตาม พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 ประกอบดวยสภาองคการบริหารสวนตําบลและ คณะกรรมการบริหาร สภาองคการบริหารสวนตําบล ประกอบดวยสมาชิกสภาสองประเภท ประเภทแรกเปน สมาชิกสภาโดยตําแหนง ประกอบดวย กํานัน ผูใหญบาน ทุกหมูบาน และแพทยประจําตําบล ประเภทที่สองเปน สมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนหมูบา นละ 2 คน สวนคณะกรรมการบริหารประกอบดวย กํานันเปน ประธานโดยตําแหนง ผูใหญบานอีกไมเกิน 2 คน และ สมาชิกสภาที่มาจากการเลือกตั้งอีกไมเกิน 4 คน รวมแลว มีคณะกรรมการบริหารไดไมเกิน 7 คน[5]
ตอมาในป พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติสภาตําบล และองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 ไดมีการแกไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหาร สวนตําบล พ.ศ.2542 (ฉบับที่ 3) เพื่อใหสอดคลองกับ บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ 2540 ในหมวด 9 วาดวยการ ปกครองสวนทองถิ่น มาตรา 285 ที่กําหนดใหองคกร ปกครองทองถิ่นตองมีสภาทองถิ่นและคณะผูบริหาร