Ls8 53 สมุดภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองลำพูน (18 08 2010 53)

Page 1


 ภาพถ่ายวิหารหลวงก่อนปี พุทธศักราช

๒๔๕๕ ปลายป้ านลงเป็ นตัวเหงา (หางวัน) ผนังวิหารก่ออิฐครึ่งไม้ ไม่มีระเบียงแก้ว

 ภาพถ่ายวิหารหลวง ปี พุทธศักราช ๒๔๖๖

ปลายป้ านลมเป็ นหัวนาค ผนังวิหารก่ออิฐทึบ มีระเบียงแก้ว


 ภาพถ่ายด้านหน้ าวิหารหลวงวัดพระธาตุหริภญ ุ ชัยฯ ก่อนปี พุทธศักราช ๒๔๕๖ ป้ านลมโค้งอ่อน

เน้ นระนาบเอนของตับหลังคา จัวสกั ่ ดด้านหน้ า ปิดด้วยแผงหน้ าบันที่งดงาม


 ภาพถ่ายวิหารหลวงวัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย ปี พุทธศักราช ๒๔๕๖ หลังจากวิหารหลวงพังลงทัง้

หลังจากพายุ และการเข้ามาสํารวจความเสียหายของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ


 ภาพ ๑ เจ้าอินทยงยศโชติ ขณะดํารงตําแหน่ งเจ้าราชวงศ์ในสมัยเจ้าเหมพินธุไ์ พจิตร์ เจ้าผู้

ครองนครลําพูนองค์ที่ ๘ ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๓๗  ภาพ ๒ เจ้าอินทยงยศโชติ ขณะดํารงตําแหน่ งเจ้านครลําพูนองค์ที่ ๙ ภาพถ่าย ปี พุทธศักราช ๒๔๔๑


 เจ้าอินทยงยศโชติ และเจ้ารถแก้ว ผูเ้ ป็ นชายา ส่วนเด็กในภาพไม่แน่ ใจว่าเป็ นเจ้าตุ้ย หรือเจ้า

จักรคําขจรศักด์ ิ


 งานพระราชทานเพลิงศพเจ้าอินทยงยศ ปี พุทธศักราช ๒๔๕๔


 ต ารวจรุ่น เก่ า ส.ภ.อ.เมืองลาพูน ภาพถ่ า ย

เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๖๒ ภาพถ่ายที่หน้ า ส.ภ.อ.เมืองล าพูน ร.ต.อ.เอม บุ ษปวรธนะ (ซ้าย) ถ่ายกับผู้ใต้บงั คับบัญชา ร.ต.อ.เอม เดิมเป็ นชาวอาเภอคลองสาน จังหวัดธนบุรี เคยดารงตาแหน่ ง ผูก้ ากับตารวจภูธรจังหวัด ล าพู น หลัง จากเกษี ย ณอายุ ร าชการแล้ ว ครอบครัวตัง้ รกรากอยู่ทอ่ี าเภอเมือง จังหวัด ลาพูน สมรสกับนางบานชื่น ณ ลาพูน ธิดา เจ้ า ขั ติ ย ะ ณ ล าพู น มี บุ ต รธิ ด า ๗ คน เครื่องแบบชุดใหญ่ ถือกระบี่คาดว่าเนื่ องใน พิธสี าคัญ หน้ าหมวกดูแปลกตาคล้ายรูปตัว ครุฑ ที่บ่ามีตวั หนังสือและหมายเลขบ่งบอก ยศ ซึง่ ระเบียบนี้กาหนดขึน้ ในปี พ.ศ.๒๔๕๒ โดยอิงของทหารบก ส่วนตารวจชัน้ ประทวน ด้านข้างยศสิบตารวจโทมีผา้ พันแข้งและสวม รองเท้าผ้าใบ


เจ้าหน้ าที่ตาํ รวจภูธรจังหวัดลําพูน ภาพถ่ายประมาณปี พ.ศ.๒๔๗๐ ภาพถ่ายบริเวณด้านข้างสถานี ตาํ รวจ ตํารวจ ยังใช้เครื่องแบบเก่า ๔ กระเป๋า กระดุม ๕ เม็ด ซึ่งยกเลิกประมาณปี พ.ศ.๒๔๙๕ ยุคนี้ บงั ้ ยศตํารวจมีขนาดใหญ่ที่ บ่ามีเลขแทนจังหวัด อาวุธ คือ มีดปลาย ปื น ห้อยไว้ที่เข็มขัด แถวที่ ๒ จากซ้ายชื่อ ส.ต.ท.ปัน้ ทาระวรรณ เป็ น ชาวเมืองลําพูน ตามประวัติบอกว่าเป็ นตํารวจเกณฑ์ มีความสามารถทางช่างไม้ ได้ช่วยเหลือราชการด้านจัดทํา ครุภณ ั ฑ์ ต่อมาแต่งงานกับนางปี๋ ปัญจบุรี มีบุตรธิดา ๗ คน (ภาพข้อมูล : จากคุณรัตนา ทาระวรรณ รุ่นหลานของ ส.ต.ท.ปัน้ ทาระวรรณ)


 สถานี ตํา รวจภูธ รจัง หวัด ลํา พูน ในอดี ต ภาพถ่ า ยประมาณก่ อ น ปี พ.ศ.๒๔๙๕ ตํา รวจแต่ ง

เครื่องแบบรุ่นเก่ ามี ๔ กระเป๋า ซึ่ งยกเลิกประมาณปี พ.ศ.๒๔๙๕ ตามประวัติ สถานี ตํารวจ (หมายถึงตัวอาการ) แห่งนี้ ก่อตัง้ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ ใช้การอยู่ ๕๑ ปี จึงได้สร้างอาคารใหม่เป็ น อาคารคอนกรีต ดังปัจจุบนั ในปี พ.ศ.๒๕๑๔


การออกร้านของหน่ วยงานในงานฉลองรัฐธรรมนูญที่ ท้ อ งสนามเมื อ งลํา พูน ซึ่ ง มี ก ารจํา หน่ ายสิ น ค้ า และ กิจกรรมด้ านบันเทิงเริงใจในเวลาคํา่ คื นด้วย งานเริ่ม วันที่ ๘ – ๑๒ เดือนธันวาคม ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๘๒ สําเนาภาพจาก จดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระ เกี ย รติ สมเด็จ พระนางเจ้ าสิ ริกิ ตต์ ิ พระบรมราชินี นาถ จังหวัดเชียงใหม่



 การจัดงานพิธีวน ั รัฐธรรมนูญที่เค้าสนามของข้าราชการเมืองลําพูน ซึ่งเป็ นองค์สดุ ท้าย

เนื่ องจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช” มาเป็ น “ระบอบ ประชาธิปไตย” แล้วก็ไม่มีการแต่งตัง้ เจ้าผูค้ รองนครอีกทัวราชอาณาจั ่ กร เป็ นประธานร่วมใน งานฉลองนี้ ด้วย ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๘๑  สําเนาภาพจาก : คุณภูริพฒ ั น์ บรรณจักร์


 การออกร้านของโรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์

 การออกร้านแสดงสินค้า และจําหน่ ายของ

เป็ นการแสดงผลงานของนักเรียน เช่น งาน ประดิษฐ์, งานหัตถกรรม ฯลฯ ซึ่งจัดแสดง และจําหน่ ายด้วยภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๘๔  สําเนาภาพจาก : คุณภูริพฒ ั น์ บรรณจักร์

เอกชนเมืองลําพูน ในงานฉลองวัน รัฐธรรมนูญซึ่งเป็ นไปตามนโยบายของ รัฐบาล จอมพล ป.พิบลู สงคราม ให้อดุ หนุน สินค้าไทย ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๘๔  สําเนาภาพจาก : คุณภูริพฒ ั น์ บรรจักร์


 นางสาวบัว จัน ทร์

นันทขว้าง สาวงาม อํา เภอป่ าซาง ที่ ได้ ตํ า แหน่ งนางสาว ลําพูน ในงานฉลอง รัฐ ธรรมนู ญ ที่ เ ค้ า สนามเมืองลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๔๗๘  สํา เนาภาพ : จาก กลุ่ ม จดหมายเหตุ หริ ภุญ ชัย สถาบัน หริภญ ุ ชัย

 นางสาวจัน ทร์ง าม

ไชยแสน สาวงาม อํ า เภอป่ าซาง ได้ ตํ า แหน่ งนางสาว ลํ า พู น ใ นง า นฤ ดู หนาวจังหวัดลําพูน ปี พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒๔๙๗  สํา เนาภาพ : จาก กลุ่ ม จดหมายเหตุ หริ ภุญ ชัย สถาบัน หริภญ ุ ชัย


 นางสาวเทียมนิล เหลียงวิลยั กุล สาวงาม

อําเภอป่ าซางที่ได้ตาํ แหน่ งนางสาวลําพูนใน งานฉลองรัฐธรรมนูญเมืองลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๔๘๐  สําเนาภาพ : จากกลุ่มจดหมายเหตุหริภญ ุ ชัย สถาบันหริภญ ุ ชัย

 นางสาวพัชรินทร์ ตาบุรี สาวงามบ้านฮ่อม

ท่าขาม เมืองลําพูน ได้ตาํ แหน่ งนางสาว ลําพูนในงานฤดูหนาวจังหวัดลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๔๙๖  สําเนาภาพ : จากกลุ่มจดหมายเหตุหริภญ ุ ชัย สถาบันหริภญ ุ ชัย


 เบือ ้ งหลังเวทีประกวดนางสาวลําพูน ในงานฤดูหนาว ประจําปี พุทธศักราช ๒๔๙๘ ความหนาว

เย็นในยามคํา่ คืนต้องใช้อปุ กรณ์ ให้ความอบอุ่นร่างกายในช่วงรอเดินโชว์  สําเนาภาพ : จากกลุ่มจดหมายเหตุหริภญ ุ ชัย สถาบันหริภญ ุ ชัย


พลเอกพระองค์เจ้า บุรฉั ตรไชยากร กรมพระ กํา แพงเพชรอัค รโยธิ น เจ้ า กรมรถไฟหลวง พระบิ ด าแห่ ง การรถไฟไทย ผู้บ ญ ั ชาการขุด เจาะอุโมงค์ขนุ ตาน สําเนาภาพ : จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ


การเริ่มขดุ เจาะอ ุโมงค์นอกจากจะปรับผนัง หินด้านหน้าให้เลียบ และใช้สีเขียนขนาดความ กว้างของอ ุโมงค์ สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ

แรงงานทาการขดุ เจาะอ ุโมงค์ขนุ ตาลโดย เครื่องมือที่ตอ้ งใช้พละกาลังของมนษุ ย์เป็น ส่วนมาก สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


เจ้าพระยาวงศายนปุ ระพันธ์ (ม.ร.ว.สท้าน สนิ ท วงศ์ ณ อยธุ ยา) ตรวจการสร้า งทางรถไฟ และ การข ุดอ ุโมงค์ข ุนตาน สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


เจ้าพระยาวงศานปุ ระพันธ์ เข้าไปตรวจอ ุโมงค์ดา้ นเหนื อ โดยนัง่ รถรางขนหิ นเข้าไป เพราะ อ ุโมงค์ยงั ไม่ได้เปิ ดกว้างทัง้ หมด สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


บริเวณปากอ ุโมงค์ดา้ นเหนือจะเห็นมีรปู คร ุฑหล่อ ด้วยคอนกรีตติดอยู่ ใต้คร ุฑมีบอกปี พ.ศ.๒๔๖๑ ทาพิธีเปิ ด คือ วันที่ ๑ เมษายน ๒๔๖๑ สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


ภาพถ่ายกาแพงเมืองลาพูนด้านประต ูท่า สิงห์ ภาพถ่ายก่อนปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ

ภาพประตมหาวันในอดีตก่อนจะมีการ บูรณะในเวลาต่อมา สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


ภาพถ่ า ยก าแพงเมื อ งล าพูน ด้า นประต ลู ้ ี ไ ปทางส านัก งานประปาล าพูน ภาพถ่ า ยคราว เจ้าพระยาวงศาน ุประพันธ์ตรวจการจากมณฑลพายัพ ปีพุทธศักราช ๒๔๕๗ สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


 ภาพถ่ายกาแพงเมืองลาพูนด้านประต ูลี้ไปทางสานักงานประปาลาพูน ภาพถ่ายคราวเจ้าพระยา

วงศาน ุประพันธ์ตรวจการมณฑลพายัพ ปีพุทธศักราช ๒๔๕๙  สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


 ภาพถ่ายกําแพงเมืองลําพูนด้านประตูลี้ไปทางอําเภอป่ าซาง ภาพถ่ายคราวเจ้าพระยาวงศานุ

ประพันธ์ตรวจการมณฑลพายัพ ปี พุทธศักราช ๒๔๕๙  สําเนาภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ


 ภาพถ่ ายกําแพงเมืองลําพูนด้ านทิศตะวันตกตรงข้ างตลาดหนองดอก ฝัง่ รอบคูเมืองนอก

ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๕๙  สําเนาภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ


 ภาพการเลี้ยงฉลอง บริเวณสถานี จ่ายนํ้ ามันสามทหาร และภาพปั ม ๊ นํ้ ามันสามทหารในวัน

เปิดให้บริการ  สําเนาภาพ : คุณนิภารัตน์ ชูสกุล






 ภาพถ่ายสะพานท่ าสิงห์ บริเวณริมตลิ่งนํ้ าแม่กวงฝัง่ เวียงยองจะเห็นท่ อนซุงจํานวนมากกอง

เรียงรายรอช่วงหน้ านํ้าถึงจะมีการล่องซุง ปี พุทธศักราช ๒๔๘๓  สําเนาภาพ : คุณภูริพฒ ั น์ บรรจักร์






 ภาพเด็กๆ โรงเรียนอนุบาลลําพูนในชุดการแสดงระบําฮาวาย งานวันเด็กแห่งชาติ จังหวัด

ลําพูน วันที่ ๑๐ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๑๙ จัดที่โรงเรียนจักรคําคณาธร


 ภาพเด็กๆ โรงเรียนเทศบาลประตูลี้ งานวันเด็กแห่งชาติ จังหวัดลําพูน วันจันทร์แรกของเดือน

ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๗ จัดที่โรงเรียนเทศบาลประตูลี้

 ภาพการแสดงของเด็กๆ โรงเรียนต่างๆ ในงานวันเด็กแห่งชาติ จังหวัดลําพูน จัดที่โรงเรียนจักรคําคณาธร

 วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๑ และวันเสาร์ที่ ๒ ของเดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗


 ภาพการแสดงของเด็กๆ โรงเรียนสันต้นธง ในงานวันเด็กแห่งชาติ วันจันทร์แรกของเดือน

ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ จัดที่โรงเรียนสันต้นธง


 ภาพบวชลูกแก้วบ้านหนองช้างคืน เมืองลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๕๐๓  ภาพขบวนแห่งลูกแก้ว ต.ป่ าสัก เมืองลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๕๐๓  สําเนาภาพถ่าย : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลําพูน


 ภาพลูกแก้ววัดประตูโขง ปี พุทธศักราช

๒๕๐๙  ภาพลูกแก้ววัดเหมืองง่า ปี พุทธศักราช ๒๕๐๕  ภาพลูกแก้วบ้านสันต้นธง ปี พุทธศักราช ๒๕๐๔  สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลําพูน


 ภาพบวชลูกแก้วบ้านทาทุ่งหลวง อําเภอบ้านทา จังหวัดลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๕๐๕  ภาพลูกแก้วบ้านเหมืองง่า เมืองลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๔๙๗  สําเนาภาพถ่าย : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลําพูน


 ภาพลูกแก้ว ตําบลป่ าสัก เมืองลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๕๐๐  ภาพลูกแก้วบ้านสันต้นธง เมืองลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๕๐๗

สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลําพูน


 สะพานขาวบ้านทาชมพู ขณะเริ่มก่อสร้าง ควบคุมการก่อสร้างโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ

พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกําแพงอัครโยธิน ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๖๒  สําเนาภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ


 ไม้ซุงเป็ นจํานวนมากที่ติดค้างบริเวณการก่อสร้างสะพาน  การใช้ช้างเป็ นแรงงานการสร้างสะพาน

 สําเนาภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ


 ความงามของสะพานขาวบ้านทาชมพู หลังสร้างเสร็จ ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๖๓  สําเนาภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ


 พระธาตุในวัดมหาวันองค์เดิม ขณะบูรณปฏิสงั ขรณ์ ไม่ทราบปี พุทธศักราชที่ถ่ายภาพ  สามเณรวัดมหาวันทํางานอยู่ข้างหอไตรในวัดมหาวัน ปี พุทธศักราช ๒๔๙๗

 ครูบาก๋องแก้ว ในวัดมหาวัน ปี พุทธศักราช ๒๔๙๑  สําเนาภาพ : คุณวงศ์ศกั ด์ ิ อินทรแสง



 ภาพถ่ายผูห ้ ญิงกําลังไปตลาด  ภาพถ่ายแม่ค้ากําลังนําสินค้าจากบ้านสู่ตลาดบนถนนสายหนึ่ งของหริภญ ุ ชัยนคร (ลําพูน)


 ภาพถ่ายผู้หญิงหาบนํ้ าเขต

อําเภอแม่ทาจังหวัดลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๔๔๒ สําเนาภาพ : หอจดหมาย เหตุแห่งชาติ

 ภาพถ่ า ยผู้ห ญิ ง และผู้ช าย

ในภาคเหนื อ ปี พุทธศักราช ๒๔๔๒ สําเนาภาพ : The Laos of North Siam


 ภาพพิมพ์ลายเส้นสตรีในภาคเหนื อ ปี พุทธศักราช ๒๔๒๔  ภาพถ่ า ยผู้ห ญิ ง อาบนํ้ า เขตอํา เภอแม่ ท าจัง หวัด ลํา พูน ปี

พุทธศักราช ๒๔๔๒

สําเนาภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ  ภาพถ่ า ยผู้ ห ญิ งเล่ น นํ้ า ตกในภาคเหนื อ ปี พุ ท ธศัก ราช ๒๔๔๒ สําเนาภาพจากหนังสือ : The Laos of North Siam


 ภาพถ่ายเจ้าพระยาวงศานุประพันธ์ และคณะ

สํารวจ รวมทัง้ นายเอมิล ไอเซ่น โฮเฟอร์ วิศวกร ชาวเยอรมันผูค้ วบคุมการขุดเจาะอุโมงค์ขนุ ตาน ถ่ายบริเวณก้อนหินใหญ่ และสลักชื่อทัง้ หมดไว้ บนก้อนหิน ซึ่งยังปรากฏจนถึงทุกวันนี้ ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๔๗ สาเนาภาพ : หอจดหมายเหต ุแห่งชาติ


 ภาพถ่ายสภาพป่ าสนธรรมชาติบนดอยงาช้าง

 ภาพถ่ายสภาพทางขึน ้ ไปยังดอยงาช้าง ซึ่งมีความสูงชันมาก


 ภาพถ่ายคณะสํารวจถ่ายภาพร่วมกันบนดอยงาช้างที่เต็มไปด้วยต้นสน  ภาพถ่ายเจ้าพระยาวงศานุประพันธ์บนยอดดอยงาช้างช่วงชี้เส้นทางรถไฟที่จะต้องผ่านเมืองลําพูน


 ภาพถ่ายคณะสํารวจแสดงความดีใจหลังจากขึน ้ ไปถึงบนยอดดอยงาช้าง จังหวัดลําพูนสําเร็จ


 ภาพถ่ายหญิงสาวบ้านแม่ทา ที่ผต ู้ รวจราชการของสยามอ้างว่าเป็ นการเล่นนํ้าสงกรานต์ ปี

พุทธศักราช ๒๔๔๖ สําเนาภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ


 ภาพถ่ายนางสาวนวลสวาท ลังการ์พินธุ์ รองนางสาวไทยอันดับ ๑ ประจําปี พุทธศักราช ๒๔๙๖

เล่นนํ้าสงกรานต์ ปี พุทธศักราช ๒๔๙๖  ภาพถ่ายนางสาวจันทร์สด ุ า จันทรไพร รองนางสาวลําพูนอันดับ ๑ ถ่ายถาพขึ้นปกนิตยสารคน เมืองฉบับดําหัว ปี พุทธศักราช ๒๕๑๑ สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง


 ภาพถ่ายเทพีสงกรานต์ และรองเทพีอน ั ดับ ๑-๔ ในการประกวดเทพี

สงกรานต์จงั หวัดลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๕๐๕

 ภาพถ่ายสาวงามป่ าซางกลับจากการ

เล่นนํ้าสงกรานต์ที่ตลาดป่ าซาง ปี พุทธศักราช ๒๔๗๙ สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง

 ภาพถ่ายบรรดาสาวงามในการประกอดเทพีสงกรานต์จงั หวัดลําพูน ปี

พุทธศักราช ๒๕๑๑


 ภาพถ่ายครูบาเจ้าศรีวิชยั ไม่ทราบสถานที่ และปี ที่ถ่ายภาพ  ครูบาเจ้าศรีวิชยั ถ่ายภาพที่ต้นชบาบนพระธาตุจอมทอง คราวบูรณะวัดพระเจ้าตนหลวง และพระธาตุจอมทอง

อายุ ๔๕ ปี ปี พุทธศักราช ๒๔๖๗  ครูบาเจ้าศรีวิชยั ถ่ายภาพที่ต้นชบาบนพระธาตุจอมทอง คราวฉลองวัดพระเจ้าตนหลวง (วัดศรีโคมคํา) เมือง พะเยา อายุ ๔๖ ปี ปี พุทธศักราช ๒๔๖๗  สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง


 ภาพครูบาเจ้าศรีวิชยั ที่วด ั เบญจมบพิตรกรุงเทพฯ คราวถูกหาครัง้ ที่ ๔ อายุ ๕๘ ปี พุทธศักราช ๒๔๗๐  ภาพครูบาเจ้าศรีวิชยั ที่หน้ าวิหารวัดบ้านปางหลังเดิม ก่อนที่จะรือ ้ สร้างใหม่ อายุ ๕๙ ปี  พุทธศักราช ๒๔๘๑  ภาพครูบาเจ้าศรีวิชยั ที่วด ั จามเทวีลาํ พูน คราวมารักษาอาพาธด้วยโรคริดสีดวงทหาร อายุ ๖๐ ปี

พุทธศักราช ๒๔๘๑  สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง


 ภาพครูบาศรีวิชยั ที่วด ั จามเทวีลาํ พูน คราวมารักษาอาพาธด้วยโรคริดสีดวงทวาร อายุ ๖๐ ปี พุทธศักราช

๒๔๘๑  สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง


 ภาพถ่ายสาวงามในสวนลําไยเมือง

ลําพูน ปี พุทธศักราช ๒๔๙๙ สําเนาภาพถ่าย : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง


 ภาพถ่ายการเก็บลําไยลงเข่งของชาวสวนลําไยบ้านหนองช้างคืน ถ่ายเมื่อปี พุทธศักราช ๒๕๐๔  ภาพถ่ายการรับซื้อลําไยของพ่อค้าบ้านป่ าเห็ว ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๙๙

 ภาพถ่ายการขนลําไยของชาวสวนเพื่อไปขายให้กบ ั พ่อค้าชาวจีน โดยใช้เกวียนเป็ นพาหนะขนส่ง ภาพถ่าย

ปี พุทธศักราช ๒๔๙๙  ภาพถ่ายคนงานขนลําไยไปส่งที่สถานี รถไฟ เพื่อนําไปจําหน่ ายที่กรุงเทพ ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๙๙


 ภาพถ่ายตลาดการค้าขายลําไยอย่างคึกคักของชาวลําพูน ภาพถ่ายปี พุทธศักราช ๒๔๙๙  สําเนาภาพ : พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.