NITHI FINAL SKETCHBOOK SPECIAL EDITION : SALUTE TO AJARN SOMTHAVIL URASYANANDANA

Page 1


Nithi Sthapitanonda NITHI FINAL SKETCHBOOK SPECIAL EDITION “SALUTE TO AJARN SOMTHAVIL URASYANANDANA , NATIONAL ARTIST” First published 2024 Copyright Text & Sketchs © Nithi Sthapitanonda Published by Nithi Sthapitanonda Distributed by: Li-Zenn Publishing Author Nithi Sthapitanonda Professor Emerita Lersom Sthapitanonda Managing Editor Suluck Visavapattamawon Publication Design & Concept Nithi Sthapitanonda Graphic Designer Kanha Urasyanandana Translator Vilasinee Nitisopon Editorial Assistants & Advertising Poonnabha Riantthong Proofreader (Thai) Professor Emerita Lersom Sthapitanonda Proofreader (English) Vilasinee Nitisopon Ceramic Photographers Aroon Permpoonsophon Krisada Boonchaleow Sketch Illustrations Nithi Sthapitanonda Portrait Sketches Arrak Ouiyamaphan All rights reserved. No part of this publication may be reproduced or utilized in any form or by any means-graphic, electronic or mechanical, including photocopying, recording, taping or by any information storage and retrieval systems without prior written permission from author. National Library of Thailand Cataloging in Publication Data Nithi Sthapitanonda. NITHI FINAL SKETCHBOOK: SPECIAL EDITION SALUTE TO AJARN SOMTHAVIL URASYANANDANA -- Bangkok : Li-Zenn, 2024. 152 p. 1. Architectural drawing. 2. Drawing. 3. Delineation I. Title. 720.284 ISBN 978-616-459-073-1 Printed by Tiger Printing (Hong Kong)

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 2

11/27/2023 2:37:22 PM


SPECIAL EDITION

SALUTE TO AJARN SOMTHAVIL URASYANANDANA NATIONAL ARTIST IN MODERN POTTERY AND PIONEER IN CERAMICS EDUCATION IN THAILAND NITHI STHAPITANONDA PROFESSOR EMERITA LERSOM STHAPITANONDA

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 3

11/27/2023 2:37:23 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 4

11/27/2023 2:37:28 PM


5

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 5

11/27/2023 2:37:33 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 6

11/27/2023 2:37:34 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 7

11/27/2023 2:37:35 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 8

11/27/2023 2:37:36 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 9

11/27/2023 2:37:37 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 10

11/27/2023 2:37:39 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 11

11/27/2023 2:37:40 PM


12

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 12

11/27/2023 2:37:40 PM


บทนำ� ผมได้เขียนหนังสือ ชื่อ Nithi Final Sketchbook ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) หนังสือ ทุกเล่มเป็นหนังสือทีร่ วบรวมภาพเขียนลายเส้นของผม ทีท่ �ำขึน้ ในช่วงทีผ่ มเกษียณจากการท�ำงานวิชาชีพ สถาปัตยกรรม ผลงานส่วนใหญ่ที่รวบรวมไว้ในหนังสือ เป็นผลงานภาพเขียนที่ได้มาจากการเดินทาง ท่องเที่ยว ทั้งในประเทศและต่างประเทศ พบเห็นสิ่งใดที่ประทับใจ ผมมักจะถ่ายภาพเก็บไว้และกลับมา เขียนเป็นภาพสเก็ตช์ลายเส้นละเอียด เมื่อเขียนได้หลายๆ ภาพ ผมก็น�ำมาพิมพ์รวบรวมไว้ในหนังสือ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปี พ.ศ. 2566 ผมพิมพ์เป็นหนังสือได้ถึง 5 เล่ม ด้วยเมื่อเกษียณจากการท�ำงาน วิชาชีพแล้ว ผมมีเวลาว่างและยังมีพละก�ำลังที่จะหางานอดิเรกท�ำ และแน่นอนว่าผมยังรักการเขียนภาพ ลายเส้นของผม และใช้เวลาช่วงนี้เขียนภาพต่อเนื่องและมีความสุขที่ได้ท�ำงานที่รักเหล่านี้ ผลงานต่างๆ ที่ปรากฎในหนังสือเกิดขึ้นจากแรงศรัทธาในงานที่ท�ำ ไม่มีเรื่อง “เวลา” มาบังคับให้ต้องท�ำงานตาม กรอบเวลาที่ถูกก�ำหนดไว้ หรือ ต้องท�ำเพื่อผลประโยชน์ตอบแทนใดๆ การเขียนภาพของผมได้ด�ำเนิน ต่อเนื่องจนผ่านช่วงเวลาวิกฤตครั้งใหญ่ของประเทศไทย และของโลก คือ ช่วงเวลาที่เกิดโรคระบาด โควิด 19 ที่มีผลท�ำให้ผมและผู้คนไม่สามารถเดินทางท่องเที่ยวไปในที่ใดได้ นอกจากกักตัวอยู่กับบ้าน นานร่วม 3 ปี และเป็นช่วงเวลาที่ผมไม่มีข้อมูลใดๆ ที่จะน�ำมาเขียนภาพได้

13

จนถึงต้นปี พ.ศ. 2566 (ค.ศ. 2023) ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่การระบาดของเชื้อโควิด 19 เริ่มคลี่คลาย ผู้คน เริ่มปรับตัวและวางระบบการใช้ชีวิต “New Normal” กันได้อีกครั้ง ผมเริ่มหาค�ำตอบให้กับชีวิตใหม่ ออกเดินทางไปเยีย่ มเยือนเพือ่ นฝูงเก่าๆ ออกไปเยีย่ มชมสถานทีเ่ ก่าๆ ทีเ่ คยผูกพันและประทับใจ จนวันหนึง่ ผมได้ไปเยี่ยมบ้านอาจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์ อดีตอาจารย์ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งได้ล่วงลับไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ที่บ้านของอาจารย์ อาจารย์ได้เคยเปิดเป็นสตูดิโอสอน งานเครื่องปั้นดินเผา สอนลูกศิษย์มาอีกหลายรุ่นหลังจากอาจารย์เกษียณอายุจากราชการ การไปเยี่ยม บ้านและสตูดิโอในครั้งนี้ ผมได้พบเห็นสภาพของสตูดิโอของอาจารย์ยังคงเก็บรักษาไว้อย่างดี รวมทั้ง ผลงานเครื่องปั้นดินเผาชิ้นเอกๆ ของอาจารย์ ได้ถูกเก็บรักษาไว้ในตู้โชว์มากมายหลายชิ้น ผลงานทุกชิ้น ยังอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ และสวยงาม ท�ำให้ผมร�ำลึกถึงช่วงเวลาที่เคยสัมผัสการท�ำงานของอาจารย์ ตัง้ แต่สมัยทีอ่ าจารย์ยงั สอนลูกศิษย์ทคี่ ณะฯ และได้เห็นอาจารย์น�ำผลงานออกมาจัดแสดงให้นสิ ติ นักศึกษา ได้ชื่นชมกัน ผลงานที่สวยงามเหล่านี้ได้ถูกเก็บรักษาไว้อย่างดี ผู้คนรุ่นหลังๆ ไม่มีโอกาสได้เห็น ผลงาน ทุกชิน้ ล้วนเป็นอมตะ สวยสง่า ผลงานบางชิน้ มีอายุกว่า 60 ปี อาจารย์สมถวิล ได้เสียชีวติ ไปแล้วกว่า 14 ปี อาจารย์เป็นครูบาอาจารย์ที่เป็นแบบอย่าง อาจารย์มีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ให้กับลูกศิษย์ จนถึงวันสุดท้ายของการใช้ชีวิต

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 13

11/27/2023 2:37:41 PM


ผมได้รจู้ กั อาจารย์สมถวิล อุรสั ยะนันทน์ มากว่า 50 ปี ตัง้ แต่สมัยทีเ่ รียนทีค่ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมีโอกาสได้ไปเยีย่ มเยือนสตูดโิ อของอาจารย์ทเี่ ปิดสอนงานปัน้ ทีบ่ า้ น จนถึง ช่วงเวลาที่อาจารย์ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาออกแบบอุตสาหกรรม) จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และได้รับพระราชทานรางวัลเป็นศิลปินแห่งชาติ (สาขาออกแบบอุตสาหกรรม) ผมได้ สัมผัสการท�ำงานและได้เห็นผลงานของอาจารย์ต่อเนื่องมาหลายสิบปี ช่วงเวลาที่อาจารย์มีชีวิตอยู่นั้น อาจารย์ไม่มีโอกาสได้ท�ำหนังสือรวบรวมผลงานออกแบบเครือ่ งปัน้ ดินเผาเผยแพร่ให้คนรุน่ หลังได้ศกึ ษา หาความรู้ ผมจึงถือโอกาสนีส้ บื ทอดแนวคิดและเจตนารมณ์ของอาจารย์ โดยจัดพิมพ์หนังสือชุด Nithi Final Sketchbook อีกเล่มหนึง่ เป็นพิเศษ เพือ่ ระลึกถึงอาจารย์ในฐานะผูร้ ว่ มก่อตัง้ ภาควิชาทีม่ กี ารเรียน การสอนสาขาวิชาเครือ่ งปัน้ ดินเผาขึน้ เป็นแห่งแรกในประเทศไทยทีค่ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และเป็นการรวบรวมผลงานชิน้ เอกๆ ของอาจารย์ให้ลกู ศิษย์และผูท้ สี่ นใจในงานปัน้ ได้ทราบ เรื่องราวแนวคิดของอาจารย์ และเพื่อให้ทุกคนได้เห็นผลงานที่เป็นอมตะเหล่านี้อีกครั้งหนึ่ง 14

ผมหวังเป็นอย่างมากว่า การจัดพิมพ์หนังสือเล่มพิเศษนีจ้ ะเป็นประโยชน์แก่วงการการเรียนการสอนวิชา เครื่องปั้นดินเผาสมัยใหม่ในประเทศไทย และเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจการเรียนรู้งานเครือ่ งปัน้ ดินเผา ในโอกาสต่อๆ ไป ในหนังสือเล่มนี้ ผมได้เขียนภาพสเก็ตช์ลายเส้นผลงานเซรามิกของอาจารย์ เพื่อประกอบ กับภาพถ่ายผลงานของจริง ทุกเส้นสายที่เขียนขึ้นมาสัมผัสได้ถึงความมุ่งมั่นและความประณีตบรรจง ในการท�ำงานของอาจารย์ ภาพเขียนลายเส้นเหล่านี้ผมตัง้ ใจให้หนังสือดูนา่ สนใจ และน่าติดตามมากขึน้ ทัง้ ยังท�ำให้ได้ร�ำลึกถึงดวงวิญญาณของอาจารย์ผ่านเส้นสายของลายเส้นที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ ขอขอบคุณทายาทของอาจารย์ทกุ ๆ คน ทีส่ นับสนุนการจัดท�ำหนังสือเล่มนีจ้ นส�ำเร็จตามเจตนารมณ์ทกุ ประการ และขอขอบคุณผู้ที่ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์จนหนังสือส�ำเร็จออกมาได้อย่างงดงาม นิธิ สถาปิตานนท์

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 14

11/27/2023 2:37:41 PM


Introduction I have been authoring the Nithi Final Sketchbook series continuously since 2013. Each volume is a compilation of sketches that I worked on after my retirement from professional architecture. Some of the drawings were inspired by my travels, both domestically and abroad. I often took photos of things that impressed me and sketched from these images once returning home. Between 2013 and 2023, I compiled five volumes as I began to have more free time in my retirement and still had the energy to pursue new hobbies. Sketching has remained my passion. Being able to spend my time sketching continuously has given me great joy. The result is a series of books which are born from faith in one’s work, unbridled by a set timeframe, and without an expectation of any returns. I continued to sketch through a critical time for Thailand and the world – the Covid-19 pandemic. During this time, I and many others were unable to travel at all. We were confined to our homes, and I had no input material to fuel my drawings. At the beginning of 2023, the Covid-19 pandemic situation began to improve, life adjusted and returned to a “New Normal”. I began to explore the new meaning of life, visiting old friends, and re-visiting places that I had been before, places close to my heart, where I had fond memories. One day I visited Professor Somthavil Urasyanandana’s home. She was a former professor at Chulalongkorn University’s Faculty of Architecture who passed away in 2009. Professor Somthavil also used her home as a studio where she taught pottery and ceramics to generations of students after her retirement. During this visit, I found that her studio had been very well kept along with many of her beautiful works which were stored in display cabinets in excellent condition. This brought back memories of when I was able to observe her as she worked, from the time when Professor Somthavil was teaching at the Faculty of Architecture and exhibited her work for the students to admire. These pieces of work, some of which are over 60 years old, were well preserved but, unfortunately, no one has since had a chance to see them. Professor Somthavil passed away 14 years ago and was a model educator whose determination to transmit her knowledge to her students endured right up to her final moments.

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 15

15

11/27/2023 2:37:42 PM


16

I knew Professor Somthavil Urasyanandana for over 50 years, from my days as a student in the Faculty of Architecture at Chulalongkorn University, when I had the opportunity to visit her home studio where she taught pottery, to when Professor Somthavil was awarded an honorary doctorate in Industrial Design from Chulalongkorn University and honored as a National Artist in Applied Arts (Industrial Design). I was able to continuously observe her closely as she worked and saw many of her completed pieces over several decades. In her lifetime, Professor Somthavil did not have the opportunity to compile a book of her works 66for future generation to study and learn from, thus, I have taken it upon myself to inherit and share her thoughts and ideals through the Nithi Final Sketchbook series in a special volume that pays tribute to Professor Somthavil who was the founder of Thailand’s first Pottery syllabus at the Faculty of Architecture in Chulalongkorn University.This compilation of Professor Somthavil’s masterpieces offers students and pottery aficionados the opportunity to acquaint themselves with Professor Somthavil’s ideas and admire her ageless works once again. I sincerely hope that the publication of this special volume will be instrumental to the instruction of modern pottery and ceramics in Thailand and will be useful to those interested in learning more about ceramics. This volume includes my sketches of Professor Somthavil’s ceramic works alongside photographs of the actual pieces. Each pen stroke seeks to convey the determination and delicacy embodied in the way in which Professor Somthavil created her works, and it is my intention to make this publication more interesting and intriguing, memorializing Professor Somthavil through the pen stokes of the sketches in this book, I would like to thank all of Professor Somthavil’s descendants who supported the compilation of this volume as intended, as well as all those who lent their support to the successful publication of this book. Nithi Sthapitanonda

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 16

11/27/2023 2:37:45 PM


17

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 17

11/27/2023 2:37:49 PM


18

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 18

11/27/2023 2:37:53 PM


Contents 12-17

บทน�ำ

22-27

แนวทางการท�ำงาน และหลักปรัชญาการสอนลูกศิษย์ ของอาจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์

28-29

ประวัติรองศาสตราจารย์ สมถวิล อุรัสยะนันทน์ ศิลปินแห่งชาติ และผู้บุกเบิกการเรียนการสอนสาขาวิชาเซรามิกแห่งแรกของประเทศไทย

Introduction The Work Ethic and Philosophy Transmitted to Students by Ajarn Somthavil Urasyanandana

Associate Professor Somthavil Urasyanandana

National Artist and pioneer of Thailand’s first ceramics design curriculum

30-31

Pottery Showpieces

32-47

แจกัน l Vases

48-63

จาน และชาม l Dishes and Plates

64-75

โถ ชามฝา และโถข้าว l Jars, Bowls with Lids, Rice Bowls

76-87

กาน�้ำชา หรือกากาแฟ l Tea Pots or Coffee Pots

88-95

เหยือกน�้ำ และถ้วยชากาแฟ l Water Jugs, Coffee Cups and Teacups

96-105

โถกลอง l Drum Jars

106-117

งานที่มีจิตวิญญาณของตะวันออก และไทยร่วมสมัย

118-125

งานโครงการพิเศษ – ชุดอาหารร้านเบียร์สิงห์เฮาส์ ถนนอโศก กรุงเทพมหานคร

128-131

ค�ำศิษย์ Students’ Voices

134-137

ผู้เขียน Author

149

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 19

ผลงานเครื่องปั้นดินเผา

19

Infused with Western and Thai Contemporary Spirit Special Project – Crockery for Singha Beer House, Asoke Road, Bangkok

บรรณานุกรม Bibliography

11/27/2023 2:37:57 PM


20

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 20

11/27/2023 2:38:40 PM


21

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 21

11/27/2023 2:38:55 PM


แนวทางการท�ำงาน และหลักปรัชญาการสอนลูกศิษย์ ของอาจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์ เมื่ออาจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์ ส�ำเร็จการศึกษาจาก แครนบรูก อะคาเดมี ออฟอาร์ต (Cranbrook Academy of Art), มิชแิ กน (Michigan) ประเทศสหรัฐอเมริกา (U.S.A.) อาจารย์ได้กลับมาสอนทีค่ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2505 ได้ด�ำรงต�ำแหน่งอาจารย์ที่ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design) อาจารย์กับอาจารย์เลิศ อุรัสยะนันทน์ สามี และกลุ่มคณาจารย์ได้เริ่มวางหลักสูตรเปิดสอน ทั้งงานเครื่องปั้นดินเผา (Ceramic Design) และงานออกแบบสิ่งทอ (Textile Design) ซึ่งอาจารย์สมถวิล ได้สร้างคุณูปการมากมายให้กับวงการการเรียนการสอนในสาขาวิชานี้ ด้วยเป็นสาขาวิชาที่เปิดสอนขึ้นเป็น แห่งแรกในประเทศไทย และได้ท�ำการเปิดสอนต่อเนือ่ งมาเป็นเวลากว่า 60 ปี ทัง้ ยังได้เผยแพร่ความรูน้ ไี้ ปยังสถาบัน การศึกษาอื่นๆ ได้ให้ค�ำปรึกษาในเรื่องการจัดตั้งภาควิชานี้ในหลายๆ สถาบันทั่วประเทศ ท�ำให้การเรียนการสอน ในสาขาวิชานี้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้ามาจนถึงปัจจุบัน อาจารย์สมถวิล ได้มงุ่ มัน่ สัง่ สอนลูกศิษย์ดว้ ยความรักและผูกพัน อาจารย์ได้ปลูกฝังให้ทกุ ๆ คนทีม่ าร�ำ่ เรียนได้ส�ำนึก อยู ่ เ สมอว่ า งานออกแบบเครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาและออกแบบสิ่ ง ทอนี้ เ ป็ น งานศิ ล ปะที่ ทุ ก คนต้ อ งท�ำงานด้ ว ย จิตวิญญาณ ต้องท�ำงานด้วยความรักในงานที่ท�ำ ต้องเข้าใจในธรรมชาติของวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ และต้องมุ่งมั่น ศึกษาค้นคว้าหาค�ำตอบใหม่ๆ ทั้งการเลือกหาวัสดุใหม่ๆ และเทคนิคการท�ำงานใหม่ๆ ที่ไม่มีขีดจ�ำกัด ทั้งยังต้อง ติดตามพัฒนาการของการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นในโลกกว้างนี้ และคอยติดตามการสร้างสรรค์ผลงานที่เกิดขึ้น ใหม่ๆ ในโลกอยู่เสมอๆ แนวทางการสั่งสอนของอาจารย์เป็นที่ยอมรับของลูกศิษย์มาหลายยุคหลายสมัย ทุกๆ คนซึมซับและจดจ�ำกันได้มิ รู้ลืม ผู้เขียนได้คัดกรองบทสัมภาษณ์ของอาจารย์ที่เคยเผยแพร่ไว้ในหนังสือหลายๆ เล่ม ดังนี้ “งานปั้นเซรามิก เป็นงานที่ต้องท�ำด้วยใจ มีสมาธิที่แน่วแน่ ต้องประณีตกับงานที่ท�ำทุกขั้นทุกตอน ตั้งแต่การ นวดดิน จนถึงการปั้น การเคลือบ และการเผา เพื่อให้ผลงานชิ้นนั้นๆ ออกมาสมบูรณ์ที่สุด “การนวดดิน” ถ้ามอง ดูอย่างผิวเผิน อาจดูเป็นเรื่องง่ายที่ไม่ต้องประณีตบรรจง หรืออาจมอบหมายให้คนอื่นท�ำแทนเพื่อใช้เวลาไปท�ำ อย่างอื่น แต่อาจารย์มักสั่งสอนอยู่เสมอว่า ผู้ที่จะท�ำงานปั้นดิน ต้องลงมือนวดดินด้วยตัวเอง เพื่อได้สัมผัสเนื้อดิน จากมือของตนเอง ต้องท�ำความเข้าใจในธรรมชาติของดินที่ใช้ ซึ่งมีให้เลือกใช้ได้หลายชนิด เมื่อผู้จะปั้นดินเริ่มต้น ด้วยการนวดดินจะสัมผัสได้ถงึ คุณภาพของดินนัน้ ๆ ยิง่ ถ้านวดดินไปสักระยะหนึง่ จะสัมผัสได้ถงึ ความชืน้ ในเนือ้ ดิน หรือเริม่ จับต้องได้ถงึ ความไม่สะอาดของเนือ้ ดินทีม่ เี ศษวัสดุอนื่ ๆ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์เจือปนอยู่ และต้องน�ำออกไปเพือ่ ไม่ให้เป็นอุปสรรคเมือ่ น�ำก้อนดินนัน้ ไปท�ำงานในขัน้ ต่อไป การนวดดินให้ถงึ จุดทีพ่ อเหมาะพอควรได้นนั้ ผูน้ วดดิน จะหยั่งรู้ได้ด้วย จิตใต้ส�ำนึก ด้วยประสบการณ์ และความช�ำนาญ ผู้ที่คลุกคลีอยู่กับงานนวดดินนานๆ เพียงมอง กองดินที่นวดแล้วก็อาจหยั่งรู้ได้ว่า ก้อนดินที่วางอยู่นั้นมีความพร้อมที่จะน�ำไปใช้งานต่อได้ หรือในบางครั้งเพียง เอาปลายนิ้วกดลงไปในดินก็สามารถบอกได้ถึงความพร้อมของก้อนดินนั้น” “เมื่อได้เห็นคนท�ำงานปั้นดิน อาจดูเหมือนเป็นการท�ำงานที่ง่าย คนท�ำงานดูผ่อนคลาย แต่ในความเป็นจริงแล้ว ผูท้ ที่ �ำงานปัน้ นัน้ ๆ ต้องอาศัยความช�ำนาญและใช้เวลาฝึกฝนมามาก ต้องมีสมาธิ หัวสมอง มือ และเท้า ต้องท�ำงาน

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 22

11/27/2023 2:38:56 PM


ประสานกันอย่างพอเหมาะพอดีและได้จังหวะ ซึ่งเมื่อท�ำไปสักระยะหนึ่ง จะฝึกฝนท�ำให้เป็นคนใจเย็น มีความ ละเอียดอ่อน และมีสมาธิดีขึ้น เพราะตอนที่ท�ำงานปั้นจิตใจต้องจดจ่ออยู่กับก้อนดินไม่วอกแวก ไม่เช่นนั้นจะไม่ สามารถควบคุมดินให้ขนึ้ เป็นรูปร่างอย่างทีใ่ จต้องการได้ เวลาทีไ่ ด้จบั ต้องเนือ้ ดินและเริม่ ท�ำงานปัน้ ดิน ดิฉนั มีความ อิ่มเอิบ และรู้สึกสบายอกสบายใจเป็นที่สุด เป็นอิสระจากทุกสิ่ง แทบจะลืมความชุลมุนวุ่นวายรอบๆ ตัว จนเกือบ จะหลับตาปัน้ ดินให้แล้วเสร็จได้ตามทีต่ งั้ ใจและจินตนาการไว้ ความรูส้ กึ ทีว่ า่ นี้ มันถูกบงการมาจากสมองและปลาย นิ้วจากมือทั้งสองข้างนี้” อาจารย์ยงั กล่าวถึงเสมอว่า “การท�ำงานเซรามิก ต้องคิดอยูเ่ สมอว่า วิชานีเ้ ป็นศาสตร์ทเี่ กีย่ วข้องกับความสวยงาม ที่ต้องมีการออกแบบ (Design) ควบคู่ไปกับการน�ำไปใช้สอยได้ ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญ วัสดุต่างๆ ที่น�ำมาใช้อาจราคา ไม่แพง แต่ผู้ที่สร้างสรรค์งานเซรามิกอาจออกแบบให้ผลงานชิ้นนั้นๆ ดูดีมีคุณค่าและราคาแพงขึ้นมาได้ ฝีมือการ ออกแบบ สีสนั การตกแต่งลวดลายทุกอย่างทีเ่ ราสร้างสรรค์ขนึ้ มาจะท�ำให้ผลงานนัน้ มีคณ ุ ค่าและราคา ผลงานบาง ชิน้ อาจดูสวยสดงดงามจนหาค่าไม่ได้ และมีผนู้ �ำไปเก็บรักษาไว้ในพิพธิ ภัณฑ์เพือ่ ให้ผคู้ นได้มาเยีย่ มชมต่อไปอีกนานๆ และอาจเป็นไปได้วา่ ผลงานชิ้นนั้นอาจมีเพียงชิ้นเดียวในโลกที่ต้องเก็บรักษาไว้ตลอดไป” อาจารย์เคยปรารภถึงช่วงเวลาที่ไปเรียนวิชาเซรามิกที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ท่ามกลางเพื่อน นักศึกษาและครู อาจารย์ที่มาจากหลายๆ ประเทศ หลายๆ วัฒนธรรม พวกเพื่อนๆ จาก โลกตะวันตก ตื่นตาตื่นใจกับงานปั้นของ อาจารย์ ซึ่งเป็นแบบ โอเรี่ยนเทิลสไตล์ (Oriental Style) ด้วยอาจารย์เกิดที่ประเทศไทย ผลงานต่างๆ ที่ท�ำ ออกไปล้วนแฝงไว้ด้วยจิตวิญญาณของศิลปวัฒนธรรมแบบไทยๆ ที่ฝังลึกและถ่ายทอดออกมา อาจารย์ได้เคยเล่า ให้ฟังว่าเคยปั้นเครื่องถ้วย กาน�้ำชา ชาวต่างชาติที่มาจากประเทศตะวันตก ต่างมาล้อมมุงดูเพราะไม่เคยเห็นงาน เซรามิกประเภทนี้ที่มีรูปร่างแปลกตา มีทั้งกรวยกา มีหูหิ้ว มีฝากา การปั้นพร้อมใส่ส่วนประกอบต่างๆ ก็เป็นงาน ยาก ชาวตะวันตกไม่เคยท�ำผลงานทีแ่ ปลกตาเหล่านี้ อาจารย์ทสี่ อนต้องขอเอาผลงานทีว่ า่ นี้ น�ำไปจัดแสดงในห้อง นิทรรศการของมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาได้มาเยี่ยมชมและศึกษาหาความรู้กัน

23

ตลอดเวลาทีอ่ าจารย์สงั่ สอนลูกศิษย์มากว่า 40-50 ปี และท�ำต่อเนือ่ งมาจนถึงช่วงเวลาทีเ่ ปิดสอนเซรามิกทีส่ ตูดโิ อ ที่บ้าน อาจารย์ถา่ ยทอดวิชาความรู้ในทุกขั้นตอนอย่างละเอียด เหมือนครูสอนลูกศิษย์ เหมือนแม่สอนลูก ยิ่งถ้ามี ลูกศิษย์คนใดสนใจในงานปัน้ นีอ้ ย่างจริงจัง อาจารย์จะให้การสนับสนุนในทุกเรือ่ ง เช่น เปิดสตูดโิ อให้ท�ำงานจนถึง ค�่ำคืน ชวนทานอาหารด้วยกันที่บ้าน หรือ ชักชวนกันไปดูงานปั้นเซรามิกตามต่างจังหวัด ตามชนบท เพื่อให้ นักเรียนที่มาเรียนได้สัมผัสงานปั้นแบบพื้นถิ่นและได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องวัตถุดิบต่างๆ ตลอดจนศึกษาเทคนิค การสร้างสรรค์งานของชาวบ้านทีอ่ าจน�ำไปต่อยอดการท�ำงานในอนาคตได้ อาจารย์สมถวิล ปรารภให้คนข้างเคียง ได้ยนิ ได้ฟงั อยูเ่ สมอว่า อาจารย์อยากให้วชิ าชีพนีไ้ ด้มผี สู้ บื ทอดและมุง่ มัน่ พัฒนาให้เจริญรุง่ เรืองยิง่ ๆ ขึน้ ไป อาจารย์ ได้เขียนหนังสือเขียนต�ำราทีเ่ กีย่ วกับการเรียนการสอนวิชาเซรามิกไว้ให้กบั วงการหลายเล่ม ช่วยเป็นทีป่ รึกษา ช่วย ผลักดันและช่วยให้ค�ำแนะน�ำให้หลายๆ สถาบัน เพื่อสนับสนุนให้เปิดสอนวิชาเซรามิกนี้ตลอดช่วงเวลาที่อาจารย์ มีชีวิตอยู่

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 23

11/27/2023 2:38:56 PM


The Work Ethic and Philosophy Transmitted to Students by Ajarn Somthavil Urasyanandana Upon completing her studies from Cranbrook Academy of Art in Michigan, United States of America, Ajarn Somthavil Urasyanandana returned to teach at the Faculty of Architecture, Chulalongkorn University in 1962 as a professor in the Industrial Design Department.Together with her husband, Lert Urassayanant, and a group of professors, she started to create curriculums for both Ceramic Design and Textile Design, greatly contributing to academic development of those subjects. These courses were the first of their kind to be taught in Thailand and have continued for over 60 years to this day.The circle of knowledge expanded to other academic institutions by providing consultation regarding the establishment of such courses in colleges throughout the country, resulting in the growth and advancement of these disciplines that is evident today. Ajarn Somthavil was steadfast in instructing her students with warmth and care, building strong bonds. She cultivated an ethos in her students to produce ceramic or textile works imbued with a spirit and love for the craft, through a deep understanding of the nature of the materials and tools that they used. She encouraged her students to boundlessly explore new solutions, materials, and techniques, as well as keep up with the latest developments in the study of these crafts around the world. It was also important for them to regularly follow artists and their latest creations. This approach, which Ajarn Somthavil applied, was appreciated by generations of students who expressed that they were able to absorb and vividly remember everything they were taught. In the following paragraphs we can build a better understanding of Ajarn Somthavil’s philosophy through excerpts compiled from interviews which she gave to various publications. “Ceramic craft is something that must come from the heart and from determined concentration. One must be meticulous in every stage of the process, from kneading the clay, to forming, glazing, and firing, so as to produce a perfect piece. Looking at it superficially, kneading the clay does not seem to require much care, and could be carried out by someone else while you use that time for other tasks. However, I have always taught that a potter must knead the clay themselves so they can feel the clay that they are going to work with and develop an understanding about the material. There are many types of clay to choose from, and from handling the clay the artist can determine its quality. As you knead it a bit longer,

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 24

11/27/2023 2:38:56 PM


you can gauge the moisture content and feel any impurities which need to be removed so it does not affect the crafting process. When you knead the clay, you will also instinctively know when the clay is ready for the next step that is forming the clay. Sometimes you can tell if the clay is ready just by pressing your fingertip into it.” “When you see someone working with clay, it may look very easy. The crafter looks relaxed, but in reality it takes a lot of skill and practice. It requires concentration and harmonious coordination between the mind, hands, and feet, working in rhythm with each other. After a while, you will find that you have developed your patience, attention to detail, and concentration, from the focus which you have applied to your work. Without these qualities, you won’t be able to control the clay and form it in the way that you want. When I handle clay and begin to work on it, I get a feeling of deep satisfaction. I feel relaxed and free, almost forgetting my hectic environment. I can almost close my eyes to work on the piece until it is completed as I imagined. This feeling, it’s as if my mind is communicating directly to the fingertips of my two hands.”

25

Ajarn Somthavil has always said, “When working with ceramics, you should always be aware that this is a craft of beauty which is linked to design, so that each piece is functional. This is very important. The materials may not cost much, but from that the artist can create a piece that looks valuable and is much more expensive. Some pieces are so beautiful they seem priceless and are displayed in museums for people to appreciate for generations. That piece may be the only piece in existence, therefore making it a treasure to be preserved.” Remarking on her time studying in the United States of America, Ajarn Somthavil was surrounded by fellow students and professors from different countries and cultures from all over the world. Her Western classmates were intrigued by her work, which, as a Thai, was of an Oriental style. All her works imbued a spirit of Thai arts and culture. Ajarn Somthavil once related that Westerners gathered in awe around a ceramic tea set that she had created because of its unusual form. Forming the spout, handle, and lid of the pot, which had to be done at the same time, is a challenging task, and they had never seen such unique works before. Her professor asked to have them put on display in a university exhibition for other students to admire and study from.

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 25

11/27/2023 2:38:57 PM


For over 50 years of her teaching career, and furthermore when she opened her own studio at home, Ajarn Somthavil has transmitted her knowledge of the detailed process of ceramic craft to her students, akin to mentor and disciple, or from mother to child. Especially if a student showed keen interest,Ajarn Somthavil would wholeheartedly support them in every way, from allowing them to work in the studio late into the night, to inviting them to join her for dinner in her home, or bringing them along to see ceramic works in rural regions. These outings provided students with the opportunity to become familiar with regional ceramic crafts and learn about the different materials and methods used by the locals to create ceramic works. All this was fuel for the students’ future creations. Ajarn Somthavil mentioned to those around her that she hoped to have successors in this artistic discipline who would continue to develop and advance the craft. During her lifetime, she wrote many textbooks on ceramic studies, gave council, and helped to push forward the establishment of ceramics curriculums in many schools through her guidance.

26

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 26

11/27/2023 2:38:57 PM


�งานเซรามิก ต้องคิดอยู่เสมอว่า วิชา “นีเ้ ป็การทำ นศาสตร์ทเี่ กีย่ วข้องกับความสวยงาม ทีต่ อ้ ง

มีการออกแบบ (Design) ควบคูไ่ ปกับการนำ�ไป ใช้สอยได้ ซึง่ เป็นสิง่ สำ�คัญ วัสดุตา่ งๆ ทีน่ �ำ มาใช้ อาจราคาไม่แพง แต่ผทู้ ส่ี ร้างสรรค์งานเซรามิกอา จออกแบบให้ผลงานชิ้นนั้นๆ ดูดีมีคุณค่าและ ราคาแพงขึ้นมาได้

When working with ceramics, you should always be aware that this is a craft of beauty which is linked to design, so that each piece is functional. This is very important. The materials may not cost much, but from that the artist can create a piece that looks valuable and is much more expensive.

27

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 27

11/27/2023 2:38:57 PM


ประวัติรองศาสตราจารย์ สมถวิล อุรัสยะนันทน์

ศิลปินแห่งชาติ และผู้บุกเบิกการเรียนการสอนสาขาวิชาเซรามิก แห่งแรกของประเทศไทย

รองศาสตราจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์ เกิดปี พ.ศ. 2465 ส�ำเร็จการศึกษาอนุปริญญา จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่งงานกับรองศาสตราจารย์ เลิศ อุรัสยะนันทน์ ในปี พ.ศ. 2491 ท�ำงานเป็นบรรณารักษ์ที่ห้องสมุด คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2503 ได้ไปศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ทางด้านการออกแบบเซรามิกและเท็กซ์ไทล์ ที่ Cranbrook Academy of Art, Bloomfield Hills, รัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา

28

ในปี พ.ศ. 2505 กลุ่มคณาจารย์ โดยมีรองศาสตราจารย์เลิศ และรองศาสตราจารย์ สมถวิล อุรัสยะนันทน์ ร่วมริเริ่มก่อตั้งภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม ในคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมี 5 สาขาวิชาด้านการออกแบบ คือ เซรามิก เท็กซ์ไทล์ โปรดักส์ เฟอร์นิเจอร์ และกราฟิก โดยรองศาสตราจารย์ สมถวิล ได้รับผิดชอบสาขาวิชาเซรามิก ในปี พ.ศ. 2524 ได้เป็นหัวหน้าภาควิชาการ ออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ระหว่างการสอนในคณะฯ อาจารย์สมถวิล ยังได้รบั เชิญเป็นอาจารย์พเิ ศษทีค่ ณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการ ออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในระหว่างปี พ.ศ. 2518 - พ.ศ. 2535 เป็นกรรมการตัดสินการประกวดหัตถกรรมไทย ด้านต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมทุกปี โดยเฉพาะ ปี พ.ศ. 2524 เป็นกรรมการตัดสินการประกวดงานแสดงผลิตภัณฑ์หัตถกรรมระหว่าง ประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม ในปี พ.ศ. 2525 อาจารย์สมถวิล เกษียณอายุราชการ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้ก่อตั้ง “สมดีไซน์สตูดิโอ” สอนวิชาเซรามิกหลักสูตรระยะสั้นที่บ้าน เป็นการ อบรมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซรามิกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ต่อมาอาจารย์ได้ รับการยกย่องในวงวิชาการจากสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้ได้รับพระราชทาน ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการออกแบบอุตสาหกรรมคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2543 และในปี พ.ศ. 2549 ได้รับการ ยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ออกแบบอุตสาหกรรม รอง ศาสตราจารย์สมถวิล ได้สอนเซรามิกที่บา้ นจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต และเสียชีวิต เมื่อปี พ.ศ. 2552

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 28

11/27/2023 2:38:57 PM


Associate Professor Somthavil Urasyanandana National Artist and pioneer of Thailand’s first ceramics design curriculum

Associate Professor Somthavil Urasyanandana was born in 1922 and completed her associate degree in architecture from Chulalongkorn University in 1944. She married Associate Professor Lert Urassayanant in 1948 and worked as a librarian at the Faculty of Architecture of Chulalongkorn University. Then, from 1957 to 1960, she went on to pursue a bachelor’s degree and master’s degree in art, majoring in Ceramics Design and Textile Design, at Cranbrook Academy of Arts in Michigan, USA. In 1962, Associate Professor Lert Urassayanant and Associate Professor Somthavil Urasyanandana were part of a pioneering faculty committee which established a curriculum for Industrial Design within the Faculty of Architecture at Chulalongkorn University. This included 5 design disciplines – Ceramics, Textiles, Products, Furniture, and Graphics. Associate Professor Somthavil was appointed head of the Ceramics department and, in 1981, was appointed Head of the Industrial Design Department in the Faculty of Architecture, Chulalongkorn University. During her teaching career, she was also invited as a Special Lecturer at the Faculty of Education, Chulalongkorn University; Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University; and the School of Architecture, Art, and Design at King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang.

29

From 1975 to 1992, Associate Professor Somthavil served as a judge in various handicrafts competitions hosted by the Department of Industrial Promotion, Ministry of Industry, each year. Notably, in 1981, Associate Professor Somthavil served as a competition judge at the International Handicraft Exhibition hosted by the Ministry of Industry. In 1982, Ajarn Somthavil retired from civil service at Chulalongkorn University and founded “Som Design Studio” at her home to teach short courses which were an introduction to the fundamentals of ceramics, teaching both theory and practical techniques. Subsequently, Ajarn Somthavil was academically lauded and awarded an honorary doctorate in Industrial Design from Chulalongkorn University in the year 2000. Further, in 2006, Ajarn Somthavil was honored as a National Artist in Applied Arts (Industrial Design). She continued to teach ceramics until her passing in 2009.

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 29

1 Bernsen, Jens. Hans J Wegner. Dansk Design Centre, 2001.

11/27/2023 2:38:58 PM


30

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 30

11/27/2023 2:39:00 PM


ผลงานเครื่องปั้นดินเผา

Pottery Showpieces

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 31

11/27/2023 2:39:00 PM


32

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 32

11/27/2023 2:39:12 PM


แจกัน l Vases งานปั้นแจกัน เป็นงานปั้นบทแรกๆ ที่ผู้มาเรียนปั้นกับอาจารย์ มักจะ เริ่ ม ฝึ ก หั ด โดยจะเริ่ ม ปั ้ น ภาชนะรู ป ทรงกระบอก เมื่ อ ฝึ ก หั ด จนมื อ นิ่ ง สามารถขึ้นรูปงานปั้นทรงกระบอกได้แล้ว งานขั้นต่อไปก็คือการปั้นโถ หรือแจกันใบใหญ่ขึ้น เมื่อปั้นโถและแจกันใบใหญ่ๆ ได้จนมั่นใจแล้ว นักเรียนที่มาเรียนปั้นจะเริ่มมีสมาธิ เข้าใจในธรรมชาติของเนื้อดิน และจะ เริม่ สนุกกับการท�ำงานในงานประเภทอืน่ ต่อไป ผลงานปัน้ แจกันชิน้ ใหญ่ๆ ของอาจารย์ ที่โดดเด่นสวยงามทั้งรูปทรงและงานเคลือบผิวสีสันสวยงาม ที่ได้ท�ำมาตั้งแต่สมัยที่ไปศึกษาที่ประเทศสหรัฐอเมริกา และท�ำในช่วง ที่สอนที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้น�ำมา บันทึกไว้ในหนังสือเล่มนี้ เพื่อเป็นบทเปิดของผลงานอีกหลายๆ ประเภท ของอาจารย์

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 33

Vases are one of the first lessons that Professor Somthavil’s students encounter, often beginning with creating a cylindrical form. Once they are experienced in this, the next step is to create a larger jar or vase shape. As they gain more confidence, the pottery students develop their concentration and deepen their understanding of the nature of the clay that they are working with and begin to enjoy creating other types of work. Professor Somthavil’s large vases are beautifully outstanding both in shape and in the color of their glazing. Pieces which were created during her studies in the United States of America and while she was teaching at the Faculty of Architecture, Chulalongkorn University are included in this book as an introduction to Professor Somthavil’s array of works.

33

11/27/2023 2:39:24 PM


132

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 132

11/27/2023 2:46:35 PM


Lessons from pottery – Be very observant. Work in an organized, detailed, delicate, step-by-step manner, and come up with your own original designs. In pottery there are always issues that you need to rectify. This problem-solving skill can also be transferred to our daily lives. If something has failed, start again.

133

This helps us to build strength and concentration. Continuously develop your work in terms of form, beauty, and function. Be free and express your unique individuality, seek out change and escape from the mundane. Attempting something difficult is part of the challenge. Somthavil Urasyanandana 12 February 2007

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 133

11/27/2023 2:46:36 PM


134

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 134

11/27/2023 2:46:43 PM


ผู้เขียน

The Author

นิธิ สถาปิตานนท์ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2490 เข้า ศึกษาในระดับชัน้ ประถมและมัธยม ทีโ่ รงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และ ได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ส�ำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2514 หลัง จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในระดับ ปริญญาโท ที่มหาวิทยาลัย อิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา

Nithi Sthapitanonda was born in Bangkok in 1947. He undertook his primary and secondary education at Vajiravudh College and went on to higher education at the Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, from where he graduated in 1971. Nithi later traveled overseas to pursue further studies in architecture, gaining a Master of Architecture Degree from the University of Illinois at Urbana-Champaign, USA.

ในปี พ.ศ. 2526 ได้ตง้ั บริษทั สถาปนิก 49 และด�ำรงต�ำแหน่งประธาน กรรมการบริหาร มาจนถึงปี พ.ศ. 2555 และได้เกษียณอายุจากการ ท�ำงานในสายวิชาชีพ ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2555 ปัจจุบันด�ำรง ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ บริษัทในเครือ 49 กรุ๊ป

In 1983, Nithi established “Architects 49” and assumed the position of President until he retired from professional practice at the end of 2012. Nithi has since held the position of Chairman of the Board of Directors of the 49 Group of Companies.

ในปี พ.ศ. 2535-2537 ด�ำรงต�ำแหน่งนายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการ สภาสถาปนิก ในปี พ.ศ. 2543-2545 ในปี พ.ศ. 2545 ได้รับเกียรติจากกระทรวง วัฒนธรรม คัดเลือกให้เป็นศิลปินแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2556 ได้รับ วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม ต่อมาในปี พ.ศ.2559 ได้รับปริญญา สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น

Nithi has served the profession as the Secretary General of the Architect Council of Thailand from 2000 to 2002. In 2002, Nithi was bestowed the honor of “National Artist” in the field of Architecture by the Ministry of Culture. He received an Honorary Doctorate in Science in the field of Architecture from the Sripratum University in 2013 and an Honorary Doctor of Philosophy in Architecture from both the University of Chiangmai and the University of Khon Kaen in 2016.

ในปี พ.ศ. 2551 ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ (Hon. FAIA) จากสมาคมสถาปนิกแห่งสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ.2538 ได้รับแต่ง ตัง้ ให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ จากสมาคมสถาปนิกแห่งประเทศญีป่ นุ่ ในปี พ.ศ. 2551-2555 เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอ�ำนวยการโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ใน ปี พ.ศ.2552-2557 และในปี พ.ศ. 2551-2563 ได้รับแต่งตั้งให้ เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 135

135

In 2008, Nithi was appointed as an Honorary Fellow for the American Institute of Architects (Hon. FAIA) in the USA, and was also appointed as an Honorary Member of the Japan Institute of Architects (Hon. FJIA) in 1995. From 2008 to 2012, Nithi served as a member of the Council of Silapakorn University. He was an active member of the Board of Directors of the Vajiravudh College from 2009 to 2014, and was also appointed as a committee member of the Council of Bangkok University from 2008 to 2020.

11/27/2023 2:46:43 PM


136

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 136

11/27/2023 2:46:47 PM


Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 137

ผู้เขียน

The Author

เลอสม สถาปิตานนท์ เกิดทีก่ รุงเทพมหานคร เมือ่ ปี พ.ศ. 2492 เข้าศึกษาในระดับชั้นมัธยมที่โรงเรียนวาสุเทวี และ มัธยมปลายที่โรงเรียนสายน�้ำผึ้ง ได้เข้าศึกษาในระดับ ปริญญาตรี ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ส�ำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2514 หลังจากนัน้ ได้ เ ดิ น ทางไปศึ ก ษาสาขาวิ ช าสถาปั ตยกรรม ในระดับ ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัย อิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2517

Lersom Sthapitanonda was born in Bangkok in 1979. She attended secondary school at Vasudevi School, and upper secondary school at Sainampheung before pursuing her bachelor’s degree at Chulalongkorn University’s Faculty of Architecture, where she graduated in 1971. She then went on to study a Master of Arcitecture degree at the University of Illinois, United States of America, in 1974.

ในปี พ.ศ. 2524 เข้าเป็นอาจารย์ทคี่ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนเกษียณอายุราชการโดยมี ต�ำแหน่งทางวิชาการ ในปี พ.ศ. 2563 เป็นศาสตราจารย์ กิตติคุณ ในปี พ.ศ. 2558 ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และในปี พ.ศ. 2564 ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา สถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

In 1981, Lersom joined the Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, as a professor where she taught until her retirement. Professor Lersom Sthapitanonda was appointed Professor Emerita of the Faculty of Architecture in 2020. She was conferred an Honorary Doctoral Degree of Architecture from Kasetsart University in 2015, and an Honorary Doctoral Degree of Architecture from Chulalongkorn University in 2021.

ในปี พ.ศ. 2547-2551 เป็นคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2551-2555 เป็นรอง อธิการบดี (บริหารระบบกายภาพ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2555-2563 เป็นทีป่ รึกษาอธิการบดี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย นอกจากนัน้ ได้เป็นผูท้ รงคุณวุฒิ ในกรรมการ พัฒนาหลักสูตร และปรับปรุงหลักสูตรสถาปัตยกรรม ศาสตร์บัณฑิต ของมหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Professor Lersom served as the Dean of the Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, from 2000-2008. From 2008-2021, she served as Vice President (Physical Resources Management) of Chulalongkorn University and advisor to the Dean. Professor Emerita Lersom Sthapitanonda was also a luminary on curriculum development committees to improve the Bachelor of Architectural curriculum at Naresuan University, Kasetsart University, and Prince of Songkla University.

137

11/27/2023 2:46:47 PM


150

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 150

11/27/2023 2:47:00 PM


151

Nithi Final sketchbook Special Edition 121123.indd 151

11/27/2023 2:47:04 PM



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.