กลุ่มทอผ้าไหม ประวัติการก่อตั้งกลุ่ม ในปีพ.ศ.2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชด้าเนินมาเปิดอ่างเก็บน้าห้วยโท – ห้วยยาง ด้วยพระองค์เอง และพบว่าประชาชนบ้ านห้ วยยางประสบปัญ หากับภัยธรรมชาติ คือ น้าท่วมมากถึง 31 ครอบครัว จึงมีพระราชด้าริให้อาชีพแก่ชาวบ้านที่ประสบภัย โดยส่งเสริมให้มีการทอผ้าไหมเป็นอาชีพเสริมเพื่อ ท้าให้ ประชาชนมีอาชีพติดตัว กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยยาง หมู่ท6ี่ เดิมรวมทัง 2 หมู่เข้าด้วยกันเริ่มก่อตังปี พ.ศ.2531 มีสมาชิก 31 ครอบครัว ปีพ.ศ.2553 ได้แบ่งกลุ่มออกจากกันอย่างชัดเจน ซึ่งกลุ่มทอผ้าไหมบ้าน ห้ ว ยยางหมู่ที่ 6 มีน างเรณู ยางธิส าร เป็ น ประธานกลุ่ ม และนางธิรัก ยางธิส ารเป็น รองประธานได้รับการ สนับสนุนไหมหลวง มีสิบเอกนาวี หันโยธา เป็นผู้ประสานงาน เพื่อน้าไปขายยังสวนจิตรลดาเมื่อเริ่มก่อตังใน ตอนแรกได้มีครู 2 คน จากศูนย์ศิลปาชีพกุดนาขามมาสอน 15 วัน พร้อมทังมอบอุปกรณ์ทุกอย่างให้แก่สมาชิก 31 ครอบครัว ในตอน 3 ปีแรกที่เริ่มทอผ้าไหมนัน มีการสนับสนุนให้ทางกลุ่มมีการปลูกหม่อนเลียงไหมเอง แต่ เมื่อเข้าไปส่ งผ้ าไหมที่พ ระต้าหนั กภูพาน ก็ได้มีการสะท้อนปั ญ หาว่าไม่มีพืนที่ในการปลู กต้นหม่อน ท้าให้ ปรับเปลี่ยนโดยมอบไหมหลวงให้แทน ในตอนแรกให้ไหมหลวงสมาชิกคนละ 1 กิโลกรัมปีละ 3 ครัง เมื่อปีพ.ศ.2549 สมาชิกได้รับไหมหลวงเพิ่มเป็นครังละ 2 กิโลกรัมได้รับปีละ 2 – 3 ครัง ลักษณะ ของไหมหลวงเส้นบาง ดึงด้วยมือ เส้นไม่เสมอ เมื่อจะทอผ้าไหม ไหมหลวงจะใช้ทอในทางต่้า และสมาชิกส่วน ใหญ่ต้องลงทุนซือไหมโรงงาน เพื่อน้ามาทอผ้าไหมทางไส้ แต่เมื่อน้าไหมหลวงมาใช้ทังทางต่้าและทางไส้ พบว่า ไหมจะพันกันท้าให้เสียเวลาในการทอ จึงไม่นิยมใช้ไหมหลวงในทางไส้ แต่ละครังทอได้ 8 – 10 เมตร แต่เมื่อ สมาชิกอยากจะน้าไหมโรงงานที่ทอเป็นผ้าไหมแล้วน้าไปขายพร้อมกับผ้าไหมจากไหมหลวงก็ได้ ซึ่งราคาไหม ของตนเองซือนันจะมีราคาที่แพงกว่า โดยจะมีสิบเอกนาวี หันโยธาเป็นผู้ประสานงานกับกลุ่มทอผ้าไหมในการ ให้ตัวแทนกลุ่มไปรับไหมหลวงที่ภูพาน และเข้ามารับผ้าไหมที่กลุ่มเพื่อน้าไปขายที่สวนจิตรลดาแต่เดิมการขาย ผ้าไหมนัน สมาชิกทุกคนที่รับไหมหลวงต้องน้าผ้าไหมไปขายเองที่พระต้าหนักภูพาน ช่วงเวลาปลายปีเนื่องจาก สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จมาประทับยังพระต้าหนัก ท้าให้มีการจัดจ้าหน่าย แสดงผ้าไหม จากทั่วภาค อีสาน สมาชิกต้องไปขายโดยผู้ซือนันจะเป็นคนให้ราคาเอง ใช้ระยะเวลาขายประมาณ 3-4 วัน โดยส่วนมากคน ทีซ่ ือจะเป็นผู้ติดตามเสด็จ แต่ถ้าบุคคลอื่นต้องการซือก็สามารถขายได้ แต่เมื่อสมเด็จพระพี่นางฯ เสด็จสวรรคต อีกทังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ทรงพระประชวรท้าให้สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ไม่ได้เสด็จมาประทับพระ ต้าหนักภูพานฯ สมาชิกที่ทอผ้าไหมขายนันเมื่อสิบเอกนาวี หันโยธาติดต่อมาจะต้องน้าผ้าไหมไปรวมกันที่ศูนย์ ห้วยหีบ โดยผ้าไหมแต่ละผืนจะมีการจดรายละเอียดไว้ติดที่ผ้าไหมไว้ ผ้าไหมก็จะน้าไปยังสวนจิตรลดา ส่วน ราคาผ้าไหมที่ใช้ไหมหลวงทอลายพืนเมตรละ 150 บาท ลายหมี่เมตรละ 300 บาท แต่ไหมอุตสาหกรรมลาย พืน 10 เมตรราคา 1800 บาทปีพ.ศ.2551 ได้มีการให้สมาชิกกลุ่มทอผ้าไหมในบ้านห้วยยางหมู่ท6ี่ สมัครเป็น สมาชิกในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ปัจจุบันสมาชิกที่ขึน ทะเบียนมี24 คน ซึ่งเมื่อเสียชีวิต จะได้รับค่าฌาปนกิจศพๆละ 5,000 บาท และก้าลังจะมีการออมทรัพย์ เกิดขึนในโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พัฒนาการการเรียนรู้ของกลุ่ม จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่ม ผู้รู้ และผู้น้าชุมชน ผู้ศึกษาพบว่า ตังแต่กลุ่มทอผ้าไหมเริ่มก่อตังมา จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 23 ปี เกิดการเรียนรู้ของกลุ่มคือการใช้ทักษะฝีมือของตนเองที่จะทอผ้าไหมโดย ได้รับการถ่ายทอดจาก แม่ รุ่นสู่รุ่น และเกิดการเปลี่ยนแปลงคือสมาชิก เริ่มแรกทัง 2 หมู่รวมเข้าด้วยกัน เนื่องจากประสบกับน้าท่วมจึงเกิดเป็นกลุ่มทอผ้าไหมขึนมี 31 ครอบครัวมีดังนี 1.นางเรณู ยางธิสาร 2.นางนวม ยางธิสาร