LM Phuket - Safety Manual

Page 1

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

คํานํา

ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ.2554 มาตรา14 ในกรณีที่ นายจางใหลูกจางทํางานในสภาพการทํางานหรือสภาพแวดลอมในการทํางานที่อาจทําใหลูกจางไดรับอันตรายตอชีวิต รางกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ใหนายจางแจงใหลูกจางทราบถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทํางานและแจกคูมือปฏิบัติงานใหลูกจางทุกคน

กอนที่ลูกจาง จะเขาทํางาน เปลี่ยนงาน หรือเปลี่ยนสถานที่ทํางาน และเพื่อเปนการแสดงออก ถึงหนาที่ความรับผิดชอบของบริษัทตอ สวัสดิภาพ และความปลอดภัยในการทํางานตอพนักงาน ผูปฏิบัติงาน และลูกจาง โดยแผนกปองกันความสูญเสียรวมกับ คณะกรรมการความปลอดภัยฯ ไดจัดทําคูมือความปลอดภัยใน การทํางาน ( Safety Manual) ขึ้น เพื่อแจกจายใหกับพนักงาน ผูปฏิบัติงาน และลูกจางของบริษัท

อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเปนปจจัยขั้นพื้นฐานในการทํางานของพนักงานของ ทุกคน บริษัทมีเจตจํานงแนวแนในการที่จะใหพนักงาน ผูปฏิบัติงาน และลูกจางทุกคนตระหนักตอหนาที่และความรับผิดชอบในการ ปฏิบัติงานดวยความระมัดระวัง เพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับตนเอง หรือผูรวมงาน ที่เนื่องมาจากผลของการปฏิบัติงานนั้นๆ ทั้งนี้ พนักงาน ผูปฏิบัติงาน และลูกจางทุกคนตองใหความรวมมือกับบริษัทฯ ในการปฏิบัติตามกฏขอบังคับตางๆ ของคูมือเลมนี้ คูมือความปลอดภัยฉบับนี้ ถือวาเปนสวนหนึ่งของขอบังคับวาดวยความปลอดภัยในการทํางาน พนักงาน ผูปฏิบัติงาน

และลูกจางทุกคน ควรศึกษา เรียนรูทําความเขาใจ คูมือฉบับนี้อยางละเอียดจนเกิดความเขาใจ และสามารถนําไปปฏิบัติได อยาง ถูกตอง ทั้งนี้ การปองกันอุบัติภัย ภัยอันตราย และความเสียหายตางๆ นั้นถือวาเปนประโยชนกับบุคลทุกฝายที่เกี่ยวของ บริษัทฯ ตระหนักดีวาการปองกันอุบัติภัยนั้นเปนหลักการปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานที่ตองอาศัยความรวมมือ ทั้งจากผูบริหารของบริษัทฯ ตัวพนักงาน ผูปฏิบัติงานและลูกจางเองเปนสําคัญ หากมีขอสงสัยประการใดขอใหสอบถามหัวหนางาน ผูบังคับบัญชา เพื่อความ กระจางชัดเจนยิ่งขึ้น และสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตองเพื่อความปลอดภัยของตัวพนักงาน ผูปฏิบัติงานและลูกจางเองโดยถวย หนา ดวยความปรารถนาดี

แผนกปองกันการสูญเสียและคณะกรรมการความปลอดภัยฯ โรงแรมเลอ เมอริเดียนภูเก็ตบีช รีสอรท จํากัด

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 2

สารบัญ

คํานํา 2

ขอความแสดงสิทธิและหนาที่ของนายจางและลูกจาง 6 ประกาศแตงตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน.........................................

บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของผูมีหนาที่เกี่ยวของกับ

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 3 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort
8
10 ความปลอดภัยในการทํางาน 10 คํานิยามศัพท อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 15 สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน 16 ความสูญเสียจากอุบัติเหตุในการทํางาน 17 การเจ็บปวยจากสภาพแวดลอมการทํางาน 19 โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 21 การปองกันโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 28 กฎความปลอดภัยทั่วไปที่พนักงานทุกคนพึงปฏิบัติ 29 กิจกรรม 5 .ส สูความปลอดภัย ............................................................................................................................... 31 การชี้บงอันตรายดวยวิธี (Job Safety Analysis) 31 ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย 32 กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเฉพาะดาน ........................................................................................................ 38 ความปลอดภัยในการทํางานสํานักงาน 38 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 42 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับครื่องถายเอกสาร ....................................................................................... 43 ความปลอดภัยในการใชลิฟตโดยสาร 43 ความปลอดภัยในการใชเครื่องมือชาง 44 ความปลอดภัยในการทํางานบนที่สูง .................................................................................................................. 44 ความปลอดภัยในการทํางานกับเครื่องจักร 45 ความปลอดภัยในการทํางานกับวัตถุอันตรายหรือสารเคมี 46
คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 4 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort ความปลอดภัยในการเคลื่อนยายวัสดุสิ่งของหรือยกของหนัก 47 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟา 48 ความปลอดภัยในการใชบันได 48 ความปลอดภัยในการทํางานในที่อับอากาศ 49 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสี 50 ความปลอดภัยในการทํางานเจียร 50 ความปลอดภัยในการทํางานเชื่อมไฟฟา, เชื่อมกาซ 51 ความปลอดภัยในการใชแกสตัดชิ้นงาน 52 ความปลอดภัยในการใชทอแกส 53 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น )Crane) .......................................................................................... 54 ความปลอดภัยในการใชรถกระเชา 54 ความปลอดภัยในการใชตะขอ โซยก ที่หนีบจับ 55 ความปลอดภัยสําหรับผูรับเหมา ............................................................................................................................. 56 กฏระเบียบ ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานสําหรับผูรับเหมา 56 ระบบใบขออนุญาตทํางาน )Work permit) 57 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล )PPE) .................................................................................................... 59 สีและสัญลักษณความปลอดภัย 62 การรายงานและสอบสวนอุบัติเหตุ /อุบัติการณ 63 มาตรการปองกันอุบัติเหตุ ...................................................................................................................................... 64 การปฐมพยาบาลเบื้องตน 65 การปองกันและระงับอัคคีภัย 68 การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ........................................................................................................................... 72 แผนฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมและอพยพหนีไฟ 73
คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 5 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
นโยบายความปลอดภัย

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

ขอความแสดงสิทธิและหนาที่ของนายจางและลูกจาง

ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 6
คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 7 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต
Méridien Phuket Beach Resort
บีช รีสอรท Le

Le

ประกาศแตงตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ

สภาพแวดลอมในการทํางาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 8
โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
Méridien Phuket Beach Resort
คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 9 โรงแรมเลอ เมริเดียน
Méridien Phuket Beach Resort
ภูเก็ต บีช รีสอรท Le

Le Méridien Phuket Beach Resort

บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของผูมีหนาที่เกี่ยวของกับ ความปลอดภัยในการทํางาน เพื่อใหเพื่อนพนักงานทุกระดับไดเขาใจขอบเขตหนาที่รับผิดชอบดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมใน การทํางาน จึงกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบไวดังตอไปนี้ เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร มีหนาที่ดังตอไปนี้

(1) กํากับดูแลเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานทุกระดับซึ่งอยูในบังคับบัญชาของตน

(2) เสนอแผนงานหรือโครงการดานความปลอดภัยในการทํางานในหนวยงานที่รับผิดชอบตอนายจาง

(3) สงเสริม สนับสนุนและติดตามการดําเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานใหเปนไปตามแผนงานหรือโครงการ เพื่อใหมีการจัดการดานความปลอดภัยในการทํางานที่เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ

(4) กํากับดูแลและติดตามใหมีการแกไขขอบกพรองเพื่อความปลอดภัยในการทํางานของลูกจางตามที่ไดรับรายงานหรือตาม ขอเสนอแนะของเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน คณะกรรมการความปลอดภัยหรือหนวยงานความปลอดภัย เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหนางาน มีหนาที่ดังตอไปนี้

(1) กํากับดูแลลูกจางในหนวยงานที่รับผิดชอบใหปฏิบัติตามคูมือวาดวยความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมใน การทํางานของสถานประกอบกิจการ

(2) วิเคราะหงาที่รับผิดชอบเพื่อคนหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื่องตนจากการทํางานโดยอาจรวมดําเนินการกับเจาหนาที่ ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูงหรือระดับวิชาชีพ (3) จัดทําคูมือวาดวยความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของหนวยงานที่รับผิดชอบโดยรวม ดําเนินการกับเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูงหรือระดับวิชาชีพ เพื่อเสนอ คณะกรรมการความปลอดภัยหรือนายจาง แลวแตกรณีและทบทวนคูมือดังกลาวตามที่นายจางกําหนดโดยนายจางตอง กําหนดใหมีการทบทวนอยางนอยทุกหกเดือน

(4) สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกตองแกลูกจางในหนวยงานที่รับผิดชอบเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน

(5) ตรวจสอบสภาพการทํางานของเครื่องจักรเครื่องมือและอุปกรณใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยกอนลงมือปฏิบัติงานประจําวัน (6) กํากับดูแลการใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลของลูกจางในหนวยงานที่รับผิดชอบ (7) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บปวยหรือการเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญอันเนื่องจาก การทํางานของลูกจางตอ นายจางและแจงตอเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค เทคนิคขั้นสูงหรือระดับวิชาชีพ สําหรับสถาน ประกอบกิจการที่มีหนวยงานความปลอดภัยใหแจงตอหนวยงานความปลอดภัยทันทีที่เกิดเหตุ (8) ตรวจสอบสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บปวยหรือการเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางานของลูกจาง รวมกับเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค เทคนิคขั้นสูงหรือระดับวิชาชีพและรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาตอนายจาง เพื่อปองกันการเกิดเหตุโดยไมชักชา (9) สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทํางาน (10) ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทํางานอื่นตามที่นายจางหรือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร มอบหมาย

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 10
เมริเดียน
โรงแรมเลอ
ภูเก็ต บีช รีสอรท

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค มีหนาที่ดังตอไปนี้

(1) ตรวจสอบและเสนอแนะใหนายจางปฏิบัติตามกฏหมายวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการ ทํางาน

(2) วิเคราะหงานเพื่อชีบงอันตรายและกําหนดมาตรการปองกันและขั้นตอนการทํางานอยางปลอดภัยเสนอตอนายจาง (3) แนะนําใหลูกจางปฏิบัติตามคูมือวาดวยความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของสถานประกอบ กิจการ

(4) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บปวยหรือการเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญ อันเนื่องจากการทํางานของ ลูกจางและรายงานผลการตรวจสอบรวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาตอนายจาง (5) รวบรวมสถิติและจัดทํารายงานและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บปวยหรือการเกิดเหตุเดือดรอน รําคาญอันเนื่องจากการทํางานของลูกจางเสนอตอนายจาง (6) ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทํางานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิคขั้นสูง มีหนาที่ดังตอไปนี้

(1) ตรวจสอบและเสนอแนะใหนายจางปฏิบัติตามกฏหมายวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการ ทํางาน

(2) วิเคราะหเพื่อชี้บงอันตรายและกําหนดมาตรการปองกันและขั้นตอนการทํางานอยางปลอดภัยเสนอตอนายจาง

(3) วิเคราะหแผนงานหรือโครงการและขอเสนอแนะของหนวยงานตางๆและเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยในการทํางาน ตอนายจาง

(4) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบการใหเปนไปตามแผนงาน โครงการ หรือมาตรการความปลอดภัยในการ ทํางาน

(5) แนะนําใหลูกจางปฏิบัติตามขอบังคับและคูมือวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของ สถานประกอบกิจการ

(6) แนะนําฝกสอบและอบรมลูกจาง เพื่อใหการปฏิบัติงานปลอดภัยจากเหตุอันจะทําใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน

(7) ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะหการประสบอันตรายการเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญอันเนื่องจากการ

ทํางานของลูกจาง และรายงานผลการตรวจสอบ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกปญหาตอนายจางเพื่อปองกันการเกิด เหตุโดยไมชักชา (8) รวบรวมสถิติ วิเคราะหขอมูล และจัดทํารายงานและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บปวยหรือการเกิด เหตุเดือดรอนรําคาญอันเนื่องจากการทํางานของลูกจางเสนอตอนายจาง (9) ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทํางานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 11
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับวิชาชีพ มีหนาที่ดังตอไปนี้

(1) ตรวจสอบและเสนอแนะใหนายจางปฏิบัติตามกฏหมายวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการ ทํางาน

(2) วิเคราะหงานเพื่อชี้บงอันตรายและกําหนดมาตรการปองกันและขั้นตอนการทํางานอยางปลอดภัยเสนอตอนายจาง

(3) ประเมินความเสี่ยงดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน

(4) วิเคราะหแผนงานหรือโครงการและขอเสนอแนะของหนวยงานตางๆและเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยในการทํางาน ตอนายจาง

(5) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการใหเปนไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการความปลอดภัยใน การทํางาน

(6) แนะนําใหลูกจางปฏิบัติตามคูมือวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของสถานประกอบ กิจการ

(7) แนะนําฝกสอนลิบรมลูกจางเพื่อใหการปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทําใหเกิดความไมปลอดภัยในการทํางาน

(8) ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดลอมหรือดําเนินการรวมกับบุคคลหรือนิติบุคคลที่ขึ้นทะเบียนหรือไดรับใบอนุญาตตาม กฏหมายวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน หรือกฏหมายอื่นที่เกี่ยวของ

(9) เสนอแนะตอนายจางเพื่อใหมีการจัดการดานความปลอดภัยในการทํางานที่เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการและพัฒนา ใหมีประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง

(10) ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะหการประสบอันตราย การเจ็บปวย หรือการเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญอันเนื่องจากการ

ทํางานของลูกจาง และรายงานผลการตรวจสอบรวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกปญหาตอนายจางเพื่อปองกันการเกิด เหตุโดยไมชักชา

(11) รวบรวมสถิติวิเคราะหขอมูลและจัดทํารายงานและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการประสอบอันตรายการเจ็บปวย หรือการเกิด เหตุเดือดรอนรําคาญอันเนื่องจากการทํางานของลูกจางเสนอตอนายจาง (12) ใหความรูและอบรมดานโรคจากการประกอบอาชีพละสิ่งแวดลอมแกลูกจางกอนเขาทํางานและระหวางทํางาน

ทบทวนความรูอยางนอยปละ 1 ครั้ง (13) ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทํางานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 1 2
เพื่อ

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มีหนาที่ดังตอไปนี้

(1) จัดทํานโยบายดานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของสถานประกอบกิจการเสนอตอ นายจาง

(2) จัดทําแนวทางการปองกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บปวยหรือการเกิดเหตุเดือดรอนรําคาญอัน เนื่องจากการทํางานของลูกจางหรือความไมปลอดภัยในการทํางานเสนอตอนายจาง

(3) รา ยงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแกไขสภาพการทํางานและสภาพแวดลอมในการทํางาน ใหเปนไปตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานตอนายจางเพื่อความปลอดภัยในการทํางานของ ลูกจาง ผูรับเหมาและบุคคลภายนอกที่เขามาปฏิบัติงานหรือเขามาใชบริการในสถานประกอบกิจการ

(4) สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบกิจการ

(5) พิจารณาคูมือวาดวยความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานของสถานประกอบกิจการเพื่อเสนอ ความเห็นตอนายจาง

(6) สํารวจการปฏิบัติการดานความปลอดภัยในการทํางานและรายงานผลการสํารวจดังกลาว รวมทั้งสถิติการประสบ อันตรายที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการนั้น ในการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัยทุกครั้ง

(7) พิจารณาโครงการหรือแผนการฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน รวมถึงโครงการหรือแผนการอบรม เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบในดานความปลอดภัยของลูกจาง หัวหนางาน ผูบริหาร นายจางและบุคลากรทุก ระดับเพื่อเสนอความเห็นตอนายจาง

(8) จัดวางระบบใหลูกจางทุกคนทุกระดับมีหนาที่ตองรายงานสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัยตอนายจาง

(9) ติดตามผลความคืบหนาเรื่องที่เสนอตอนายจาง

(10) รายงานผลการปฏิบัติงานประจําป รวมทั้งระบุปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ ความปลอดภัยเมื่อปฏิบัติหนาที่ครบหนึ่งปเสนอตอนายจาง

(11) ประเมินผลการดําเนินงานดานความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบกิจการ

(12) ปฏิบัติงานดานความปลอดภัยในการทํางานอื่นตามที่นายจางมอบหมาย พนักงานทั่วไป ผูรับเหมา ผูมาติดตอ และบุคคลภายนอก มีหนาที่ดังตอไปนี้

(1) ปฏิบัติตามนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ส.2554 กฏระเบียบ ขอกําหนด คูมือความปลอดภัยในการทํางานของ สถานประกอบกิจการ

(2) ทํางานดวยความสํานึกถึงความปลอดภัยอยูเสมอ ทั้งตนเองและผูอื่น

(3) ควบคุมการทํางานของผูรับเหมาใหปฏิบัติตามกฏระเบียบ ขอกําหนดมาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงาน

(4) รวมเปนคณะทํางาน หรือคณะกรรมการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน ตามที่ไดรับ แตงตั้งหรือมอบหมาย

(5)

ตรวจหา/แกไข/รายงานสภาพการณที่ไมปลอดภัยและขอบกพรองที่มีผลกระทบตอความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอมในการทํางานตอผูบังคับบัญชาและผูเกี่ยวของทราบ (6) เอาใจใส ใหความรวมมือ และปฏิบัติตามกฏขอบังคับในการทํางานอยางปลอดภัยอยูเสมอ

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 13

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

(7) เมื่อมีพนักงานมีขอคิดเห็นเกี่ยวกับความปลอดภัยสวนบุคคลที่บริษัทจัดใหและแตงกายใหเหมาะสมกับงานตลอด ระยะเวลาปฏิบัติงาน

(8) จัดวางระบบใหลูกจางทุกคน ทุกระดับมีหนาที่ตองรายงานสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย ตอนายจาง

(9) ไมปฏิบัติงานที่ไมเขาใจและกอใหเกิดอันตราย หรือไมแนใจวาทําอยางไรจึงปลอดภัย

(10) ตองศึกษางานที่ปฏิบัติวาอาจเกิดอุบัติเหตุหรืออันตรายใดที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและผูอื่น

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 14

Le

คํานิยามศัพท อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คําจํากัดความตอไปนี้เปนคําศัพทที่ปรากฏอยูใน “คูมือความปลอดภัยในการทํางาน” สําหรับผูใชควรทําความเขาใจศัพท ตางๆ ตอไปนี้ใหถูกตองตรงกัน เพื่อใหการใชคูมือดังกลาวเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด ความปลอดภัย ( Safety) หมายถึง การปราศจากภัย หรืออันตราย การไมมีอุบัติเหตุ ไมมีโรคที่เกิดขึ้นจากการทํางาน เชน เกิดความเจ็บปวย การบาดเจ็บ การสูญเสีย หรือทรัพยสินเสียหาย ความปลอดภัยในการทํางาน (Occupational Safety and Health) หมายถึง สภาพการทํางานที่ปลอดจากอุบัติการณ ซึ่งจะรวมถึงอุบัติเหตุ และเหตุการณเกือบเกิดอุบัติเหตุ พรอมทั้งไมเกิดโรคจากการทํางาน อุบัติการณ (Incident) หมายถึง เหตุการณไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นแลว มีผลใหเกิดอุบัติเหตุ เหตุการณเกือบเกิดอุบัติเหตุ ( Near Miss) หมายถึง เหตุการณไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นแลว มีแนวโนมทําใหเกิด อุบัติเหตุ

อุบัติเหตุ ( Accident) หมายถึง เหตุการณไมพึงประสงคหรือเหตุการณอาจเกิดจากการขาดความควบคุม และเมื่อ เกิดขึ้นแลวมีผลทําใหเกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บปวยจากการทํางาน หรือการเสียชีวิต หรือความสูญเสียตอทรัพยสินหรือความ เสียหายตอสภาพแวดลอมในการทํางาน หรือตอสาธารณะชน

การกระทําที่ไมปลอดภัย (Unsafe Act) หมายถึง การฝาฝนขั้นตอนการปฏิบัติงาน การกระทําการดวยความประมาท ซึ่งอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุขึ้นได

สภาพการณที่ไมปลอดภัย ( Unsafe Condition) หมายถึง สภาพการณหรือสภาพแวดลอม ที่มีอันตราย ซึ่งสามารถ กอใหเกิดอุบัติเหตุหรือความสูญเสีย

ผูรับเหมา (Contractor) หมายถึง บริษัทหุนสวน หรือบุคคลอื่นๆ ที่บริษัทรีแลกซบีช จํากัด เปนผูจางใหปฏิบัติงานหรือ ปฏิบัติหนาที่ตามที่บริษัท รีแลกซบีช จํากัด มอบหม าย ทั้งนี้รวมถึงบริษัทที่รับจางชวงตอและผูปฏิบัติงานของบริษัทรับจางชวงนั้น ดวย

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 15 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
Méridien Phuket Beach Resort

Le

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน

1. การกระทําที่ไมปลอดภัย (Unsafe Act) สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ เกิดจากการกระทําของมนุษย รอยละ 88% เชน

1. ทํางานลัดขั้นตอนหรือเรงรีบเกิดไป

2. หยอกลอกันขณะปฏิบัติงาน

3. การไมทําตามขั้นตอนการทํางานที่ถูกตองหรือไมทําตามที่หัวหนาแนะนํา

4. การฝาฝนกฏระเบียบ สัญลักษณ และปายเตือนดานความปลอดภัย

5. ใชเครื่องจักร เครื่องกล เครื่องมือ หรืออุปกรณตาง โดยพลการหรือไมไดรับมอบหมาย

6. ทํางานเร็วเกินสมควรและใชเครื่องจักรในอัตราที่เร็วเกินกําหนด

7. ซอมแชมหรือบํารุงรักษาในขณะที่เครื่องยนตกําลังหมุน

8. ถอดอุปกรณความปลอดภัยจากเครื่องจักรโดยไมมีเหตุอันสมควร

9. ใชเครื่องมือที่ชํารุดหรือไมถูกวิธี

10. ทํางานในที่ที่ไมปลอดภัย

11. ยกหรือเคลื่อนยายวัสดุดวยทาทางหรือวิธีการที่ไมปลอดภัย

12. การมีนิสัยที่ชอบเสี่ยง

13. การปฏิบัติงานโดยไมมีหนาที่ หรือขาดความรู ทักษะ หรือความชํานาญ

14. ความประมาท พลั้งเผลอ เหมอลอย

15. ไมสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่จัดให

2. สภาพการณที่ไมปลอดภัย (Unsafe Condition)

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ รอยละ 15 โดยเกิดจากสภาพแวดลอมการทํางาน เชน

1. ไมมีที่ครอบหรือการดปดคลุมสวนที่หมุนไดและสวนสงถายกําลังของเครื่องจักร

2. เครื่องจักร เครื่องมือที่ใช มีการออกแบบที่ไมเหมาะสม

3. บริเวณพื้นที่ทํางานลื่น ขรุขระ หรือสกปรก

4. บริเวณที่ทํางานมีการวางของไมเปนระเบียบ กีดขวางทางเดิน

5. การกองวัสดุสูงเกินไป หรือการซอนวัสดุไมถูกวิธี

6. การจัดเก็บสารเคมี สารไวไฟตาง ๆ ไมเหมาะสม

7. แสงสวางไมเหมาะสม เชน แสงอาจสวางไมเพียงพอ หรือแสงจาเกินไป เปนตน

8. ไมมีระบบการระบายและถายเทอากาศที่เหมาะสม

9. การวางผังอาคาร หรือสถานีงานที่ไมถูกตองเหมาะสม

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 16
เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
โรงแรมเลอ
Méridien Phuket Beach Resort
ความสูญเสียจากอุบัติเหตุในการทํางาน ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ เปรียบเสมือนภูเขาน้ําแข็ง

ความสูญเสียทางตรง

ความสูญเสียทางอ้อม

ความสูญเสียทางตรง

1. คารักษาพยาบาล

2. คาทดแทน

3. คาทําขวัญ

4. อวัยวะ รางกายดวยโรคจากการประกอบอาชีพ

5. สูญเสียอวัยวะ พิการ

6. สูญเสียชีวิต

ความสูญเสียทางออม

• ลูกจาง

1. ไดรับความเจ็บปวด/ทรมาน

2. ความพิการ

3. ความสูญเสียงาน

4. เสียขวัญและกําลังใจ

• นายจาง

1. ผลผลิตลดลง

2. คาลวงเวลา

3. คาใชจายในการฝกเพื่อนพนักงานใหม

4. คาซอมแซมเครื่องจักร

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 17 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort

5. เสียเวลา/เสียชื่อเสียงภาพพจนโรงแรม

• ครอบครัว

1. สูญเสียคนรัก

2. จาดรายได

3. สูญเสียโอกาส

• ชุมชนรอบขาง

1. ขาดความเชื่อมั่น

2. วิตกกังวล

• ประเทศชาติ

1. ขาดกําลังคนชํานาญการ

2. เศรษฐกิจเสียหาย

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 18 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
Méridien Phuket Beach Resort
Le

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

การเจ็บปวยจากสภาพแวดลอมการทํางาน สภาพแวดลอมในการทํางานที่เปนอันตรายตอสุขภาพ หมายถึง สิ่งหรือสภาพตางๆ ที่อยูรอบตัวผูปฏิบัติงาน เชน ความรอน คามเย็น แสงสวาง เสียงดัง ความสั่นสะเทือน รังสี กาซ ไอสาร ฝุน ฟูม ละออง สารเคมี เชื้อโรคและสัตวตางๆ นอกจากนี้ ยังรวมถึงสภาพการทํางานที่ซ้ําซาก การเรงรีบทํางาน การทํางานลวงเวลา สัมพันธภาพระหวางเพื่อนรวมงาน คาตอบแทน และ ชั่วโมงการทํางาน เปนตน ความไมเหมาะสมของสภาพแวดลอมในการทํางาน นับวาเปนปจจัยที่มีสวนเกี่ยวของในการกอใหเกิดการ เจ็บปวยจากการทํางานได

สภาพแวดลอมในการทํางานที่อยูรอบตัวผูปฏิบัติงาน ซึ่งอาจทําใหเกิดการเจ็บปวยหรือโรคจากการทํางาน แบงเปน 5 กลุม ไดแก สภาพแวดลอมทางกายภาพ

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 19
ทางเคมี ทางชีวภาพ ทางการยศาสตร และทางจิตวิทยาสังคม ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1: สภาพแวดลอมในการทํางานที่เปนอันตรายตอสุขภาพ

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

ผูปฏิบัติงานตองทํางานในสภาพแวดลอมในการทํางานที่ไมเหมาะสม อาจเปนผลทําใหเกิดการเจ็บปวยหรือเกิด โรคจากการทํางานขึ้น เมื่อเกิดการเจ็บปวย ผูปฏิบัติงานนั้น อาจไดรับการตรวจวินิจฉัย การรักษาพยาบาล และฟนฟูสภาพใหหายได แตเมื่อผูปฏิบัติงานนั้นกลับเขาทํางานในสภาพแวดลอมการทํางานที่ไมเหมาะสมเชนเดิมอีกผูปฏิบัติงานนั้นก็อาจไดรับอันตราย ทํานองเดียวกับที่เกิดขึ้นไมมีที่สิ้นสุด ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 2: วงจรสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมในการทํางานและผูปฏิบัติงาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 20

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม โรคจากการทํางานหรือโรคจากการประกอบอาชีพ ( Occupational Disease)หมายถึง โรคหรือการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับ คนทํางาน/ลูกจาง โดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในสถานที่ทํางาน/สถานประกอบกิจการ ซึ่งอาการเจ็บปวยเกิดขึ้นกับ ผูปฏิบัติงานในขณะทํางานหรือหลังจากการทํางานเปนเวลานาน โรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทํางาน (Work-related Diseases) หมายถึง โรคหรือความเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับคนทํางาน โดยมี สาเหตุจากปจจัยหลายอยางประกอบกันและการทํางานในอาชีพเปนปจจัยหนึ่งของการเกิดโรค

โรคจากสิ่งแวดลอม (Environmental Diseases) หมายถึง โรคที่เกิดจากผลกระทบที่เกิดจากมลพิษปนเปอน ในดิน น้ํา อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย ที่ทําใหเกิดโรคหรือผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง หรือที่เรียกอีกอยางหนึ่ง วา โรคมลพิษจากสิ่งแวดลอม

โรคจากสิ่งแวดลอม มีหลักการเกิดโรคเชนเดียวกับโรคจากการทํางาน คือมีสิ่งคุกคามมาสัมผัสกับรางกายคนทําใหเกิด โรคขึ้น เพียงแตเปลี่ยนจากสิ่งคุกคามที่อยูในการทํางาน มาเปนสิ่งคุกคามที่อยูในสิ่งแวดลอมทั่วไปแทน บางโรคอาจจะปรากฏอาการ อยางเฉียบพลัน เนื่อ งจากอาจไดรับสิ่งทําใหเกิดโรค ในปริมาณคอนขางสูง ในระยะเวลาอันสั้น แตบางโรคอาจจะปรากฏอาการแบบ เรื้อรัง เนื่องจากคนงานจะคอยๆ ไดรับสิ่งที่ทําใหเกิดโรคนั้นทีละนอยๆ เปนเวลานานหลายเดือนหรือหลายป โรคสวนใหญเมื่อเกิดขึ้น แลวจะมีความรุนแรงสูงบางครั้งไมอาจรั กษาใหกลับสูสภาพเดิมได และมีจํานวนมากที่เปนโรคนี้เกิดความรุนแรงมากจนพิการหรือ เสียชีวิต จากประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กําหนดชนิดของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่อง จากการ

ทํางาน พ.ศ. 2566 (จัดเปน 4 กลุมโรค มีจํานวนทั้งหมด 106 โรค) ดังนี้

1. โรคจากการสัมผัสสารกอโรค หรือสภาพแวดลอมจากการทํางาน

1.1 โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี ดังตอไปนี้

(1) เบริลเลียม หรือสารประกอบของเบริลเลียม (Disease caused by beryllium or its compounds)

(2) แคดเมียม หรือสารประกอบของแคดเมียม (Diseases caused by cadmium or its compounds)

(3) ฟอสฟอรัส หรือสารประกอบของฟอสฟอรัส (Diseases caused by phosphorus or its compounds )

(4) โครเมียม หรือสารประกอบของโครเมียม ( Diseases caused by chromium or its compounds)

(5) แมงกานีส หรือสารประกอบของแมงกานีส (Diseases caused by manganese or its compounds)

(6) สารหนู หรือสารประกอบของสารหนู (Diseases caused by arsenic or its compounds)

(7) ปรอท หรือสารประกอบของปรอท (Diseases caused by mercury or its compounds)

(8) ตะกั่ว หรือสารประกอบของตะกั่ว (Diseases caused by lead or its compounds)

(9) ฟลูออรีน หรือสารประกอบของฟลูออรีน (Diseases caused by fluorine or its compounds)

(10) คารบอนไดซัลไฟด (Diseases caused by carbon disulfide )

(11) สารอนุพันธฮาโลเจนของสารไฮโดรคารบอน (Diseases caused by halogen derivatives of aliphatic or aromatic hydrocarbons)

(12) เบนซีน หรือสารอนุพันธของเบนซีน (Diseases caused by benzene or its homologues )

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 21

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

(13) อนุพันธไนโตรและอะมิโนของเบนซีน (Diseases caused by nitro – and amino- derivatives of benzene or its homologues)

(14) ไนโตรกลีเซอรีน หรือกรดไนตริคอื่นๆ (Diseases caused by nitroglycerine or other nitric acid esters)

(15) แอลกอฮอล กลัยคอล หรือคีโตน (Diseases caused by alcohols, glycols or ketones )

(16) คารบอนมอนนอกไซด ไฮโดรเจนซัลไฟด ไฮโดรเจนไซยาไนด หรือ สารประกอบของคารบอนมอนนอก ไซด ไฮโดรเจนซัลไฟด ไฮโดรเจนไซยาไนด (Diseases caused by asphyxiants like carbon monoxide, hydrogen sulfide, Hydrogen cyanide or its derivatives)

(17) อะครัยโลไนไตรล (Diseases caused by acrylonitrile)

(18) ออกไซดของไนโตรเจน (Diseases caused by oxides of nitrogen )

(19) วาเนเดียม หรือสารประกอบของวาเนเดียม (Diseases caused by vanadium or its compounds )

(20) พลวง หรือสารประกอบของพลวง (Diseases caused by antimony or its compounds )

(21) เฮกเซน (Diseases caused by hexane )

(22) กรดแร (Diseases caused by mineral acids )

(23) เภสัชภัณฑ (Diseases caused by pharmaceutical agents )

(24) นิเกิล หรือสารประกอบของนิเกิล (Diseases caused by nickel or its compounds )

(25) แทลเลียม หรือสารประกอบของแทลเลียม (Diseases caused by thallium or its compounds )

(26) ออสเมียม หรือสารประกอบของออสเมียม (Diseases caused by osmium or its compounds )

(27) ซีลีเนียม หรือสารประกอบของซีลีเนียม (Diseases caused by selenium or its compounds )

(28) ทองแดง หรือสารประกอบของทองแดง ( Diseases caused by copper or its compounds )

(29) ทองค าขาว หรือสารประกอบของทองค าขาว (Diseases caused by platinum or its compounds )

(30) ดีบุก หรือสารประกอบของดีบุก (Diseases caused by tin or its compounds

(31) สังกะสี หรือสารประกอบของสังกะสี ( Diseases caused by zinc or its compounds )

(32) ฟอสจีน (Diseases caused by phosgene )

(33) สารระคายเคืองตอกระจกตา เชน เบนโซควิโนน เปนตน (Diseases caused by corneal irritants like benzoquinone )

(34) แอมโมเนีย (Diseases caused by ammonia )

(35) ไอโซไซยาเนต ( Diseases caused by isocyanates )

(36) สารกําจัดศัตรูพืช (Diseases caused by pesticides )

(37) ซัลเฟอรออกไซด (Diseases caused by Sulphur oxides )

(38) สารทําละลายอินทรีย (Diseases caused by organic solvents )

(39) น้ํายางพืช หรือผลิตภัณฑที่มีน้ํายางพืช เปนสวนประกอบ (Diseases caused by latex or latexcontaining products )

(40) คลอรีน (Diseases caused by chlorine )

(41) สารเคมี หรือสารประกอบของสารเคมีอื่นที่มิไดระบุไวตามขอ 1 - 40 ใหเปนไปตามความเห็นของ คณะกรรมการการแพทย กองทุนเงินทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 22

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

1.2. โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ

1. โรคหูตึงจากเสียง (Hearing impairment caused by noise)

2. โรคจากความสั่นสะเทือน (ความผิดปกติของกลามเนื้อ เสนเอ็น กระดูก ขอ หลอดเลือดสวนปลาย เสนประสาทสวนปลาย ( Diseases caused by vibration (disorders of muscles, tendons, bones, joints, peripheral blood vessels or peripheral nerves )

3. โรคจากความกดอากาศ ( Diseases caused by compressed or decompressed air )

4. โรคจากรังสีแตกตัว (Diseases caused by ionizing radiation s )

5. โรคจากรังสีไมแตกตัว ไดแก แสง (อัลตราไวโอเลต แสงที่มองเห็นได อินฟราเรด) รวมทั้งเลเซอร (Diseases caused by optical (ultraviolet, visible light, infrared) radiations including laser )

6. โรคจากอุณหภูมิต่ําหรือสูงผิดปกติมาก (Diseases caused by exposure to extreme temperatures )

7. โรคจากสาเหตุทางกายภาพอื่น ที่มิไดระบุไวตามขอ 1) - 6) ใหเปนไปตาม ความเห็นของคณะกรรมการ การแพทย กองทุนเงินทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

1.3. โรคจากสารชีวภาพและโรคติดเชื้อ

1. โรคบรูเซลโลสิส (Brucellosis)

2. โรคติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis viruses)

3. โรคภูมิคุมกันบกพรองจากการติดเชื้อเอชไอวี (Human immunodeficiency virus (HIV)

4. โรคบาดทะยัก (Tetanus )

5. วัณโรค (Tuberculosis )

6. โรคกลุมอาการเปนพิษหรือการอักเสบที่ไดรับเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อรา (Toxic or inflammatory syndromes associated with bacterial or fungal contaminants )

7. โรคแอนแทรกซ (Anthrax )

8. โรคฉี่หนู (Leptospirosis )

9. โรคจากสารชีวภาพและโรคติดเชื้ออื่นที่มิไดระบุไวตามขอ 1) - 8) ใหเปนไป ตามความเห็นของคณะกรรมการ การแพทย กองทุนเงินทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

2. โรคจากการทํางานที่มีผลตออวัยวะ หรือระบบการทํางานของรางกายหรือจิตใจ

2.1 โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางาน

1. โรคกลุมนิวโมโคนิโอสิสที่เกิดพังผืดในเนื้อปอด เชน ซิลิโคสิส แอสเบสโทสิส เปนตน ( Pneumoconioses caused by fibrogenic mineral dust (silicosis, anthraco -silicosis, asbestosis)

2. โรคซิลิโคทูเบอรคูโลสิส (Silicotuberculosis )

3. โรคกลุมนิวโมโคนิโอสิสที่ไมเกิดพังผืดในเนื้อปอด ( Pneumoconioses caused by non -fibrogenic mineral dust )

4. โรคซิเดอโรสิ (Siderosis)

5. โรคปอดจากฝุนโลหะหนัก (Bronchopulmonary diseases caused by hard -metal dust)

6. โรคบิสสิโนสิส (Byssinosis)

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 23

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

7. โรคบากาสโซสิส (Bagassosis)

8. โรคหืดจากการทํางาน (Asthma caused by recognized sensitizing agents or irritants inherent to the work process)

9. โรคปอดอักเสบภูมิไวเกิน (Extrinsic allergic alveolitis caused by the inhalation of organic dusts or microbially contaminated aerosols, arising from work activities)

10 โรคปอดอุดกั้นเ รื้อรัง ( Chronic obstructive pulmonary diseases caused by inhalation of coal dust, dust from stone quarries, wood dust, dust from cereals and agricultural work, dust in animal stables, dust from textiles, and paper dust, arising from work activities )

11. โรคปอดจากอะลูมิเนียม (Diseases of the lung caused by aluminium)

12. โรคทางเดินหายใจสวนบนจากสารภูมิแพ หรือสารระคายเคืองในที่ทํางาน (Upper airways disorders caused by recognized sensitizing agents or irritants inherent to the work process )

13. โรคระบบหายใจอื่นที่มิไดระบุไวตามขอ 1) - 12) ใหเปนไปตามความเห็น ของคณะกรรมการ การแพทย กองทุนเงินทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

2.2 โรคผิวหนัง

1 โรคผิวหนังอักเสบและลมพิษจากสารกอภูมิแพ (Allergic contact dermatoses and contact urticaria caused by other recognized allergy - provoking agents arising from work activities not included in other items)

2 โรคผิวหนังอักเสบจากสารระคายเคือง ( Irritant contact dermatoses caused by other recognized irritant agents arising from work activities not included in other items)

3 โรคดางขาว (Vitiligo caused by other recognized agents arising from work activities not included in other items)

4. โรคผิวหนังอื่นที่มิไดระบุไวตามขอ 1 - 3 ใหเปนไปตามความเห็นของ คณะกรรมการการแพทย กองทุนเงิน ทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

2.3 โรคและความผิดปกติในระบบกระดูก กลามเนื้อ เอ็นและขอ

1. ปลอกเอ็นกลามเนื้ออักเสบบริเ วณปลายยื่นกระดูกเรเดียสจากการทํางาน ในลักษณะที่มีการเคลื่อนไหวซาๆ การใชกํา ลั งขอมือมากๆ และขอมืออยูในตํา แหนงที่ไมเหมาะสม ( Radial styloid tenosynovitis due to repetitive movements, forceful exertions and extreme postures of the wrist )

2 ปลอกเอ็นกลามเนื้ออักเสบเรื้อรังของ มือและขอมือจากการเคลื่อนไหวซา ๆ การใชกําลังขอมือมากๆ และ ขอมืออยูในตํา แหนงที่ไมเหมาะสม (Chronic tenosynovitis of hand and wrist due to repetitive movements, forceful exertions and extreme postures of the wrist)

3. ถุงลดเสียดสีที่ปุมปลายศอกอักเสบจากแรงกดบริเวณขอศอกเปนเวลานาน (Olecranon bursitis due to prolonged pressure of the elbow region)

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 24

Le Méridien Phuket Beach Resort

4. ถุงลดเสียดสีหนาสะบาหัวเขาอักเสบจากการคุกเขาเปนเวลานาน ( Prepatellar bursitis due to prolonged stay in kneeling position)

5. รอยนูนเหนื อปุมกระดูกตนแขนอักเสบจากการทํา งานที่ใชแรงแขนและขอศอกมาก (Epicondylitis due to repetitive forceful work)

6. กลุมอาการแผนกระดูกออนรองขอเขาบาดเจ็บจากการคุกเขาและนั่งยอง ทํา งานเปนเวลานาน (Meniscus lesions following extended periods of work in a kneeling or squatting position)

7 กลุมอาการชองขอมือคารปล เนื่องจากการใชงานขอมือและมือในทางอ หรือ เหยียดเชนเดิมซ้ํา ๆ กัน ตลอดเวลาการทํางานหรือทํางานกับอุปกรณที่ทํา ใหเกิดการสั่นสะเทือนที่มือ เปนประจําอยูเสมอ โดยไดกระทํา อยาง ตอเนื่องและเปนระยะเวลานาน (Carpal tunnel syndrome due to extended periods of repetitive forceful work, work involving vibration, extreme postures of the wrist, or a combination of the three)

8. โรคหรือภาวะอื่นของระบบกระดูก กลามเนื้อ เอ็นและขอที่มิไดระบุไวตาม ขอ 1 - 7 ใหเปนไปตามความเห็น ของคณะกรรมการการแพทย กองทุนเงินทดแทน วามีสาเหตุ เนื่องจากการทํางาน

2.4 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม

1. โรคเครียดภายหลังเหตุการณสะเทือนขวัญ (Post -traumatic stress disorder)

2. ความผิดปกติทางจิตหรือพฤติกรรมอื่นใหเปนไปตามความเห็นของ คณะกรรมการการแพทย กองทุนเงิน ทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

3 โรคมะเร็งจากการทํางาน โดยมีสาเหตุจาก

1. แอสเบสตอท (ใยหิน) (Asbestos)

2. เบนซิดีน และเกลือของสารเบนซิดีน (Benzidine and its salts)

3. บิสโครโรเมทธิลอีเทอร (Bis -chloromethyl ether (BCME)

4. โครเมียม และสารประกอบของโครเมียม (Chromium VI compounds)

5. น้ํามันและเขมาของน้ํามันดินจากถานหิน (Coal tars, coal tar pitches or soots)

6 เบตา - แนพธีลามิน (Beta -naphthylamine)

7. ไวนิลคลอไรด (Vinyl chloride)

8 เบนซีน (Benzene)

9. อนุพันธของไนโตรและอะมิโนของเบนซีน (Toxic nitro - and amino -derivatives of benzene or its homologues)

10. รังสีแตกตัว (Ionizing radiations)

11. น้ํามันดิน น้ํา มันเกลือแร รวมทั้งผลิตภัณฑจากการกลั่นน้ํา มัน เชน ยางมะตอย พาราฟนเหลว เปนตน (Tar, pitch, bitumen, mineral oil, anthracene, or the compounds, products or residues of these substances )

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 25
โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

12. ไอควันจากถานหิน (Coke oven emissions)

13. สารประกอบของนิกเกิล (Nickel compounds)

14. ฝุนไม (Wood dust)

15 สารหนู และสารประกอบของสารหนู (Arsenic and its compounds)

16 เบอริลเลียมและสารประกอบของเบอริลเลียม (Beryllium and its compounds)

17 แคดเมียมและสารประกอบของแคดเมียม (Cadmium and its compounds)

18 อิริโอไนท (Erionite)

19 เอธทิลีนออกไซด (Ethylene oxide)

20 ไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี (Hepatitis B virus (HBV) and hepatitis C virus (HCV)

21. โรคมะเร็งที่เกิดจากปจจัยอื่นที่มิไดระบุไวตามขอ 1 - 20 ใหเปนไปตามความเห็น ของคณะกรรมการ การแพทย กองทุนเงินทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

4 โรคอื่น ๆ ซึ่งพิสูจนไดวาเกิดขึ้นตามลักษณะห รือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทํา งาน ใหเปนไปตามความเห็นของ คณะกรรมการการแพทย กองทุนเงินทดแทน วามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 26 โรงแรมเลอ
เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อหรือาการสาคัญของโรคจากการประกอบอาชีพ พ.ศ. 2563 อาศัยอํานาจตาม ความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 7 (1) แหงพระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 กําหนดใหโรคหรืออาการสําคัญดังตอไปนี้เปนโรคจากการประกอบอาชีพ

1. โรคจากตะกั่วหรือสารประกอบของตะกั่ว

2. โรคจากฝุนซิลิกา

3. โรคจากภาวะอับอากาศ

4. โรคจากแอสเบสตอส (ใยหิน) หรือโรคมะเร็งที่เกิดจากแอสเบสตอส (ใยหิน)

5. โรคหรืออาการสําคัญของพิษจากสารกําจัดศัตรูพืช

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อหรือาการสาคัญของโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2563 อาศัยอํานาจตามความใน มาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 7 (1) แหงพระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 กําหนดใหโรคหรืออาการสําคัญดังตอไปนี้เปนโรคจากสิ่งแวดลอม

1. โรคจากตะกั่วหรือสารประกอบของตะกั่ว หมายถึง โรคหรืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจากหรือเปนผลเนื่องมาจากมลพิษ ที่มีตะกั่วหรือสารประกอบของตะกั่ว

2. โรคหรืออาการที่เกิดจากการสัมผัสฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน หมายถึง โรคหรืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจาก หรือเปนผลเนื่องมาจากมลพิษที่มีฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 27

การปองกันโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม ลําดับมาตรการปองกันอันตรายหรือควบคุมความเสี่ยงเพื่อปองกันโรคจากการทํางานที่อาจเกิดขึ้นตามหลักการ

Hierarchy of Controls มีดังนี้  มาตรการลําดับที่ 1 การขจัดอันตราย (Elimination)

ในการควบคุมความเสี่ยง มาตรการที่ตองพิจารณาเปนลําดับแรก คือ การขจัดอันตราย ซึ่งถือเปนมาตรการคุมครองดูแล ที่ดีที่สุด เพราะชวยลดความเสี่ยงตอการสัมผัสอันตรายไดทาใหลูกจางมีโอกาสไดรับอันตรายนอยที่สุด และเปนการควบคุมที่ถาวร เชน บริเวณที่มีการใชสารเคมีอันตรายที่เปนพิษ การใชหุนย นตทํางานแทนคนทํางาน จะชวยปองกันคนทไงานไมตองสัมผัสสารเคมี โดยตรง เปนตน

 มาตรการลาดับที่ 2 การทดแทนดวยสิ่งที่มีอันตรายนอยกวา (Substitution) ถือเปนมาตรการควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงที่ตองพิจารณาเปนลําดับที่ 2 คือ การทดแทนดวยสิ่งที่มีอันตรายนอย กวา เชน การเลือกใชสารเคมีที่มีอันตรายนอยกวาแทนการใชสารเคมีที่มีอันตรายมาก หรือการใชสีที่ใชน้ําเปนตัวทาละลายแทนการ ใชสีที่ใชสารประเภทน้ํามันเปนตัวทําละลาย แอสเบสตอสเปนสารกอมะเร็ง สามารถทดแทนดวยสารเคมีตัวอื่นที่ไมเปนสารกอ มะเร็ง และมีอันตรายตอสุขภาพนอยกวา  มาตรการลําดับที่ 3 การควบคุมทางวิศวกรรม (Engineering Control) ถาไมสามารถควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงดวยการขจัดอันตราย (มาตรการลําดับที่ 1) และการทดแทนดวยสิ่งที่มี อันตรายนอยกวา (มาตรการลําดับที่ 2) ได ก็ใหพิจารณาดําเนิ นการควบคุมดวยการควบคุมทางวิศวกรรม ซึ่งเปนการดําเนินการ ควบคุมเพื่อใหสภาพแวดลอมการทํางานมีปลอดภัย เชน การติดตั้งระบบระบายอากาศ (Ventilation system) การลดความดังของ เสียง (Noise control) เปนตน  มาตรการลําดับที่ 4 การควบคุมเชิงบริหารจัดการ (Administrative control)

การควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงมาตรการที่ 4 เปนการควบคุมเชิงบริหารจัดการโดยการใหขอมูลความรูและการ อบรม การตรวจวัดสภาพแวดลอมในการทํางานการจัดใหมีโครงการเฝาระวังสุขภาพสําหรับผูปฏิบัติงานที่ไดมีการชี้บงวามีความเสี่ยง ตัวอยางการตรวจสุขภาพตามป จจัยเสี่ยง หัวหนางานกํากับดูแลใหผูปฎิบัติงานทํางานตามคูมือความปลอดภัยและมาตรฐานความ ปลอดภัยในการทํางาน เปนตน  มาตรการลําดับที่ 5 การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล (PPE)

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 28 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
Méridien Phuket Beach Resort
Le

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

ในกรณีที่สถานประกอบกิจการไมสามารถควบคุมอันตรายดวยมาตรการลําดับที่ 1 - 4 อยางไดผล จึงเลือกใชมาตรการ ลําดับที่ 5 เปนมาตรการสุดทาย คือ การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล เชน การใชหนากากปองกันสารเคมี ชุดกัน ความรอน ครอบหูหรือที่อุดหูลดเสียง เปนตน มาตรการใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลนี้ ไมควรนํามาใชเปนมาตรการ หลักในการปองกันอันตราย อยางไรก็ตาม ควรใหผูใชมีสวนรวมในการเลือกใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ตลอดจนมี การใหความรูเกี่ยวกับวิธีการใชการบํารุงรักษาอุปกรณอยางถูกตอง

กฎความปลอดภัยทั่วไปที่พนักงานทุกค นพึงปฏิบัติ
คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 29

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

1. พนักงานทุกคนตองผานการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยในการทํางานสําหรับพนักงานใหมกอนที่จะเขาปฏิบัติงานได

2. การเขา - ออกโรงแรม กรณี Contractor/Visitor/Associate ที่ตองการเขาพื้นที่ในวันหยุด ตองแลกบัตรและติดบัตรใหเห็นอยาง ชัดเจนตลอดเวลาเมื่อเขามาภายในอาคาร

3. ปฏิบัติงานตามวิธีการทํางาน และกฎระเบียบความปลอดภัยของบริษัทฯ อยางเครงครัด

4. ทําความเขาใจมาตรฐานในการทํางาน เครื่องมือ เครื่องจักร รวมทั้งอุปกรณตางๆ กอลงมือปฏิบัติงาน

5. หามใชเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ ผิดประเภท เพราะอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุและทรัพยสินเสียหายได

6. หามนั่งบนเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ ใตฐานของเครื่องจักร

7. ตองตรวจเช็คสภาพเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ กอนและหลังเริ่มงานทุกวัน หากพบวาชํารุดเสียหายใหแจงหัวหนางานทันที เพื่อดําเนินการแกไขใหปลอดภัยถึงจะปฏิบัติงานไดปกติ

8. หัวหนางานจะอบรมวิธีการทํางานใหกับพนักงานทราบโดยละเอียด หากยังมีความสงสัย ไมเขาใจที่เกี่ยวกับวิธีทํางาน พนักงาน ควรรีบปรึกษาหัวหนางานทันที

9. แตงกายตามยูนิฟอรมพรอมตอการทํางาน และตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล (PPE) ใหเหมาะสมกับแต ละงานตลอดระยะเวลาการทํางาน

10. ระหวางการทํางานตองทํางานดวยความระมัดระวัง หามหยอกลอเลนกัน หรือยั่วยุกอการทะเลาะวิวาทในขณะปฏิบัติงาน

11. ปฏิบัติตามสัญลักษณหรือปายเตือนอันตรายอยางเครงครัด

12. ดูแลถังดับเพลิง ตูเก็บสายฉีดน้ําดับเพลิง ประตูทางออกฉุกเฉิน เสนทางหนไฟ ทางเดิน ไมใหมีสิ่งกีดขวาง และสามารถใชงาน ไดตลอดเวลา

13. หามฉีดเครื่องดับเพลิงหรือกดสัญญาณแจงเหตุฉุกเฉินเลนโดยไมมีเหตุอันควร

14. หามนําอุปกรณที่กอใหเกิดประกายไฟเขาในเขตพื้นที่หวงหาม สถานที่เก็บรักษากาซปโตรเลียมเหลว (LPG) โดยเด็ดขาด ไดแก ไมขีดไฟ ไฟแชค ไฟฉาย บุหรี่ไฟฟาโทรศัพทมือถือ แท็ปเล็ต โนตบุค กลองถายรูป

15. ตองปดสวิทซ หรือถอดปลั๊ก กอนซอมแซมเครื่องจักรทุกครั้ง

16. หากสภาพรางกายไมพรอมปฏิบัติงาน ตองแจงใหหัวหนางานทราบทันที

17. พนักงานทุกคนจะตองปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน, กฎระเบียบ, เครื่องหมายปายเตือน และปายหามตางๆ ของโรงแรมอยางเครงครัด

18. หามปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงสูงตามลําพัง โดยเฉพาะการทํางานหลังเวลาทํางานปกติ เชน งานไฟฟา งานในที่อับอากาศ งานที่ สูง เปนตน

19. ขณะปฏิบัติงานตองมีการสื่อสาร ประสานงานที่ดีกับเพื่อนรวมงาน เชน ใชวิทยุสื่อสาร, การปรับแตง, เปลี่ยนแปลงหรือซอมแซม อุปกรณใดๆ ตองกระทําโดยผูมีหนาที่รับผิดชอบเทานั้น 20. หามสูบบุหรี่ภายในอาคารโดยเด็ดขาด ยกเวนเฉพาะในบริเวณที่กําหนดไวใหเทานั้น ซึ่งมีปายอนุญาตใหสูบบุหรี่

21. หามดื่มสุรา ของมึนเมา สารเสพติดและเลนการพนันภายในโรงแรมโดยเด็ดขาด

22. กรณีที่ไมมีหนาที่รับผิดชอบในเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่อันตราย หามเขาไปดําเนินการใดๆ โดยที่ไมไดรับอนุญาต เด็ดขาด

23. การจอดรถ ใหจอดยานยนตหางจากอุปกรณดับเพลิงหรืออุปกรณฉุกเฉินอื่นๆ อยางนอย 5 เมตร, ไมจอดในบริเวณที่กีดขวาง การจราจร, ไมวางวัสดุ อุปกรณกีดขวางอุปกรณดับเพลิง-ชวยชีวิต

24. เมื่อเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน หัวหนางานตองรีบทําการปฐมพยาบาลเบื้องตน กรณีที่ตองนําสงโรงพยาบาลทาง

MOD/LP/HR/พยาบาล จะเปนผูพิจารณา หรือถาเปนอุบัติเหตุ ขั้นรุนแรงหัวหนางานสามารถพิจารณานําสงโรงพยาบาลได

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 30

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

25. พนักงานและหัวหนางานจะตองเขียนรายงานอุบัติเหตุสงแผนกปองกันการสูญเสียทุกครั้งที่เกิดอุบัติเหตุเพื่อทําการสอบสวน วิเคราะหอุบัติเหตุ หาแนวทางปองกันแกไข และรวบรวมขอมูลการเกิดอุบัติเหตุ

26. พนักงานทุกคนตองรวมมือกันทําความสะอาดพื้นที่ทํางาน และจัดเก็บ เครื่องมือ อุปกรณใหเรียบรอยปลอดภัย (Housekeeping) ทุกครั้งหลังเลิก งานหรือตามที่โรงแรมกําหนด แยกชนิดขยะหรือเศษวัสดุ , ทิ้งลงในภาชนะ

ใหถูกตอง , จัดใหมีวัสดุดูดซับ กรณีพบน้ํามันหรือสารเคมีหกรั่วไหลใ หรีบ ทําความสะอาดทันที

27. พนักงานทุกคนตองใหความรวมมือในกิจกรรมดานความปลอดภัยที่ทาง สถานประกอบกิจการจัดขึ้นทุกครั้ง

กิจกรรม 5 ส. สูความปลอดภัย

สถานที่ทํางานใดที่ดําเนินกิจกรรม 5 ส. จะปลอดภัยกวาและมีการผลิตที่ดีกวา รวมทั้งยังทําใหสถานที่ทํางานนาอยู นาดู และสะดวกสบายขึ้น ซึ่งการดําเนินกิจกรรม 5 ส. สามารถปฏิบัติได ดังนี้

• สะสาง: แยกรายการสิ่งของที่จําเปน และไมจําเปนทิ้งสิ่งของที่ไมจําเปนออกไป

• สะดวก: เก็บเครื่องมืออุปกรณไวในที่ที่ใชไดสะดวกและเก็บในที่ปลอดภัย

• สะอาด: จัดระเบียบการดูแลความสะอาดของสถานที่ทํางาน

• สุขลักษณะ: ดูแลเสื้อผาและรักษาสภาพสถานที่ทํางานใหสะอาดเรียบรอยอยาปลอยใหสกปรก รกรุงรังเปนเด็ดขาด

• สรางนิสัย: ปฏิบัติ 4 ส. ขางตนจนเปนนิสัย

ในการบริหารการผลิตอยางมีประสิทธิภาพจะตองอาศัยทั้งกิจกรรม 5 ส และความปลอดภัย โดยดําเนินการควบคูพรอมกัน มี เปาหมายรวมกันคือขจัดอุบัติเหตุและความไมปลอดภัยใหหมดสิ้นไป ดังตัวอยาง

1. สถานที่ทํางานที่ปราศจากสิ่งสกปรกหรือสิ่งแวดลอมเปนพิษทําใหสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยจะอยูในระดับสูง

2. การจัดวางสิ่งของเปนระเบียบ ไมเกะกะกีดขวางทางเดิน จะไมทําใหเกิดการลมหรือกลิ้งทับ การเดินชนมุมแหลมคมจนบาดเจ็บ จะไมเกิดขึ้น

3. ไมตองเสียเวลาคนหาวัสดุอุปกรณ ไมทําใหอารมณเสีย อุบัติเหตุก็ไมเกิด

4. ไมมีการเก็บวัสดุสิ่งของที่ไมตองการหรือไมจําเปนมากเกินไป โดยเฉพาะสิ่งที่อาจกอใหเกิดอัคคีภัยไดงาย

การชี้บงอันตรายดวยวิธี ( Job Safety Analysis)
คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 31

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

การชี้บงอันตรายดวยวิธีดวยวิธี Job Safety Analysis (JSA) เปนวิธีหนึ่งในการชี้บงอันตรายในกระบวนการจัดการความ เสี่ยง โดยเปนการคนหาอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในแตละขั้นตอนของงานหรือขั้นตอนของกิจกรรม ซึ่งสงผลกระทบตอความปลอดภัยและ สุขอนามัยของผูปฏิบัติงาน จึงตองกําหนดมาตรการในการควบคุมปองกันอันตรายอันนําไปสูการจัดทําแผนจัดการความเสี่ยงตอไป ขั้นตอนการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

1. กอนลงมือดําเนินการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

1.1 รวบรวมงานทั้งหมดที่รับผิดชอบ โดยรวมประเภทของงาน กิจกรรม หรือตําแหนงงานที่มีในหนวยงานวา มีงาน ใดบาง จํานวนผูปฏิบัติงาน จํานวนครั้งที่ปฏิบัติในแตละวัน และงานใดเปนงานวิกฤต

1.2 เลือกงานที่จะวิเคราะหเพื่อความปลอดภัย โดยปกติแลว ทุกงานควรไดรับการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย ไม วาจะเปนงานไมประจํา หรืองานประจํา แตการที่จะเลือกงานเพื่อดําเนินการวิเคราะหกอนนั้น ควรพิจารณาขอมูล ตอไปนี้

- ความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุของงานตางๆ

- ความรายแรงของอุบัติเหตุ เชน เสียชีวิต พิการ ฯลฯ ที่เกิดขึนจากการทํางานในแตละงาน

- ลักษณะความรุนแรงที่แฝงอยูในงานตางๆ แตยังไมเคยเกิดความสูญเสียมากอน

- งานใหมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต หรือเปลี่ยนเครื่องมือเครื่องจักรใหม

1.3 เลือกผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับงานที่จะวิเคราะห ควรชี้แจงใหผูปฏิบัติงานทราบถึงวัตถุประสงคของการวิเคราะห งานเพื่อความปลอดภัยวาเปนการศึกษาเพื่อใหทราบถึงอันตราย เปนการขจัดและควบคุมอันตรายนั้น มิใชเปน การเฝาสังเกตเพื่อการจับผิดผูปฏิบัติงาน

ควรใหผูปฏิบัติงานไดเขามามีสวนรวมในการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย โดยพิจารณาเลือกผูที่มี ประสบการณในงานนั้น และเปนผูใหความรวมมืออยางเต็มที่ในการเฝาสังเกตการทํางานและควรใหมีสวนรวมในการ วิเคราะหงานทุกขั้นตอน

2. การดําเนินการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย

2.1 เลือกขั้นตอนการทํางานที่จพวิเคราะห งานทุกงานสามารถแบงเปนขั้นตอนไดเปนลําดับ ซึ่งอาจทําไดโดยการเฝา สังเกตจากการทํางานของผูปฏิบัติงาน แลวเขียนขั้นตอนการทํางานที่สําคัญๆ เรียงตามลําดับกอนหลัง ขอควร ระวังในการแบงแยกขั้นตอนของงานคือ ไมควรแบงขั้นตอนงานละเอียดเกินไป หรือหยาบจนเกินไป ตัวอยางขั้นตอนเจียเหล็กหลอ สามารถแบงขั้นตอนการทํางานออกไดเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้

1. หยิบแทงเหล็กหลอจากกลองขวามือ

2. กดเหล็กหลอเขากับลอหินเจีย

3. ใสแทงเหล็กหลอที่ขัดแลว ลงในกลองซายมือ หลังจากไดขอมูลขั้นตอนการทํางานที่จะวิเคราะหเรียบรอยแลว ใหนําขอมูลกรอกลงในชอง “ขั้นตอนงาน”

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 32

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

2.2 คนหาอันตรายแตละขั้นตอนการทํางาน พรอมสาเหตุที่เกิดขึ้น หลังจากที่ไดแบงปนขั้นตอนการทํางานแลว ตอง พยายามตรวจสอบหรือคนหาอันตรายที่มีอยู หรือแฝงอยู หรืออาจเกิดขึ้นในแตละขั้นตอนการทํางาน โดยผู วิเคราะหอาจใชประเด็นในการวิเคราะหดังตอไปนี้

(1) ผูปฏิบัติงาน

- มีโอกาสสัมผัสกับสิ่งที่อาจกอใหเกิดการบาดเจ็บ เจ็บปวย หรือเมื่อยลา

- อาจไดรับบาดเจ็บจากการเอื้อมมือขามสวนของเครื่องจักรหรือวัสดุที่กําลังเคลื่อนไหว - ไมหยุดเครื่องจักรในขณะซอมบํารุง - อาจพลัดตกจากที่สูง - อาจไดรับบาดเจ็บจากการยก หรือลากดึงวัตถุ หรือพลักดันวัตถุที่หนัก - อาจถูกกระแทก กระทบกับสวนของเครื่องจักรหรือวัตถุ - อยูในบริเวณที่อาจเกิดอันตรายขึ้นได - ไมสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ถูกตองและเหมาะสมกับงาน

(2) เครื่องมือ อุปกรณ และวัตถุ

- มีอันตรายที่เกิดจากเครื่องมือ เครื่องจักร ยานพาหนะ หรืออุปกรณตางๆ - มีอันตรายที่เกิดจากการสัมผัสสารเคมี วัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ - มีกระบวนการทํางานที่ไมเหมาะสม เชน การทํางานที่เรงรีบเพื่อใหไดงานตาม เปาหมาย

(3) สภาพและสิ่งแวดลอมการทํางาน - มีอันตรายจากสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการทํางาน เชน ฝุนละออง สารเคมี ความรอน การ ระบายอากาศ เสียงดัง เปนตน - มีอันตรายจากการจัดวางสิ่งของในสถานที่ทํางานไมเปนระเบียบเรียบรอย กีดขวาง เสนทาง

หลังจากไดขอมูลอันตรายพรอมสาเหตุที่อาจเกิดขึ้นในแตละขั้นตอนการทํางานเรียบรอยแลว ใหนําขอมูลกรอกลงในชอง “อันตราย” ของแตละขั้นตอนการทํางาน

2.3 กําหนดวิธีการปองกันอันตรายและการปรับปรุง ในแตละขั้นตอนการทํางาน หลังจากไดทราบอันตรายตางๆ พรอมสาเหตุแลว ก็ตองพยายามกําหนดวิธีการปองกันเพื่อขจัดอันตรายตางๆ ใหหมดไป มาตรการปองกัน อันตรายสามารถดําเนินการโดยกําหนดวิธีการปองกันและควบคุมที่แหลงอันตรายและผูปฏิบัติงาน เชน - มีการกําหนดวิธีการทํางานใหม หรือเปลี่ยนลําดับของขั้นตอนการทํางาน - มีการฝกอบรมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในหัวขอที่เหมาะสมใหแกผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ - มีการปรับปรุงสถานที่ทํางานใหเปนระเบียบเรียบรอยปราศจากสิ่งกีดขวาง - มีแผนซอมบํารุงเครื่องจักรเปนประจําสม่ําเสมอ - มีการตรวจสอบอุปกรณที่ใชปฏิบัติงานเปนประจํา มีตารางการตรวจสอบ - มีการเพิ่มทักษะความชํานาญใหผูปฏิบัติงาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 33

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

- มีการจัดใหมีและใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ถูกตองและเหมาะสม หลังจากไดขอมูลวิธีการปองกันอันตรายและการปรับปรุงในแตละขั้นตอนการทํางานเรียบรอยแลวใหนําขอมูลกรอกลง ชอง”มาตรการ (การปองกันและการปรับปรุง)”

ตัวอยาง แบบการชี้บงอันตรายดวยวิธี JSA ของงานเจียร

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 34

หมายเหตุ : ในการปฏิบัติงานเจีย อาจมีอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทางานในขั้นตอนเตรียมงานกอนเริ่มปฏิบัติงานเจีย และ ขั้นตอนเก็บงาน หลังจากเสร็จงาน เพื่อเปนการปองกันการประสบอันตรายจากการทางาน อาจมีการพิจารณาอันตรายและมาตรการ เพื่อการปองกันและปรับปรุง ดังนี้

ก. ขั้นตอนการเตรียมงาน

1. การเตรียมความพรอมของเครื่องเจียและอุปกรณ อันตรายอาจเกิดขึ้นจาก

1.1 ชิ้นสวนวัสดุกระเด็น หินเจียแตกกระเด็น/บาดมือ จากอุปกรณเครื่องเจียที่ชํารุด ซึ่งสามารถปองกันไดโดย ผูปฏิบัติงานทาการตรวจเช็คอุปกรณเครื่องเจียใหอยูในสภาพที่ใชงานอยางปลอดภัย ดังนี้ (1) ตรวจสอบสภาพของหินเจียใหเรียบรอย ไมมีรอยแตกราวหรือชํารุด กอนก ารใชงาน โดยการเคาะ หินเจียดวยไมหรือดามไขควงเบา ๆ โดยรอบ เพื่อฟงเสียง (Ring test) ถามีเสียงกองแสดงวา ไมมีรอยแตกราว ถามีเสียงแปก ๆ แสดงวาอาจมีรอยราว ไมควรใชงานหินเจียดังกลาวโดยเด็ดขาด (2) หากมีการเปลี่ยนใบหินเจียใหมหลังติดตั้งแลวเสร็จ ใหเปดเครื่องทดสอบการหมุนกอน วามีการทํางาน หรือมีการสั่น สะเทือนที่ผิดปกติหรือไม

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 35 โรงแรมเลอ
Méridien Phuket Beach Resort
เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

(3) ตรวจสอบสภาพเครื่องเจียวาการดที่ติดตั้งมาพรอมเครื่องอยูในสภาพสมบูรณหรือไม

(4) หามใชใบตัดมาใชในงานเจีย

(5) ตรวจสอบขนาดของหินเจียใหตรงกับความเร็วรอบของมอเตอร

(6) ลักษณะการใสหินเจียตองพอดีกับขนาดของหัวจับและรูเจาะตองพอดีกับ หัวจับที่เพลาแทนเทานั้น หาม นําวัสดุอื่นมาเสริมโดยเด็ดขาด (7) หากพบอุปกรณเครื่องเจียมีสภาพไมปลอดภัย ใหแจงหัวหนางานทันทีเพื่อติดปาย “ชํารุด” และสงซอม 1.2 กระแสไฟฟารั่ว ซึ่งสามารถปองกันไดโดย (1) ตรวจสอบวามีการตอสายดินไวหรือไม ในกรณีที่ไมมีสายดิน ตองเปนเครื่องใชไฟฟาที่มีโครงหอหุมเปน พลาสติก และเปนชนิดฉนวน 2 ชั้น ซึ่งจะมีสัญลักษณสี่เหลี่ยม 2 ชั้น ระบุไว

(2) ในการเปลี่ยนหินเจียทุกครั้ง ใหทาการปดเครื่องและดึงปลั๊กออก เพื่อเปนการตัดพลังงาน ไฟฟาออก กอนเริ่มงานเปลี่ยนทุกครั้ง

2. การเตรียมพื้นที่ อาจเกิดไฟไหมจากสะเก็ดไฟจากงานเจียไปยังวัสดุติดไฟ สารเคมีไวไฟหรือเชื้อเพลิงที่วางในบริเวณ ใกลเคียง ซึ่งสามารถปองกันไดโดยตรวจสอบบริเวณโดยรอบและดานลางที่มีวัสดุติดไฟ สารเคมีไวไฟหรือเชื้อเพลิงวา งอยู หากพบ วัสดุดังกลาวฯ ตองนําออกใหพนรัศมีสะเก็ดกระเด็น และหากไมสามารถนําออกไดตองมีการปกคลุมดวยวัสดุทนไฟใหมิดชิด กอนเริ่ม ปฏิบัติงาน

3. การเตรียมพรอมผูปฏิบัติงาน อาจกอใหเกิดอันตรายจาก

3.1 วัสดุกระเด็นเขาตา หลนใสเทา บาดมือ วัสดุกระเด็นใส ที่อาจเกิดจากการทํางาน ซึ่งสามารถปองกันไดโดยตรวจสอบ ความเรียบรอยของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก แวนตา กระบังหนา รองเทา และถุงมือผา รองเทายา งหุมสนตามที่ กําหนด

3.2 แสงสวางไมเพียงพอ ซึ่งสามารถปองกันไดโดยสํารวจแสงสวางในพื้นที่ปฏิบัติงานวา มีแสงสวางเพียงพอ

3.3 ถูกดึง เหนี่ยวรั้งสวนข องรางกาย ใหเกิดอุบัติเหตุไดทํา ใหเกิดอุบัติเหตุไดเกิดจากการแตงกายไมปลอดภัย ซึ่งสามารถปองกันไดโดย

(1) แตงกายเรียบรอย รัดกุม ไมรุงริ่ง

(2) ไมสวมใสเครื่องประดับที่อาจเกี่ยวยึดโยงกับสิ่งใดได

(3) รวบผมที่ยาวเกินสมควรใหปลอดภัย ข. ขั้นตอนเก็บงาน หลังจากเสร็จงาน อาจกอใหเกิดอันตรายจาก - กระแสไฟฟาลัดวงจร ซึ่งสามารถปองกันไดโดยเมื่อปฏิบัติงานเสร็จ แลว ใหทํา การปดสวิทซเบรกเกอร ทุกครั้ง

- สะดุดวัสดุอุปกรณหกลม จากความไมเปนระเบียบเรียบรอยในการจัดวางวัสดุ อุปกรณ ชิ้นงาน ซึ่ง สามารถปองกันไดโดยจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ ชิ้นงานตาง ๆ ใหเรียบรอย

2.3 ดําเนินการตามมาตรการปองกันและปรับปรุง เมื่อไดมีการทบทวนหรือหารือกับผูปฏิบัติงานแลว ตองดําเนินการตาม วิธีการปองกันและการปรับปรุง (1) กาหนดวิธีการทํา งานใหม เชน อาจมีการรวบขั้นตอนบางขั้นตอนเขาดวยกัน หรือเปลี่ยน ลํา ดับของ ขั้นตอนหรืออาจมีการเปลี่ยนขั้นตอนการทางานใหมทั้งหมด ในการเปลี่ยนกระบวนการทํา งานใหมอาจจําเปนตองจัดการฝกอบรมให พนักงานดวย

(2) บางครั้งไมจําเปนตองเปลี่ยนวิธีการทํางานใหม แตอาจพิจารณาวาจําเปนตองเปลี่ยนแปลงสภาพการ ทํางานหรือออกแบบเครื่องมือและอุปกรณใหม เชน ติดการดที่เครื่องจักรที่มีอันตราย หรือจัดหาอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวน บุคคล ทั้งนี้ เพื่อขจัดและลดอันตรายลง

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 36

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

(3) ถาหากอันตรายยังไมหมดไป ตองพยายามลดความถี่ของการ ทางานนั้น ๆ หรือปรับขั้นตอนการทํางาน ที่ปลอดภัย เมื่อจัดทํา ขอเสนอแนะเสร็จเรียบรอยแลว ควรมีการชี้ แจงและหารือกับผูปฏิบัติงานที่ทํา งานนั้นทุกคนใหไดรับ แนวความคิดและขอเสนอแนะของผู ปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับอันตรายและแนวทางในการแกไขที่เปนประโยชน ทั้งนี้ มั่นใจวา ผูปฏิบัติงานทุกคนเขาใจในสิ่งที่กาหนดใหทํา และมีเหตุผลในการเปลี่ยนกระบวนการทํางานนั้นอยางเพียงพอ 2.4 ทบทวนการวิเคราะหเพื่อความปลอดภัยเปนระยะ การวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัยที่สามารถลดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บจากการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ จะตอง มีการประเมินผลการดําเนินการตามมาตรการ (การปองกันและการปรับปรุง) เพื่อปรับปรุงการวิเคราะหงานที่ไดจัดทําขึ้นเปนระยะ ๆ ซึ่งจะทําใหสามารถคนหาขอบกพรองของการวิเคราะหเดิมได ทุกครั้งที่มีการปรับปรุงวิธีการทางานใหมตามผลการวิเคราะหงาน ผูปฏิบัติงานควรไดรับการฝกอบรมและฝกปฏิบัติเพื่อใหสามารถทา งานตามวิธีการใหมนั้นและจะตองจัดหามาตรการปองกันตาง ๆ ใหแกผูปฏิบัติงานอยางเหมาะสม ถาหากเกิดการประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน ในงานที่ไดดาเนินการวิเคราะหงานและมีการปรับปรุงตามมาตรการ ปองกันแลว จะตองรีบดํา เนินการประเมินผลและวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัยทันที เพื่อจะไดหาแนวทางเพื่อการปองกัน ซึ่งอาจ จํา เปนตองเปลี่ยนกระบวนงาน แตหากการประสบอันตรายเนื่องจากการทํา งานนั้นเกิดจากการที่ผูปฏิบัติงานไมปฏิบัติตามขั้นตอน การทํางานที่กําหนด ตองมีการชี้แจงใหผูปฏิบัติงานทุกคนที่ทํางานนั้นไดรับทราบทันที จากการชี้บงอันตรายดวยวิธี JSA นี้ หากตองการประเมินความเสี่ยง สามารถนาขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหงานไปใชใน การประเมินความเสี่ยงตอไปได เพื่อใชในการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทางานอยางมี ประสิทธิผล

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 37

กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเฉพาะดาน ความปลอดภัยในการทํางานสํานักงาน

1. พื้น – ประตู – ทางเดิน

(1) ควรใหพื้นที่สํานักงานมีความสะอาด

(2) พื้นสํานักงานควรอยูในแนวระดับ ไมลาดเอียง หรืออยูตางระดับ หากจําเปนไมอาจหลีกเลี่ยงไดใหแสดงสีสันใหเห็น ชัดเจน

(3) ใหใชวัสดุกันลื่นปูทับบนกระเบื้องหรือพื้นขัดมันที่ลื่น

(4) หามวิ่งในขณะปฏิบัติงาน

(5) ในขณะที่มีการขัดหรือทําความสะอาดพื้น ผูปฏิบัติงานควรสังเกตปายคําเตือน และใหมีการเดินหรือปฏิบัติงานดวยความ ระมัดระวังยิ่งขึ้น

(6) ในกรณีที่มีน้ํา น้ํามัน หรือสิ่งที่ทําใหเกิดการลื่นบนพื้นสํานักงาน ใหผูพบเห็นทําการเช็ดหรือนําออกไป หรือแจงเจาหนาที่ ผูรับผิดชอบโดยทันที โดยกอนแจงใหแสดงเครื่องหมายเตือนไว (7) ในกรณีที่พบเห็นวัสดุหรือเครื่องใชสํานักงาน เชน ดินสอ ที่หนีบกระดาษ ยางลบ หรือสิ่งอื่นใดตกหลนอยูบนพื้น ใหเก็บ โดยทันที เพราะอาจเปนสาเหตุใหลื่นหกลมได

(8) อยายืนหรือเดินใกลบริเวณประตูที่ปดอยู เพราะบุคคลอื่น อาจจะเปดประตูมากระแทกได

(9)

เมื่อจะผานเขาออกบังตา หรือเปดปดประตูบานกระจก ควรเขาออกหรือเปดปดดวยความระมัดระวังอยางชาๆ และใน การใชบังตาหรือประตูที่เปดปดสองบาน ใหใชบังตาหรือบานประตูทางดานขวา

2. การใชบันไดขึ้นลงอาคาร (1) กอนขึ้นหรือลงบันได ควรสังเกตสิ่งที่อาจกอใหเกิดอันตรายขึ้นได

(2) ถาพบบริเวณบันไดมีแสงสวางไมเพียงพอ หรือราวบันได หรือขั้นบันไดชํารุดใหแจงเจาหนาที่เพื่อทําการแกไข

(3) อยาปลอยใหมีเศษวัสดุชิ้นเล็กชิ้นนอยอื่นใดบนขั้นบันได เชน เศษกรวด เศษแกว หรืออื่นๆ

(4) ไมควรติดตั้งสิ่งดึงดูดความสนใจ เชน กระจกเงา ภาพโปสเตอร ไวบริเวณบันได (5) ควรจัดใหมีพรมหรือที่เช็ดเทาบริเวณเชิงบันได เพื่อความปลอดภัย (6) อยาวิ่งขึ้นหรือลงบันได ควรขึ้นลงดวยความระมัดระวัง (7) หามเลนหรือหยอกลอกันในขณะขึ้นหรือลงบันได

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 38
เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort
โรงแรมเลอ

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

(8) การขึ้นลงบันได ใหขึ้นลงทางดานขวา และจับราวบันไดทุกครั้ง

(9) อยาปลอยราวบันไดจนกวาจะมีการขึ้นหรือลงบันไดเปนที่เรียบรอยแลว

(10) ในขณะขึ้นหรือลงบันได ใหใชสายตามองบันไดกาวตอไป และหามกระทําสิ่งใดๆ ในลักษณะที่จะกอใหเกิดอันตราย เชน การอานหนังสือหรือคนสิ่งของในกระเปาถือ เปนตน (11) อยาขึ้นหรือลงบันไดเปนกลุมใหญๆ ในเวลาเดียวกัน

3. โตะทํางาน – เกาอี้ – ตู

(1) ตลอดเวลาการทํางานไมควรเปดลิ้นชักโตะ ลิ้นชักตูเก็บเอกสาร หรือตูอื่นคางไว ใหปดทุกครั้งที่ไมใช

(2) หามวางพัสดุ สิ่งของ หรือกลองใตโตะทํางาน

(3) ใหมีพื้นที่เคลื่อนยายเกาอี้ สําหรับการเขาออกที่สะดวก

(4) หามเอนหรือพิงพนักเกาอี้ ใหรับน้ําหนักเพียงขางใดขางหนึ่ง

(5) หามวางพัสดุ สิ่งของตางๆ บนหลังตู เพราะอาจตกหลนลงมาเปนอันตราย

(6) อยาเปดลิ้นชักตูเก็บเอกสารในเวลาเดียวกันเกินกวาหนึ่งลิ้นชัก

(7) การจัดใสเอกสารในลิ้นชักตู ควรจัดใสเอกสารจากชั้นลางสุดขึ้นไป เพื่อเปนการถวงดุล และใหหลีกเลี่ยงการใสเอกสารใน ลิ้นชักมากเกินไป

(8) ใหใชหูจับลิ้นชักทุกครั้งเมื่อจะเปดปดลิ้นชัก เพื่อปองกันนิ้วถูกหนีบ

(9) การจัดวางตู ลิ้นชักตู ขณะใชงานตองไมเกะกะชองทางเดิน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 39

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

4. เตาเสียบและสายไฟฟา

(1) สายไฟฟาที่มีรอยฉีกขาด หรือปลั๊กไฟฟาที่แตกราว ตองทําการเปลี่ยนทันที หาม พันดวยเทปพันสายไฟหรือดัดแปลง ซอมแซมอยางใดๆ

(2) เตาเสียบที่ชํารุดจะตองทําการซอมแซมโดยทันที ในระหวางรอการซอมแซมจะตองปดหรือครอบ เพื่อปองกันการใชงาน

(3) เครื่องมือหรืออุปกรณไฟฟาตางๆ ที่ใชภายในสํานักงาน ใหวางในตําแหนงบริเวณใกลเตาเสียบมากที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยง สายไฟฟาที่ทอดยาวไปตามพื้น หรือหลีกเลี่ยงการใชสายตอ ในกรณีจําเปนไมอาจวางในตําแหนงใกลเตาเสียบได ให

แสดงเครื่องหมายใหชัดเจน เพื่อปองกันการสะดุดสายไฟฟา

(4) ในการใชอุปกรณไฟฟา ใหแนใจวาแรงดันไฟฟาเหมาะสมกับความตองการแรงดันไฟฟาของอุปกรณนั้นๆ (5) การวางหรือเคลื่อนยายเครื่องใชสํานักงาน พึงระวังอยาใหมีการวางหรือเคลื่อนยายทับสายไฟฟา

5. การใชเครื่องใชสํานักงาน

(1)

ในขณะขนยายกระดาษ ควรระมัดระวังกระดาษบาดมือ

(2) ใหเก็บปากกา หรือดินสอ โดยการเอาปลายชี้ลง หรือวางราบในลิ้นชัก

(3) ใหทําการหุบขากรรไกร ที่เปดซองจดหมาย ใบมีดคัตเตอรหรือของมีคมอื่นๆ ใหเขาที่กอนทําการเก็บ

(4) การแกะลวดเย็บกระดาษ ไมควรใชมือหรือเล็บ ใหใชที่ดึงลวดเย็บกระดาษทุกครั้ง

(5) เฟอรนิเจอรที่เปนโลหะ ใหทําการลบมุมทุกแหงเพื่อความปลอดภัย

(6) ควรใชบันไดหรือชั้นเหยียบ เมื่อตองการหยิบของในที่สูง ไมควรใชกลอง โตะ หรือเกาอี้ติดลอ

(7) หลังเลิกงานทุกวัน ใหปดไฟฟาทุกดวง และตัดวงจรอุปกรณไฟฟาภายในหองทํางานทั้งหมด

(8) หามทําความสะอาด ปรับ แตง หรือเปลี่ยนแปลง สวนประกอบใดๆ ของเครื่องใชสํานักงานที่อาจกอใหเกิดอันตรายใน ขณะที่เครื่องกําลังทํางาน (9)

ตองทําการศึกษาวิธีใช และขอควรระวังของเครื่องใชสํานักงานที่มีอันตรายใหดีกอนปรับแตง (10)

ถามีผูปฏิบัติงานสองคน หรือมากกวาสองคนขึ้นไป ทํางานกับเครื่องใชสํานักงานที่มีอันตรายเครื่องเดียวกัน ผูปฏิบัติงาน แตละคนจะตองระมัดระวังซึ่งกันและกัน (11) อยาถอดอุปกรณปองกันอันตรายหรือเปดแผงเครื่องใชสํานักงานที่มีอันตรายโดยเด็ดขาด กรณีเครื่องขัดของใหติดตอ ชางเพื่อมาทําการซอมแซม (12) เครื่องใชสํานักงานที่ใชกําลังไฟฟาและมิไดเปนชนิดที่มีฉนวนหุมสองชั้น จะตองมีระบบสายดินติดอยูที่ครอบโลหะผาน ปลั๊ก และหามมีการดัดแปลงเพื่อตัดวงจรสายดินออก (13) ใหตัดไฟฟาของเครื่องใชสํานักงานที่ใชกําลังไฟฟาทุกครั้งที่ไมใช

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 40
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien

6. สุขภาพอนามัยในสถานที่ทํางาน

(1) ผูปฏิบัติงานทุกคนตองชวยกันดูแลบริเวณหองทํางานใหเปนระเบียบเรียบรอยและสะอาดอยูตลอดเวลา

(2) ในการใชหองนา หองสวม ผูปฏิบัติงานจะตองรักษาความสะอาด

(3) ผูปฏิบัติงานตองหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร หรือดื่มนา ที่พิจารณาแลวเห็นวาไมสะอาดเพียงพอ

(4) ผูปฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานในทาเดียวกันนานๆ อาจเกิดอาการเมื่อยลา ควรมีการเปลี่ยนอิริยาบถเปนครั้งคราว ตามความ เหมาะสมโดยมิใหเสียงาน

(5) ผูปฏิบัติงานทุกคน ควรมีการพักผอนหยอนใจ หรือกิจกรรมนันทนาการหลังเลิกงานหรือวันหยุดประจําสัปดาหเปนบาง โอกาส เพื่อชวยผอนคลายความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลาทางกาย และความตึงเครียดทางจิตใจจากการประกอบอาชีพการ งาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 41
Phuket
Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

1. งานที่ตองอานขอมูลจากคอมพิวเตอร หรือใชแปนพิมพตลอดเวลา ควรทําติดตอกันเพียง 50 นาที และพัก 10 นาที

2. พักสายตาเปนระยะ เชน การมองที่ไกลๆ การกระพริบตาบอยๆ การกรอกตาเปนวงกลม หรือใช ฝามือกดบนเปลือกตาที่ปด สนิท เปนเวลา 1 นาที เปนตน

3. มีการบริหารรางกายหรือเปลี่ยนอิริยาบถเปนระยะๆ

4. มีการตรวจสมรรถภาพการมองเห็นเปนประจําทุกป

5. ปรับลดความจาและแสงสะทอนจากจอคอมพิวเตอรที่มากเกินไป

6. ทําความสะอาดฝุนหนาจอคอมพิวเตอร และตรวจสอบอุปกรณเปนประจํา เปนตน

7. ทาทางการนั่งทํางานกับคอมพิวเตอรที่ถูกตอง คือ การนั่งลึกใหเต็มเกาอี้และหลังพิงพนักเกาอี้ ชวงขาออนดานลางที่ติดเกาอี้ค วร เหลือชองขนาดใหนิ้วมือสอดเขาไปได เพื่อลดแรงกด เพื่อใหโลหิตไหลเวียนไดสะดวก จัดตําแหนงการวางมือ แขน และไหลให เหมาะสม ไมควรนั่งหลังงอ โนมตัวไปขางหนา หรือเอนหลัง มากเกินไป

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 42
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับครื่องถายเอกสาร

1. การถายเอกสารทุกครั้งควรปดฝาครอบใหสนิท ในกรณีที่ไมสามารถปดใหสนิทได ควรหลีกเลี่ยงการมองไปที่เครื่องถายเอกสาร

2. ควรมีการติดตั้งพัดลมดูดอากาศเฉพาะที่ในหองถายเอกสาร

3. ควรสวมถุงมือขณะเติมหรือเคลื่อนยายผงหมึก และในกรณีที่จําเปนควรสวมหนากากนิรภัยดวย นอกจากนี้ควรขอรับเอกสาร เรื่องความปลอดภัยในการใชสารเคมีจากบริษัทผูผลิตหรือผูขายเครื่องถายเอกสาร

4. ควรแนใจวาเครื่องถายเอกสารนี้ไดรับการบํารุงรักษาเปนประจํา

5. ไมควรจัดวางเครื่องถายเอกสารในหองทํางาน ควรจัดแยกไวในหองถายเอกสารโดยเฉพาะ หรือไวในมุมหองที่ไกลออกไปจาก คนทํางาน และควรแนใจวามีการระบายอากาศที่เหมาะสมในหองนั้น

6. สําหรับผู ที่มีหนาที่ใหบริการหรือซอมบํารุง รักษาเครื่องถายเอกสาร ควรสวมถุงมืออยางแบบใชแลวทิ้งขณะทํางาน รวมทั้ง หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับลูกกลิ้งดวย

7. ไมทํางานกับเครื่องถายเอกสารตลอดทั้งวัน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่มีปญหาระบบทางเดินหายใจอยูแลว

8. ผูที่มีหนาที่เกี่ยวของกับเครื่องถายเอกสาร ควรไดรับการฝกอบรมอยางเหมาะสม ความปลอดภัยในการใชลิฟตโดยสาร

1. รอใหลิฟตหยุดสนิท และตรวจดูระดับพื้นลิฟตกับพื้นอาคาร ใหอยูในระดับเดียวกันเสียกอน จึงเขาหรือออกจากลิฟต

2. ไมควรโดยสารหรือบรรทุกของเกินพิกัดนาหนักของลิฟตที่กําหนด

3. งดใชลิฟตขณะเกิดเพลิงไหม

4. ไมควรใหเด็กใชลิฟตโดยลําพัง

5. ใชสวิตซ Emergency Stop

หยุดลิฟตในกรณีฉุกเฉินเทานั้น

6. กรณีฉุกเฉิน ใหดําเนินการดังนี้

(1) อยาตื่นตกใจ กดปุมแจงอันตราย (Alarm) เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน

(2) กดปุมโทรศัพท เมื่อตองการพูดติดตอกับเจาหนาที่ภายนอก เพื่อขอความชวยเหลือ

(3) ปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาที่ที่ชวยเหลือ

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 43
Phuket Beach
Le Méridien
Resort

ความปลอดภัยในการใชเครื่องมือชาง

1. เลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับงานที่ทํา

2. รักษาเครื่องมือใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ ตรวจสอบสภาพกอนใชงานทุกครั้ง

3. ซอมแซมหรือหาเครื่องมือใหมทดแทนเครื่องมือที่ชํารุดทันที

4. ลางน้ํามันจากเครื่องมือหรือชิ้นงานกอนการใชงานและทิ้งขยะตามชนิด/ประเภทของขยะ

5. ตรวจสอบและปฏิบัติตามขอแนะนําการใชเครื่องมือ

6. จับหรือถือเครื่องมือใหกระชับ

7. กอนเริ่มงานตองตรวจสอบสภาพตางๆ โดยรอบหรือบริเวณพื้นที่ที่ทํางานกอนทุกครั้ง

ความปลอดภัยในการทํางานบนที่สูง

เมื่อมีการทํางานบนที่สูงมากกวา 2 เมตรขึ้นไป จะตองมีการแจงหรือติดประกาศใหทราบทั่วกัน และตองกั้นเขตอันตราย เพื่อเตือนปองกันพนักงาน ตองปฏิบัติดังนี้

1. ตองขออนุญาตกอนเขาไปปฏิบัติงาน โดยหัวหนางานที่รับผิดชอบงานเปนผูขออนุญาตเขาปฏิบัติงาน

2. ผูที่ตองปฏิบัติงานบนที่สูงควรมีสภาพรางกายที่แข็งแรง ไมเปนโรคลมชัก , ความดันสูง เปนตน หากมีอาการผิดปกติ, เจ็บปวย ตองหยุดทางาน และรายงานหัวหนางานใหทราบทันที

3. ผูปฏิบัติงานจะตองทําการสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหครบถวนตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เชน รองเทา นิรภัย, หมวกนิรภัย, แวนตานิรภัย และเข็มขัดนิรภัยชนิดเต็มตัว ตั้งแต 2 เมตรขึ้นไป เปนตน 4. การปฏิบัติงานบนที่สูงเกินกวา 2 เมตรขึ้นไป จะตองทําการติดตั้งนั่งราน โดยตองมีรั้วกันตกบนความสูงที่ 90–100 เซนติมเตร, รั้วกันตกกลางความสูงที่ 45–55 เซนติเมตร และตองมีแผนกันตกความสูงไมนอยกวา 10 เซนติเมตร

5. ผูปฏิบัติงานตองตรวจสอบพื้นที่การทํางานทุกครั้งกอนเริ่มปฏิบัติงาน

6. หามจัดวางสิ่งของกีดขวางทางเดิน ตลอดจนทางขึ้น–ลงโดยเด็ดขาด

7. หามผูปฏิบัติงานบนที่สูงปฏิบัติอยูเพียงลําพังอยางนอยตองมีผูปฏิบัติงานรวมกัน 2 คน

8. หามโยนวัสดุ สิ่งของ เครื่องมือ ขึ้น–ลงโดยเด็ดขาด

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 44 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort

9. หากมีการทางานที่กอใหเกิดประกายไฟ หัวหนางานจะตองให ผูปฏิบัติงานควบคุมการกระเด็นของประกา ยไฟที่เกิดจากการ ปฏิบัติงาน

10. หากมีการทํางานในพื้นที่ที่มีแสงสวางไมเพียงพอ หัวหนางานจะตอง แจงผูปฏิบัติงานในการจัดเตรียมแสงสวางใหเพียงพอ

11. หัวหนางานจะตองทําการตรวจสอบ และประเมินดูการปฏิบัติงานเปน ระยะ หากพบวาอยูในสภาพที่ไมปลอดภัยใหหยุดงานชั่วคราว และทํา การปรับปรุงแกไขเพื่อใหเกิดความปลอดภัยกอนทําการปฏิบัติงานจน แลวเสร็จ

ความปลอดภัยในการทํางานกับเครื่องจักร

1. เครื่องจักรใชไดเฉพาะคนที่มีอํานาจหนาที่เทานั้น และผานการอบรม การใชเครื่องจักรอยางถูกตอง

2. เครื่องจักรที่สั่งซื้อใหม หรือนํามาใชในกระบวนการผลิตตองทําการขึ้น ทะเบียนและประเมินความเสี่ยงกอนใชงานทุกครั้ง

3. สวมใสเสื้อผาที่รัดกุม อยาสวมเสื้อปลอยชายหรือแขนหลุดลุย

4. สวมใสอุปกรณ PPE เครื่องปองกัน และใชเครื่องมืออยางถูกตอง เหมาะสมกับงาน ระวังการใชถุงมือ

5. ในการตรวจสอบ ซอมแซม และทําความสะอาดเครื่องจักรนั้นตองหยุดเครื่องจักรใหเรียบรอยและมีเครื่องหมายชี้บอกหรือติดปาย แขวนวา “ หาม ” เดินเครื่องจักร และนําขยะที่เกิดจากการทําความสะอาดทิ้งตามชนิด/ประเภทของขยะเพื่อลดผลกระทบที่มีตอ สิ่งแวดลอม

6. รักษาเครื่องจักรใหสะอาดอยูเสมอ ตรวจสภาพของเครื่องจักรกอนใชงานทุกครั้งหากมีสวนใดชํารุด ใหแจงหัวหนางานทราบทันที

7. อยาใชเครื่องจักรเกินกําลัง จะเกิดอันตราย

8. เมื่อตองทํางานรวมกัน จะตองแนใจวาทุกคนเขาใจสัญญาณในการสื่อสารตางๆ อยางชัดเจนและถูกตองตรงกัน

9. อยาเขาไปในสวนที่เปนอันตรายหรือสวนที่มีการเคลื่อนไหวของเครื่องจักรตลอดเวลา แตถาจําเปนตองเขาไปตองแนใจวา เครื่องจักรไดหยุดเดินเครื่องแลว

10. เครื่องจักรตางๆ จะตองมีที่ครอบ หรือปกปดปองสวนที่หมุนได และติดอยูในที่ของมันเรียบรอยแลวเพื่อปองกันอันตรายจากการ ยื่นชิ้นสวนของรางกายเขาไปถูกเครื่องจักร

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 45 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

ความปลอดภัยในการทํางานกับวัตถุอันตรายหรือสารเคมี

1. วัตถุอันตราย หมายถึง วัตถุที่สามารถลุกไหมได ติดไฟได และระเบิดไดซึ่งวัตถุอันตรายเหลานี้จะมีกฎหมายควบคุมพิเศษและมี ขอบังคับในการทํางานโดยเฉพาะ

2. พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายหรือสารเคมี ตองมีการระบายอากาศที่ดี

3. กําหนดผูที่สามารถเขา-ออก พื้นที่และมีปายบงชี้ชัดเจนไวหนาทางเขา-ออก

4. หามผูไมมีหนาที่เกี่ยวของเขา-ออกพื้นที่จัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายเด็ดขาด

5. ผูปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณ PPE เชน หนากาก แวนตา ถุงมือ ทุกครั้งกอนเริ่มทํางาน

6. ถาไดรับอุบัติเหตุ ผูเขาทําการชวยเหลือจะตองรีบขนยายผูปวยออกไปสูบริเวณที่โลงโดยเร็วที่สุด และปฏิบัติตาม SDS ของ สารเคมีนั้นๆ

7. หีบหอหรือภาชนะบรรจุสารเคมีทุกชนิดตองมีสลากบงชี้ที่ชัดเจน

8. กอนทํางานตองทราบชนิดและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจาก SDS

9. หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารเคมีโดยตรง

10. หามรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม หรือสูบบุหรี่ ขณะทํางานกับสารเคมี

11. กอนทานอาหารสูบบุหรี่ หรือเขาหองน้ํา ตองถอดอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลและลางมือใหสะอาดกอนทุกครั้ง

12. หามผูที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของทํางานเกี่ยวกับสารเคมี

13. หากสารเคมีหก ตองรายงานผูบังคับบัญชา และปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน

14. อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ใชแลวตองทําความสะอาดหรือทําลายทิ้ง

15. เมื่อทํางานเสร็จตองลางมือ อาบน้ํา และผลัดเปลี่ยนเสื้อผา

16. การเก็บสารเคมีควรแยกเก็บใหเปนระเบียบตามชนิดและประเภท ของสารเคมี

17. เมื่อสารเคมีกระเด็นโดนผิวหนัง รีบลางบริเวณที่โดนสารเคมีทันทีอยางนอย 15 นาที

18. ถอดเสื้อผาที่ถูกสารเคมีออกทันทีและชําระลางรางกายทันที

19. เมื่อสารเคมีกระเด็นเขาตา ควรปฏิบัติดังนี้

(1) ไปที่อางลางตาฉุกเฉินที่ใกลที่สุด

(2) ลืมตาตลอดเวลาในน้ํา โดยใหนาไหลผานตาประมาณ 15 นาที

(3) รีบพบแพทยหรือพยาบาลทันที

20. จัดเก็บวัสดุดูดซับสารเคมีหลังทําความสะอาดพื้นที่ เขียนปายบงชี้และแยกทิ้งตามประเภท/ชนิดของขยะ

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 46

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

ความปลอดภัยในการเคลื่อนยายวัสดุสิ่งของหรือยกของหนัก

1. พิจารณาน้ําหนักของที่สามารถยกได เทียบกับขอกําหนดของกฎกระทรวงกําหนดอัตราน้ําหนักที่นายจางใหลูกจางทํางานได พ.ศ. 2547 ที่กําหนดวา

(ก) ชาย อายุ 18 ปขึ้นไป ยกของไดไมเกิน 55 กิโลกรัม (ข) หญิง อายุ 18 ปขึ้นไป ยกของไดไมเกิน 25 กิโลกรัม (ค) กรณีน้ําหนักเกินกวาที่กําหนด ใหใชเครื่องทุนแรง

2. หามกมและบิดเอี้ยวตัวขณะยกของ

3. ไมควรใชอุปกรณพยุงหลัง (Back support) เปนอุปกรณในการชวยยก

4. ควรวางของไวบนโตะ เกาอี้ หรือที่ที่มีระดับความสูงเหมาะสม เพื่อชวยทุนแรง

5. ขั้นตอนการยกของที่ถูกวิธีใหดําเนินการ ดังนี้

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 47
Phuket Beach
Méridien
Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟา

1. ตรวจสอบสภาพอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช ใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยกอนใชงาน

2. ควรเสียบปลั๊กกอนเปดสวิตซที่อุปกรณไฟฟา

3. อุปกรณไฟฟาชํารุด หามใช และรีบแจงหัวหนางานทราบ เพื่อทําการซอมแซม แกไขหรือเปลี่ยนใหมตอไป

4. ทุกครั้งที่ทําการตอสายไฟ หรือเดินสายไฟ ตองทําการตัดกระแสไฟฟากอน

5. พนักงานตองสวมอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ตามความเหมาะสมของงาน

6. ตองตอสายอุปกรณลงดิน เพื่อปองกันการไฟฟารั่ว

7. รอยตอสายไฟทุกแหงตองใชเทปพันสายไฟ หุมลวดทองแดงใหมิดชิด และแนนหนาเพื่อไมใหเกิดอันตราย

8. หลอดไฟฟาและเครื่องใชไฟฟาทุกชนิดที่จะทําใหเกิดความรอนได ไมควรใหติดอยูกับผาหรือเชื้อเพลิงอื่นที่อาจทําใหเกิดการลุก ไหมได

9. เตาเสียบชนิดที่ตอแยกไดหลายทาง ไมควรตอสายไฟแยกออกไปใชมากเกินไป

10. อยาใชบันไดโลหะในการซอมแซมอุปกรณไฟฟา โดยไมสวมรองเทายาง หรือรองเทานิรภัย

11. การชวยผูประสบอันตรายใหหลุดพนจากกระแสไฟฟา อยาใชมือเปลาจับ ควรใชผา ไม เชือก หรือสายยางที่แหงสนิทดึงผูประสบ อันตรายใหหลุดออกมา

12. เมื่อพบผูประสบอันตราย จะตองทําการปฐมพยาบาลเบื้องตน หรือแจงสถานพยาบาล ความปลอดภัยในการใชบันได

1. เลือกใชบันได ใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน เชน บันไดไมไผ หรือไฟเบอรกลาส หาม ใชบันไดโลหะ เพราะตองทํางานใกล กระแสไฟฟา

2. ตรวจสภาพของบันไดทุกครั้งกอนใชงาน

3. พาดบันไดใหไดมุมปลอดภัย คือ บันไดควรทํามุมประมาณ 75 องศากับผนังหรือสิ่งที่พาดพิง ไมชันหรือราบจนเกินไป และทา การผูกรัดใหมั่นคง

4. ขึ้นลงบันไดดวยความระมัดระวัง

5. สรีระและทาทางในการทํางาน เชน ขาทั้งสองเหยียบบนลูกบันไดในลักษณะการทรงตัวที่เหมาะสม หาม ใชขาเหยียบบันไดขาง เดียว

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 48
Phuket Beach
Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

6. ถาจะตองตั้งบันได ในทางสัญจรที่มียวดยานพาหนะผานไปมาควรมีปายเตือน ตั้งกรวยกั้นการจราจร และมีคนคอยจับเฝาที่โคน บันได เพื่อใหสัญญาณรถที่ผานไปมา

7. การเก็บและบารุงรักษาบันได เชน ไมควรเก็บใกลแสง ความรอน ความชื้น สารเคมีควรเก็บบนชั้นหรือสถานที่เก็บโดยเฉพาะ 8. ขอหามในการใชบันไดพาด เชน หามใชบันไดขณะเดียวกันมากกวา 1 คน ถาบันไดนั้นไมไดออกแบบพิเศษในการรับน้ําหนัก เพิ่มขึ้น

ความปลอดภัยในการทํางานในที่อับอากาศ

1. ตองขออนุญาตกอนเขาไปปฏิบัติงานทุกครั้ง โดยหัวหนางานจะตองเปนผูรับผิดชอบในการขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงาน (Work Permit) และใหมีอยูที่หนางานตลอดเวลา

2. ผูปฏิบัติงานในที่อับอากาศจะตองผานรับการฝกอบรมการทํางานในที่อับอากาศ พรอมกับไดรับบัตรประจําตัวผูปฏิบัติงานในที่ อับอากาศเทานั้น

3. ผูปฏิบัติงานในที่อับอากาศจะตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหครบถวน เชน รองเทานิรภัย, หมวกนิรภัย , แวนตานิรภัย เปนตน

4. หามผูปฏิบัติงานทํางานในที่อับอากาศโดยเด็ดขาด หากไมมีผูชวยเหลือที่ไดรับการอบรมเฝาระวังหรือชวยเหลือบริเวณทางเขา –ออก

5. การทํางานในที่อับอากาศทุกครั้งจะตองมีผูควบคุมงาน และผูชวยเหลือ เพื่อเฝาระวังดานความปลอดภัยสาหรับผูปฏิบัติงานในที่ อับอากาศ

6. กอนเขาทํางานในที่อับอากาศ ผูควบคุมงานจะตองทําการตรวจสอบอุปกรณตางๆ ที่ตองใชในการทํางานใหครบถวน

7. ตองทําการตรวจสอบอากาศกอนเขาไปปฏิบัติงานในที่อับอากาศทุกครั้ง และตองทําการตรวจวัดอากาศเปนระยะๆ ตามลักษณะ งาน

8. ตองทําการระบายอากาศดวยพัดลมระบายอากาศ ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ

9. หามผูที่ไมผานการฝกอบรมการทํางานในที่อับอากาศและไมมีบัตรประจําตัวผูปฏิบัติงานในที่อับอากาศเขาทํางานโดยเด็ดขาด 10. หามจัดวางสิ่งของกีดขวางทางเขา–ออกในพื้นที่การทํางานในที่อับอากาศโดยเด็ดขาด

11. จัดทําปายแจงขอความ “ที่อับอากาศ อันตราย หามเขา” ใหมีขนาดมองเห็นเดนชัดบริเวณทางเขา-ออกพื้นที่อับอากาศทุกแหง

12.

ผูปฏิบัติงานที่อับอากาศจะตองแสดงบัตรประจาตัวไวที่ทางเขา–ออก ทุกครั้งกอนเขาปฏิบัติงาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 49
Méridien Phuket Beach Resort

Le

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสี

1. ตองขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงาน โดยหัวหนางานเปนผูรับผิดชอบในการขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงาน

2. ผูปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหครบถวนตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เชน หมวกนิรภัย, แวนตา นิรภัย, รองเทานิรภัย, หนากากกันสารเคมี เปนตน

3. ผูปฏิบัติงานตองทราบชนิดและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากสารเคมีโดยศึกษาขอมูลจากเอกสาร SDS

4. การจัดเก็บสารเคมีตองมีการระบายอากาศที่ดี และมีอุปกรณดับเพลิงเพียงพอ สามารถหยิบใชงานไดทันทีหากเกิดเหตุฉุกเฉิน

5. หามทําการผสมสีกับสารเคมีที่ไมไดกําหนดไวในฉลากโดยเด็ดขาด

6. หามสูบบุหรี่ในพื้นที่การทํางาน และพื้นที่การจัดเก็บสารเคมีโดยเด็ดขาด

7. หามนําอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดเขามารับประทานในบริเวณการทํางานโดยเด็ดขาด

8. หามกอใหเกิดประกายไฟในพื้นที่การทํางานสีและพื้นที่การจัดเก็บสารเคมีโดยเด็ดขาด

9. ตองมีการระบายอากาศที่ดีในพื้นที่การทํางานและพื้นที่จัดเก็บสารเคมี

10. การเก็บสารเคมีควรแยกเก็บใหเปนระเบียบตามชนิดและประเภทของสารเคมี

11. เมื่อสารเคมีกระเด็นโดนผิวหนัง ใหรีบลางดวยนาสะอาดอยางนอย 15 นาทีและถอดเสื้อผาที่ถูกสารเคมีควรถอดออกทันทีและชา ระลางรางกายดวยนาสะอาด

12. เมื่อสารเคมีกระเด็นเขาตา ใหไปลางตาที่อางลางตาฉุกเฉิน โดยใหนาสะอาดไหลผานตาประมาณ 15 นาที และรีบพบพยาบาล ทันที

13. จัดเก็บวัสดุดูดซับสารเคมีหลังทําความสะอาดพื้นที่เขียนปายบงชี้และแยกทิ้งตามประเภท/ชนิดของขยะ

14. สีที่เหลือจากการใชงาน พนักงานจะตองนําไปเททิ้งที่ถังกากสี (ถัง 200 ลิตร) ในจุดที่กําหนดไวใหทุกครั้งเมื่อไมใชงาน เพื่อเปน การแยกประเภทขยะกากสีและกระปองสีเปลา ความปลอดภัยในการทํางานเจียร

1. ตองขออนุญาตกอนเขาไปปฏิบัติงาน โดยหัวหนางานจะตองเปนผูรับผิดชอบดําเนินการขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงาน

2. ผูปฏิบัติงานจะตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหครบถวนตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน ไดแก รองเทานิรภัย, หมวกนิรภัย, แวนตานิรภัย, ที่อุดหู, ถุงมือหนัง และกระบังหนานิรภัย เปนตน

3. ผูปฏิบัติงานตองผานการอบรมเกี่ยวกับการใชเครื่องเจียรกอนปฏิบัติงาน

4. กอนปฏิบัติงานตองมีการตรวจสอบบริเวณโดยรอบ วามีสารไวไฟ เศษวัสดุ หรือเชื้อเพลิง ที่อาจเกิดอัคคีภัยไดหรือไม หากพบ ตองนําออกใหหมด

5. ตองตรวจสอบสภาพเครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย และหินเจียรตองสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายทุกครั้งกอนการใชงาน หากพบวาชํารุดใหแจงหนางานทันที

6. จะตองติดตั้งเครื่องขัดใหยึดแนนกับโตะที่มั่นคงและมีฝาครอบปองกันอันตราย

7. ชิ้นงานที่ตองการเจียรจะตองยึดใหแนน มั่นคงทุกครั้ง

8. กําจัดปริมาณฝุนที่เกิดขึ้น โดยจัดระบบการระบายหรือการถายเทของอากาศใหดีขึ้น หรือมีเครื่องดูดอากาศเฉพาะที่ ที่สามารถ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

9. ไมตั้งอัตรารอบหมุนของจานขัดเกินอัตรา จานที่สึก ชํารุด ตองเปลี่ยนใหม

10. ผูปฏิบัติงานตองมีแผงกั้นหรือปดลอมพื้นที่เพื่อปองกันเศษโลหะกระเด็นออกไปโดนผูอื่น

11. กอนทําการเปลี่ยนใบหินเจียร ผูปฏิบัติงานจะตองทําการดึงปลั๊กออกทุกครั้ง

12. หามผูปฏิบัติงานถอดการดนิรภัย หรือดัดแปลงเครื่องมือในขณะทํางานโดยเด็ดขาด

13. หามผูปฏิบัติงานใชงานใบหินเจียรผิดประเภท และผิดวิธีการทํางานโดยเด็ดขาด

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 50
โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

ความปลอดภัยในการทํางานเชื่อมไฟฟา, เชื่อมกาซ

การเชื่อมดวยไฟฟา

1. ตองขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงานกอนทุกครั้ง โดยหัวหนางานเปนผูรับผิดชอบในการขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงาน

2. ชางเชื่อมตองมีความรู ความชํานาญในการเชื่อมหรือผานการอบรม

3. พนักงานเชื่อมโลหะตองตรวจสอบอุปกรณไฟฟา เครื่องมือ สายเชื่อม สายดิน และสายตอกอนทํางาน หากพบวาอุปกรณ หรือฉนวนหุมชํารุดเสียหายตองเปลี่ยนทันที

4. ผูปฏิบัติงานจะตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหครบถวนตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เชน รองเทานิรภัย, แวนตานิรภัย, หนากากสําหรับงานเชื่อม, ถุงมืองานเชื่อม และหนากากกรอกสารเคมีสาหรับงานเชื่อม เปนตน

5. ควรตอสายดินใหใกลกับชิ้นงาน เพื่อปองกันกระแสตกคาง

6. ไมมวนสายไฟเพื่อปองกันการสะสมความรอน

7. เครื่องเชื่อมชนิดที่เคลื่อนที่ไดตองตอสายดิน

8. ขณะทําการเชื่อมควรมีการระบายอากาศที่ดี

9. หาม เชื่อมในบริเวณที่มีสารไวไฟ หรือเชื้อเพลิงที่อาจลุกไหมไดงาย ใน กรณีที่จําเปนจะตองทําการปดกั้นพื้นที่เพื่อปองกันการเกิดไฟไหม และ เตรียมถังดับเพลิงใหพรอม เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

10. หามเชื่อมภาชนะบรรจุ หรือที่เคยบรรจุเชื้อเพลิงหรือสารไวไฟโดย เด็ดขาด

11. หาม เชื่อมในสถานที่อับอากาศ เวนแตไดจัดใหมีการระบายอากาศที่ เหมาะสมและตองขออนุญาตทํางานในสถานที่อับอากาศ

12. ผูปฏิบัติงานตองจัดทําฉากปดลอมพื้นที่การทํางาน เพื่อปองกัน ผูปฏิบัติงานคนอื่นๆ ไดรับอันตรายจากสะเก็ดลูกไฟกระเด็น

13. ผูปฏิบัติงานจะตองจัดเตรียมอุปกรณดับเพลิงไวใกลบริเวณทํางานใหเพียงพอ และสามารถหยิบใชไดสะดวกในกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน

14. หลังจากปฏิบัติงานแลวเสร็จใหมีการตรวจสอบพื้นที่การทํางานและทําความสะอาดใหเรียบรอยเพื่อใหแนใจวาไมมีการลุก ไหม

15. หามผูปฏิบัติงานทางําานในพื้นที่การทํางานเพียงลําพังโดยเด็ดขาด

16. เมื่อเลิกงานใหปดสวิตซไฟฟาที่จายไฟไปยังตูเชื่อมทุกครั้ง การเชื่อมใชกาซ

1. ตองขออนุญาตกอนเขาไปปฏิบัติงานทุกครั้ง โดยหัวหนางานเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงาน

2. ทอบรรจุแกสออกซิเจน อะซิทิลีน หรือปโตรเลียมเหลว จะตองไดมาตรฐานและมีการตรวจสอบระยะเวลาที่กาหนด

3. ชางเชื่อมตองมีความรู ความชํานาญในการเชื่อมหรือผานการอบรม

4. ผูปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหครบถวนตลอดเวลาที่อยูในพื้นที่ทํางาน เชน รองเทา นิรภัย, แวนตานิรภัย, หนากากสําหรับงานเชื่อม, ถุงมืองานเชื่อม และหนากากกรองฝุนควันจากการเชื่อม เปนตน

5. ผูปฏิบัติงานตองทาการตรวจสอบอุปกรณในการทํางาน เชน สายไฟ, หัวเชื่อม , ตูเชื่อม เปนตน หากพบวาอุปกรณที่ใช ทํางานเกิดชํารุดตองแจงหัวหนางานทันที

6. หาม เชื่อมในบริเวณที่มีสารไวไฟ หรือเชื้อเพลิงที่อาจลุกไหมไดงาย ในกรณีที่จําเปนจะตองทําการปดกั้นพื้นที่ เพื่อปองกัน การเกิดไฟไหม และเตรียมถังดับเพลิงใหพรอมเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน 7. หามนําสายเชื่อมหรือสายแกสที่ชํารุดมาใชในงานเชื่อมโดยเด็ดขาด

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 51
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

8. หามแขวนสิ่งของหรืออุปกรณอื่นบนอุปกรณปรับความดันกาซและทอกาซโดยเด็ดขาด

9. ระมัดระวังในการยกและเคลื่อนยายถังบรรจุกาซกอนการเคลื่อนยายควรครอบถังกาซใหเรียบรอย

10. หามนอนถังแกสที่ใชสําหรับงานเชื่อมโดยเด็ดขาด จะตองทําการตั้งถังและผูกมัดกับวัสดุที่แข็งแรงเทานั้น 11. ควรเก็บถังในที่รมหางจากเปลวไฟ และความรอนถังออกซิเจนควรจัดเก็บแยกจากถังกาซเชื้อเพลิง

12. หาม เชื่อมในสถานที่อับอากาศ เวนแตไดจัดใหมีการระบายอากาศที่เหมาะสมและตองขออนุญาตทํางานในสถานที่อับ อากาศ

13. หามซอมวาลวหรืออุปกรณปรับความดันหากชํารุดใหเปลี่ยนใหมทันที

14. หามผูปฏิบัติงานทํางานเชื่อมเพียงลําพังโดยเด็ดขาด

15. ผูปฏิบัติงานจะตองจัดเตรียมอุปกรณดับเพลิงไวใกลบริเวณทํางานใหเพียงพอและสามารถหยิบใชไดโดยสะดวกในกรณีเกิด เหตุฉุกเฉิน

16. ตองมีการทดสอบการรั่วของกาซโดยการใชน้ําสบู หากพบมีการรั่วไหลหามนํามาใชงานโดยเด็ดขาด

17. สายตอกาซออกซิเจน และกาซอะซิทิลีน ตองมีอุปกรณปองกันเปลวไฟยอนกลับติดตั้งอยูหลังตัวควบคุมความดันกาซ

18. หามใชน้ํามัน จาระบีหลอลื่นขอตอตางๆ

19. หลังจากปฏิบัติงานแลวเสร็จใหมีการตรวจสอบพื้นที่การทํางานและทําความสะอาดใหเรียบรอยเพื่อใหแนใจวาไมมีการลุก ไหม

ความปลอดภัยในการใชแกสตัดชิ้นงาน

1. ตองขออนุญาตกอนเขาไปปฏิบัติงานทุกครั้ง โดยหัวหนางานเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการขออนุญาตเขาไปปฏิบัติงาน

2. ผูปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหครบถวนตลอดเวลาที่อยูในพื้นที่ทํางาน เชน รองเทานิรภัย , แวนตานิรภัย, หมวกนิรภัย, ถุงมือหนัง และกระบังหนา เปนตน

3. ผูปฏิบัติงานตองทําการตรวจสอบอุปกรณในการทํางาน เชน สายลม, สายกาซ, อุปกรณปรับแรงดัน เปนตน หากพบวาอุปกรณ ที่ใชทํางานเกิดชํารุดตองแจงหัวหนางานทันที

4. หามตัดชิ้นงานในบริเวณที่มีสารไวไฟ หรือเชื้อเพลิงที่อาจลุกไหมไดงาย ในกรณีที่จําเปนจะตองทําการปดกั้นพื้นที่ดวยวัสดุที่ไม ติดไฟ เพื่อปองกันการเกิดเพลิงไหมจากลูกไฟ

5. หามนําสายลมหรือสายกาซที่ชํารุดมาใชในงานเชื่อมโดยเด็ดขาด

6. หามผูปฏิบัติงานทํางานตัดชิ้นงานโดยไมมีการสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลโดยเด็ดขาด

7. หามแขวนสิ่งของหรืออุปกรณอื่นบนอุปกรณปรับความดันกาซและทอกาซโดยเด็ดขาด 8. หามนอนถังกาซและถังลมที่ใชสําหรับงานเชื่อมโดยเด็ดขาด จะตองทําการตั้งถังและผูกหมัดกับวัสดุที่แข็งแรงเทานั้น

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 52
Méridien Phuket Beach Resort

9. หาม ตัดชิ้นงานในสถานที่อับอากาศ เวนแตไดจัดใหมีการระบายอากาศที่เหมาะสมและตองขออนุญาตทํางานในสถานที่อับ อากาศ

10. หามซอมวาลวหรืออุปกรณปรับความดัน หากชํารุดใหเปลี่ยนใหมทันที

11. หามสลับสายลมกับสายกาซโดยเด็ดขาด เพราะอาจทาใหระเบิดขึ้นได และขอตอลม กาซตองใชเข็มขัดรัดใหแข็งแรง

12. ควรตรวจสอบสายลมและสายกาซ รวมทั้งอุปกรณปองกันไฟยอนกลับใหอยูในสถาพที่พรอมใชงาน และชุดกันยอนตองมี 4 จุด

13. ผูปฏิบัติงานจะตองจัดเตรียมอุปกรณดับเพลิงไวใกลบริเวณทํางานใหเพียงพอและสามารถหยิบใชไดโดยสะดวกในกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน

14. หามผูปฏิบัติงานทํางานตัดชิ้นงานเพียงลําพังโดยเด็ดขาด

15. ผูปฏิบัติงานจะตองทําการปดวาลวถังลมและถังกาซทุกครั้งหลังจากการปฏิบัติงานแลวเสร็จ

16. ตองมีการทดสอบการรั่วของกาซโดยการใชสบู หากพบมีการรั่วไหล หามนํามาใชงานโดยเด็ดขาด

17. หลังจากปฏิบัติงานแลวเสร็จใหมีการตรวจสอบพื้นที่การทํางานและทําความสะอาดใหเรียบรอยเพื่อใหแนใจวาไมมีการลุกไหม

ความปลอดภัยในการใชทอแกส

1. สีของทอแกสควรเปนสีที่เปนมาตรฐาน (สีเทา-แกสไนโตรเจน, สีน้ําตาลแดง-แกสอะเซทิลีน, สีดํา-แกสออกซิเจน, สีฟา-อารกอน, สีสมหรือน้ําเงินเทา-แอลพีจี)

2. ขณะใชงานถังแกสตองอยูในแนวตั้งและผูกรัดไวใหมั่นคงในที่ปลอดภัย

3. การเคลื่อนยายทอแกสตองกระทําดวยความระมัดระวัง อยาใหกระแทกหรือลมเพราะอาจเกิดระเบิดได และตองผูกยึดใหอยูใน แนวตั้งขณะเคลื่อนยาย

4. การยกทอแกสโดยใชเครน ใหใชภาชนะสาหรับวางทอที่แข็งแรงและผูกรัดกับภาชนะใหแนน หามใชสลิงรัดทอแกส

5. อยาใหทอแกส ทอลม เปอนน้ํามันหรือจาระบี

6. หาม ปลอยหรือระบายแกสออกซิเจนหรือแกสไวไฟทิ้งในสถานที่ซึ่งมีการระบายอากาศไมดีเพียงพอ สถานที่ซึ่งมีวัสดุที่สามารถ ติดไฟไดอยู และสถานที่ซึ่งมีประกายไฟ

7. ควรหมั่นตรวจสอบ

(1) รอยรั่วของสายสงแกส โดยปดวาลวที่หัวเชื่อมไวและเปดแกสผานเขาสายสงแกส แลวนาสายสงแกสจุมลงในน้ํา ถารั่วจะ เกิดฟอง

(2) รอยรั่วของแกสที่บริเวณชุดควบคุมความดันดวยฟองสบู โดยเนนบริเวณรอยตอของวาลวกับถังแกส

(3) ตรวจสอบรอยรั่วที่วาลวของหัวเชื่อมและรอยตอสายสงแกสดวยฟองสบู

8. ไมควรเก็บทอแกสไวไฟและทอแกสออกซิเจนไวใกลกัน เพราะเมื่อเกิดไฟไหมจะทําใหเกิดการระเบิดอยางรุนแรง

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 53
Méridien Phuket Beach Resort
โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น (Crane)

1. บังคับปนจั่น ผูใหสัญญาณแกผูบังคับปนจั่น ผูยึดเกาะวัสดุ หรือผูควบคุมการใชปนจั่น ตองผานการฝกอบรมตามหลักสูตรที่ กฎหมายกําหนด

2. ผูไมมีหนาที่ หามขับ โดยสาร หรือขึ้นไปอยูบนปนจั่นโดยเด็ดขาด

3. ไมใชปนจั่นผิดวัตถุประสงค เชน ใชบูมดันหรือลากวัสดุ เปนตน

4. ตรวจสอบสภาพปนจั่นกอนการใชงานทุกครั้ง

5. มีการตรวจสอบปนจั่นทุก 3 เดือน โดยวิศวกรเครื่องกลลงนามรับรองในแบบตรวจตามที่กฎหมายกําหนด

6. จัดใหมีผูใหสัญญาณ ซึ่งสื่อเขาใจกันระหวางผูใหสัญญาณและผูบังคับปนจั่น

7. ผูใหสัญญาณควรอยูในตําแหนงที่ผูบังคับปนจั่น สามารถมองเห็นไดชัดเจน

8. ขณะปนจั่นเคลื่อนที่ตองมีแสงวับวาบ และสัญญาณเสียงเตือนใหผูปฏิบัติงานทราบ

9. ควบคุมใหมีลวดสลิงเหลืออยูในมวนลวดสลิงไมนอยกวา 2 รอบ ตลอดเวลาที่ปนจั่นทํางาน

10. ตองกางขาปนจั่นออกใหสุด พรอมกับนําแผนเหล็กหรือไมหนุนวางรองบนพื้นกอนตั้งขาปนจั่น เพื่อปองกันพื้นทรุด

11. ผูปฏิบัติงานไมควรอยูใตวัสดุที่กําลังยก

12. กรณีที่ปฏิบัติงานในเวลากลางคืน ควรจัดใหมีแสงสวางทั่วบริเวณสถานที่ปฏิบัติงาน

13. จัดใหมีเครื่องดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิดของปนจั่น และใชการไดที่หองบังคับปนจั่น ความปลอดภัยในการใชรถกระเชา

1. ผูปฏิบัติงานบนรถกระเชาตองเปนผูที่สามารถบังคับรถกระเชาไดและตองมีผูเฝาระวังชวยเหลืออยางนอย 1 คน ตลอดเวลาที่ ปฏิบัติงาน

2. ผูปฏิบัติงานกับรถกระเชาตองผานการอบรมและเอกสารรับรอง

3. ปดกั้นบริเวณติดตั้งปายสัญญาณเตือนอันตรายรอบๆ บริเวณทางานเพื่อแจงเตือนและปองกันบุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของ

4. ตองเก็บและรักษาเครื่องมืออุปกรณไวในกระเชาและตองหาวิธีปองกันไมใหตกหรือหลุดออกจากกระเชา

5. ตองเขา - ออกทางประตูกระเชาทุกครั้ง

6. ตองปดและล็อคประตูขณะทางานหรือเมื่ออยูในกระเชา

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 54

7. ตองสวมเข็มขัดนิรภัยชนิดเต็มตัวและคลองเกี่ยวตะขอไวกับราวของกระเชาตลอดเวลาและสวมใสอุปกรณคุมครองความ ปลอดภัยสวนบุคคลอื่นใหครบถวนตลอดเลาที่ปฏิบัติงาน

8. ตองรักษาระยะหางจากขอบของกระเชาถึงจุดทํางานไมใหเกิน 30 เซนติเมตร เพื่อไมใหเอื้อมตัวออกนอกตัวกระเชามากเกินไป 9. ตองใชฉนวนปองกันกระแสไฟฟาหรือตัดกระแสไฟฟากอนการใชกระเชายกทํางานใกลสายไฟฟา 10. ผูปฏิบัติงานบนรถกระเชาตองเปนผูที่มีสุขภาพรางกายสมบูรณ ไมเปนโรคประจําตัว เชน โรคลมชัก, โรคความดันสูง เปนตน

ความปลอดภัยในการใชตะขอ โซยก ที่หนีบจับ

1. ใหยึดแนนกับโครงสราง

2. ใชตะขอกรณีที่มีที่ยึดเกี่ยวในการยกที่เดียว และจะใชตรวนเมื่อยกที่มีที่ยึดมากกวาสองที่ขึ้นไป

3. ตะขอตองมีสลักนิรภัยติดอยู (ยกเวนตะขอบางประเภท)

4. ใชตะขอยกน้ําหนัก โดยใหน้ําหนักวัสดุตกตรงรองตะขอ

5. ขออนุมัติจากผูบังคับบัญชากอนการผูกมัดวัสดุกับโครงสรางอื่นๆ เพื่อใหมั่นใจวาไมเกินขีดจํากัดของโครงสรางนั้น

6. หามใชที่หนีบจับสําหรับแผนโลหะ คีม ที่หนีบจับทอ แทนที่หนีบจับที่ใชกับโครงสราง

7. ตองมีการตรวจสอบและอนุมัติตะขอ โซยกและที่หนีบจับที่ใชกับโครงสรางกอนการใชทุกครั้ง หามใชเกินจากพิกัดนาหนักที่ กําหนด พิกัดน้ําหนักที่จะยกตองระบุเดนชัดบนอุปกรณ

8. ไมปลอยวัสดุที่จะยกอยูในสภาพไมรัดกุม และไมไดรับการเฝาระวัง ถูกหอยแขวนอยูกับโซยก

9. ไมยืนหรือใหสวนใดสวนหนึ่งของรางกายอยูดานลางของวัสดุที่กําลังยกโดยโซยก

10. ไมใชโซมวนรัดวัสดุ เพื่อทําการยก

11. ตองมีการตรวจสอบโซกอนมีการยกวัสดุ การตรวจสอบดวยสายตาให ตรวจรวมไปถึงตะขอที่อาจผิดปกติ ตลอดจนสภาพที่ เสียหายอันเนื่องจากนําไปใชผิดวัตถุประสงค

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 55 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
Méridien Phuket Beach Resort
Le

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

ความปลอดภัยสําหรับผูรับเหมา กฏระเบียบ ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานสําหรับผูรับเหมา

1. ผูรับเหมาทุกคนตองมีอายุ 18 ปบริบูรณขึ้นไป และตองไดรับการอบรมความปลอดภัยตามที่โรงแรมกําหนดจากเจาหนาที่ความ ปลอดภัยในการทํางาน (จป.) หรือหัวหนาผูควบคุมงาน จึงจะสามารถปฏิบัติงานได

2. ผูรับเหมาทุกคนตองแลกบัตรและติดบัตรใหเห็นอยางชัดเจนตลอดเวลาเมื่อเขามาภายในโรงแรม และคืนบัตรทุกครั้งที่ สํานักงานปองกันการสูญเสีย (LP Office)

3. ผูรับเหมาตองปฏิบัติตามระบบการขออนุญาตทํางาน ( Permit to Work System) ของโรงแรม และตอง ขอใบอนุญาตทํางาน (Work Permit) กอนเริ่มงานทุกครั้ง ใหนําสงที่สํานักงานปองกันการสูญเสีย (LP Office) ลวงหนาอยางนอย 1 วัน เมื่อไดรับ อนุญาตแลวจึงจะสามารถเขาไปปฏิบัติงานได (หามเริ่มงานโดยไมมีใบอนุญาตการทํางาน)

4. ผูรับเหมาตองแตงกายใหเรียบรอยรัดกุม สวมใสเสื้อแขนยาว กางเกงขายาว และรองเทาผาใบ/หุมสนขณะปฏิบัติงาน ตองจัดหา และสวมอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ( PPE) เพิ่มเติมตามความเสี่ยง ไดแก หมวกนิรภัยพรอมสายรัดคาง , แวนตานิรภัย, รองเทานิรภัย หรือตามชนิดของงานนั้นๆ ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน

5. ผูรับเหมาตองตรวจสอบสภาพอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร ของตนเองกอนและหลังปฏิบัติงานทุกครั้ง หากพบวาชํารุดเสียหาย ใหแจงหัวหนาผูควบคุมงานทันที เพื่อแกไขใหปลอดภัย อยูในสภาพดี จึงจะปฏิบัติงานไดปกติหากตองการเก็บเครื่องมือไวที่หนา งาน ทางโรงแรมไมรับผิดชอบตอความเสียหายหรือการสูญหายที่อาจเกิดขึ้น

6. หัวหนาผูควบคุมงาน ตองตรวจสอบความเรียบรอยของวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร ที่ผูรับเหมานํามาใชตองไดมาตรฐาน อยูในสภาพดี และตรวจสอบการแตงกายของผูรับเหมาภายใตความดูแลของตนเองกอนเริ่มงาน ตองปฏิบัติงานเฉพาะพื้นที่ที่

รับผิดชอบหรือวาจางเทานั้น เมื่อเสร็จงานตองสงมอบพื้นที่คืนใหผูรับผิดชอบ

7. หัวหนาผูควบคุมงานจะตองมีความรู ความเขาใจในงานที่ทํา เคยผานการอบรมหลักสูตรเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน ระดับหัวหนางานเปนอยางนอย และตองมีหัวหนางานดูแลและควบคุมการทํางานตลอดเวลา 8. ผูรับเหมาไมสาม ารถเบิกกุญแจได ตองใหพนักงานโรงแรมเปนผูเบิก - คืนกุญแจเทานั้น หากเปนหองลูกคาหรือหองควบคุม พิเศษตองมีพนักงานโรงแรมกํากับ ดูแล ตลอดเวลา

9. การจอดรถ ขนวัสดุ ตองเปนไปตามระเบียบโรงแรม หากตองการเปลี่ยนแปลง ตองแจงหัวหนาผูควบคุมงานและ LP ใหทราบ กอนทุกครั้ง

10. สถานที่ทํางานตองสะอาด เปนระเบียบ ไมมีวัสดุที่อาจกอใหเกิดอันตรายหรือเปนเชื้อเพลิง เมื่อเลิกงานตองจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ ใหเรียบรอยและปลอดภัย

11. หากมีนั่งราน ตองจัดทํารูปแบบนั่งรานและรายการคํานวนเฉพาะงานติดตั้งและรื้อถอนนั่งราน (กรณีนั่งรานสูงมากกวา 4 เมตร ตองมีวิศวกรรับรอง) ตองตรวจสอบความปลอดภัยของนั่งรานกอนเริ่มงานทุกวัน การตรวจสอบนั่งราน หากพบวาไมได มาตรฐานความปลอดภัย ผูรับเหมาตองรื้อถอนและติดตั้งใหม คาใชจายเปนสวนที่ผูรับเหมาตองรับผิดชอบเอง

12. หากทํางานที่สูงตองใชบันได หรือเครื่องจักรสําหรับใชในการยกคนขึ้นทํางานบนที่สูง ตองตรวจสอบความปลอดภัยกอนเริ่มงาน ทุกครั้ง

13. กระบวนการทํางานที่มีเสียงดังเกินมาตรฐานหรือมีกลิ่นรบกวนพื้นที่ใกลเคียง หัวหนาผูควบคุมงานตองดูแลและ ควบคุมพื้นที่การทํางาน ใหผูที่ไดรับผลกระทบจากเสียงและกลิ่นให นอยที่สุด หรือหยุดการทํางานนั้นทันทีเพื่อ ดําเนินการแกไข

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 56
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le

14. ผูรับเหมาตองทราบแผนปองกันและระงับอัคคีภัย และแผนฉุกเฉินอื่นๆ ที่เกี่ยวของของโรงแรมและตองปฎิบัติตามแผนฉุกเฉิน , กฎระเบียบ, เครื่องหมายปายเตือน และปายหามตางๆ ของโรงแรมอยางเครงครัด

15. หามสูบบุหรี่ภายในอาคารโดยเด็ดขาด ยกเวนเฉพาะในบริเวณที่กําหนดไวใหเทานั้น

16. หามดื่มของมึนเมาทุกชนิด เสพสารเสพติด เลนการพนันขณะปฏิบัติงาน หรือนําสารเสพติดเขามาภายในโรงแรมโดยเด็ดขาด หากพบวามีอาการมึนเมาระหวางปฏิบัติงานหรือพบเห็นอยูในพื้นที่ทํางาน จะมีบทลงโทษ และหรือ ตองหยุดการทํางานและออก นอกพื้นที่โรงแรมทันที

17. เมื่อเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน ตองแจงใหหัวหนาผูควบคุมงาน / LP / ผูที่เกี่ยวของ ทันทีทุกกรณี

18. ผูรับผิดชอบหรือเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน มีสิทธิสั่งใหหยุดการปฏิบัติงานเมื่อพบเห็นพนักงานหรือผูรับเหมา ปฏิบัติงานไมเปนไปตามกฏระเบียบดานความปลอดภัย จนกวาจะทําการแกไขใหแลวเสร็จ

19. บทลงโทษผูรับเหมาที่ฝาฝนและไมปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยขั้นพื้นฐานหรือกฎหมายกําหนด จะถูกลงโทษตาม กฎระเบียบที่วางไว คือ ตักเตือนดวยวาจา , บันทึกความผิดเปนลาย ลักษณอักษร , ปรับเงิน และเชิญออกจากพื้นที่ ขึ้นอยูกับ ความรุนแรงของความผิดนั้นๆ

ระบบใบขออนุญาตทํางาน (Work permit)

เนื่องจากโรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ตบีช รีสอรท มีการปรับปรุงซอมแซมอาคารอยางตอเนื่อง (Renovate) ทําใหมีงานที่ มีความเสี่ยงสูง มีวัตถุดิบซึ่งเปนเชื้อเพลิง สารเคมีและกาซไวไฟ มีการทํางานบนที่สูง และอาจมีผูคนที่เกี่ยวของเดินผานไป- มา หรือ ทํางานในบริเวณใกลเคียงกัน ดังนั้น เพื่อใหระบบการตรวจสอบความเรียบรอยและมีความปลอดภัยทุกรายการ จึงจําเปนตองมีระบบ อนุญาตการทํางาน ( Work Permit System) ที่มีประสิทธิภาพและใหการทํางานมีความเสี่ยงนอยที่สุดหรือไมมีเลย พนักงานทุกคนจึง ตองปฏิบัติตามระบบการขออนุญาตทํางานตามระเบียบของโรงแรม กฎและระเบียบการขอใบอนุญาต

(1) หัวหนางานจะตองมาขอเปดใบอนุญาตทํางาน (Work Permit) ที่แผนกปองกันการสูญเสียลวงหนากอนเริ่มทํางาน 1 วัน

และนํา Work Permit เดิมมาปดเมื่อถึงเวลาที่ระบุไว (2) ใบอนุญาตทํางานที่สมบูรณจะตองระบุวัน ระยะเวลา อุปกรณ หรือสถานที่ที่อนุญาตใหทํางาน รายละเอียดของงานที่ทํา ลายมือชื่อของผูตรวจสอบ, ผูรับอนุญาต และผูอนุญาต

(3) ตองติดตั้งตนฉบับใบอนุญาตทํางานไวในบริเวณที่ไดรับอนุญาตใหเปนที่สังเกตไดชัดเจน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

(4) เมื่อปดงานแลวใหนําสงใบอนุญาตทํางาน (Work Permit) มายังแผนกปองกันการสูญเสีย งานหรือประเภทที่ตองขอใบอนุญาตทํางาน

1. ใบอนุญาตทํางานทั่วไป ( General Work Permit)

• ทําการปดกั้น หรือแยกอุปกรณออกจากสวนอื่นๆ และติดปายเตือน

• ตัดระบบไฟฟาที่ไปยังอุปกรณนั้น และติดปายเตือน

• ตัดแยกระบบควบคุมการทํางานและติดปายเตือน

• ทําความสะอาดอุปกรณจนปราศจากสารเคมี น้ํามัน สารอันตราย

• จัดเตรียมอุปกรณดับเพลิงไวยามเกิดเหตุฉุกเฉิน

• บริเวณรอบๆ รวมทั้งบรรยากาศ และทิศทางลม อยูในสภาพที่ปลอดภัย

• ตรวจสอบไมใหมีวัตถุที่ทําใหเกิดการติดไฟในพื้นที่

• ปดกั้นระบบทอ/วาวลตางๆ และติดปายเตือนเรียบรอย

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 57
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

2. ใบอนุญาตทํางานที่มีความรอนหรือมีประกายไฟ ( Hot Work Permit) เชน งานเชื่อม , ตัด , เจียร และงานอื่นๆ ที่มี สะเก็ดไฟ ประกายไฟ

• อุปกรณที่นํามาใชตองปลอดภัย ไมชํารุดเสียหาย

• บริเวณที่ทํางานตองไมมีเชื้อเพลิงที่กอใหเกิดการติดไฟ และมีการปดกั้นพื้นที่ ปองกันสะเก็ดไฟ ประกายไฟกระเด็น

3. ใบอนุญาตทํางานในที่สูง (Working at Height Permit)

• ในกรณีที่มีการติดตั้งนั่งราน นั่งรานจะตองมีสภาพที่มั่นคงแข็งแรง

• จัดใหมีเข็มขัดนิรภัยแบบเต็มตัวสําหรับใหผูปฏิบัติงานสวมใสตลอดเวลาที่ปฏิบัติในที่สูง 2 เมตรขึ้นไปโดยยึดติดกับ สวนหนึ่งสวนใดของอาคารหรือโครงสราง

• จัดใหมีผาใบหรือสิ่งปดกั้นไมใหวัสดุรวงหลนเปนอันตรายตอผูที่ทํางานหรือทรัพยสินที่อยูดานลางหรือจะตองปดกั้น บริเวณโดยรอบใตพื้นที่ปฏิบัติงานเพื่อปองกันผูไมเกี่ยวของเขาไปในเขตอันตราย

• การทํางานบนที่สูงหรือบนหลังคาใกลสายไฟฟาจัดทําปายเตือนหรือทํารั้วกั้น

• สภาพดินฟาอากาศปกติ ไมมีลมแรงหรือฝนฟาคะนอง จึงจะสามารถทํางานได

4. ใบอนุญาตทํางานยกของหนักตั้งแต 3 ตันขึ้นไป (Crane Lifting Work Permit)

• ตรวจสอบอุปกรณที่ใชยกเคลื่อนยายใหเหมาะสมกับน้ําหนัก สิ่งของที่ตองการยก

• วางแผน กําหนดพื้นที่ และการเคลื่อนยายใหปลอดภัย

5. ใบอนุญาตอื่นๆ ตามความเหมาะสม

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 58

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ( PPE)

ประเภทของอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

1. อุปกรณปองกันศีรษะ ( Head protection) เชน หมวกนิรภัย ( Safety Helmet) หมวกกันกระแทก ( Bump Cap) ใชปองกัน อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับศีรษะ อันเนื่องมาจากวัสดุตกจากที่สูงกระทบศีรษะในลักษณะที่เปนแรงกระแทก หรือใชปองกัน อันตรายจากการที่ศีรษะเคลื่อนที่ไปกระแทกหรือกระทบกับวัสดุอื่น

2. อุปกรณปองกันการไดยิน ( Hearing protection) เชน ปลั๊กอุดหู (Ear Plug) ที่ครอบหู (Ear Muff) ใชปองกันอันตรายจาก เสียงดัง ซึ่งถามีเสียงดังเกิน 80 เดซิเบลเอ ใหสวมใสปลั๊กอุดหูหรือที่ครอบหูตลอดเวลาที่สัมผัสเสียงดังซึ่งตามมาตรฐาน ความปลอดภัย เสียงตองไมดังเกิน 85 เดซิเบลเอ

3. อุปกรณปองกันหนาและดวงตา (Face protection) เชน แวนตานิรภัย (Safety Glasses) ที่ครอบตา (Goggle), กระบังหนา (Face Shield) ใชปองกันอันตราย ที่อาจจะเกิดขึ้นกับดวงตาจากแสงสวางจาและวัสดุฝุนละอองกระเด็นเขาตา เชน งานขัด งานเจียร งานสกัด หรือปองกันสารเคมีกระเด็นเขาตาที่อาจทําใหตาบอด

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 59
Phuket
Méridien
Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

4. อุปกรณปองกันลมหายใจ ( Respiratory protection) เชน หนากากกรองสารเคมี ( Chemical Cartridge Respirator ) หนากากกรองกาซ (Gas Mask), SCBA เปนตน ใชปองกันอันตรายในสถานที่ปฏิบัติงานที่มีฝุนไอระเหยสารเคมี กาซพิษ เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับระบบทางเดินหายใจโดยมาตรฐานความปลอดภัย จะตองมีการตรวจวัดความเขมขนของ สารเคมี/ฝุน ในพื้นที่ทํางานทุก 6 เดือน

5. อุปกรณปองกันลําตัว ( Body protection) เชน ชุดปองกันสารเคมี, ชุดปองกันความรอน ใชปองกันอันตรายที่อาจจะโดน ลําตัว เชน สารเคมีกระเด็นโดนลําตัว ปองกันสะเก็ดไฟจากการเชื่อม

6. อุปกรณปองกันมือ ( Hand protection) เชน ถุงมือหนัง , ถุงมือปองกันสารเคมี, ถุงมือยาง , ถุงมือปองกันไฟฟา ใชปองกัน อันตรายที่อาจจะเกิดการถูกทิ่มแทงจากวัสดุแหลมคมการกัดกรอนจากสารเคมี ปองกันอันตรายจากไฟฟา

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 60

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le

7. อุปกรณปองกันเทา ( Foot protection) เชน รองเทานิรภัย (Safety Shoe), รองเทากันสารเคมี ใชปองกันอันตรายจากของ ตกใสเทา อันตรายจากการกัดกรอนของสารเคมี ปองกันการลื่นลมจากพื้นลื่น เชน สารเคมี น้ํามันหรือที่มีน้ําขัง

8. อุปกรณปองกันตกจากที่สูง ( Fall protection) เชน สายรัดนิรภัยชนิดเต็มตัว ( Full body harness) เข็มขัดนิรภัย ( Safety Belt) เชือกนิรภัย (Lanyard) ใชปองกันอันตรายที่อาจจะเกิดจากการทํางานบนที่สูง เมื่อทํางานที่สูงกวา 4 เมตร จะตองสวมใส อุปกรณปองกันการตกจากที่สูงทุกครั้งอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลทุกชนิดตองดูแลบํารุงรักษาอยูเสมอเพื่อให พรอมใชงาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 61
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le

สีและสัญลักษณความปลอดภัย

สีและสัญลักษณความปลอดภัย คือ สิ่งที่แสดงถึงสถานะดานตางๆ ที่จะมาในรูปแบบปายสัญลักษณ โดยมีจุดประสงค เพื่อความปลอดภัย เตือนใหมีการระมัดระวัง คําแนะนํา ขอปฏิบัติ ความเสี่ยงที่อาจทําใหเกิดอันตราย อุบัติเหตุ ซึ่งจะแสดงออกมา เปนสัญลักษณ ขอความสั้นๆ พรอมดวยสีที่สื่อถึงความหมายใหผูที่พบเห็นไดเขาใจไดงายมากยิ่งขึ้น รูปแบบของเครื่องหมายสัญลักษณเพื่อความปลอดภัย เครื่องหมายสัญลักษณเพื่อความปลอดภัย แบงไดเปน 4 ประเภทหลักๆ ตามจุดประสงคของการใชงาน โดยจะมีภาพ สัญลักษณอยูตรงกลางของเครื่องหมาย อยูใตแถบขวางข องเครื่องหมายหาม ในกรณีที่ไมมีภาพที่เหมาะสมกับความหมาย จะใช เครื่องหมายรวมกับเครื่องหมายเสริม

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 62
Méridien Phuket Beach Resort

Le

การรายงานและสอบสวนอุบัติเหตุ/อุบัติการณ

อุบัติเหตุ/อุบัติการณใดๆ ที่เกิดขึ้น ถือเปนความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองรายงานและแจงใหทราบโดยทั่วกัน เพื่อใหมีการ ดําเนินการสอบสวนและแกไขตามสาเหตุที่พบปองกันเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นอีกโดยมีสาเหตุคลายคลึงกันในอนาคต การรายงานอุบัติเหตุ กําหนดใหมีการรายงานเหตุการณที่เกิดขึ้นทุกชนิดที่เปนสาเหตุ หรืออาจทําใหเกิดการบาดเจ็บ, ทรัพยสินเสียหาย หรือ เปนการทําลายสภาพแวดลอม ใหผูบริหารที่เกี่ยวของในพื้นที่ที่เกิดเหตุรับทราบเมื่อเกิดเหตุการณขางตน ตองมีการรายงานโดยวาจา ใหหัวหนางานในพื้นที่รับทราบและเมื่อสามารถควบคุมสถานการณไดทั้งหมดแลว จะตองเขียนรายงานใหเร็วที่สุดเทาที่กระทําได โดยใชเวลาไมเกิน 24 ชั่วโมงหลังเกิดเหตุ โดยขอแบบฟอรมไดที่จป.วิชาชีพ และสงใหฝายปองกันการสูญเสียเพื่อดําเนินการสอบสวน และวิเคราะหอุบัติเหตุตอไป การสอบสวนอุบัติเหตุ หากเหตุการณที่เกิดขึ้นเปนเหตุฉุกเฉิน และไดมีการปฏิบัติตามแผนระงับเหตุฉุกเฉินแลว ผูบริหารจะตองทําการ สอบสวนเหตุการณที่เกิดขึ้น เพื่อหาสาเหตุพื้นฐาน (Basic Causes) เพื่อนําไปสูการแกไขและเพื่อใหเปนตามขอกําหนดของกฎหมาย กรณีที่อุบัติเหตุเกิดขึ้น หัวหนางานรวมกับเจาหนาที่ความปลอดภัยหรือทีมสอบสวนตองทําการสอบสวนเพื่อหาสาเหตุ

และทบทวนสถิติอุบัติเหตุ เพื่อระบุชี้ถึงปญหาที่เกิดขึ้น และดูแนวโนมของอุบัติเหตุเพื่อหาทางควบคุม ปองกัน กอนที่เกิดความสูญเสีย มากขึ้น

ประเภทและชนิดของอุบัติเหตุ/อุบัติการณตองรายงาน

เหตุการณที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติงาน ดังนี้

1. การเสียชีวิต หรือพิการ

2. การบาดเจ็บ/เจ็บปวย ซึ่งทําใหสูญเสียเวลางาน (Loss-Time)

3. การบาดเจ็บ/เจ็บปวย ที่ไมตองหยุดงาน (Minor)

4. อุบัติเหตุรายแรงที่ตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาล

5. อุบัติเหตุไมรายแรงที่ตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาล

6. อุบัติเหตุรายแรงที่ไดรับการปฐมพยาบาล

7. อุบัติเหตุไมรายแรงที่ไดรับการปฐมพยาบาล

8. อุบัติเหตุเกี่ยวกับยานพาหนะ และการขนสง

9. อุบัติเหตุที่มีน้ํามัน สารเคมี หก ลน หรือ รั่วไหล หรือเหตุการณใดๆ ที่กอใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอม

10. อุบัติเหตุเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินตางๆ

11. อุบัติเหตุที่มีทรัพยสิน, อุปกรณเสียหาย

12. อุบัติเหตุที่เกิดกับผูรับเหมา หรือแรงงานจางเหมา

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 63
โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท
Méridien Phuket Beach
Resort

มาตรการปองกันอุบัติเหตุ

1. การควบคุมที่แหลงกําเนิด เปนวิธีการควบคุมอันตรายที่แหลงกําเนิด เปนการควบคุมที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เชน สราง การดครอบสวนที่เปนอันตราย มีการรักษาเครื่องจักรเปนประจํา

2. การควบคุมที่ทางผาน เปนวิธีการควบคุมที่ทางผานของอันตรายจากแหลงกําเนิดไปสูคนปฏิบัติงาน เชน การสรางฉากกั้น บริเวณที่อันตรายออกจากบริเวณที่ไมอันตราย การดูแลความสะอาดเรียบรอยของสถานที่ทํางาน 3. การควบคุมที่ตัวบุคคล เปนวิธีการที่ยากที่สุด และเปนทางเลือกสุดทายเนื่องจากเปนวิธีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เชน การ ใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลอยางถูกตองและเหมาะสม การปฏิบัติตามกฎระเบียบการปฏิบัติงานโดยเครงครัด

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 64 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort

การปฐมพยาบาลเบื้องตน

การปฐมพยาบาล คือ การใหความชวยเหลือขั้นแรกในทันทีทันใดในที่เกิดเหตุ โดยใชเครื่องมืออุปกรณเทาที่จะพอหาได เพื่อลดความรุนแรงของการบาดเจ็บกอนที่จะนําผูปวยไปพบแพทย ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเกิดการบาดเจ็บ

8. แจงหัวหนางานทันที ติดตอMOD หรือเจาหนาที่แผนกปองกันการสูญเสีย

9. หากพบเห็นผูบาดเจ็บ ถาสามารถปฐมพยาบาลเบื้องตนไดใหดําเนินการทันที คําเตือน: ผูที่ไมมีความรูในการปฐมพยาบาล อาจเพิ่มความรุนแรงของการบาดเจ็บได ขั้นตอนการชวยเหลือเมื่อพบผูประสบเหตุฉุกเฉิน

1. มีสติ

2. สํารวจและประเมินสถานการณ

(1) แนะนําตัว บอกชื่อ แจงวาจะใหการชวยเหลืออะไร

(2) ตรวจดูความรูสึกตัว

(3) ตรวจดูการหายใจ

3. สามารถใหความชวยเหลือและสงตอ

(1) การปฐมพยาบาล

• หยุดหายใจ/หัวใจหยุดเตน : ชวยปมหัวใจ

• เลือดออกมาก : ชวยหามเลือด

• ไมรูสึกตัว : ชวยจัดทานอน

• ความเจ็บปวด : ชวยหาสาเหตุ

• กระดูกหัก : ชวยเขาเฝอกชั่วคราว

• อัมพาต : ระวังการเคลื่อนยาย (2) การแจงขอความชวยเหลือ เบอรโทรฉุกเฉิน 1669 โดยแจงขอมูลดังนี้

• สถานที่เกิดเหตุ

• เกิดเหตุอะไร มีผูบาดเจ็บกี่คนแตละคนมีอาการอยางไร

• ใหการชวยเหลือเบื้องตนอยางไร

• ชื่อผูแจงที่ขอความชวยเหลือ เบอรโทรศัพทที่สามารถติดตอกลับได

• ใหการชวยเหลือผูบาดเจ็บจนกวาบุคลากรทางการแพทยจะมาถึงที่เกิดเหตุ

การปฐมพยาบาลคนเปนลม ปฏิบัติไดดังนี้

1. เมื่อผูปวยรูสึกเวียนศีรษะ หนามืด ตองใหผูปวยสูดหายใจยาวๆ และนําผูปวยไปอยูในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์

2. ถาผูปวยหมดสติควรใหผูปวยนอนหงาย โดยใหศีรษะต่ํากวาลําตัวเล็กนอย หรือนอนราบก็ได และปฏิบัติดังนี้

• คลายเสื้อผาใหหลวม

• กันคนอยาใหมุงเพื่อใหอากาศถายเทไดสะดวก

• ใหดมยาดมหรือแอมโมเนีย

• เช็ดเหงื่อผูปวยใหแหง

• ถายังไมฟนตองใหความอบอุน ผายปอด และรีบพาไปพบแพทยทันที

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 65 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต
Le Méridien Phuket Beach Resort
บีช รีสอรท

หลักการปฐมพยาบาลเบื้องตนผูไดรับสารเคมี มีดังตอไปนี้

1. ถาไดรับอันตรายจากสารเคมีโดยการรับประทาน

1.1 ลดอัตราการดูดซึมและทําใหสารเคมีเจือจางลง โดยใหผูปวยรีบดื่มนม หรือไขดิบ หรือดื่มน้ําเปลาทันทีและในกรณีที่ผู ไดรับสารเคมีกําลังชักหรือสลบ อยาใหดื่มอะไรทั้งสิ้น 1.2 ทําใหอาเจียน โดยใชนิ้วแหยแถวเพดานคอ หรือใหดื่มน้ําเกลืออุนจัดๆ (ผสมเกลือ 1 ชอนโตะในน้ํา 1 แกว) หรือทั้งดื่ม และลวงคอ เพื่อใหอาเจียนเอาสารพิษออกมา ขอควรระวังในการทําใหอาเจียน คือ อยาพยายามทําใหอาเจียนถาผูไดรับสารเคมีมีอาการชักหรือสลบเพราะ จะทําใหเศษอาหารทะลักเขาไปในหลอดลมและเกิดการอักเสบของปอดได ในกรณีที่ดื่มกรด ดางหรือน้ํายาฟนอล (ยาดับ กลิ่น) ถาดื่มกรดใหดื่มน้ําปูนใสเพื่อชวยทําใหเปนกลางแลวใหดื่มนม เพื่อลดการระคายเคืองกอน แลวจึงทําใหอาเจียน ถาดื่มดางใหดื่มน้ําผลไม เชน น้ําสม หรือน้ําผสมน้ําสมสายชู เล็กนอย แลวดื่มนมหรือไขตีกอนทําใหอาเจียน

2. ถาไดรับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง ใหลางผิวหนังในบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใชน้ําสะอาดลางใหมากที่สุด เพื่อทําใหเจือจาง ถ าสารเคมีหกรดเสื้อผาใหรีบถอดเสื้อผาออกกอน หามใชสารแกพิษใดๆ เทลงไปบนผิวหนัง เพราะอาจเกิดความรอนจาก ปฏิกิริยาเคมีทําใหแผลกวางและเจ็บมากขึ้น

3. ถาไดรับอันตรายจากสารเคมีที่ตา ใหลางตาดวยน้ําสะอาดใหมากที่สุดทันที โดยเปดเปลือกตาขึ้นใหน้ําไหลผานตาอยาง นอย 15 นาที ปายขี้ผึ้งปายตา แลวรีบนําสงหองพยาบาล

4. ถาไดรับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม ใหยายผูไดรับสารเคมีนั้นออกจากบรรยากาศของสารเคมี ไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ชวยผายปอด หรือกระตุนการหายใจ การบาดเจ็บจากการสัมผัสกระแสไฟฟา

1. ตองทําการตัดกระแสไฟฟากอนทุกครั้ง

2. ใชไมแหง หรือวัสดุที่เปนฉนวนไฟฟา เขี่ยอุปกรณไฟฟาออกจากตัวผูบาดเจ็บ

3. ตองเคลื่อนยายผูปวยออกจากบริเวณที่ถูกไฟดูด ไฟชอต ใหเร็วที่สุด

4. ตรวจดูหัวใจวาหยุดเตนหรือไม เพราะ กระแสไฟฟาแรงสูงที่ไหลผานหัวใจอาจทําใหคลื่นหัวใจหยุดเตนได โดยใชนิ้วมือคลําดู จากการเตนของชีพจรบริเวณคอ ถาหัวใจหยุดเตน ตองทําการ

5. นวดหัวใจไปพรอมๆ กับการผายปอด

6. ถาผูปวยหมดสติ ใหชวยหายใจกอนนําสงแพทย ขอหามที่สําคัญที่ไมควรทําเมื่อถูกไฟฟาชอต

1. หามเขาไปชวยผูถูกไฟฟาชอต จนกวาจะแนใจไดวาผูบาดเจ็บมิไดสัมผัสกับสายไฟฟาหรือตัวนําไฟฟาใดๆ จากนั้นจึงตัด วงจรไฟฟาที่ลัดวงจรกอนเขาไปชวยเหลือ

2. หามเขาไปชวยผูถูกไฟฟาชอต ถาผิวหนังผูที่จะชวยนั้นเปยกชื้น เพราะอาจเปนตัวนํากระแสไฟฟาและถูกไฟฟาดูดได

3. ถาไมแนใจวาจะปลอดภัยหรือไมในการเขาไปชวยเหลือเนื่องจากไมมีความรูในการตัดกระแสวงจรไฟฟาหรือวิธีการชวยเหลือที่ ถูกตอง ใหรีบตามคนมาชวย

บาดแผล/แผลไฟไหม

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 66 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช
Méridien Phuket Beach Resort
รีสอรท Le

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

1. ใชนิ้วหัวแมมือกดปากแผลนาน 10 นาที เพื่อใหเลือดแข็งตัว

2. กรณีแผลใหญ ใหใชผาสะอาดปดปากแผล

3. กรณีแผลไฟไหม ใหแชน้ําเย็นจัดหรือใชน้ําแข็งหอผาปดบริเวณแผลซึ่งจะชวยลดการทําลายเนื้อเยื่อ

4. นําสงพยาบาล/แพทย เศษวัสดุกระเด็นเขาตา

1. ฝุนละอองทั่วไปเขาตา ใหลางตาหรือลืมตาในน้ําสะอาด

2. ฝุนละอองที่มีความคมฝงอยูในตา หามเขี่ยออกเอง เพราะอาจทําใหเกิดการฉีกขาดของกระจกตา ใชผาสะอาดปดตาเบาๆ หลับตา เพื่อลดการเคลื่อนไหว แลวรีบนําสงแพทย

3. นําผูปวยสงพยาบาล/แพทย แผลจากการฟกซ้ํา

1. หยุดพักการใชกลามเนื้อสวนนั้นทันที

2. ยกบริเวณที่ฟกช้ําใหสูงและประคบดวยความเย็น ในระยะ 24 ชม.แรก จะชวยบรรเทาความเจ็บปวดและทําใหเสนเลือดตีบ เลือดออกนอยลง ไมบวมมาก หรืออาจใชผาพันใหแนน ชวยใหเลือดหยุดและจํากัดการเคลื่อนไหวดวย

3. ประคบความรอนหลัง 24 ชม. ใหใชรวมกับการนวดเบาๆ เพื่อใหมีการดูดซึมของเลือดดีขึ้น กระดูกหัก

1. ใหผูปวยนอนนิ่งๆ

2. เขาเฝอกชั่วคราว เพื่อปองกันกระดูกเคลื่อน

3. นําสงแพทย/พยาบาล การชวยฟนคืนชีพ

1. ปลอดภัยไวกอน

โดยตรวจสอบความปลอดภัยกอนเขาชวยเหลือ ถาอยูในสถานการณไมปลอดภัย เชน ไฟฟาชอต ไฟไหม ตึกถลม หาม เขาไปชวยเหลือโดยเด็ดขาด

2. ปลุกเรียก ตบไหล

ตรวจสอบดูวาผูปวยหมดสติหรือไม โดยตบที่ไหลทั้งสองขาง พอที่จะปลุกคนหลับใหตื่น ซึ่งอาจพูดวา “ คุณ คุณ เปน อยางไรบาง” พรอมจัดทาผูปวยใหนอนหงายราบบนพื้นที่แข็ง หากผูปวยฟนหรือรูสึกตัวหรือหายใจเองได ใหจัดทานอนตะแคง

3. โทร 1669

เรียกขอความชวยเหลือจากผูอื่น ซึ่งอาจพูดวา “ ชวยดวย มีคนหมดสติ” และโทร 1669 หรือใหคนอื่นโทรก็ได พรอมนํา เครื่อง เอ อี ดี (AED) มา

4. ประเมินผูหมดสติ ตรวจดูวาผูปวยหายใจหรือไม หากไมรูสึกตัวไมหายใจ หรือหายใจเฮือก ตองรีบกดหนาอก

5. กดหนาอก

การกดหนาอกทําตามขั้นตอนดังนี้

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 67

(1) จัดทาผูปวยนอนหงาย โดยผูชวยเหลือนั่งคุกเขาอยูดานขางของผูปวย

(2) วางสนมือขางหนึ่งตรงครึ่งลางกระดูกหนาอก

(3) วางมืออีกขางทับประสานกันไว แขนสองขางเหยียดตรง โดยใหแนวแขนตั้งฉาก กับหนาอกของผูปวย

(4) เริ่มทําการกดหนาอกดวยความลึกอยางนอย 5 เซนติเมตร ดวยความเร็ว 100 - 120 ครั้งตอนาที โดยใหสนมือสัมผัสกับ หนาอกของผูปวยตลอดการกดหนาอก

(5) ถามีหนากากเปาปาก เปาปากผานหนากาก 2 ครั้ง สลับกับการกดหนาอก 30 ครั้ง โดยนับ “ หนึ่ง และสอง และสาม.... และสิบเอ็ด สิบสอง....สามสิบ”

(6) ถาไมมีหนากากเปาปาก หรือไมเคยฝกเปาปาก ใหทําการกดหนาอกอยางเดียวอยางตอเนื่อง

(7) กระทําการกดหนาอกและเปาปากอยางตอเนื่องจนกวาทีมกูชีพจะไปถึงที่เกิดเหตุ

6. เมื่อเครื่อง เอ อี ดี (AED) มาถึง

(1) เปดเครื่อง

(2) ถอดเสื้อผูปวยออก

(3) ถาตัวเปยกน้ํา ใหเช็ดนาออกกอน แลวติดแผนนําไฟฟา

7. ติดแผนนําไฟฟา ติดแผนนําไฟฟาบริเวณใตกระดูกไหปลาราดานขวา และชายโครงดานซาย (ตามภาพ) หลังจากนั้นไมสัมผัสตัวผูปวย

8. ปฏิบัติตามคําแนะนําของเครื่อง เอ อี ดี (AED)

(1) หากเครื่อง AED แปลผลวา ไมตองชอกไฟฟาหัวใจ ใหกดหนาอกตอไป

(2) หากเครื่องสั่ง ใหชอกไฟฟาหัวใจ ผูชวยเหลือตองพูดหรือตะโกนวา “ถอยหาง / หามสัมผัส ตัวผูปวย”

(3) กดปุม ชอก ตามเครื่องสั่ง

9. กดหนาอกตอหลังทําการชอกไฟฟาหัวใจแลวทันที

10. สงตอ เมื่อทีมกูชีพมาถึง

(1) ทีมกูชีพจะทําการซักประวัติจากผูชวยเหลือ

(2) อะไรที่ผูชวยเหลือไดทําใหผูปวย

(3) ทีมกูชีพจะนําสงผูปวยไปโรงพยาบาลที่ใกลที่สุดและเหมาะสม

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 68 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort
การปองกันและระงับอัคคีภัย

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le

ธรรมชาติของไฟ

ไฟ คือ กระบวนการทางเคมีที่ทําใหเกิดความรอน ทาใหไอระเหยของสารเขารวมตัวกับออกซิเจนอยางรวดเร็ว เปนผล ทําใหเกิดเปลวไฟ ความรอน และแสงสวางขึ้น โดยเปนปฏิกิริยาทางเคมีระหวางเชื้อเพลิง ความรอน และออกซิเจน ไฟจะเกิดขึ้นเมื่อมี 3 อยางนี้พรอมๆ กัน ถาขาดอยางใดอยางหนึ่งไฟจะเกิดขึ้นไมได

องคประกอบของไฟมี 3 อยาง

1. ออกซิเจน (Oxygen) ไมตากวา 16 % (ในบรรยากาศปกติจะมีออกซิเจนอยูประมาณ 21% )

2. เชื้อเพลิง (Fuel) สวนที่เปนไอ (เชื้อเพลิงไมมีไอ ไฟไมติด)

3. ความรอน (Heat) เพียงพอทําใหเกิดการลุกไหม ไฟจะติดเมื่อองคประกอบครบ 3 อยาง ทําปฏิกิริยาทางเคมีตอเนื่องเปนลูกโซ (Chain Reaction) เราสามารถปองกันการติดไฟ ได โดยแยกองคประกอบ 2 อยาง ออกจากองคประกอบที่ 3 เอาองคประกอบใดองคประกอบหนึ่งออกจากอีกสององคประกอบก็จะ สามารถดับไฟได

หลักในการดับไฟ

1. การลดอุณหภูมิหรือความดัน เชน การใชน้ําลดอุณหภูมิ เปนตน

2. การกําจัดเชื้อเพลิง เชน นําเชื้อเพลิงที่ยังไมติดไฟออกจากบริเวณที่ติดไฟ เปนตน

3. การทําใหอับอากาศ เชน ใชผาหมหนาคลุมทับ ใชทรายกลบ เปนตน ประเภทของไฟ

4. ไฟประเภท A คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงธรรมดา เชน ไม กระดาษ เศษผา ยาง พลาสติก รวมทั้งสิ่งอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน การดับไฟประเภทนี้นิยมใชลดอุณหภูมิโดยการใชน้ําธรรมดา หรือผงเคมีแหง (Dry Chemical)

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 69
Méridien Phuket Beach Resort

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

5. ไฟประเภท B คือ ไฟที่เกิดจากไขหรือของเหลวที่ติดไฟได กาซ และน้ํามันเชื้อเพลิงตางๆ การดับไฟประเภทนี้นิยมใชวิธีกําจัด ออกซิเจน เชน เครื่องดับเพลิงแบบที่ฉีด เปนฟองหรือถังดับเพลิงแบบน้ํายาโฟม หรือกาซคารบอนไดออกไซค ( CO2 ) หรือผง เคมีแหง (Dry Chemical)

6. ไฟประเภท C คือ ไฟที่เกิดจากอุปกรณหรือวัตถุที่มีกระแสไฟฟา การดับไฟประเภทนี้ตองตัดกระแสไฟฟา ใชเครื่องมือที่ไม เปนสื่อไฟฟา เชน เครื่องดับเพลิงแบบกาซคารบอนไดออกไซค (CO2) หรือแบบฮาโลตรอน หรือผงเคมีแหง (Dry Chemical)

7. ไฟประเภท D คือ ไฟที่เกิดจากโลหะตางๆ ที่ติดไฟได เชน แมกนีเซียม ลิเทียม และโซเดียม เชื้อเพลิงจะมีความรอนสูงและลุก ไหมตลอดเวลา การดับไฟประเภทนี้ตองใชเครื่องดับเพลิงและวิธีการชนิดพิเศษเทานั้น นิยมใชวิธีทําใหอับอากาศและใชสาร จําพวก Sodium Chloride (ผงเกลือแกง) หรือทรายแหง หามใชน้ําดับ

8. ไฟประเภท K คือ ไฟที่เกิดจากน้ํามันที่ใชในครัว ไขมันพืช ไขมันสัตว ไปจนถึงของเหลวที่ใชในการประกอบอาหาร ซึ่งเปน เชื้อเพลิงที่พบไดในครัวเรือนและรานอาหาร การดับไฟประเภทนี้นิยมใชวิธีทําใหอับอากาศ หรือใชสารเคมีเฉพาะ หามใชน้ํา เปนอันขาด

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 70
คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 71 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort

การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การปองกันอัคคีภัยเปนหนาที่ของทุกคน ที่ตองปฏิบัติอยางเครงครัด

1. สถานที่ทํางาน สถานที่เก็บวัสดุหรืออุปกรณ ตองสะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย

2. หามสูบบุหรี่ หรือทําใหเกิดประกายไฟในบริเวณที่อาจกอใหเกิดอัคคีภัยได

3. หามทิ้งกนบุหรี่ หรือวัตถุที่มีความรอนลงในตะกรา ถังขยะหรือสิ่งรองรับอื่นๆ ที่อาจกอใหเกิดอัคคีภัย

4. เชื้อเพลิง สารไวไฟ หรือสารเคมี ตองจัดเก็บและขน

5. ยายใหถูกวิธีและใชความระมัดระวังเปนพิเศษ

6. หมั่นตรวจสอบอุปกรณปองกันและระงับอัคคีภัย หามมีสิ่งของวางกีดขวางเด็ดขาด

7. เสนทางหนีไฟ ทางเดินตางๆ จะตองรักษาความสะอาด และไมวางสิ่งของกีดขวาง ทางเด็ดขาด

8. เศษผา เศษวัสดุที่เปอนน้ํามัน เศษวัสดุอื่นๆ ที่ติดไฟไดจะตองแยกประเภทใหชัดเจน

9. ตองฝกซอมการดับเพลิงเบื้องตน และซอมอพยพหนีไฟ ตามระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด

10. ผูรับเหมาชวง ตองอยูในความควบคุมดูแลของผูควบคุมงาน

11. กรณีพบเหตุเพลิงไหม ใหใชอุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมดวยมือถือ และหรือตะโกนบอกใหผูที่อยูใกลเคียงทราบ

12. กรณีเพลิงขนาดเล็ก ใหใชถังดับเพลิงแบบมือถือเขาทําการดับเพลิง

13. ถาดับเพลิงไมได ใหรีบหนีออกจากพื้นที่ พรอมกับปดประตูหอง

14. เมื่อไดยินสัญญาณแจงเพลิงไหม อยาตกใจ ตั้งสติและหนีไฟออกจากอาคาร

15. ใหใชบันไดหนีไฟ หามใชลิฟต หลีกเลี่ยงเสนทางที่มีควันไฟ

16. หากติดอยูภายในอาคาร พยายามสงสัญญาณใหคนภายนอกรับทรา บ ถาติดอยูในหองใหใชผาชุบน้ําอุดใตประตูเพื่อปองกัน ควันไฟ

17. หลีกเลี่ยงการสูดควันไฟ เชน ใชถุงพลาสติกครอบศีรษะ หรือคลานในระดับต่ํา

18. อพยพออกจากอาคารแลว ใหไปรายงานตัวที่จุดรวมพล หามยอนกลับเขาไปในอาคารโดยเด็ดขาด

19. ถามีคนติดอยูในอาคาร ใหแจงเจาหนาที่ดับเพลิงหรือเจาหนาที่กูภัย

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 72
เมริเดียน
Méridien Phuket Beach Resort
โรงแรมเลอ
ภูเก็ต บีช รีสอรท Le

Le Méridien Phuket Beach Resort

แผนฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมและอพยพหนีไฟ

1. ใหพนักงานที่พบเหตุเพลิงไหมตะโกนเสียงดังวา "ไฟไหม" และชี้ไปที่จุดเกิดเหตุพรอมกับประเมินสถานการณ พรอมปฏิบัติ ตามขั้นตอนตอไปนี้

 ถาดับได

(1) ใหดําเนินการระงับเหตุในทันทีดวยถังดับเพลิงที่อยูใกลตามชนิดของเชื้อเพลิง

(2) รายงานหัวหนางาน รายงานผูจัดการฝายตนสังกัด แจงMOD และจป.วิชาชีพ

(3) จป.วิชาชีพ/หัวหนางาน/MOD/ฝายชาง เขาสํารวจความเสียหายและผลกระทบตอผลิตภัณฑและสิ่งแวดลอม

(4) จป.วิชาชีพ รายงานผูอํานวยการดับเพลิง

 ถาดับไมได

(1) ใหแจงเพื่อนรวมงานและหัวหนางาน แจงใหผูอํานวยการดับเพลิงตัดสินใจใชแผนระงับอัคคีภัยและอพยพหนีไฟ

(2) เมื่อผูอํานวยการดับเพลิงรับทราบและแจงใหประชาสัมพันธประกาศ พรอมกดสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเพื่อใหทุกคน

(3)

ออกนอกอาคาร

ปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของโรงแรมที่กําหนดไว

2. เมื่อสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมดังขึ้น และมีคําสั่งใหอพยพหนีไฟได ใหพนักงานปฏิบัติตามลําดับขั้นตางๆ ดังนี้

(1) หยุดทํางานทันที หรือหากอยูในหองน้ําก็ใหรีบออกจากหองน้ําโดยเร็ว

(2) เก็บทรัพยสินมีคาและเอกสารสําคัญเตรียมอพยพ

(3) ถอดปลั๊กไฟ เครื่องใชไฟฟาและเครื่องจักรทั้งหมด

(4) ผูนําอพยพ ถือธงและรายชื่อ พาพนักงานอพยพออกจากพื้นที่ โดยใชทางออกฉุกเฉิน หรือตามเสนทางหนีไฟที่กําหนด โดยวิธีเดินเร็ว หามวิ่งโดยเด็ดขาด

(5) เมื่อออกจากอาคารไดแลวใหพนักงานทุกคนไปรวมกัน ณ จุดรวมพลโดยแยกออกเปนสวนงานไมปะปน เพื่อตรวจสอบ ไมใหมีพนักงานติดคางอยูในอาคาร

(6) ผูนําอพยพหรือฝายทรัพยากรบุคคลตรวจเช็คจํานวนพนักงานและรายงานตอผูอํานวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน

(7) ถายอดครบ ผูอํานวยการดับเพลิงแจงพนักงานอยูในจุดรวมพลจนกวาเหตุการณสงบ

(8) ถายอดไมครบ ผูอํานวยการดับเพลิงสั่งทีมคนหาเขาทําการคนหาและชวยเหลือ

(9) ทีมฉุกเฉินตางๆ ออกมายังจุดรวมพลและรายงานตัวตอ ผูอํานวยการควบคุมภาวะฉุกเฉินเพื่อรอรับคําสั่ง (10) หากมีผูบาดเจ็บหรือสูญหาย ผูอํานวยการดับเพลิงสั่งการใหทีมคนหาชวยเหลือและทีมปฐมพยาบาลทําการชวยเหลือ

(11) ทีมปฐมพยาบาลเขาทําการปฐมพยาบาล หากไมดีขึ้นใหเคลื่อนยายผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลที่ใกลที่สุด (12) หาม พูดหรือรายงานขอมูลใดๆ เกี่ยวกับเหตุการณฉุกเฉินใหกับบุคคลภายนอกหรือนักขาวกอนไดรับอนุญาต ซึ่งอาจ สงผลเสียรายแรงตอโรงแรม (13) หามบุคคลภายนอก หรือนักขาวเขา-ออกขณะเกิดเหตุ (14) ผูอํานวยการดับเพลิงสั่งการจนกวาเหตุการณจะสงบ (15) หากมีความรุนแรง และกระจายไปยังชุมชน หรือบริษัทใกลเคียง ทีมแจงขาวสาร ตองทําการแจงหัวหนาชุมชนและบริษัท ขางเคียงรับทราบและอพยพออกจากเสนทางของกลุมควันไหลผาน

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 73
โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท

Le Méridien Phuket Beach Resort

แบบฟอรมรับทราบคูมือความปลอดภัย ฉันไดอาน ทําความเขาใจ และรับทราบการปฏิบัติตามความ รับผิดชอบของฉันในฐานะผูรวมงานและ ฉันยัง รับทราบวาการไมปฏิบัติตาม นโยบายและคูมือความปลอดภัยขางตนอาจสงผลใหเกิดผลกระทบรายแรง และอาจถึงขั้นเลิกจางทันที

ชื่อ-นามสกุล:

ลายเซนต:

ตําแหนง:

แผนก:

วันที่:

หลังจากไดรับและอานคําแนะนําขางตนแลว โปรดลงนามในแบบฟอรมรับทราบและสงคืนใหกับ ตัวแทนดานความปลอดภัยของคุณ

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 74

แผนผังโดยรวม

คูมือความปลอดภัยในการทํางาน SAFETY MANUAL | 75 โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort
โรงแรมเลอ เมริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอรท Le Méridien Phuket Beach Resort โรงแรม เลอ เมริเดียน ภูเก็ตบีช รีสอร์ท Le Meridien Phuket Beach Resort
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.