พื้นฐาน: การออกแบบสถาปัตยกรรม (Basics: Architectural Design)

Page 19

รูปที่ 9 ภาพร่างแสดงผลแบบต่าง ๆ ของหอประภาคาร

ภูมิทัศน์และภูมิอากาศ

(Landscape and climate)

การศึ ก ษาภู มิ ทั ศ น์ ใ นภาพที่ ก ว้ า งออกไปกว่ า ขอบเขตที่ ดิ น เพี ย ง อย่างเดียว ทำ�ให้เกิดเป็นกลวิธีในการออกแบบที่หลากหลาย ตั้งแต่ การออกแบบให้ อ าคารตั้ ง เป็ น จุ ด เด่ น   ไปจนถึ ง ความพยายามใน การลดทอนอาคารที่โดดเด่น  ให้เป็นอาคารที่ปรับตัวเข้ากับสภาพ แวดล้อม สภาพภูมิประเทศของขอบเขตที่ดินเป็นตัวตัดสินว่าการออกแบบจะ ถูกนำ�มาบูรณาการกับภูมิทัศน์ได้อย่างไร  ไม่ว่าที่ดินนั้นจะแบนราบ สมบูรณ์ ลาดเอียง ลดหลั่น เป็นขั้นบันได หรือเป็นเนิน ภูมิประเทศ ก็ยังคงมีผลต่ออาคารและความเกี่ยวพันระหว่างที่ว่างภายใน  และ ภายนอก  ลักษณะของผืนดินยังมีอิทธิพลต่อรูปแบบการวางผังของ พื้นแต่ละชั้นในอาคาร > รูปที่ 10 ยกตัวอย่างเช่น ความต่างระดับ ภายนอกของพื้นที่ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับภายในอาคาร และทางเข้า สามารถจัดวางเพื่อให้สามารถใช้เป็นทางเข้าออกไปสู่ทางสาธารณะ ได้ > อ่านต่อในบท การออกแบบกับบริบท, การวางผังเมืองและบริบททางสถาปัตยกรรม โดยธรรมชาติแล้ว  หากมีความจำ�เป็นในทางการออกแบบ  เราก็ สามารถทำ � การจั ด ภู มิ ทั ศ น์ ที่ ดิ น ได้   โดยทั่ ว ไปอาคารสามารถถู ก ออกแบบให้ ต อบสนองต่ อ สภาพภู มิ ป ระเทศ  หรื อ แม้ ก ระทั่ ง ถู ก ออกแบบให้ ล้ อ ไปกั บ มั น ได้   อย่ า งไรก็ ต ามสถาปนิ ก ก็ ยั ง สามารถ พิจารณาและเลือกสร้างสรรค์ชิ้นงานที่สามารถอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง และมีการใช้งานที่แยกออกมาจากสภาพภูมิประเทศ  ก่อเป็นการ แบ่งแยกอย่างชัดเจนระหว่างสภาพแวดล้อมและสิ่งสร้างสรรค์ทาง สถาปัตยกรรม

ภูมิประเทศ

31


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.