รายงานวิจัย ลาวแง้ว

Page 1

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ในพื้นที่ลพบุรี นครสวรรค์ และสิงห์บุรี

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคกลาง

โดยการสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

โดย รุจิรา เชาว์ธรรม สมปอง บุญเติร นรินทร์ พันธุ์รอบ สุนทรีย์ นิมาภัณฑ์ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ

กันยายน ๒๕๔๕

ด ู แ ล ง า น ว ิ จ ั ย โ ด ย ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ะ ุ ์ w w w. l e k - p r a p a i . o r g


บทคัดยอ สังคมวัฒนธรรมในภาคกลางของประเทศไทย มีการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมอยางคอยเปนคอยไป ซึ่งเปนสิ่งสำคัญในการ สรางบูรณาการใหชุมชนของกลุมชาติพันธุตางๆ อยูรวมกันโดยปราศจากเหตุการณขัดแยงรุนแรงระหวางกลุม โดยการดูดกลืน วัฒนธรรมบางอยางของกลุมชาติพันธุเหลานี้ใหกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยลุมแมน้ำเจาพระยาหรืออาจเรียกวาวัฒ ธรรมหลวง อิทธิพลของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่ผานมา ไดสรางสถานการณในปจจุบันที่ไมสามารถแยกแยะกลุม ชาติพันธุกลุมตางๆ ออกจากกันอยางชัดเจนหากสังเกตเพียงสภาพโดยทั่วไป นอกเสียจากความเชื่อบางประการที่ยังคงหลงเหลือ และมีหนาที่ทางสังคมอยูในชุมชนนั้นๆ กลุมชาติพันธุลาวถูกมองมองอยางเปนคนอื่นอยูตลอดเวลา เพราะโครงสรางแหงการดูถูกทางชาติพันธุฝงแนนอยูในความรูสึก ของรัฐ ดังมีอคติตอกลุมลาวดังปรากฏในเอกสารตางๆ ความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมลาวที่ถูกมองวาดอยกวา ทำใหเกิด การดูถูกและเขาใจผิดรวมไปถึงไมพยายามเขาใจในสังคมและวัฒนธรรมของกลุมลาวมากขึ้น ผูคนเชื้อสายลาวแงวในทามกลางความเปนคนไทยของรัฐไทย บริเวณเขตภาคกลางของลุมเจาพระยาในชุมชนเกษตรกรรมที่ทำ นาเปนอาชีพหลัก ถูกเรียกวา “ลาวแงว” จากผูคนกลุมอื่นและยอมรับการเรียกชื่อกลุมนี้ของตนโดยเปนที่ยอมรับกันทั้งภายใน กลุมและภายนอก เปนกลุมที่อาจถูกละเลยและมองขาม เพราะปะปนอยูกับกลุมพวน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุในทองถิ่นเดียวกันที่มี จำนวนชุมชนและประชากรมากกวา กลุมลาวแงวนี้ แมจะมีลักษณะเฉพาะทางประเพณีและวัฒนธรรมไมโดดเดน แตก็ยังคง สำนึกทางชาติพันธุที่เกาะเกี่ยวการรวมกลุมเขาไวดวยกันได และสืบมาจนถึงปจจุบัน แตสำนึกทางชาติพันธุของผูคนเชื้อสายลาวแงว ก็ยังคงอยูในรูปแบบของ ความเชื่อ โดยเฉพาะในเรื่องอำนาจเหนือธรรมชาติและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน ภาษาและสำเนียงการพูดแบบลาวแงว สวนความเครงเครียดในชีวิตซึ่งไดรับผลกระทบจากกระบวนการ พัฒนาของรัฐ และโครงสรางที่ไมกอใหเกิดความเปนธรรมแกชาวนา สรางภาระหนี้สินที่ไมมีวันหลุดพน ทำใหเกิดการถวิลหา ความเปนอยูที่เรียบงาย สามารถพึ่งตนเองได ระลึกถึงอดีตที่งดงามในชีวิตของผูคนและในชุมชนที่สงบสุข การรวมกลุมเพื่อธำรงรักษาอัตลักษณของตนเองในกลุมฃองชาวลาวแงวอาจจะฉายภาพไมชัดเจนนัก แตเชื่อแนวา หากมีสภาพ การณที่บีบรัดชุมชนลาวแงวยิ่งขึ้นกวาในปจจุบัน อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุก็อาจจะถูกผลิตซ้ำเพื่อสรางอำนาจตอรองของ กลุมขึ้นมาใหม และนับวาเปนประเด็นที่ตองเฝาติดตามในอนาคต

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

1


บทนำ ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยประกอบไปดวยกลุมชาติพันธุอันหลากหลาย ซึ่งเคลื่อนไหวอพยพโยกยายถิ่นฐานเขามาตั้ง หลักแหลงหรือชุมชนในทองถิ่นตางๆ ตามสาเหตุและปจจัยหลายประการ และเหตุสำคัญที่สุด คือ การสงครามในชวงตั้งแต ปลายกรุงศรีอยุธยาจนถึงชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ทั้งนี้ เนื่องจากพื้นที่ในภาคกลางของประเทศไทยเปนที่ตั้งของศูนยกลางอำนาจรัฐมาอยางยาวนาน ทั้งเปนที่ราบอันอุดมสมบูรณ มีลำน้ำหลายสายที่สะดวกแกการคมนาคมติดตอทั้งภายในผืนแผนดินและภายนอกโพนทะเล จากเหตุที่ผูคนเบาบางในบริเวณนี้ เนื่องจากเกิดศึกสงครามเปนสวนสำคัญอยางยิ่งในการกำหนดพื้นที่อยูอาศัยใหอยูใกลชิดกับมูลนายในระบบการพึ่งพาการ เกณฑแรงงานเพื่อหลอเลี้ยงหลวงหรือรัฐในขณะนั้น โดยรอบเมืองหลวงที่กรุงเทพฯ จึงมีกลุมชาติพันธุตางๆ มากมายอยูอาศัย เปนชุมชนรวมกันในรัศมีไมหางไกลจนเกินไปนัก ในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของภาคกลาง ซึ่งประกอบไปดวยชุมชนชาวลาวกลุมตางๆ ชุมชนชาวมอญที่อพยพเขามากัน หลายระลอก ชุมชนชาวมุสลิมทั้งที่เคยอยูมาแตกอนและเคลื่อนยายเขามาใหม ชาวจีนที่อพยพเขามาอยางตอเนื่อง พื้นฐานของ ชุมชนกลุมชาติพันธุโดยสวนใหญเมื่อตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นตางๆ คือ สังคมชาวนา [Peasant society] จึงมีการแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรมทางวัตถุ ความคิด ระบบความเชื่อระหวาง บาน และ เมือง ในลักษณะพึ่งพาอาศัยกันโดยไมสามารถแยกอยูอยางโดด เดี่ยว ซึ่งในความสัมพันธนี้ สังคมชาวนาเรียกไดวาเปนวัฒนธรรมยอยหรือวัฒนธรรมราษฎร [Little Tradition] สวนศูนยกลาง ความเจริญที่เปนเมืองที่มีความซับซอนกวาเรียกวา วัฒนธรรมใหญหรือวัฒนธรรมเมืองหรือวัฒนธรรมหลวง [Great Tradition] ทั้งสองสวนตางถายทอดวัฒนธรรมสูกันและกัน โดยวัฒนธรรมหลวงมักจะถูกแตงเติมหรือแยกยอยลงมาสูวัฒนธรรม ราษฎร มากกวาจะปรากฏวาวัฒนธรรมราษฎรหลั่งไหลสูเมือง กลาวไดวา สังคมวัฒนธรรมในลุมน้ำเจาพระยาหรือในภาคกลางของประเทศไทย นับเปนวัฒนธรรมหลวงหรือวัฒนธรรมใหญ [Great tradition] หรือวัฒนธรรมอยางเปนทางการ อันเปนตัวแทนของรัฐไทยหรือชาติไทยในยุคตอมาที่สราง การผสม กลมกลืนทางวัฒนธรรม [Acculturation]1 อยางคอยเปนคอยไป ซึ่งเปนสิ่งสำคัญในการสรางบูรณาการใหชุมชนของกลุม ชาติพันธุตางๆ อยูรวมกันโดยปราศจากเหตุการณขัดแยงรุนแรงระหวางกลุม จากการดูดกลืนวัฒนธรรมบางอยางของกลุม ชาติพันธุเหลานี้ใหกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมใหญ จากอิทธิพลของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่ผานมา นอกจากจะเปนการรวบอำนาจทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และ ระบบความเชื่อจากทองถิ่นเขาสูศูนยกลางแลว ยังสรางสถานการณในปจจุบันที่ไมสามารถแยกแยะกลุมชาติพันธุกลุมตางๆ ออก จากกันอยางชัดเจนหากสังเกตเพียงสภาพโดยทั่วไป นอกเสียจากความเชื่อบางประการที่ยังคงหลงเหลือและมีหนาที่ทางสังคม

1

Acculturation หรือการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม คือ ขบวนการซึ่งสมาชิกในกลุมสังคมหนึ่งรับเอาความเชื่อและพฤติกรรม จากกลุมสังคมอื่น ซึ่งเกิดขึ้นทั้งสองฝายไมวาจะระหวางคนกลุมนอยหรือกลุมใหญ การกลมกลืนนี้อาจเห็นไดจาก การเปลี่ยนแปลง การใชภาษา การเปลี่ยนทัศนคติและการใหคุณคาตอสิ่งตางๆ การกลายเปนสวนหนึ่งของสังคมหรือสถาบันนั้นๆ และสูญเสียอำนาจ ทางการเมืองและอัตลักษณในกลุมชาติพันธุไป ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

2


อยูในชุมชนนั้นๆ ซึ่งสิ่งเหลานี้อาจเรียกไดวาเปน สำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity]2 อยางหนึ่ง ที่จะเปนกุญแจสำคัญในการ ศึกษาเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุที่อยูภายใตสังคมไทยทุกวันนี้ การศึกษาเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุลาวในประเทศไทยที่ผานมามีจำนวนมาก งานศึกษาเหลานี้ประกอบไปดวย การศึกษาเชิง ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี และภาษาศาสตร ภาพโดยรวมสะทอนใหเห็นความนิยมในการศึกษาลักษณะของกลุม ชาติพันธุโดยการแสดงออกถึงเอกลักษณทางวัฒนธรรมที่แตกตาง เชน ประเพณีสิบสองเดือนที่มีเอกลักษณของตนเอง การแตง กายโดยเฉพาะมรดกที่สืบทอดตอกันมาผานผาทอ เชน ในผาทอในกลุมลาวครั่ง และภาษาพูดและสำเนียงเฉพาะที่บงบอกถึง กลุมซึ่งสวนใหญเปนงานศึกษาในดานลึกเกี่ยวกับภาษาศาสตร เชน ภาษาในกลุมลาวครั่ง ลาวเวียง ลาวพวน ลาวโซง (ลาวโซงจัด อยูในกลุมไทดำที่มีความแตกตางไปจากกลุมลาวที่กลาวมาอยางชัดเจน) และ ลาวแงว อันเปนกลุมลาวที่ไมมีการกลาวถึงใน เอกสารจดหมายเหตุทางราชการและมีการศึกษาลาวกลุมนี้นอยมาก ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ไดพยายามทำความเขาใจวา ทำไมกลุม ชาติพันธุลาวแงวจึงเปนที่รูจักนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับลาวกลุมอื่นๆ และความสนใจตอมาก็คือ เหตุของการอพยพเขามาของ กลุมชาติพันธุลาวอันเนื่องมาจากการสงครามสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร จากการรวบรวมสถิติของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคนชาติพันธุตางๆ จากหองสมุดมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งพบวา กลุมชาติพันธุที่รัฐ สวนกลางเรียกวาลาวพบวามีสถิตินาสนใจ โดยเรียงตามลำดับ ดังนี้ ไทดำ หรือโซง หรือลาวโซง ๓๓ หัวขอ แบงเปน ประวัติศาสตร ประเพณี และวัฒนธรรมทั่วไป ๘ เรื่อง ภาษาและภาษาศาสตร ๗ เรื่อง การแตงกาย ๓ เรื่อง ประเพณีและพิธีกรรม ๑๐ เรื่อง การศึกษาชุมชน โครงสรางสังคมและความเปลี่ยนแปลง ๕ เรื่อง พวน ๑๙ หัวขอ แบงเปน ประวัติศาสตร ประเพณี และวัฒนธรรมทั่วไป ๕ เรื่อง ภาษาและภาษาศาสตร ๖ เรื่อง ประเพณีและ พิธีกรรม ๒ เรื่อง การศึกษาชุมชน โครงสรางสังคมและความเปลี่ยนแปลง ๔ เรื่อง สำนึกทางชาติพันธุ ๒ เรื่อง ครั่ง ๑๕ หัวขอ แบงเปน ประวัติศาสตร ประเพณี และวัฒนธรรมทั่วไป ๒ เรื่อง ภาษาและภาษาศาสตร ๖ เรื่อง ผาและเครื่องแตง กาย ๒ เรื่อง ประเพณีและพิธีกรรม ๒ เรื่อง โครงสรางสังคมและความเปลี่ยนแปลง ๓ เรื่อง ลาวเวียง ๓ เรื่อง แบงเปน ภาษาและภาษาศาสตร ๑ เรื่อง ระบบสัญลักษณ ๑ เรื่อง ความเชื่อ ๑ เรื่อง ลาวแงว ๓ เรื่อง เปนเรื่องภาษาและภาษาศาสตรทั้ง ๓ เรื่อง นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบทางภาษาศาสตรของภาษาลาวหลายๆ กลุม อีก ๓ เรื่อง และประวัติศาสตร ทั่วไปที่เกี่ยวของกับกลุมลาวอีก ๔ เรื่อง 2

ปจจุบัน โดยทั่วไปคำวา ethnicity หรือสำนึกทางชาติพันธุยังคงใชในความหมายเกี่ยวกับ “ชนกลุมนอย” และ “ความสัมพันธ ระหวางเชื้อชาติ” อยู แตในทางมานุษยวิทยาสังคมหมายถึงมุมมองเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางกลุมทั้งตนเองและกลาวถึงโดยผูอื่น โดยที่สมาชิกในกลุมนั้นคิดวาแตกตางและเกี่ยวของกับชนชั้นซึ่งเปนเรื่องทางวัฒนธรรม แมจะเปนจริงที่วา วาทกรรมเกี่ยวกับ ethnicity มีแนวโนมที่เปนเรื่องของหนวยทางสังคมที่เล็กกวา อยางไรก็ตาม กลุมที่ครอบงำก็นับเปนกลุม ethnicity ได ความสัมพันธ ทางสังคมเปนสวนสำคัญทางชาติพันธุ และเปนไดทั้งในแงมุมที่รับและสูญเสียในความสัมพันธระหวางกัน และในมุมมองของการ สรางสรรคอัตลักษณ ซึ่ง ไดแก ทางการเมือง องคกรทางสังคม และกลุมสัญลักษณตางๆ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

3


อยางไรก็ตาม งานศึกษาเหลานี้เปนตัวอยางที่บงบอกใหทราบวา มีความสนใจเกี่ยวกับประวัติศาสตรชาติพันธุและการดำรง เอกลักษณทางวัฒนธรรมของกลุมลาวในพื้นที่ตางๆ นอยมาก (โปรดดู เรื่องการจำแนกประเภทของงานศึกษาเกี่ยวกับกลุม ชาติพันธุลาว (กลุมไต-ลาว) ทั้งหมดในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยในภาคผนวก) สาเหตุสำคัญประการหนึ่งนาจะเปนเพราะ กลุมชาติพันธุลาว มีลักษณะทางวัฒนธรรมตลอดจนภาษาที่คลายคลึงกับชุมชนใน สังคมวัฒนธรรมลุมน้ำเจาพระยาหรือภาคกลางของประเทศไทยอยางมาก (การใชคำ “ชุมชนในสังคมวัฒนธรรมลุมน้ำ เจาพระยา” คือการนิยามสังคมในลุมน้ำเจาพระยาที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีผูคนหลายกลุมชาติพันธุ แตรวมกันอยู ภายใตอัตลักษณของความเปนรัฐไทย ที่ตอมาพัฒนาเปนชาติไทยหรือประเทศไทย และนิยามกลุมผูคนที่รวมกันอยูนี้วา “คน ไทย”) และวิธีการศึกษากลุมชาติพันธุที่ผานมาซึ่งมักจะเนนสีสันของความเปนอยู ประเพณี การแตงกาย และสิ่งที่แสดงถึงความ แตกตางไปจากวัฒนธรรมมาตรฐานของชุมชนในเขตลุมน้ำเจาพระยา ซึ่งอาจเรียกวา วัฒนธรรมใหญหรือวัฒนธรรมหลวง [Great tradition] ซึ่งวัฒนธรรมลาวกลุมตางๆ เหลานี้ถูกประสมกลมกลืนระหวางกลุมผูคนและวัฒนธรรมจนยากที่จะเห็น ความแตกตางอยางชัดเจน กลายเปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหงานศึกษาเกี่ยวกับกลุมชาติพันธุลาวมีความสนใจเฉพาะเรื่อง เชน ภาษาศาสตร การทอผา ประเพณีบางประการ เปนตน โดยขาดมิติของความเคลื่อนไหวในเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรมอยางเห็นไดชัด ลักษณะความคลายคลึงทางวัฒนธรรมนี้เอง ที่ทำใหเกิดความเขาใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับสำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity] ใน กลุมชาติพันธุลาว ที่ดูจะไมเห็นความแตกตางไปจากวัฒนธรรมใหญหรือวัฒนธรรมหลวงในปจจุบันเทาใดนัก ภายใตความสงบ นิ่งเหลานี้ ลักษณะพลวัตของกลุมชาติพันธุลาวโดยเฉพาะในเขตภาคกลางของประเทศไทย มีความเคลื่อนไหวไปในทิศทางใดนั้น เปนสิ่งที่นากลาวถึงและควรจะมีการศึกษาอยางยิ่ง เมื่อประกอบกับแนวคิดหลักที่ไดจากการประชุมทางวิชาการโครงการเมธีวิจัยอาวุโส รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ของสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัยเรื่อง สำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity] เมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๔ มีขอแนะนำเกี่ยวกับการศึกษาทางชาติพันธุวา ควรมีลักษณะการศึกษาที่ชี้ใหเห็นถึงการใหความหมายของกลุมชาติพันธุ พลวัตของลักษณะทาง ชาติพันธุ และความสัมพันธของรัฐกับกลุมชาติพันธุ รวมทั้งปญหาของแนวคิดความกลมกลืนทาง ชาติพันธุ โดยชี้ใหเห็นถึงอันตรายจากอคติที่ถูกสรางขึ้น ซึ่งมักจะนำไปสูการใชความรุนแรงตอกลุม ชาติพันธุที่เปนชนกลุมนอย รวมไปถึงการศึกษาเรื่องพื้นที่ทางสังคมและขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ของกลุมชาติพันธุตางๆ ซึ่งแนวคิดดังกลาวจะนำมาเปนแนวคิดหลักในการศึกษาครั้งนี้ ในการศึกษาเรื่อง ประวัติศาสตรทองถิ่นและกลุมชาติพันธุลาวแงว นอกจากจะศึกษาเชิงประวัติศาสตรของพื้นที่ในการอพยพ และการตั้งถิ่นฐาน และอัตลักษณทองถิ่นหรือลักษณะความแตกตางของกลุมชาติพันธุลาวโดยเฉพาะกลุมลาวแงวแลว การให ความสำคัญกับบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการเปลี่ยนแปลงเขาสูระบบทุนนิยมในภาวะปจจุบันนับเปนประเด็น สำคัญในงานศึกษานี้ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

4


วิธีการศึกษา ประวัติศาสตรทองถิ่นและกลุมชาติพันธุลาวแงว ประกอบขึ้นจากผูศึกษา ๒ กลุม กลุมแรก ไดแก ผูศึกษาที่เปน คนในพื้นที่ซึ่งสวนใหญเปนครูอาจารยในโรงเรียนมัธยมและเปนผูมีเชื้อสายลาวแงว ซึ่งมีความคุนเคยและสามารถเก็บขอมูลใน ดานลึกของผูคนในทองถิ่นกลุมตางๆ ไดสะดวกมากกวาผูศึกษาจากภายนอก และกลุมที่สองคือ ผูศึกษาซึ่งเปนคนนอกชุมชนทำ หนาที่เปนผูประสานงานศึกษา มีหนาที่ในการตั้งขอสังเกตและบูรณาการความคิดและเรียบเรียงขอมูลเหลานั้นออกมาเปนงาน ศึกษาที่ผานการวิเคราะหและมีลักษณะของงานวิชาการที่เปนสากล ความรวมมือของผูศึกษาทั้งสองกลุมผานการเก็บขอมูลภาค สนาม ถกเถียงสอบถาม และผานการตั้งขอสังเกตรวมกัน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคในการเติมเต็มสวนที่ขาดอันเปนขอบกพรอง ของผูศึกษาทั้งสองกลุมที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได เมื่อมีการเก็บขอมูลภาคสนามแลว ผูศึกษาซึ่งเปนคนทองถิ่นจะจดบันทึกเปนรายงานสงมอบแกผูประสานงานโครงการ ซึ่งจะมี การพูดคุยซักถามขอมูลตางๆ จนเกิดความกระจางชัดมากขึ้น แลวจึงลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบความเขาใจ กอนจะนำขอมูลเหลานั้น มาสังเคราะหเพื่อนำเสนอเปนรายงานการศึกษาตอไป จากวิธีการรวมงานระหวางผูศึกษาจากภายในและภายนอกทองถิ่นพบวา ขอบกพรองสำคัญในการรวมงานกันคือ ปญหาของการ ถายทอดขอมูลจากประสบการณภายในใหออกมาเปนการบันทึกขอมูลภาคสนามรวมไปถึงการทดลองใหผูรวมศึกษาจากภายใน เขียนขอมูลเหลานั้นในรูปแบบของการเรียบเรียงงานวิจัย ปญหาดังกลาวทำใหประเด็นปญหาที่ตั้งไวคลาดเคลื่อนเนื่องจากผูเก็บ ขอมูลไมสามารถบันทึกทั้งประสบการณและสิ่งที่พบเห็นในแนวลึกลงเปนขอมูลเอกสารได ปญหาเหลานี้ตองการคำแนะนำวิธีการ ศึกษาอยางเอาใจใสโดยตลอดและจำเปนตองใหเวลากับการพูดคุยปรึกษาระหวางผูเก็บขอมูลในพื้นที่และผูประสานงานใหมาก ที่สุดเทาที่จะเปนไปได จึงสามารถทำใหประเด็นปญหาทั้งที่ไดตั้งไวรวมกันและที่เกิดจากประสบการณของคนในทองถิ่นสงผาน มาถึงผูประสานงาน ซึ่งจะเปนผูรวมวิเคราะหและสังเคราะหเปนงานศึกษาวิจัยตอไป พื้นที่ในการศึกษาครั้งนี้ ขึ้นอยูกับการกระจายตัวในการตั้งถิ่นฐานของกลุมชาติพันธุลาวแงว ในเขตจังหวัดสระบุรี ลพบุรี สิงหบุรี และนครสวรรค แมพื้นที่ดังกลาวจะมีกลุมลาวอยูเปนจำนวนมากและหลายกลุมดวยกัน แตผูศึกษาไดทำการสำรวจขอมูลโดย ทั่วไปของชุมชนเฉพาะกลุมลาวแงวที่ปรากฏและศึกษาเฉพาะชุมชนอีก ๒ หมูบาน ซึ่งพบวามีการกระจายตัวของกลุมชาติพันธุ ลาวแงวที่แทรกตัวและอยูรวมกันกับกลุมลาวอื่นๆ เชน ลาวพวนและลาวเวียง โดยมีความตางกันเพียงเล็กนอยทางสำเนียงและ ภาษาพูด และประเพณีเฉพาะอยางเทานั้น นอกจากนี้ ก็ยังอยูรวมกับกลุมชาติพันธุที่มาจากพื้นที่ตางๆ เชน คนจีน (จีนโพนทะเล ที่เคยเปนกรรมกรสรางทางรถไฟมากอน) คนลาวจากอีสาน (สวนใหญเคยรับจางเกี่ยวขาวกอนจะมาปกหลักหากินอยางถาวร) คนไทยแมน้ำ (ที่อพยพจากชุมชนริมแมน้ำเจาพระยาแลวเขามาแสวงหาพื้นที่ทำกินภายในที่อยูลึกเขามาจากแมน้ำ) เปนตน การ อยูรวมกันในชุมชนเหลานี้ หากไมใชคนในพื้นที่ก็อาจแยกความแตกตางของคนกลุมตางๆ ดังกลาว ไมไดโดยทันที ผลจากการศึกษาทำใหทราบวา ในทามกลางความเปนคนไทยของรัฐไทย บริเวณเขตภาคกลางของลุมเจาพระยาในชุมชน เกษตรกรรมที่ทำนาเปนอาชีพหลัก มีกลุมชาติพันธุกลุมหนึ่งที่ถูกเรียกวา “ลาวแงว” อยูอาศัยมาตั้งแตเมื่อสงครามครั้งกวาดตอน เชลยศึกชาวลาวกลุมใหญเขาสูหัวเมืองชั้นใน สมัยรัชกาลที่ ๓ เปนลาวที่เปนกลุมที่อาจถูกละเลยและมองขาม เพราะปะปนอยูกับ กลุม พวน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุในทองถิ่นเดียวกันที่มีจำนวนชุมชนและประชากรมากกวา กลุมลาวแงวนี้ แมจะมีลักษณะเฉพาะ ทางประเพณีและวัฒนธรรมไมโดดเดน แตก็ยังคงสำนึกทางชาติพันธุที่เกาะเกี่ยวการรวมกลุมเขาไวดวยกันได และธำรงสืบมา จนถึงปจจุบัน ซึ่งสำนึกทางชาติพันธุที่ยังคงอยูและแสดงถึงอัตลักษณของกลุมอยางโดดเดนนั่นคือ ระบบความเชื่อในเรื่องอำนาจ นอกเหนือธรรมชาตินั่นคือ การนับถือผี ที่สัมพันธอยูกับวิถีชีวิตการเกษตรในบางสวน การควบคุมทางสังคมที่ยังคงเหลือ และ ความสำนึกรวมในการเปนกลุมผูอพยพมาจากเมืองลาวครั้งบรรพบุรุษ และอีกสวนหนึ่งที่แสดงถึงอัตลักษณของกลุมชาวลาว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

5


แงวคือ การเปนชาวนา ที่ทำนามาหลายชั่วคนดวยความขยันขันแข็ง แตการเปนชาวนาในสังคมไทย เปนภาวะที่ถูกกดดันใน อำนาจของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมซึ่งนำพาการพัฒนาของรัฐเขามาปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมและวิถีการผลิตอยางขนาน ใหญ จนทำใหปจจุบัน เกิดภาวะหนี้ชั่วชีวิตที่ชาวลาวแงวไมสามารถหลุดพนไปจากวงจรเหลานี้ไดl แมวาการวิเคราะหถึงความสัมพันธและสำนึกทางชาติพันธุในกลุมลาวในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยจะเปนเรื่องที่ทำไดยาก ซึ่งแตกตางจากกลุมชาติพันธุอื่น เชน กลุมชาติพันธุในเขตภาคเหนือหรือภาคใตที่มีเอกลักษณของกลุมและอยูหางไกลจาก ขอบเขตอำนาจรัฐและวัฒนธรรมสวนกลางมากกวาและถูกมองวาเปนชนกลุมนอยอยางชัดเจน ตางจากกลุมชาติพันธุลาวที่ถูก ผสมกลมกลืนจนไมอาจหาเอกลักษณของกลุมหรือของชุมชนไดโดยงาย พัฒนาการดังกลาวสามารถบงบอกถึงความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทามกลางกลุมชาติพันธุลาวในปจจุบัน นับเปนความเคลื่อนไหวในความเปลี่ยนแปลงที่เสมือนแสงแหง ความสงบยามรุงอรุณ ฉาบลงบนรองรอยทางประวัติศาสตรแหงความเดียดฉันท การตอสู ความรันทด และศรัทธาของผูคนกลุม ใหญเอาไวภายใตความเปนระเบียบเรียบรอยและความกลมกลืนที่สงบสุขเหลานั้น

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

6


บทที่ ๑ ความเปนมาของกลุมชาติพันธุลาวแงว ขอมูลอยางเปนทางการในประวัติศาสตรประเทศลาว ซึ่งแบงเนื้อหาออกเปนระยะตางๆ กลาวถึงชวงเวลาที่เรียกวา The Hold of Siam หรือ ภายใตการปกครองของสยาม3” รวมทั้งในหนังสือประวัติศาสตรลาวที่เขียนขึ้นโดยมหาสิลา วีรวงศ ก็ มีบทที่กลาวถึง“อาณาจักรลาวทั้ง ๓ อยูภายใตการปกครองของไทย (พ.ศ.๒๓๒๒–พ.ศ.๒๔๓๖)4” ซึ่งเปนชวงกอนที่ฝรั่งเศส จะเขายึดครองเปนอาณานิคม และในแบบเรียนประวัติศาสตรลาวชั้นมัธยมปลายของกระทรวงศึกษาธิการลาว5 แสดงถึงการ ยอมรับอยางเปนทางการวา ครั้งหนึ่งภายใตประวัติศาสตรลาว สยามเคยยึดครองและเกิดความขัดแยงที่นำมาสูการสูรบ การปราบปราม การสูญเสีย และการกวาดตอนผูคนใหอพยพโยกยายถิ่นฐานอันเนื่องมาจากผลของสงคราม ซึ่งเหตุการณ เหลานี้ถูกบันทึกไวเปนหนาสำคัญในประวัติศาสตรของประเทศลาวทีเดียว ในขณะที่แบบเรียนประวัติศาสตรไทย ซึ่งเปนแบบเรียนประวัติศาสตรในระดับพื้นฐาน เชน หนังสือ ประวัติศาสตรไทย การ ปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธกับตางประเทศกอนสมัยสุโขทัยจนถึง พ.ศ. ๒๔๗๕6 ของ บังอร ปยะพันธุ ไม ไดเนนเหตุการณที่กลาวถึงความสัมพันธระหวางไทยลาวชวงตนรัตนโกสินทร ในฐานะที่ลาวอยูภายใตการปกครองของ สยาม ในประวัติศาสตรของประเทศไทยการมีหัวเมืองประเทศราช เชน ลาว ในระยะเวลาหนึ่งนั้น ไมใชความรูทาง ประวัติศาสตรโดยทั่วไป ความแตกตางระหวางการใหความสำคัญในเหตุการณประวัติศาสตรดังกลาว สะทอนใหเห็น สำนึกทางประวัติศาสตร ของ ประเทศ ระหวางผูเคยปกครองและผูเคยถูกปกครองที่มีระดับของความทรงจำความรูสึกและการใหความสำคัญที่ไมเหมือน กัน7 และสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นภายในชวงเวลาสั้นๆ ที่ผานมาเพียงไมถึง ๑๐๐ ป (หากเริ่มนับจากการเปลี่ยนการปกครองมาเปน รวมศูนยแบบประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๕) อยางไรก็ตาม แมรัฐสยามหรือรัฐไทยในปจจุบัน จะไมใหความสำคัญกับความทรงจำทางประวัติศาสตรในชวงนี้ ดวยเหตุผล ที่อาจวิเคราะหไดในลำดับตอไป แตผูคนและชุมชนที่ยังคงมีสำนึกตัวตนทางชาติพันธุวาเปน คนลาว และมีบรรพบุรุษเปนผู ถูกกวาดตอนจากศึกสงครามแตครั้งโบราณก็ยังคงอยู แมจะไมมีขอมูลอยางเปนทางการวามีจำนวนเทาใดแตก็นาจะมี จำนวนไมใชนอย ยังคงมีภาษาพูด วิถีชีวิต วัฒนธรรม และประเพณีบางประการที่ตกทอดจากบรรพบุรุษอันแสดงถึงความ 3

http://lcweb2.loc.gov/cgi-bin/query/r?frd/cstdy:@field (DOCID+la0020)

4

มหาสิลา วีระวงศ เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต แปล. ประวัติศาสตรลาว โรงพิมพเทคนิคการพิมพ: ลำพูน, ๒๕๓๕

5สมชาย

นิลอาธิ, แปล. ประวัติศาสตรฉบับกระทรวงศึกษาธิการลาว สำนักพิมพมติชน กรุงเทพฯ, ๒๔๔๕.

6

บังอร ปยะพันธุ. ประวัติศาสตรไทย การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธกับตางประเทศกอนสมัยสุโขทัย จนถึง พ.ศ. ๒๔๗๕ สำนักพิมพโอเดียนสโตร: กรุงเทพฯ, ๒๕๓๘ 7

ความทรงจำเกี่ยวกับอดีต เปนสวนหนึ่งของความพยายามในการนิยามความหมายตัวตนในความสัมพันธกับคนกลุมอื่นๆ การสราง สำนึกทางประวัติศาสตรทำใหรูไดถึงความสืบเนื่อง ความเชื่อมโยง และความรูสึกเปนพวกพอง ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

7


ตางไปจากคนกลุมอื่นๆ อยางไมอาจหลีกเลี่ยง แมชีวิตวัฒนธรรมประจำวันในปจจุบันจะกลมกลืนจนกลายเปนสวนหนึ่งของ สังคมไทยไปแลว และหากสอบถามประวัติความเปนมาผูคนจำนวนมากในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยทุกวันนี้ คงจะไดคำ ตอบวา บรรพบุรุษไมทางใดก็ทางหนึ่งเปนคนเชื้อสายลาว สิ่งนี้คือสภาพความเปนจริงของการผสมกลมกลืนทางเชื้อสายและวัฒนธรรมระหวางกลุมชาติพันธุที่ควรมีการศึกษาถึงปจจัย ความสัมพันธของรัฐกับกลุมลาวทั้งในอดีตและปจจุบัน รวมทั้งปญหาของแนวคิดความกลมกลืนทางชาติพันธุ อคติที่กอตัวและ ถูกสรางขึ้นอยางไร ผลที่เกิดขึ้นนำไปสูเหตุการณเชนใด และการศึกษาเรื่องพื้นที่ทางสังคมและขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ของกลุมชาติพันธุลาว การสังสรรคกันในระหวางกลุมลาว ซึ่งมี “ลาวแงว” เปนสวนหนึ่ง การศึกษานี้พยายามทำความเขาใจและ ศึกษาในกระบวนการดังกลาว

ความหมายของคำวา ลาว และ ลาว ในสำนึกของกรุงเทพฯ ในอดีต คนไทยในภาคกลางเหมารวมเรียกกลุมชาติพันธุที่อยูทางเหนือวา “ลาว” ไมวาจะอยูในเขตหัวเมืองทางภาคเหนือหรือทาง ตะวันออกเฉียงเหนือ เชน เชียงใหม-เชียงราย, หลวงพระบาง, เวียงจันทน, จำปาศักดิ์ จนกระทั่งถึงสิบสองจุไทสวนที่ตอกับ เวียดนามตอนเหนือ, จีน และลาวที่เปนกลุมไทดำ และหัวเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนกลุมที่พูดภาษาไต-ลาวทั้งสิ้น ไมมีขอมูลเพียงพอที่จะตัดอยางแนชัดวา เหตุใดผูคนในลุมน้ำเจาพระยาจึงเรียกคนในแถบลานนาวา “ลาว” มาอยางนอยตั้งแต สมัยพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เหตุหนึ่งที่อาจจะเชื่อมโยงไดก็คือ ในตำนานของบานเมืองในเขตลุมน้ำกกและแมน้ำโขง แถบเชียงรายเชียงแสนตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ เมืองเชียงลาว/เงินยาง8 ตนราชวงศคือ ลวจักราช ที่มีผูปกครองตอๆ มานำหนาชื่อดวยคำ วา “ลาว” เปนสวนใหญ จนถึงลาวเม็งซึ่งเปนบิดาของพญามังราย ผูสรางเมืองเชียงใหมในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ขุนเจืองวีรบุรุษ สองฝงโขงของบานเมืองลุมน้ำโขงที่ไปรบถึงเมืองปะกันในทุงเชียงขวางและตายบนหลังชาง เมื่อทำสงครามกับขุนลอบุตรขุนบรม ผูใหกำเนิดอาณาจักรลาวลานชาง ก็เปนหนึ่งในราชวงศนี้ จิตร ภูมิศักดิ์ วิเคราะหวาในอดีต คำวา “ลาว” นาจะมีความหมายสูงสง มีฐานันดรเปนนายเหนือสังคม โดยมีเคาเงื่อนแตดั้งเดิมคงจะมีความหมายวา “คน” และเนนวาเปน คนผูเจริญ” แลว จนกลาย เปนคำนำหนาผูปกครองหรือกษัตริย ซึ่งตอมามีการใชคำวา พญา ขุน ทาว แทน ตั้งแตสมัยพญามังรายเปนตนมาก็ไมมีการใชคำ

8

เชียงลาว/เงินยาง เปนชื่อเมืองที่ปรากฏในตำนานพื้นเมืองเชียงใหมและในพงศาวดารโยนกของพระยาประกิจกรจักร ซึ่งอางวาเปน ชื่อเดิมของเมืองเชียงแสน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

8


วาลาวนำหนาชื่อกษัตริยอีกเลย ทั้งนี้จากวรรณคดีทาวฮุงขุนเจืองก็พบวา ชาวเมืองในลุมน้ำกกน้ำโขงที่เปนเมืองเชียงลาว/เงินยาง นี้เรียกตัวเองวา “ลาว” ดวย แตก็ไมไดระบุอยางชัดเจนวากลุมชาติพันธุใด9 มีการแสวงหาความหมายของคำวา “ลาว” อยูหลายทาง และมีผูเชื่อถือกันไปตางๆ แตสมมุติฐานใหญนั้นมี ๒ กระแส คือ ๑. มาจากคำวาอายลาว จากภูเขาอายลาวในมณฑลเสฉวนและสืบเนื่องมาเปนขุนบรม ๒. ตนราชวงศลวจักราชแหงเมือง เชียงลาว/เงินยาง นั่นคือ ลาวจก ซึ่งลักษณะทางวัฒนธรรมในตำนานนั้นนาจะเปนกลุมคนอยู อาศัยในที่สูงมากอน หมายถึงพวก ลัวะ ดังนั้น ตนราชวงศลาวในตำนานเมืองเงินยางนั้นคือกลุมลัวะ ในประวัติศาสตรลาวของมหาสิลา วีรวงศ10 ไดลงความเห็นวาอาณาจักรลานชางนั้นเกิดขึ้นสืบเนื่องจากขุนลอบุตรของขุนบรม จากเมืองกาหลงซึ่งอาจจะอยูในเขตสิบสองปนนาไดตีเมืองชวา (หลวงพระบาง) และตั้งขึ้นเปนราชธานีแหงแรกของลาวลานชางใน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ เปลี่ยนชื่อเมืองชวาเปนเชียงทอง และนับจากนั้นมาชาวลาวไดเขามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนแถบหลวงพระ บางและขยายพื้นที่ออกไปเรื่อยมาตั้งแตสมัยขุนลอ ดังนั้น อาจสรุปไดวากลุมผูเรียกตนเองวา “ลาว” แตดั้งเดิมมีพื้นถิ่นอยูในแถบลุมน้ำกกตอกับน้ำโขงในเขตเชียงราย-เชียงแสน มี ความสัมพันธกับบานเมืองในแถบพะเยา-นานไปจนถึงหลวงพระบาง ตอมาขยายบานเมืองและผูคนไปสูลุมน้ำปงสรางเมือง เชียงใหม-ลำพูน-ลำปาง ซึ่งเคยมีบานเมืองมั่นคงอยูแลวคือ “หริภุญไชย” มีการผสมกลมกลืนกับผูคนหลายเชื้อชาติจนกลายเปน อาณาจักรลานนาเริ่มขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ และเรียกตนเองวา “ไทหรือไต” สืบตอมา สวนผูคนที่เรียกตนเองวา “ลาว” แหงลานชาง กำเนิดขึ้นจากขุนลอโอรสขุนบรมมีถิ่นฐานเดิมอยูแถบสิบสองปนนา สรางเมืองชวา ใหมเรียกวาเชียงดงเชียงทองและเปนจุดกำเนิดอาณาจักรลาวลานชาง ที่ตอมาไดผนวกเอาดินแดนไปถึงเวียงจันทนและจำปา ศักดิ์ และชื่อลานชางนี้ พงศาวดารพมา เชนในมหาราชวงศเรียกชื่อลานชางวา “เลียงเชียง” อยางไรก็ตาม นี่อาจเปนเคาเงื่อนที่ไมชัดเจนนัก วาทำไมคนในบานเมืองแถบลุมเจาพระยาจึงเรียกชาวลานนาวาลาว และเรียกชาว ลานชางวาลาวเชนเดียวกัน ในเอกสารสมัยอยุธยาจำนวนหนึ่ง คำวา ลาว”หมายถึงการเรียกผูคนและหัวเมืองภาคเหนือปะปนไปกับคำวา ยวน”เชน วรรณคดี เรื่อง “ยวนพาย” ซึ่งเปนการรบระหวางอยุธยากับเชียงใหมในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถก็มีถอยคำเรียก “ลาว” มากกวา 9

จิตร ภูมิศักดิ์. ความเปนมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ กรุงเทพฯ: บริษัทสำนัก พิมพดวงกมล จำกัด, ๒๕๒๔, หนา ๖๐๐–๖๐๑. ดังโคลงที่กลาวถึงทัพชาวเงินยางรบกับแกว (เวียดนาม) ดังนี้ g g g g แกวตามลมเท็งคูg g คุงเขื่อน g g ไพรพรองลาวลาวยื้อ g ยาดของ แปลไดความวา ชาวแกวตายเต็มคูเมืองจนถึงเขื่อนกำแพง ไพรพลแตกระส่ำระสาย พวกลาวซึ่งเปนชาวเงินยางก็เขายื้อแยงเอา สิ่งของ 10

มหาสิลา วีระวงศ เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต แปล. ประวัติศาสตรลาว โรงพิมพเทคนิคการพิมพ: ลำพูน, ๒๕๓๕

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

9


เรียกวา “ยวน” อยูทั่วไป แตในลิลิตพระลอ บทประนามพจนซึ่งเปนรายสรรเสริญกรุงศรีอยุธยาแยกลาวกาว, ลาว และยวนออก จากกัน ซึ่งเปนการแยกแยะชื่อชนชาติที่แยกละเอียดกวา นั่นคือ “..รอนลาวกาวตาวตัดหัว ตัวกลิ้งกลาดดาษดวน ฝายขางยวน พายแพ ฝายขางลาวประไลย ฝายขางไทยไชเยศร…” ความเขาใจที่สับสนในการเรียกชื่อชนชาติ [Race] ของผูคนในบานเมืองทางตอนบนของลุมเจาพระยามีมาแลวตั้งแตสมัยอยุธยา ตอนตน และในเอกสารของชาวฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณฯ คือ นิโคลาส แชแวส [Nicolas Gervaise] เมื่อกลาวถึง ประชากรของอาณาจักรอยุธยาวา หนึ่งในสามของประชากรที่ไมใชสยามนั้นคือลูกหลานของเชลยชาวลาวและมอญพมา(pagan) จากศึกสงครามเมื่อสองรอยปกอนและผสมผสานกับคนสยามจนแทบแยกไมออก มีชุมชนลาวรอบนอกกรุงจำนวนมากโดยมี นายกองเปนผูควบคุม11 นอกจากนี้ยังมีกรมลาวอาสาทำหนาที่เชนเดียวกับกรมอาสาของชาวเชื้อชาติอื่นๆ การกลาวถึงลาวใน เอกสารเหลานี้ก็ไมสามารถแยกไดวาเปนลาวลานนาหรือลาวลานชางไดอยางแนชัด และนาจะเปนการเหมารวมๆ กันไป การกวาดตอนผูคนในสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ ก็เรียกชื่อผูคนและบานเมือง ทางตอนบนวาลาวปนๆ กันไปเชนเดียวกัน ดังนั้น การบันทึกในเอกสารจดหมายเหตุของทางการ จึงมีการใชคำวา “เมืองลาว” “พวกลาว” หรือ “ครัวลาว” โดยรวมๆ เชน ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ เมื่อกลาวถึงหัวเมืองทางเหนือที่ ยอมสวามิภักดิ์ ทั้งฟากตะวันออกของแมน้ำโขง ลำปาง เชียงใหม เวียงจันทน แพร นาน เถิน หลวงพระบาง นับเปนประเทศราช โดยเรียกวา ประเทศราชลาวพุงดำ ลาวลื้อ ลาวพุงขาว 12 เมื่อกลาวถึงบานเมืองหรือกลุมลาวที่ถูกกวาดตอนเขามาหลายครั้ง ก็จะ กำกับดวยชื่อเฉพาะของกลุมซึ่งเปนที่รูกัน เชน ลาวเชียงใหม ลาวเวียงจันทน ลาวพวน รวมไปถึงผูไทหรือไทดำ ก็พลอยถูกเรียก วา ลาวโซง ไปดวย ทั้งๆ ที่คนลาวนั้นไมยอมรับวาผูไทเปนลาว และผูไทหรือไทดำก็ถือตัวเองวาเปนคนไท ความปนๆ กันไปเชนนี้ ปรากฏในอักขราภิธานศรับทของหมอบรัดเล ตีพิมพครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๔๑๖ ใหนิยามคำวา “ลาว” วา “เปนชื่อคนภาษาหนึ่ง อยูขางฝายเมืองเหนือ มีเมืองเชียงใหม เปนตน ลาวพุงดำ คือพวกลาวที่สักตัวทองดำ ดูเชนเอากางเกงดำมาใสนั้น ลาวพวน คือพวกลาวที่อยูเมืองพวนเหนือเมืองเวียงจันขึ้นไป พวกพุงดำบาง ขาวบาง ลาวเวียงจัน คือพวกลาวชาวเมืองเวียงจันที่บูราณเรียกเมืองศรีสัตนาคะนะหุตนั้น”13 แตการจำแนกกลุมบานเมืองลาวเหลานี้ในความรับรูของชาวกรุงเทพฯ เห็นไดชัดเจนขึ้นจากพระราชสาสนของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวทั้งสองฉบับ ไดแก พระราชสาสนกำกับสุพรรณบัตร ซึ่งเซอรยอนบาวริง อรรคราชทูตอังกฤษเชิญไปถวาย สมเด็จพระนางเจาวิกตอเรีย เมื่อปเถาะ พ.ศ. ๒๓๙๘ ความวา 11

Nicolas Gervaise. The Natural and Political History of the Kingdom of Siam White Lotus Co.,LTD, Bangkok, 1989. P.53. 12

นิธิ เอียวศรีวงศ, บรรณาธิการ. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับเจาพระยาทิพากรวงศ สำนักพิมพ อมรินทรวิชาการ,กรุงเทพฯ, ๒๕๓๙, หนา ๑๙๑. 13

แบรดเลย,แดนบีช.ดร. อักขราภิธานศรับท. โรงพิมพคุรุสภา กรุงเทพฯ ๒๕๑๔

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

10


“พระราชสาสน ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏ พระจอมเกลาพระเจากรุงสยาม ซึ่งเปนพ ระเจาแผนดินใหญ ในรัชกาลที่ ๔ ในพระบรมราชวงศ ซึ่งดำรงกรุงรัตนโกสินทรมหินทราอยุธยา ณ ประเทศบางกอกนี้ ไดครอบครองเปนเจาของพระมหานครราชธานีใหญ ในพระราชอาณาจักรฝาย สยามเหนือใต แลแผนดินแดนตางๆ อยูเดียวอยูใกลในที่นั้นๆ บางแหง แลเปนที่อยูของชนชาวตาง ประเทศ มีเพศภาษาหลายอยาง คือ ลาวเฉียง ลาวกาว แลกำพูชา มาลายู กระเหรี่ยง แลอื่นๆ ในทิศ ตางๆ โดยรอบคอบขอบขัณฑสิมาอาณาจักรสยาม….”14 และเอกสารที่บงบอกถึงความแตกตางของกลุมลาวเฉียงและลาวยวน โดยแบงเขตระหวางลาวเฉียงกับลาวยวนที่ชัดยิ่งขึ้น คือ สำเนารางประกาศตั้งกงศุลเมืองสิงคโปร พ.ศ.๒๔๐๖ มีขอความตอนหนึ่งวา “สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจากรุงสยามซึ่งเปนพระเจาแผนดินใหญที่ ๔ ใน พระบรมวงศนี้ แลเปนเจาเปนใหญไดครอบครองพระราชอาณาจักรสยามราษฎร แวดลอมดวยนานา ประเทศราชชนบทตางๆ ทุกทิศ คือ ลาวโยน ลาวเฉียงในทิศพายัพแลอุดร ลาวกาวแตทิศอิสาณจน บูรพ กัมโพชาเขมรแตบูรพจนอาคเนย เมืองมลายูเปนอันมากแตทิศทักษิณจนหรดี, แลบานเมือง กะเหรี่ยงบางเหลาแตทิศปจิมจนพายัพ แลขาซองแลชาติตางๆ อื่นๆ อีกเปนอันมาก…”15 ดังนั้น ลาวเฉียง 16 คือ ลาวที่เรียกรวมๆ อยูในเขตลานนา แตถาแยกยอยออกไปอีก ไดแก ลาวโยนหรือลาวยวน คือ ชาว เชียงใหม ลำปาง ลำพูน คือ บานเมืองทางฝงตะวันตกทางทิศพายัพหรือตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ สวน ลาวเฉียง อยูทาง ทิศอุดรหรือทางเหนือของกรุงเทพฯ ไดแกเมืองทางฝงตะวันออก เชน เชียงราย แพร นาน ดังนั้น แมจะรับรูวา “ยวน” คือคำที่ เรียกชาวลานนามาแตเดิม แตในสำนึกของกรุงเทพฯ ก็พอใจที่จะเหมาเรียกรวมๆ ไปวา “ลาวเฉียง” สวน ลาวกาว นั้นอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนถึงตะวันออกของกรุงเทพฯ นั่นคือลาวที่อยูในเขตลานชางและภาคอีสาน ปจจุบันนี้ จะเห็นวา สำนึกเรื่องเชื้อชาติของคนกรุงเทพฯ ที่มีตอบานเมืองและผูคนที่อยูตอนบนหรือที่เรียกวาหัวเมืองฝายเหนือนั้น เปนการ เรียกอยางเหมารวม เรียกตามๆ กันมาอยางนอยตั้งแตสมัยอยุธยาตอนตน โดยไมไดแยกแยะหรือมีความสนใจที่จะเรียกตาม คนในทองถิ่น และกลายเปนการเรียกชื่อกลุมคนตามเชื้อชาติที่แฝงนัยะของการดูถูกอยางชัดเจนในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ไม

14

พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว

15

จิตร ภูมิศักดิ์, อางในปรีดา ศรีชลาลัย, ตนรางประกาศตั้งกงศุลเมืองสิงคโปร พ.ศ.๒๔๐๖, สราญรมย ๒๔๙๙, หนา ๑๐๖.

16

จิตร ภูมิศักดิ์ วิเคราะหคำวา “เฉียง” วานาจะมีที่มาเดียวกับคำ ชาน-ซาม-เซียม-เสียม อันเปนชื่อเรียกชนชาติไตทั้งหมด โดยได รับอิทธิพลทางภาษาจากพมาซึ่งเปนผูปกครองอยูเปนเวลานานจากคำวา ชาน ซึ่งเปนคำเรียกชนพื้นเมืองในลานนาทั่วไปมาเขียนใน รูปแบบอักษรพมาซึ่งชาวลานนานำมาใชแตออกเสียงเปน “เสียง” เมื่อนำมาใชในภาษาทางภาคกลางจาก “ส” ก็กลายเปน “ฉ” จาก “เสียง” จึงเปน “เฉียง” ซึ่งยังคงความหมายถึงคนพื้นเมืองในลานนาเชนเดียวกับพมา และในปจจุบันไมมีการใชคำวาเฉียงใน ความหมายนี้แลว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

11


วาจะเปน ลาวเฉียง ลาวยวน ลาวพุงดำ ลาวพุงขาว และมีมายาคติในทางลบที่เห็นไดชัดจากวรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน17 ที่มอง เห็นคนจากหัวเมืองลานนาต่ำกวาตน มักดูถูกวาเปนลาว เปนพวกนุงซิ่น (ซึ่งถือวาตางไปจากพวกตนที่นุงโจง) พวกกินกิ้งกา กิน กบ ซึ่งถือเปนของกินต่ำชั้น และสืบตอมาไมขาดสายในบันทึกที่เกี่ยวกับเจาดารารัศมี เมื่อเปนเจาจอมตองมาอยูในราชสำนักภาย ใตตำหนักของสมเด็จพระนางเจาเสาวภาผองศรี และถูกกลั่นแกลงดูถูกตางๆ มากมาย คนในลานนานั้นถือตัววาเปน คนไทหรือคนไต”ไมไดเรียกตัวเองวา ลาว”แตอยางใด ปฏิกริยาแหงการดูถูกจึงพากันเรียกตัวเอง วา คนเมือง”และเรียกภาษาของตนวา คำเมือง ซึ่งมีการอธิบายวา เพื่อใหแตกตางไปจาก คนมาน (พมา) หรือคนใต (อยุธยาหรือ กรุงเทพฯ) เปนคำที่ปรากฏในชวงอยูภายใตการปกครองของพมาและกรุงเทพฯ นี่เอง และกลายมาเปนคำเรียกอยางกลางๆ ซึ่ง พวกไทใหญเรียกวา พวก ยน หรือ ไตยวน เปนการแสดงตัวตนโดยเฉพาะคนในฟากตะวันตก เชน เชียงใหม ลำพูน ลำปาง ซึ่งใช กันอยางกวางขวางจนปจจุบันนี18้ ” ตางจากผูคนในบานเมืองแถบลานชางที่พอใจจะเรียกตนเองวา “ลาว” และมีความรูสึกวาตนตางไปจากคน “ไทหรือไต” ทั้งที่กลุม ภาษานั้นก็อยูในกลุมไตเชนเดียวกัน เหตุที่เปนคำดูถูกและความเขาใจผิดเกี่ยวกับเชื้อชาติลาวที่ถูกเหมารวมโดยรัฐในลุมน้ำเจาพระยา ปรากฏใน นิทานโบราณคดี ที่ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเลาไวเมื่อเสด็จตรวจราชการมณฑลนครราชสีมาและมณฑลอุดรและอีสานเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๙ ทรงคนพบถึงความแตกตางทางเชื้อชาติ สำเนียงภาษาของกลุมชาติพันธุที่ทางการเคยเขาใจกันตอๆ มานั้นไมถูกตองก็เมื่อทรง พระนิพนธนิทานโบราณคดีใน พ.ศ. แลว ดังกรณีความแตกตางของคนในเมืองนครราชสีมากับหัวเมืองทางอีสาน ดังนี้ “ฉันเดินบกไปจากเมืองนครราชสีมา ๕ วัน เขาเขตมณฑลอุดรที่เมืองชนบท พอถึงเมืองชนบทก็เห็น ชาวเมืองผิดกับชาวเมืองนครราชสีมา ทั้งเครื่องแตงตัวและฟงสำเนียงพูดภาษาไทยแปรงไปอีกอยาง หนึ่ง ซึ่งชาวกรุงเทพฯ สำคัญกันมาแตกอนวาเปนลาว แตเดี๋ยวนี้รูกันมากแลววาเปนไทยมิใชลาว ถึงในราชการแตกอนก็อางวาหัวเมืองในมณฑลพายับ กับมณฑลอุดร และอีสาน เปนเมืองลาว เรียก ชาวมณฑลพายับวา “ลาวพุงดำ” เพราะผูชายชอบสักมอมตั้งแตพุงลงไปถึงเขา เรียกชาวมณฑลอุดร และอีสานวา “ลาวพุงขาว” เพราะไมไดสักมอมอยางนั้น เมื่อจัดหัวเมืองชายพระราชอาณาเขตเปน มณฑลในรัชกาลที่ ๕ ราว พ.ศ.๒๔๓๓ แรกก็ขนานนามหัวเมืองลาวพุงดำวา “มณฑลลาวเฉียง” ขนาน นามหัวเมืองลาวพุงขาววา “มณฑลลาวพวน” มณฑลหนึ่ง “มณฑลลาวกาว” มณฑลหนึ่ง”19e ใน พ.ศ.๒๔๓๐ เริ่มมีการจัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล รวบรวมการบังคับบัญชาหัวเมืองทั้งปวงใหขึ้นอยูกับกระทรวง มหาดไทยกระทรวงเดียว และรวมหัวเมืองขึ้นเปนมณฑล มีขาหลวงมณฑลปกครองขึ้นตรงกับกระทรวงมหาดไทยอีกชั้นหนึ่ง ใน หัวเมืองลาวมีการแยกออกเปนหัวเมืองลาวฝายตางๆ ตอมาราว พ.ศ.๒๔๓๓ จึงแบงออกเปนมณฑลลาวเฉียง, มณฑลลาวพวน, มณฑลลาวกาว, มณฑลลาวกลาง, มณฑลเขมร ปกครองโดยพระอนุชา เชน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร และ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นประจักษศิลปาคม เปนตน เพราะในระยะนี้เปนชวงที่ฝรั่งเศสไดเวียดนามเปนเมืองขึ้น 17

เชนตอนนางวันทองหึงนางลาวทองที่มาจากเมืองเหนือวา “ทุดอีลาวดอนคอนเจรจา อีกินกิ้งกากบจะตบมัน”

18

สงวน โชติสุขรัตน. ไทยยวน-คนเมือง บางสะแกการพิมพ ธนบุรี : ๒๕๑๒, หนา ๑๘๘–๑๙๐.

19

สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี กรุงเทพฯ สำนักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๑๗ นิทานเรื่องที่ ๑๖

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

12


รวมทั้งเขมร สวนพมาก็ตกอยูภายใตอารักขาของอังกฤษ จึงตองใสใจกับหัวเมืองลาวเปนพิเศษ แตเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๖ ลาวในเขต ฝงซายของแมน้ำโขงก็ตกเปนของฝรั่งเศสทั้งหมด ลัทธิอาณานิคมของชาวตะวันตกเปนแรงขับดันอยางเห็นไดชัด ใหเกิดการปกครองแบบรวมศูนยและรัฐชาติในเวลาตอมา และ แรงผลักดันนี้ทำใหราชสำนักรับรูวา การเรียกชื่อปนๆ ที่มีลักษณะดูถูกทางเชื้อชาตินี้อาจทำใหเกิดการแตกแยกภายในพระราช อาณาเขตและสูญเสียดินแดน จึงตองพยายามทำใหเกิดการกลายเปน “ไทย” หรือ “สยาม” ใหมากที่สุด20 ดังสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ใหเหตุผลที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเปลี่ยนแปลงการปกครองพระ ราชอาณาเขตจากลักษณะการปกครองแบบเดิมอยาง ประเทศราชาธิราช [Empire] มีเมืองตางชาติตางภาษาเปนเมืองขึ้น ซึ่ง ถือวาเมืองชายพระราชอาณาเขตคือ มณฑลลาวเฉียง มณฑลลาวพวน และมณฑลลาวกาว นั้นเปน เมืองลาว และเรียกชาวเมือง นั้นวา ลาว แตการปกครองแบบนั้นอาจใหโทษแกบานเมือง หลังจากเสียดินแดนฝงซายแมน้ำโขงใหกับฝรั่งเศสแลว จึงเปลี่ยนมา เปนลักษณะแบบ พระราชอาณาเขต [Kingdom] ประเทศไทยรวมกัน เลิกประเพณีประเทศราช เปลี่ยนนามมณฑลลาวเฉียง เปนมณฑลพายัพ มณฑลลาวพวนเปนมณฑลอุดร และมณฑลลาวกาวเปนมณฑลอุดร ตามทิศของพระราชอาณาเขต และใหเลิก เรียกไทยชาวมณฑลทั้ง ๓ นั้นวาลาวดวย ใหเรียกรวมกันวา “ไทยเหนือ” แทนเรียกวาลาว หรือเรียกชื่อวา ชาวมณฑลพายัพ ตอ มาเมื่อยกเลิกการปกครองระบบมณฑลเทศาภิบาลใน พ.ศ.๒๔๗๕ แลว มีผูนำชื่อ “ลานนา” ซึ่งเปนชื่อแตโบราณมามณฑลพายัพ คนในที่นี้จึงเรียกวาชาวลานนา และเรียกวาลานชางคูกับลานนาตอมา21 ลาว ในสำนึกของชาวอยุธยาจากเรื่อง “ยวนพาย” ก็ไมไดแฝงไวดวยความรูสึกดูหมิ่นดูแคลนนอกจากโกรธแคนในฐานะศัตรู ตอ เมื่อสมัยตนรัตนโกสินทรจึงเห็นชัดวา การเรียกชื่อ กลุมคนวา “ลาว” ตางๆ นานา บริบทของคำมีความหมายแฝงไวซึ่งการดูถูก ทางชาติพันธุอยางชัดเจน โดยเฉพาะบานเมืองและกลุมคนทางภาคเหนือ มีการพูดถึงสาเหตุการดูถูกทางชาติพันธุดังกลาววา เกิดจากบานเมืองในเขตลานนา เปนประเทศราชของราชสำนักพมาและตอมา ก็เปนประเทศราชของราชสำนักสยามตั้งแตสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีเปนตนมาและรวมไปถึงหัวเมืองลาวลานชางดวย ระดับ ของความสัมพันธที่ไมทัดเทียมกันนี้ เปนสาเหตุใหเกิดการดูถูกประการหนึ่ง ผูคนในวัฒนธรรมหลวงที่ดูถูกวัฒนธรรมราษฎร หรือวัฒนธรรมใหญดูถูกวัฒนธรรมยอย เปนปฏิกริยาที่เกิดขึ้นอยางปกติทั่วไป แมแตในสังคมของลานนาเองก็มีการดูถูกเชนเดียวกันนี้มาตลอด เชน การดูถูกกลุมขาหรือลัวะ เปนตน ผลก็คือเกิดการปฏิเสธ หรือมีปฏิกริยาตอบโตในลักษณะตางๆ แตก็นาคิดวา นัยะที่แฝงเรนการดูถูกทางสังคมเชนที่เกิดกับ “ลาว” นี้ ไมไดเกิดขึ้นกับเขมรจากกัมพูชา ญวนหรือแกวจาก เวียดนาม แขกหรือมุสลิมจากหัวเมืองประเทศราชทางใต และไมตองนับถึงชาวตะวันตกที่ออกจะยกยองเชิดชูอยางออกหนา ใน ดินแดนแหงการเปนเมืองทาและเปนเมืองนานาชาติอยางอยุธยาหรือกรุงเทพฯ ที่แทบไมมีความสัมพันธที่ตรึงเครียดจนกลาย 20

จะเห็นไดวา ชาติตะวันตกโดยเฉพาะฝรั่งเศสนั้น ใหความสำคัญกับการศึกษาขอมูลของกลุมคนพื้นเมืองในทางประวัติศาสตรและ วัฒนธรรม เชน กรณีการศึกษาทางประวัติศาสตรวัฒนธรรมและทำแผนที่ของ ม. ปาวี หรือแมแต งานทางวิชาการของ ศ. ยอรจ เซเดส เพื่อเปนขอตอรองสำคัญในทางการฑูตและการหาขอไดเปรียบในการยึดครองอาณานิคมตางๆ มากกวาการใชกำลังบีบบังคับ ทางการทหารแตอยางเดียว จึงนาจะเปนเหตุใหมีการทบทวนการเรียกชื่อกลุมคนและชื่อมณฑลตางๆ ที่เคยตั้งขึ้นไวแลว 21

สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี กรุงเทพฯ สำนักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๑๗ นิทานเรื่องที่ ๑๖, หนา .

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

13


เปนการนองเลือดระหวางผูอยูอาศัยซึ่งเปนคนสยามหรือคนไทยกับชาวตางภาษา อาจนับไดวาเปนสถานที่ซึ่งเปดกวางสำหรับ ความแตกตางทางวัฒนธรรม และเปนวัฒนธรรมที่คุนเคยกับความเปน “คนนอก” อยูมาก คำถามวา “ทำไมกรุงเทพฯ (ในความ หมายทั้งผูคนและวัฒนธรรม) จึงดูถูกลาว” จึงเปนคำถามที่สำคัญ ซึ่งการแฝงนัยะแหงการดูถูกนี้มีผลอยางไรกับการศึกษากลุม ชาติพันธุลาวในพื้นที่ศึกษานี้ จะกลาวถึงในบทตอไป หลังจากความพยายามผอนปรนอาการดูถูกลาว ดังเหตุการณที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงพระนิพนธไวในนิทาน โบราณคดีแลว วาทกรรมที่คนในพื้นที่คือเขตลานนาเริ่มตอบโตกับฝายกรุงเทพฯ ในการประกาศตัวเปน คนเมือง”(รวมไปถึงคำ เมือง, อาหารเมือง) ก็กลายเปนคำเรียกที่รับรูกันทั่วไปแทนคำวา “ลาว” จาก “เมืองลาว” ที่หางไกลก็กลายเปน “ลานนา” ดินแดน บริสุทธิ์ในฝนของคนกรุงเทพฯ และจากหญิงที่เคยเปน “อีลาว” กินปลารา กิ้งกา กบ ก็กลายเปน “สาวเครือฟา” หญิงสาวงดงามใสสะอาด แตใจงายและพรอมจะ ถูกหลอก เรื่องของหญิงสาวชาวเหนือแบบสาวเครือฟากลายมาเปนวาทกรรมที่โตตอบกันดวยความรูสึกนอยเนื้อต่ำใจจนถึง ปจจุบัน อยางไรก็ตาม ในกรณีนี้ แมจะไมมีคำวาลาวประกอบถอยคำ แตก็ยังคงแฝงเรนไวดวยการดูถูกไมตางจากเดิม ในปจจุบัน คำวา “ลาว” ที่แฝงอาการดูถูกทางสังคมและทางชาติพันธุนี้ เคลื่อนยายไปสูผูคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ คนอีสาน ของประเทศไทยมากกวาที่จะดูถูกคน “ลาวจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว”แตความผูกพันทางวัฒนธรรม ที่มาจากรากเหงาเดียวกันก็มักทำใหเกิดความกินแหนงแคลงใจตอคนลาวในประเทศลาวอยูเนืองๆ จนถึงขั้นระแวงในถอยคำที่ มักจะพบไดตามสื่อ ซึ่งเปนสิ่งที่คนไทยในปจจุบันอาจไมไดคาดคิด ลาวกลายเปนคำดูถูกคนอีสานวาเปนพวก ลาว” ซึ่งหมายถึง บานนอก ลาหลัง เปนพวกกินขาวเหนียว อยูอาศัยในพื้นที่แหงแลง ทุรกันดารและตองไดรับการชวยเหลือแกไข รูปรางหนาตาก็ไมสวยงาม เชน กรามใหญ ดั้งหัก เปนพวก เสี่ยว”ที่แปลงความหมาย ไปในทางลบ จากเพื่อนที่ผูกพันกลายเปนพวกบานนอก เชย สกปรก มีฐานะความเปนอยูที่ต่ำกวา และขายแรงงานเปนหลัก เมื่อกลาวคำวา ลาว ตั้งแตอดีตจนปจจุบัน ในสำนึกของเมืองหลวงและกรุงเทพฯ ก็ยังคงเปนการกลาวถึงกลุมชาติพันธุอื่นที่ตอย ต่ำกวาตน แฝงไวดวยอาการดูถูกอยางไมปกปด เพียงแตเปลี่ยนกลุมคนและเปลี่ยนพื้นที่ไปจากเดิมเทานั้น

การอพยพยายถิ่นฐานลาว เขาสูหัวเมืองชั้นในบริเวณลุมน้ำเจาพระยา ลาวในภาคกลางของประเทศไทย คือ กลุมชาติพันธุกลุมใหญที่ปรากฏหลักฐานในการเคลื่อนยายเขามาสูดินแดนประเทศไทย เมื่อสมัยตนรัตนโกสินทร เนื่องจากสงครามที่นำไปสูการกวาดตอนผูคน ประกอบดวยผูคนหลายกลุมหลายพื้นที่ หากแต กวาดตอนมาจากบานเมืองทางฝายเหนือ ดังนั้นจึงถูกเหมารวมเรียกวาลาวทั้งหมด หลังสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาแลว บานเมืองและผูคนถูกทำลายและกวาดตอนไปมาก ขาดแคลนพลเมืองที่เปนฐานทรัพยากร สำคัญของราชอาณาจักร ซึ่งมีผืนแผนดินรกรางอยูมากมาย การเกณฑแรงงานในระบบไพรเพื่อทำสาธารณูปโภคของรัฐ สราง ปราสาทราชวัง และงานกิจการของราชสำนักตางๆ รวมทั้งมีผลประโยชนในการเรียกเก็บสวยอากร ตองพึ่งพาฐานกำลังพลเพื่อทำ กินเลี้ยงพระนครที่เคยบอบช้ำจากการสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาตอพมา ซึ่งพมาไดกวาดตอนผูคนไปมาก และเมื่อเกิดศึก ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

14


สงครามตอมา นอกจากจะเปนการปราบปรามกอบกูพระราชอาณาจักรขึ้นใหมแลว การแสวงหากำลังคนมาเปนฐานประชากรจึง นาจะเปนเหตุผลที่สำคัญมาก ดังจะเห็นจากในสมัยแผนดินกรุงธนบุรีและตนรัตนโกสินทร การกวาดตอนผูคนมาเปนพลเมือง ของรัฐเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ซึ่งอาจจะเปรียบเทียบกับบานเมืองในนครเชียงใหมในยุคเดียวกันที่มีคำกลาววา “เก็บผักใสซา เก็บ ขาใสเมือง” ก็จะเห็นภาพไดชัดเจน จากการรวบรวมของ บังอร ปยะพันธุ22 พบวามีการเคลื่อยยายกลุมลาวเขาสูหัวเมืองชั้นในกรุงรัตนโกสินทรดังนี้ สมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี หลังจากทำสงครามกับพมาที่ยังคงตั้งฐานที่มั่นในเขตลานนาและลานชาง มีการอพยพของลาวจาก เวียงจันทนและเมืองใกลเคียงหลายหมื่นเขามาพักอยูที่นครราชสีมา และตอมาไดยายมาอยูที่สระบุรที ั้งหมด เมื่อมีอิทธิพลเหนือหัวเมืองเหลานี้แลว หลัง พ.ศ.๒๓๒๒ กองทัพยึดเวียงจันทนแลวจึงกวาดตอนครัวเวียงจันทนหลายหมื่นไป รวมไวที่เมืองสระบุรี บางสวนสงไปอยูทรี่ าชบุรี และตามหัวเมืองตะวันตกบาง จันทบุรบี าง สวนเจานายที่นำมาเปนตัวประกัน เชน เจานันทเสน เจาอินทวงศ เจาอนุวงศ โปรดเกลาฯ ใหตั้งบานเรือนอยูทบี่ างยี่ขัน ชวงเวลาเดียวกันนี้ไดครัวลาวทรงดำ (ไทดำ) ที่อยูริมเขตแดนเวียดนามจากเมืองทันตและเมืองมวย ใหไปตั้งบานเรือนอยูที่เมือง เพชรบุรี เพราะภูมิประเทศคลายคลึงกับบานเมืองเดิมกลุมใหญแตดั้งเดิมคือที่บานหนองปรง กอนจะแยกยายกันออกไป ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ เปลี่ยนแผนดินมาเปนกรุงรัตนโกสินทร พ.ศ.๒๓๒๕ เจานครเวียงจันทน กวาดตอนชาวพวนเขามาถวาย พ.ศ.๒๓๓๕ ก็กวาดตอนชาวพวนและไทดำรวมกันราว ๔,๐๐๐ เศษมาถวายอีก โปรดเกลาฯ ให ชาวพวนนั้นตั้งหลักแหลงในกรุงเทพฯ แถบเฉลิมกรุงในปจจุบัน (ที่เคยเรียกวาถนนบานลาว) การกวาดตอนชาวพวนนี้ก็เพื่อจะ ขอแลกกับครัวเวียงจันทนที่ถูกกวาดตอนมาอยูที่เมืองสระบุรกี ลับคืนไป เมื่อ พ.ศ.๒๓๔๕ ยังคงมีศึกสงครามระหวางหัวเมืองลานนาและพมาที่ยึดเอาเมืองเชียงแสนไวอยู พ.ศ.๒๔๔๗ จึงตีเมือง เชียงแสนได และแบงผูคนออกเปน ๕ สวน สงไป เวียงจันทน นาน เชียงใหม ลำปาง และกรุงเทพฯ โดยใหไปตั้งถิ่นฐานอยูที่เมือง สระบุรแี ละราชบุรี เรียกวา ลาวพุงดำ สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย พ.ศ.๒๓๕๒ ครัวลาวจากเมืองนครพนมสวนหนึ่งที่มีปญหาภายใน อพยพผูคนมา พึ่งพระบรมโพธิสมภาร โปรดเกลาฯ ใหไปตั้งบานเรือนยอยูที่ คลองมหาหงษ เมืองสมุทรปราการ เรียกวา “ลาวอาสาปากน้ำ” ขึ้น อยูกรมทา ตอมา พ.ศ.๒๓๗๑ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ก็ขอพระราชทานไปอยูที่เมืองพระรถ จึงโปรดเกลาฯ ให ตัดเอาแขวงเมืองชลบุรีและเมืองฉะเชิงเทราสวนหนึ่งมาตั้งเปนเมืองขึ้น ชื่อ เมืองพนัสนิคม มีเจาเมืองเปนชาวลาวอาสาปากน้ำ และเมื่อผานศึกเจาอนุวงศแลวพระอิทรอาสานี้ก็ไปเกลี้ยกลอมชาวเมืองนครพนมอีกสวนหนึ่งมารวมไวที่เมืองพนัสนิคมดวย พ.ศ.๒๓๕๘ จาเมืองเวียงจันทนสงสวยและครัวลาวจากเมืองภูครังมายังกรุงเทพฯ โปรดเกลาฯ ใหไปตั้งชุมชนอยูที่เมือง นครชัยศรี พรอมกับลาวเมืองพุกราง ลาวเมืองภูครังถูกกวาดตอนมาอีกหลายครั้ง พ.ศ.๒๓๖๐ สงมาพักไวที่เมืองพิษณุโลกกอน จะสงไปอยูกับพวกเดิมที่เมืองนครชัยศรี

22

บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร: กรุงเทพฯ, ๒๕๔๑, หนา ๒๑–๑๐๙.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

15


เหตุการยายถิ่นอพยพคนลาวครั้งใหญเกิดขึ้นเมื่อศึกเจาอนุวงศ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เมื่อ พ.ศ.๒๓๖๙ ผลจาก ศึกครั้งนั้นไดมีการกวาดตอนชาวลาวจากหัวเมืองเวียงจันทนและใกลเคียงสงลงมาหลายครั้ง และผูคนปะปนจากครัวลาวจาก เมืองสระบุรี เมืองนครราชสีมา และเมืองหลมศักดิ์ ที่ถูกกองทัพเจาอนุวงศกวาดตอนคืนกลับไปเวียงจันทน ครั้งนี้ก็กวาดตอน มายังกรุงเทพฯ แตไมทราบวาสงไปตั้งบานเรือนอยูที่ใด พ.ศ.๒๓๗๑ เจาอนุวงศที่หนีไปอยูวียดนามกลับมายังเวียงจันทนและยึดเมืองเวียงจันทนคืน ครั้งนี้เจาพระยาราชสุภาวดี (ตอมา คือเจาพระยาบดินทรเดชา) รับพระราชประสงคจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เผาทำลายเมืองเวียงจันทนเสียจนยอยยับเพื่อ มิใหตั้งตัวไดอีก และกวาดตอนครัวเวียงจันทนที่เหลือมายังกรุงเทพฯ อีกครั้ง พ.ศ.๒๓๗๒ เมืองหลวงพระบางสงครัวลาวจากเมืองสามมิ่น เมืองเพวิง เมืองเลย เมืองแกนทาวมายังเมืองพิษณุโลกกอน แลวให ไปตั้งหลักแหลงอยูกับพวกเดียวกัน ในปเดียวกันนั้น จากนั้นก็ไดสงครัวลาวหลวงพระบางไปอยูยังเมืองพรม ๖๐๐ กวาคน และ แบงไปยังบานอรัญญิกและกรุงเทพฯดวย ใน พ.ศ.๒๓๗๓ โปรดเกลาฯใหไปชำระครัวลาวที่เมืองหลวงพระบางกวาดตอนมาจากเมืองเลย เมืองลม เมืองแกนทาว เมืองปาก ลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูครัง มาไวที่เมืองพิชัย ซึ่งมีการสงมาถึง ๗ ครั้ง รวมประมาณ หมื่นหกพันคนเศษ โปรด เกลาฯ ใหไปอยูกับพวกที่เคยอยูมากอน ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๖–พ.ศ.๒๓๗๘ เกิดศึกกับเวียดนามเนื่องจากเมืองชนแดนคือ หัวพัน และเมืองพวน เมื่อกองทัพไดชัยชนะ จึง กวดตอนลาวพวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ ตอมาใน พ.ศ.๒๓๘๐ ก็ไดรวบรวมครัวลาวเวียงจันทน ทาสาร เวียงครัง พัน พราว หวยหลวง และลาวเกาที่เคยอยูบาน อรัญญิก และเมือง สระบุรี ราว ๑,๗๐๐ คน เปนลาวพวนราว ๖๐๐ เศษ ครัวลาวเวียง สงมาทางเมืองประจิมหรือปราจีนบุรี สวนครัวลาวเวียงครัง ลาวพันพราวสงมาทางเมืองสระบุรี ครัวลาวพวนสงไปยังฉะเชิงเทรา และกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๘๒ ครัวลาวทรงดำก็ยายลงมาอีก และ พ.ศ.๒๓๘๗ ลาวเวียงจันทนและลาวเมืองวังก็ยายลงมาเปนครั้ง สุดทายในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เจาอยูหัว ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ โปรดเกลาฯ ใหลาวจากเวียงจันทนไปไวที่เมือง พนมสารคาม การปราบฮอในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เริ่มตั้งแต พ.ศ.๒๔๒๓ พวกโจรจีนฮอเขามาปลนจนถึง เวียงจันทน ใชเวลาปราบฮออยูจนถึง พ.ศ.๒๔๓๐ ปนั้นไดนำลาวทรงดำมายังเมืองไทยเปนรุนสุดทาย แลวจึงสงไปอยูยังเมือง เพชรบุรี เชนเคย

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

16


ตารางแสดงลำดับของการโยกยายถิ่นฐานของผูที่ถูกเรียกวาลาว” ในสมัยกรุงธนบุรีและตนรัตนโกสินทร เวลา เหตุการณ กอน พ.ศ. ลาวจากเวียงจันทนและเมืองใกลเคียงสมัครใจ ๒๓๒๒ อพยพ

กลุม ลาวเวียง

หลัง พ.ศ. ทัพกรุงธนบุรียึดเวียงจันทนแลวกวาดตอนครัว ๒๓๒๒ เวียงจันทนหลายหมื่นมาอยูใกลกับพระนคร

ลาวเวียง

พ.ศ.๒๓๒๕ เจานครเวียงจันทนกวาดตอนชาวพวนเขามาถวาย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ

ลาวพวน

พ.ศ.๒๓๓๕ ก็กวาดตอนชาวพวนและไทดำรวมกันราว ๔,๐๐๐ เศษมาถวาย

ตั้งถิ่นฐาน สระบุรี

จากเอกสาร จดหมายเหตุความทรงจำกรม หลวงนรินทรเทวีและพระราช วิจารณรัชกาลที่ ๕

สระบุรี ราชบุรี พระราชพงศาวดารกรุง หัวเมืองตะวันตก รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับ จันทบุรี,บางยี่ขัน เจาพระยาทิพากรวงศ (เจานาย) จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๑

ลาวพวน, ลาว พวนอยูที่กรุงเทพฯ พระราชพงศาวดารกรุง ทรงดำ(ไทดำ) แถบเฉลิมกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ

พ.ศ.๒๓๔๗ สงครามระหวางหัวเมืองลานนาและพมาที่ยึดเอา ลาวพุงดำ เมืองเชียงแสนไว เมื่อตีเมืองเชียงแสนได ก็แบงผูคน ออกเปน ๕ สวน สงไป เวียงจันทน นาน เชียงใหม ลำปาง และกรุงเทพฯ

สระบุรีและราชบุรี พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ

พ.ศ.๒๓๕๒ รัชกาลที่ ๒ ครัวลาวจากเมืองนครพนมสวนหนึ่งที่มี และพ.ศ. ปญหาภายใน โปรดเกลาฯ ใหไปตั้งบานเรือนอยูที่ ๒๓๗๑ คลองมหาหงษ เมืองสมุทรปราการ ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ก็ขอพระราชทานไป อยูที่เมืองพระรถตั้งเปนเมืองชื่อ พนัสนิคม

ลาวอาสา ปากน้ำ

พนัสนิคม

จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๒

พ.ศ. เจาเมืองเวียงจันทนสงสวยและครัวลาวจากเมืองภู ๒๓๕๘และ ครังพรอมกับลาวเมืองพุกราง โปรดเกลาฯใหไปตั้ง พ.ศ.๒๓๖๐ ชุมชนอยูที่เมืองนครชัยศรี ตอมาลาวเมืองภูครังถูก กวาดตอนอีกหลายครั้ง

ลาวภูครัง

นครชัยศรี

จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๒

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

17


เวลา เหตุการณ พ.ศ.๒๓๖๙ ศึกอนุวงศมีการกวาดตอนชาวลาวจากหัวเมือง เวียงจันทนและใกลเคียงสงลงมาหลายครั้งและมี ปะปนจากครัวลาวเมืองสระบุรี นครราชสีมา และ หลมศักดิ์ ที่ถูกกองทัพเจาอนุวงศกวาดตอนคืนกลับ ไปเวียงจันทน ครั้งนี้ก็กวาดตอนมายังกรุงเทพฯ แต ไมทราบวาสงไปตั้งบานเรือนอยูที่ใด

กลุม ลาวเวียง

ตั้งถิ่นฐาน

จากเอกสาร พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ และ จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓

พ.ศ.๒๓๗๑ เจาอนุวงศที่หนีไปอยูวียดนามกลับมายังเวียงจันทน และยึดเมืองเวียงจันทนคืน ครั้งนี้เจาพระยาราชสุภา วดีรับพระราชประสงคจากพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาฯ เผาทำลายเมืองเวียงจันทนเพื่อมิใหตั้งตัวได อีก และกวาดตอนครัวเวียงจันทนที่เหลือมายัง กรุงเทพฯ

ลาวเวียง

พระราชพงศาวดารกรุง รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศ และ จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓

พ.ศ.๒๓๗๒ เมืองหลวงพระบาง สงครัวลาวจากเมืองสามมิ่น เมืองเพวิง เมืองเลย เมืองแกนทาวมายังเมือง พิษณุโลกกอน แลวใหไปตั้งหลักแหลงอยูกับพวก เดียวกัน ในปเดียวกันนั้น จากนั้นก็ไดสงครัวลาว หลวงพระบางไปอยูยังเมืองพรม ๖๐๐ กวาคน และ แบงไปยังบานอรัญญิกและกรุงเทพฯดวย

ลาว(แงว?)

จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓

พ.ศ.๒๓๗๓ โปรดเกลาฯใหไปชำระครัวลาวที่เมืองหลวงพระบาง ลาวเวียง กวาดตอนมาจากเมืองเลย เมืองลม เมืองแกนทาว ลาวภูครังหรือ เมืองปากลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูค ลาวครัง่ ลาว รัง มาไวที่เมืองพิชัย ซึ่งมีการสงมาถึง ๗ ครั้ง รวม แงว? ประมาณ หมื่นหกพันคนเศษ โปรดเกลาฯ ใหไปอยู กับพวกที่เคยอยูมากอน

จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓

ระหวาง พ.ศ. ทำศึกกับเวียดนาม เมื่อไดชัยชนะ จึงกวาดตอนลาว ลาวพวนและ ๒๓๗๖– พวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ ลาวทรงดำ ๒๓๗๘

ประชุมพงศาวดารเลม ๔๑

พ.ศ.๒๓๗๙ หัวเมืองลาวขึ้นตอไทย อุปราชเมืองหลวงพระบางยก ลาวทรงดำ และ พ.ศ. ทัพไปตีเมืองของไทดำ แลวกวาดตอนไทดำสงมาที่ ๒๓๘๑ กรุงเทพฯ

พงศาวดารเมืองหลวงพระบาง

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

18


เวลา เหตุการณ กลุม ตั้งถิ่นฐาน จากเอกสาร พ.ศ.๒๓๘๐ ไดรวบรวมครัวลาวเวียงจันทน ทาสาร เวียง ลาวเวียง ลาวเวียง, ลาวครั่ง จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ ครัง พันพราว หวยหลวง และลาวเกาที่เคยอยูบานอ ลาวภูครังหรือ อยูที่อรัญญิกและ รัญญิกและเมืองสระบุรี ครัวลาวเวียงสงมาทางเมือง ลาวครั่ง สระบุรี ประจิมหรือปราจีนบุรี สวนครัวลาวเวียงครัง ลาวพัน ลาวพวน ลาวพวนที่ พราวสงมาทางเมืองสระบุรี ครัวลาวพวนสงไปยัง ฉะเชิงเทราและ ฉะเชิงเทราและกรุงเทพฯ กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๘๒ ครัวลาวทรงดำก็ยายลงมาอีก

ลาวทรงดำ

จดหมายเหตุเกี่ยวกับเขมรและ ญวน

พ.ศ.๒๓๘๗ ลาวเวียงจันทนและลาวเมืองวังยายลงมาเปนครั้ง สุดทายในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เจา อยูหัว

ลาวเวียง

จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓

พ.ศ.๒๔๐๔ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ โปรดเกลาฯ ใหลาวจากเวียงจันทนไปไวที่เมือง

ลาวเวียง

พนมสารคาม จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔

พ.ศ.๒๔๓๐ การปราบฮอในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดนำลาวทรงดำมายังเมือง ไทยเปนรุนสุดทาย

ลาวทรงดำ

เพชรบุรี

ประวัติเจาพระยาสุรศักดิ์ มนตรี

ในประวัติศาสตรลาว ของมหาสิลา วีรวงศ กลาววาทางกรุงเทพฯ เรียกลาวที่มีถิ่นฐานบริเวณนี้วา ลาวใน และเรียกชาวลาวที่อยู ในเขตหัวเมืองลาววา ลาวนอก ถิ่นฐานของลาวใน ที่ตั้งชุมชนอยูในบริเวณภาคกลางหรือหัวเมืองชั้นในในอดีต ประชากรจำนวนมากในภาคกลางมีเชื้อสายของ กลุมชาติพันธุลาว และมีอยูทั่วไป กระจัดกระจายปนเปไปกับชุมชนชาติพันธุอื่นๆ การตั้งถิ่นฐานระยะแรกๆ คงอยูในพื้นที่เดิม มี มูลนายลาวเปนหัวหนาปกครองเปนนายกองขึ้นตอขุนนางไทย เก็บภาษีอากร และเปนแรงงานสำคัญในการสรางและปฏิสังขรณ วัดหลวง สรางสาธารณูปโภคและราชการทัพศึกตางๆ กิจการที่ตองเกณฑสวยหรือแรงงานเปนกรณีพิเศษเนื่องในพระราชพิธีและ การคาสำเภาหลวง เชน ซอมสรางพระราชวัง พระราชพิธีพระบรมศพ ตัดฟน ตัดซุง สวยเรว ดังนั้น ลาวที่ถูกกวาดตอนมาจึง เปนกลุมประชากรสำคัญ ถูกควบคุมและโยกยายถิ่นฐานไดยากมาก ทั้งนี้ รวมไปถึงการเก็บสวยจาก ลาวนอก เปนรายไดแกรัฐ ในระยะนั้นเปนจำนวนมากดวย23 23

สุวิทย ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตรลาว สำนักพิมพสรางสรรค จำกัด, ๒๕๔๓. ดูไดจาก บทที่ ๔ “การเก็บสวยของไทยจากลาว” หนา ๗๑–๙๕. ซึ่งลงความเห็นวาในสมัยที่ไทยปกครองลาวเปนชวงของการขูดรีดเก็บสวยจากคนลาวทั้งฝงซายและฝงขวาของแมน้ำ โขง โดยแบงกันระหวางวังหลวงและวังหนารวมทั้งขาราชการผูใหญและกรมการเมืองลาว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

19


เมืองเชนสระบุรีและพนัสนิคมแทบจะมีประชากรเปนลาวกลุมตางๆ ทั้งหมด ในระยะแรกทั้งสองเมืองนี้จึงมีเจาเมืองเปนลาว แลว มีกองลาวแบงออกเปนกองๆ ขึ้นอยูกับนายกองซึ่งเปนชาวลาว แตละกองประกอบดวยหมูบานหลายหมูบาน ชาวลาวตางอยูใน ระบบไพร เรียกวา ไพรลาวหรือเลกลาว และเปนไพรหลวงทั้งสิ้น หลังจากการยกเลิกระบบไพรในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว อันเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการโดยเฉพาะ การคุกคามหากำลังคนในบังคับจากฝรั่งเศส ทั้งเปนการเฉลี่ยในการเสียเงินคาราชการแกรัฐอยางเสมอภาคกันทั่วไป ทำใหไมมี ความจำเปนเรื่องการเกณฑแรงงานและเขาเดือนรับราชการแกมูลนายดังที่เคยเปนมา ทั้งจำนวนผูคนในกลุมลาวมากขึ้นกวาเดิม และระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนเปนการผลิตเพื่อสงออก โดยเฉพาะสินคาขาว ทำใหคนในชุมชนเดิมไมมีที่ทำกิน หรือไมก็ตองการ โยกยายเพราะเห็นวาพื้นที่ไมอุดมสมบูรณ จึงมีการอพยพจากถิ่นเดิมไปแสวงหาที่ทำกินใหม ทำใหชุมชนลาวกระจายตัวออกไป อยูตามทองถิ่นตางๆ มากมาย ผสมผสานกับผูคนอพยพอีกหลายกลุม เชน จีน ลาวกลุมอื่นๆ คนไทยจากชุมชนเดิมๆ รวมกันตั้ง ขึ้นเปนหมูบานใหมๆ ในพื้นที่บุกเบิกหางไกล ลักษณะของการตั้งถิ่นฐานและการกระจายตัวของกลุมชาติพันธุในทองถิ่นที่เห็นไดชัดคือที่อำเภอบานหมี่ ซึ่งไดชื่อวาเปนอำเภอที่ กลุมชาติพันธุลาวเกือบทั้งอำเภอและมีอยูหลากหลายกลุม การสำรวจกลุมคนในอำเภอบานหมี่โดยคนในทองถิ่นเองแบงออกเปน ๔ กลุม คือ พวน รอยละ ๖๕ ลาวเวียง หรือ ลาวแงว รอยละ ๒๐ ไทย รอยละ ๑๐ จีน รอยละ ๕ กลุมลาวเวียงจันทรหรือลาวเวียงหรือแงวเขามาตั้งถิ่นฐานในเวลาใกลเคียงกับชุมชนพวนหรืออาจจะอพยพเขามาพรอมกัน และ เปนที่สังเกตุในการตั้งถิ่นฐานบานเรือนของกลุมคนไทยพวนและกลุมคนลาวเวียงหรือลาวแงวจะไมปะปนกัน แตจะแยกกันอยาง เดนชัด มีความนิยมนำเอาชื่อหมูบานเดิมที่เคยตั้งถิ่นฐานอยูที่เมืองพวนมาเปนชื่อบานใหม เชน บานกลวย บานทราย บานเชียงงา บาน โพนทอง บานเซา ซึ่งเพี้ยนมาจาก บานซาว บานหมี่ เปนตน ตอมาการอพยพขยับขยายพื้นที่เริ่มมีอยางตอเนื่อง ดวยสาเหตุหาที่ทำกินและทำเลที่ตั้งถิ่นฐานบานเรือนใหมหรือการติดตามหา ญาติพี่นอง เมื่อเขามาตั้งถิ่นฐานอยูใกลกับชุมชนที่ตั้งอยูกอนแลวก็มักจะใชชื่อชุมชนที่ตั้งอยูกอนและจะนิยมเอาชื่อทิศมาตอทาย หรืออาจจะใชคำวานอยมาตอทายเนื่องจากชุมชนเดิมมีขนาดใหญกวา หรืออาจจะไปตั้งหมูบานใหมที่กลางทองทุงหางจาก หมูบานเดิมก็จะใชคำวาทุง ตอทาย เชน บานหินปกเหนือ บานหินปกทุง บานวังวัดใต บานวังวัดเหนือ บานสำโรงใหญ บานสำโรง นอย บานหมี่ใหญ บานหมี่ทุง 24 ตอมาก็กระจายตัวไปหาที่ทำกินแหงใหมที่อยูไกลออกไปอีกเมื่อราวหลัง พ.ศ.๒๕๐๐ เปนตนมา ดวยเหตุผลการสงเสริมการทำไรและเพาะปลูกในพื้นที่หางไกลซึ่งเปนที่ดอนซึ่งไมเคยมีการบุกเบิกมากอน เชน คนในบานหมี่ไป

24

http://www.mis.moe.go.th/ambnmae/prawutbanmi2.htm

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

20


อยูแถบอำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ เพื่อจับจองพื้นที่ทำไร และอีกจำนวนหนึ่งไปอยูที่อำเภออำเภอ ชัยบาดาล เพราะตองการแสวงหาที่ทำกินใหมถิ่นที่อยูเดิมแออัด เปนตน ชาวลาวที่เคยอยูอาศัยในชุมชนเดิมเมื่อแรกถูกกวาดตอนเขามา จึงกระจายตัวออกไปอยางชาๆ กลายเปนหมูบานเกิดใหมขึ้นอีก มาก และในหลายๆ หมูบานนั้นก็เปนการผสมผสานกันระหวางกลุมชาติพันธุกลุมอื่นๆ ดวย จากจดหมายเหตุ พระราชพงศาวดาร และการสืบคนในปจจุบันของผูสนใจเกี่ยวกับเรื่องกลุมชาติพันธุลาว สามารถประมวลทอง ถิ่นที่ปรากฏ ลาวใน”หรือ กลุมลาวถูกกวาดตอน”มาตั้งถิ่นฐานตามหัวเมืองรอบๆ พระนคร เนื่องจากสงครามในสมัยกรุงธนบุรีตนกรุงรัตนโกสินทร ไดดังนี้ ๑. ลาวเวียง และลาวจากเมืองตางๆ ใกลเวียงจันทน เหตุการณครั้งที่อพยพลาวเวียงมาเปนจำนวนมากที่สุดเกิดขึ้นสมัยสงคราม เจาอนุวงศเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๙ และ พ.ศ.๒๓๗๑ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ซึ่งในที่สุดมีพระราชประสงคใหเผาเมือง เวียงจันทนเสียใหสิ้น และทำใหลาวกลายเปนประเทศราชตอมาจนกระทั่งฝรั่งเศสเขามามีอำนาจเปนเจาอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ แตกอนหนานั้น ในแผนดินสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ก็มีการไปตีเวียงจันทน และอพยพผูคนมาไวที่สระบุรี รวมทั้งเจานายก็เอา มาเปนตัวประกันที่กรุงเทพฯ แถบสวนบางยี่ขัน ถิ่นฐานเดิมของลาวเวียงอยูที่ สระบุรี ราชบุรี หัวเมืองตะวันตก และจันทบุรี และ ลาวเวียงรุนตอๆ มา ก็มักจะใหไปรวมอยูกับพวกพองเดียวกันในบริเวณที่กลาวมาแลว และพบวาในบริเวณจังหวัดสิงหบุรี ลพบุรี ก็มีอยูมาก ปจจุบันพบวามีกลุมลาวเวียงตั้งบานเรือนอยูหลายแหง เชน บานอรัญญิกในจังหวัดอยุธยา ในอำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี ตำบลทัพหลวง อำเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี อำเภอพนมทวน, อำเภอบอพลอย และอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี อำเภอ พนมสารคาม, อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนตน ยังไมมีการสำรวจอยางแนนอนวาผูคนเชื้อสายลาวเวียงตั้งบาน เรือนอยูในที่ใดอยางละเอียดเชนเดียวกับการศึกษาของกลุมพวน ๒. ลาวครั่ง หรือลาวภูครัง หรือลาวภูคัง ในเอกสารกลาววาเปนเมืองอยูทางฝงซายของแมน้ำโขง ปจจุบันเปนที่ทราบกันแลววา ภู ครัง เปนชื่อภูเขาอยูในเขตอำเภอภูเรือในปจจุบัน เชิงเขานี้มีบานหนองบัวตั้งอยูและเปนที่ตั้งของเมืองภูครังแตเดิม และเปนเมือง มีเจาเมืองปกครองอยูจนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ ๕ จึงไดยายเมืองไปตั้งเมืองดานซายริมน้ำหมันใกลกับพระธาตุศรีสองรักษรวมทั้ง เจาเมืองภูครังก็ยกใหเปนเจาเมืองดานซายดวย ในบริเวณนี้มีที่ราบแคบๆ ที่สามารถเดินทางติดตอกับเมืองแกนทาว เมืองเลยซึ่ง เมื่อเลียบริมน้ำโขงก็ตอไปถึงเวียงจันทน และยังเปนทางขึ้นไปเมืองหลวงพระบางอีกทางหนึ่งนอกจากที่น้ำปาด ดังนั้นเมื่อมีการ อพยพผูคนจากหัวเมืองลาว จากเมืองหลวงพระบาง เมืองเลย เมืองแกนทาว เมืองพันพราว (ในจังหวัดหนองคาย) ก็จะใชเสนทาง นี้พักอยูที่เมืองพิษณุโลกไมก็เมืองพิชัย กอนจะเดินทางเขาสูหัวเมืองชั้นใน สวนกลุมพวน หรือกลุมลาวเวียง ก็จะเขามาตามเสน ทางเมืองทาบอซึ่งตรงขามกับฝงเวียงจันทน ผานบานผือไปยังหนองบัวลำพู ผานดงพญาเย็น แลวเขามาพักที่สระบุรี ลาวภูครังที่ถูกกวาดตอนในรัชกาลที่ ๒ ใหไปอยูที่เมืองนครชัยศรีหรือในจังหวัดนครปฐม สวนลาวที่เมืองหลวงพระบาง กวาดตอนมาอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๓ เนื่องจากศึกเจาอนุวงศ ก็ใหไปพักที่เมืองพิษณุโลกและพิชัย กอนจะสงไปอยู ณ ที่พวก จากเมืองของตนเคยอยู ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

21


ในปจจุบันพบวามีชาวลาวครั่งหรือลาวภูครังอยูที่ อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย, อำเภอพรหมพิราม อำเภอวังทอง จังหวัด พิษณุโลก, ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง บานโคงวิไล อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค, อำเภอคลองขลุง จังหวัด กำแพงเพชร, อำเภอบานไร อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี, อำเภอหันคา อำเภอวัดสิงห จังหวัดชัยนาท, อำเภอสระกระโจม อำเภอจรเขสามพัน อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี และอำเภอดอนตูม อำเภอกำแพงแสน อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ๓. ลาวจากหัวเมืองแถบหลวงพระบาง เนื่องมาจากสงครามศึกเจาอนุวงศ ตั้งแต พ.ศ.๒๓๗๑–พ.ศ.๒๓๗๓ นอกจากจะเผาเมือง เวียงจันทนเสียจนสิ้นแลว ยังไดกวาดตอนผูคนระลอกใหญอยางตอเนื่องตอมาอีก ๒-๓ ป กลุมคนที่เดินทางมาจากหัวเมืองที่ ลาวทางฝายเมืองหลวงพระบางรับผิดชอบชำระสงมานั้น เดินทางมาพักอยูที่พิษณุโลกและพิชัยตามเอกสาร ไดแก เมืองสามมิ่น เมืองเพวิง เมืองเลย เมืองแกนทาว ครัวลาวหลวงพระบาง เมืองลม เมืองปากลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูครัง และ ตอมาใหไปอยูเมืองพรหมและที่อื่นๆ เสนทางเดินทางนั้น ก็นาจะมาทางทั้งทางเมืองปากลายอุตรดิตถเขาสูเมืองพิษณุโลกและ เมืองพิชัย อีกทางหนึ่งคือเมืองแกนทาวขามน้ำเหืองมาทางเมืองภูครังและเมืองดานซาย ลงสูที่ราบเมืองหลมเกาหลมสักและ เพชรบูรณ ซึ่งสามารถเดินทางไปยังเมืองพิษณุโลกหรือลงสูเมืองสระบุรีไดสะดวกทั้งสองทาง การกวาดตอนครั้งนี้มีทั้งครัวลาวเวียงและลาวจากเมืองอื่นโดยเฉพาะหัวเมืองที่ขึ้นตอเมืองหลวงพระบางทั้งฝงซายและฝงขวา ของแมน้ำโขงรวมเดินทางมาในคราวเดียวกัน แตในเอกสารตางๆ ไมมีบันทึกใดๆ กลาวถึงชื่อ ลาวแงว”ในกลุมลาวที่ถูก กวาดตอนมาดวยเลย ในเอกสารสวนใหญมักจะเรียกรวมๆ กันวา “ลาวเวียง” ดังนั้น จึงเห็นไดชัด สำหรับทางราชการการเรียก ชื่อลาวแงวไมไดเปนที่รูจักแตคงเปนการรูกันภายในเฉพาะกลุมเทานั้น การกวาดตอนครั้งนี้นาจะมีทั้งลาวเวียง ลาวครั่ง และ “ลาวแงว” ดวย เหตุที่สันนิษฐานวา ลาวแงวนาจะเปนกลุมลาวกลุมใหญ กลุมหนึ่งที่ถูกกวาดตอนกันมาในครั้งนี้ก็เพราะ การสำรวจในปจจุบันพบวา มีกลุมผูเรียกตนเองวาลาวแงวตั้งเปนชุมชนจำนวน มากกระจัดกระจายตั้งแตเขตสระบุรี ลพบุรี สิงหบุรี และนครสวรรค ปะปนกับกลุมพวนและลาวเวียงซึ่งคนในทองถิ่นก็จะทราบ กันเองวาลาวแงวเปนกลุมที่แตกตางไปจากลาวกลุมอื่นๆ ที่กลาวมา อีกทั้งการศึกษาทางภาษาศาสตรพบวา แมภาษาลาวทั้งหมด จะอยูในตระกูลภาษาเดียวกัน คือ ภาษาไท-กะได แตเมื่อแยกเสียงวรรณยุกตแลว ภาษาลาวแงวมีเสียงวรรณยุกตใกลเคียงกับ ภาษาลาวกลุมหลวงพระบางและยังใกลเคียงกับการแยกเสียงวรรณยุกตในภาษาลาวครั่งที่นครชัยศรีดวย25 สัมพันธกับเรื่องเลาที่ตกทอดสูลูกหลานในกลุมลาวแงวหลายๆ คน กลาววา ไดอพยพมาจากเมืองหลวงพระบางบาง เมืองที่อยู ใกลๆ กับหลวงพระบางบาง (แตในขณะที่บางคนก็บอกเลาวามาจากเวียงจันทนในครั้งศึกเจาอนุวงศ เห็นไดวามีการรวมกลุมมา ดวยกันทั้งกลุมลาวเวียง ลาวเมืองอื่นๆ แตภายหลังคงมีการแยกหมูบานตามกลุมของตน ความทรงจำจึงคอนขางสับสนวาตน เปนลาวกลุมใด และถูกกวาดตอนมาแตครั้งใด) ดังนั้น ลาวแงวจึงนาจะเปนกลุมลาวที่อพยพมาจากหัวเมืองแถบรอบๆ เมือง หลวงพระบางในครั้งศึกเจาอนุวงศมากกวาจะเปนกลุมลาวเวียงหรือบานเมืองที่อยูใกลเคียงเมืองเวียงจันทน ในปจจุบัน กลุมลาวแงวที่สำรวจพบ อยูในเขต อำเภอเมือง อำเภอบานหมี่ และอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรีมากที่สุด นอกนั้น ก็เปนกลุมที่อยูดั้งเดิมคือในตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ซึ่งมีชาวลาวแงวอยูเกือบทั้งตำบลแลว ในเขตวัดมวง 25

นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๗, หนา ๒๒๒. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

22


วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร อำเภออินทรบุรีมีคนเชื้อสายลาวแงวอาศัยอยูมาก นอกจากนี้ยังมีที่วัดทาอิฐ วัดเกาะแกว วัดตุมหู บาง โฉมศรี ตำบลบุงชีน้ำราย อำเภออินทรบุรี และแถบตำบลบานสิงห วัดสาธุ ตำบลโพงพางเสือ อำเภอบางระจันก็มีลาวแงวอาศัยอยู สวนในเขตอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค และอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เปนกลุมลาวแงวที่ขยับขยายหาพื้นที่ทำกินแหง ใหม แยกออกจากชุมชนเดิมและอยูรวมกลุมกับคนที่อพยพมาเชนเดียวกันจนกลายเปนหมูบานเกิดใหมอีกหลายแหง ๔. ลาวพวน หรือ พวน หมายถึงกลุมชาวผูไทจากเมืองพวนและบานเมืองในเขตที่ราบเชียงขวาง จากเอกสารเรื่องกลุมชาติพันธุ ปรากฏวา มีการประเมินขอมูลจำนวนคนพวนที่อยูในที่ราบเชียงขวางมีมากพอๆ กับคนเชื้อสายพวนที่อยูในประเทศไทย คือ เกือบหนึ่งแสนคน ซึ่งขอมูลนี้อาจไมถูกตองก็ได แตอนุมานใหเห็นวามีการประเมินจำนวนคนพวนจากเชียงขวางใกลชายแดน เวียดนามในสมัยที่ถูกกวาดตอนมานั้น โยกยายกันมานาจะเปนจำนวนครึ่งหนึ่งของประชากรทีเดียว พวนนาจะเปนคนกลุมใหญที่สุดที่ถูกอพยพเขามาสูหัวเมืองชั้นใน เนื่องพวนเปนกลุมไทดำกลุมหนึ่ง และมีวัฒนธรรมใกลชิดกับ ชาวผูไทในเขตเมืองแถง และถือตัววาเปนคนพวนไมใชคนลาว รวมทั้งคนลาวก็เรียกวาพวนโดยไมนับเปนลาวดวย ดังนั้น ภาษา พูดจึงมีความใกลชิดกับลาวโซงหรือไทดำ พวนถูกกวาดตอนเขามาตั้งแตในสมัยรัชกาลที่ ๑ และเขามามากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ ๓ ครั้งศึกรบกับเวียดนามและศึกเจา อนุวงศ ครัวพวนถูกอพยพมาสมทบกับพวกพองทั้งที่เมืองฉะเชิงเทรา ลพบุรี สระบุรี ปราจีนบุรี ซึ่งในปจจุบัน กลุมผูมีเชื้อสาย พวนตั้งถิ่นฐานอยูในจังหวัดตางๆ หลายแหงทั้งในภาคกลาง อีสาน และภาคเหนือตอนลาง ความแตกตางไปจากกลุมลาวอื่นๆ ที่ อยูในทองถิ่นเดียวกัน ทำใหพวนมีเอกลักษณพิเศษทั้งภาษาพูด ขนบประเพณี พิธีกรรม และลักษณะพฤติกรรม ดวยเหตุที่เปนก ลุมใหญและมีเอกลักษณนี้เองทำใหมีการรวมตัวเกิดสมาคมไทพวน จัดกิจกรรมตางๆ สำหรับคนเชื้อสายพวนในปจจุบัน ซึ่งเปน ลักษณะพิเศษที่ลาวในกลุมอื่นๆ ไมสามารถรวมตัวกันเชนนี้ได ๕. ลาวโซง หรือ ไทดำ หรือ ผูไท เปนกลุมที่อยูในเขตเมืองแถงหรือเดียนเบียนฟูในเวียดนาม ใกลชิดกับกลุมบานเมืองที่อยูใน พื้นที่ซึ่งเรียกวาสิบสองจุไทหรือสิบสองเจาไท (ไทดำ ๘ เมือง, ไทขาว ๔ เมือง) บริเวณนี้มีทั้งกลุมไทดำและไทขาวโดยสังเกตจาก เครื่องแตงกายและภาษาพูด เปน “เมืองสามฝายฟา” เพราะขึ้นกับทั้งหลวงพระบาง-เวียงจันทน จีน และเวียดนามในชวงเวลา ตางๆ ดังนั้น ลักษณะทางวัฒนธรรมจึงมีทั้งวัฒนธรรมแบบไต-ลาว จีน และเวียดนามดวย ไทดำเขามายังหัวเมืองชั้นในหลายครั้งตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑ ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๖–๒๓๗๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ทำศึก กับเวียดนามเมื่อชนะจึงกวาดตอนลาวพวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๗๙, พ.ศ.๒๓๘๑ และ พ.ศ.๒๔๘๒ อุปราช เมืองหลวงพระบางยกทัพไปตีเมืองไทดำแลวกวาดตอนสงมาบรรณาการอีก จนครั้งสุดทายเมื่อสมัยปราบฮอในรัชกาลที่ ๕ ถิ่นฐานดั้งเดิมของไทดำในหัวเมืองชั้นใน คือ ที่เมืองเพชรบุรีหลังจากนั้นจึงแยกออกไปอยู ณ ที่อื่นๆ เชน อำเภอทายาง อำเภอ บานลาด จังหวัดเพชรบุรี อำเภอบางแพ อำเภอปากทอ อำเภอดำเนินสะดวก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร อำเภอกำแพงแสน อำเภอเมือง อำเภอดอนตูม อำเภอสามพราน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม อำเภอ สองพี่นอง อำเภอบางปลามา อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอดานมะขามเตี้ย อำเภอพนมทวน อำเภอบอพลอย จังหวัด กาญจนบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

23


ลาวโซงหรือลาวทรงดำในแถบเมืองเพชรบุรีในปจจุบัน ยังคงรักษาความเอกลักษณทางชาติพันธุไวอยางเหนียวแนนกวากลุมอื่นๆ เพราะมีทั้งพิธีกรรม เชน การเสนเรือนหรือการเลี้ยงผีบรรพบุรุษ การเสนเมืองหรือการเลี้ยงผีเมือง พิธีกรรมงานศพ การแตงกาย บานเรือน ภาษาพูด บงบอกถึงเอกลักษณตนเองอยางเหนียวแนน ๖. ลาวยวน หรือ ไตยวน หรือ ลาวพุงดำ สงครามระหวางหัวเมืองลานนาและพมาที่ยึดเอาเมืองเชียงแสนไว ในสมัยรัชกาลที่ ๑ เมื่อ พ.ศ.๒๓๔๗ ทัพของกรุงเทพฯ และเชียงใหมตีเมืองเชียงแสนไดก็แบงผูคนออกเปน ๕ สวน สงไปยัง เวียงจันทน นาน เชียงใหม ลำปาง และกรุงเทพฯ ซึ่งโปรดเกลาฯ ใหไปตั้งถิ่นฐานที่สระบุรีคือเสาไหและราชบุรีที่คูบัว ในระยะหลังๆ จึงขยับขยาย ถิ่นฐานไปยังที่อื่นๆ เชน แถบวัดรางบัว ในอำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ในทองถิ่นของชาวยวนทั้งสระบุรีและราชบุรี ยังคงรักษาวัฒนธรรมการทอผาซิ่นตีนจก ประเพณีงานบุญและวัดวาอารามแบบลาน นา รวมทั้งภาษาพูด และการแตงกายเฉพาะโอกาสไวไดอยางเดนชัด และสามารถอยูรวมกับชุมชนอื่นๆ ที่ไมใชชาวยวนไดอยาง กลมกลืน เนื่องจากความตองการประชากรหรือ “ไพร” เปนกำลังสำคัญของรัฐในยุคสมัยนั้น การกวาดตอนผูคนจากหัวเมืองชั้นนอกที่อยู หางไกลจึงเปนวิธีการสรางฐานกำลังของ “รัฐ” ที่สำคัญซึ่งที่ชัดเจนก็คือ การสรางฐานกำลังอำนาจของราชสำนักและขุนนางบาง กลุม เพราะไพรชาวเมืองตางๆ ที่ถูกกวาดตอนมาลวนถูกจัดเปน “ไพรหลวง” เกือบทั้งสิ้น ดังที่ไดกลาวไวเบื้องตน สำหรับราชสำนักความสนใจหรือความรูเกี่ยวกับลักษณะทางวัฒนธรรมของผูคนที่ถูกกวาดตอนมาเปน ไพรในหัวเมืองชั้นในหลายตอหลายกลุมมีอยูนอยมาก ดังเราจะเห็นวาผูคนและบานเมืองที่อยูทางเหนือหรือตอนบนถูกเหมารวม เรียกวา “ลาว”ประเภทของกลุมคนที่ถูกกวาดตอนเนื่องจากการสงครามเปนไปในลักษณะการดูถูกทางชาติพันธุอยางเห็นไดชัด เชน การเรียกชื่อ “ลาวพุงดำหรือลาวพุงขาว” เปนตน” ซึ่งความเปนจริงแลว กลุมที่เรียกตนเองวา “ลาว” นั้น มีเพียง ๒-๓ กลุม คือ “ลาวเวียง” “ลาวครั่ง” และ “ลาวแงว” หรือลาวในกลุมเมืองหลวงพระบางและใกลเคียง นอกเหนือจากนั้น ก็เรียกตนเองวา “พวน”(ลาวพวน), “ยวน”(ลาวพุงดำ) และ “ไทดำ”(ลาวทรงดำหรือลาวโซง) คำเรียกกลุมลาวซึ่งเปนกลุมที่เรียกตนเองวาลาว ก็ยังถูกเรียกใหตางไปจากคนรวมทองถิ่นโดยเฉพาะกลุมชาติพันธุอื่นเรียกชื่อที่ รูจักในทองถิ่นตางกันไปตามถิ่นที่อยูอาศัย เชน ในอำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค เรียกชื่อ “ลาวครั่ง” ตามถิ่นที่อยูซึ่ง เปนชื่อหมูบานหรือทองถิ่นวา “ลาวโนนปอแดง” และ “ลาวหนองเหมือด” หรือบางคนก็นำคำลงทายประโยคที่ชาวลาวครั่งมักจะ ใชกันคือคำวา “กะละ” มาเรียกเปนชื่อกลุมโดยจะเรียกวา “ลาวกะละ” บางก็เรียกกันเลนๆ วา “ลาวลอกอ” หรือกลุมลาวครั่งที่ไป อยูรักษาเมืองดานแถบสุพรรณบุรีก็เรียกวา “ลาวดาน” นอกจากนี้ยังปรากฏชื่อกลุมลาวที่ไมไดบันทึกไวในเอกสารทางการ หรือมีการศึกษาสืบคนประวัติอยางแนชัดในปจจุบันสำหรับ ลาวกลุมนี้ก็คือ ลาวใต ซึ่งกลาววาเปนลาวกลุมหนึ่งที่ถูกกวาดมาพรอมๆ กัน อยางไรก็ตาม ในงานศึกษานี้ยังไมทราบวาลาวใต เปนกลุมลาวกลุมใดและถูกกวาดตอนมาจากเมืองหรือทองถิ่นใดกันแน26

26

มีการกลาวถึงกลุมลาวใตหลายครั้ง แตก็ยังไมมีการจำแนกหรืออธิบายที่มาของลาวกลุมนี้อยางชัดเจน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

24


ในกลุม “ลาวแงว” ก็มีชื่อที่ถูกเรียกวา “ลาวกรอ”, “ลาวตะโก” แถบบานโคกกระดี่ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค “ลาวทอง เอน” แถบบานทองเอน ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี คนเชื้อสายลาวแงวมักชอบพูดลงทายประโยควา “ตี้” จึงมี บางคนเรียกวา “ลาวตี้” ดวย ดังนั้น คำเรียกชื่อกลุมลาวที่แสดงถึงกลุมดั้งเดิมซึ่งมักจะเปนชื่อของเมือง เชน ลาวพวน ลาวเวียง ลาวครั่ง ก็ลืมเลือนหรือหายไป จึงเกิดความสับสนอยูบอยๆ ในระหวางกลุมคนเชื้อสายลาวดวยกันหรือคนกลุมอื่นๆ ในทองถิ่นเดียวกัน วาตนเปนลาวมาจาก เมืองใดและอพยพมาตั้งแตเมื่อไหร หรือแมแตเปนลาวกลุมใดกันแน เพราะชื่อของลาวในทองถิ่นตางๆ ถูกเรียกชื่อไปตางๆ นานานั่นเอง

ความเปนมาของลาวแงวจากประวัติศาสตรบอกเลา นักภาษาศาสตรจัดใหภาษาลาวครั่งและภาษาลาวแงวอยูใน “ตระกูลภาษาไท-กะได”กลุมตะวันตกเฉียงใตหมายถึงสำเนียงภาษา แบบหลวงพระบาง โดยศึกษาดวยการแยกเสียงวรรณยุกตพบวา การแยกเสียงวรรณยุกตในภาษาลาวแงวมีความใกลเคียงกับ ภาษากลุมลาวหลวงพระบาง และยังใกลเคียงกับกลุมลาวครั่งที่อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ซึ่งเปนลาวเมืองภูครังที่ตั้งอยูทางฝง ซายของแมน้ำโขงในเขตดานซาย-ภูเรือ จึงสรุปวา ภาษาลาวแงวอยูในกลุมภาษาหลวงพระบาง27 และจากการสังเกตสำเนียงพูด พบวา ปจจุบันมีการพูดในสำเนียงนี้แถบบริเวณเมืองเลย เชียงคาน ดานซาย บางสวนของนครไทย จนถึงหลมเกา-หลมสักดวย จากขอสังเกตดังกลาว กลุมลาวแงวจึงนาจะถูกกวาดตอนมาเมื่อชวงสงครามเจาอนุวงศ ตั้งแต พ.ศ.๒๓๗๑ – พ.ศ.๒๓๗๓ ซึ่ง เปนการอพยพกลุมคนระลอกใหญหลายครั้ง จากเมืองเพวิง เมืองสามมิ่น เมืองเลย เมืองแกนทาว ครัวลาวหลวงพระบาง เมือง ลม เมืองปากลาย เมืองเวียงจันทน เมืองภูเวียง เมืองภูครัง ซึ่งลาวทางฝายเมืองหลวงพระบางรับผิดชอบชำระสงมา โดยใหมาพัก อยูที่พิษณุโลกและพิชัย ตอมาใหไปอยูเมืองพรหมบุรีในเขตสิงหบุรีและที่อื่นๆ ซึ่งคนเชื้อสายลาวแงวในจังหวัดสิงหบุรีก็เลาวา ครั้งแรกมาตั้งถิ่นฐานอยูที่บริเวณวัดสาธุการาม บานสิงห ตำบลโพงพางเสือ อำเภอบางระจัน ตอมาบางสวนก็อพยพแยกยายลง มาตามลำน้ำเจาพระยา ตั้งหลักแหลงอยูที่อำเภออินทรบุรี แถบวัดมวงและวัดโพธิ์ศรี แลวขยับขยายมาอยูที่ตำบลทองเอนใน ปจจุบันนี้ 28

27

เชนใน วิทยานิพนธของ นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี, ๒๕๒๗ และ วิทยานิพนธของ ศิวพร ฮาซันนารี. การศึกษาระบบเสียงในภาษาลาวหลวงพระบาง: ศึกษาเปรียบเทียบกับภาษา ลาวครั่ง ลุมน้ำทาจีน และภาษาลาวดานซาย, ๒๕๔๓. ที่ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องระบบเสียงของภาษาลาวแงวและลาวครั่งเปรียบ เทียบกับเสียงในภาษาหลวงพระบาง 28

http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html วิชาทองถิ่นศึกษาของบานไผดำ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัด สิงหบุรี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

25


จากการที่เอกสารตางๆ ไมมีบันทึกที่กลาวถึงชื่อลาวแงว”ในกลุมที่ถูกกวาดตอนเลย จึงไมอาจสันนิษฐานไดวา กลุมลาวแงว นา จะเปนลาวมาจากเมืองใด เพียงแตทราบวาอยูในเขตวัฒนธรรมที่มีสำเนียงการพูดแบบเดียวกับทางหลวงพระบาง แตกตางไป จากกลุมลาวพวนหรือพวนอยางเห็นไดชัดแตก็ไมแตกตางอยางสิ้นเชิงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุมลาวเวียง29 ความหมายที่ถูกตอง ของคำวา “แงว” หมายถึงอะไร นอกจากจะเรียกตนเองและถูกเรียกวา “ลาวแงว” แลว ยังมีชื่อที่ผูคนเชื้อสายลาวแงวถูกเรียกจากคนกลุมอื่นอีกวา ลาวตี้ เพราะ มักชอบพูดลงทายประโยควา ตี้, ลาวกรอ, ลาวตะโก และ ลาวทองเอน เนื่องจากอยูในแถบบานทองเอน ในอำเภออินทรบุรี ที่ กลาวมาเปนการเรียกเฉพาะทองถิ่นเฉพาะกลุม แตในความสำนึกรวมผูคนในกลุมนี้ตางถือตนเองวาเปนลาวแงว ดังนั้น คำวาแงว จึงนาจะเปนคำเกาที่ตกทอดแตดั้งเดิม อาจจะเปนชื่อ เมือง หรือแมน้ำ หรือภูเขา หรือหมูบาน ก็เปนได คำวา “แงว” เปนชื่อเฉพาะ แทนตัวตนหรือเอกลักษณของลาวกลุมใหญกลุมหนึ่ง เพราะพบวากลุมที่เรียกตนเองวาลาวแงวมีอยูมากและกระจายกันอยูถึง ๔ จังหวัด คือ สระบุรี ลพบุรี สิงหบุรี และนครสวรรค ซึ่งนับวามีไมใชนอย ลาวแงวแถบบานหนองโดนซึ่งเปนหมูบานใหญเปนที่ตั้งของอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อยูทางเหนือของอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี กลุมบานหนองโดนเคยประกอบดวย บานหนองโดน บานหนองระกำ บานโคกงาม และหมูบานลาวแงวอีกสองสาม แหง และใชน้ำผุดซึ่งเปนสระน้ำจากตาน้ำเดียวกัน เพราะเปนพื้นที่หางไกลลำน้ำเรียกกันวา หนองโดน ตอมาเกิดอหิวาตกโรค ระบาดผูคนลมตายและบางสวนไดยายหนีออกไป และก็เริ่มเขามาอยูกันตอมาแตก็ไมใชกลุมใหญเชนเดิม หนองโดนปจจุบันใช เปนแหลงน้ำสำหรับทำน้ำประปา มีวัดหนองโดนซึ่งมีชุมชนลาวแงวอยูรอบๆ สวนที่เปนตัวอำเภอหรือตลาดก็จะมีคนไทยและคน จีนอยูอาศัยกันมากกวาลาวแงว มีศาลตาปูเรียกวา ปูจุย มีการเลี้ยงตาปูกลางเดือน ๖ เอาวันพุธเปนวันสุกดิบและเลี้ยงกันวันพฤหัส โดยมี “คนทรง” เปนผูหญิง สวน “จ้ำ” เปนผูชาย ทำหนาที่ติดตอระหวางชาวบานและรางทรง ที่บานปาหวาย บานขุนนวน บานดงนอย บานกกโก บานหวยเปยม บานโคกกระเทียม บานดอนมะกัก บานไผขวาง เปนหมูบาน ลาวแงวที่อยูในอำเภอเมืองลพบุรี เปนพื้นที่ซึ่งติดตอกับทางอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี แมจะมีลาวแงวอยูมากแตก็ปนกับ ไทยและจีนบาง และบางหมูบานกลายเปนสวนหนึ่งของปริมณฑลตัวเมืองลพบุรี จึงมีการนำพื้นที่มาสรางบานจัดสรรทำใหมีคน หลายกลุมเขามาอยูรวมกัน สภาพแวดลอมและโครงสรางทางสังคมของชุมชนเดิมก็เปลี่ยนไป

29

ผูศึกษาซึ่งเปนคนเชื้อสายลาวแงว จากบานน้ำจั้น อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี นางรุจิรา เชาวธรรม สังเกตจากสำเนียงภาษา และลักษณะทางวัฒนธรรม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

26


จากการสำรวจชุมชนลาวแงวในเขตพื้นที่ศึกษาในจังหวัดสระบุรี ลพบุรี นครสวรรค และสิงหบุรี พบวามีการตั้งถิ่นฐานดังนี้ ลำดับ ๑

ชื่อหมูบาน กลุมบานหนองเมือง

สถานที่ตั้ง

บานหวยกรวด นา จาน หมู ๑ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองบัวขาว จังหวัดลพบุรี หมู๒ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองเมือง จังหวัดลพบุรี หมู ๓ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองแก จังหวัดลพบุรี หมู ๔ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานน้ำปา จังหวัดลพบุรี หมู ๕ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองเมือง จังหวัดลพบุรี หมู ๖ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ บานหนองกระเบียน จังหวัดลพบุรี นอย หมู๗ ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

ลักษณะทั่วไป ตำบลหนองเมืองมี ๗ หมูบานติดตอกัน ทุก หมูบานเปนลาวแงว อยูมาก ปจจุบันเปนหมูบาน ใหญผูที่เขามาอยูใหมเปนเขยสะใภที่เปนคนจีน หรือคนไทย หมู ๑,๒,๓,๖ หมูบานติดกัน เมื่อ กลุมใดมีบานเรือนมากกวา ๑๒๐ หลังคาเรือนจะ แยกออกเปนอีกหมู หมูบานนี้ติดกับบานหนองเมืองแยกเปนอีกหมู หนึ่งมีลาวแงวมากกวากลุมใด วัดสราง พ.ศ. ๒๔๕๔ มีลาว ไทย พวน ยวน

บานน้ำจั้น

หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่

มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๗ ในหมูบานเปนลาว แงว ที่ยายมาจากที่อื่น เชนบานหนองเมือง บาน น้ำจั้นอำเภอเมือง บานโคกเสลา มาตั้งบานเรือน แตเสียงพูดจะหวน สั้น กวาลาวแงวบานอื่น เนื่องจากอยูระหวางกลุมคนไทยและคนพวน ผูคนที่ยายเขามาอยูจะเปนเขยสะใภ และคนภาค อีสานเปนสวนนอย

บานไผใหญ

หมู ๒ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

มีวัดไผใหญสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ บานไผใหญ มีลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน หมูบานนี้มีทางรถไฟ ผาน

บานหนองหินใหญ หมู ๑ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

จังหวัดลพบุรี

มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ มีลาวแงว พูด สำเนียงคลายกับลาวบานทองเอน

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

27


ลำดับ ๕

ชื่อหมูบาน บานโปง

สถานที่ตั้ง หมู ๓ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

ลักษณะทั่วไป เปนหมูบานเล็กๆแตมีลาวแงวทั้งหมูบาน สวน ใหญอพยพเขามาอยูใหม มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐

บานหนองเตา

บานหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

บานหนองเตามีลาวแงวมาก และมีพวน ไทย

บานวังจั่น

อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงวทั้งหมูบาน

บานสายหวยแกว

หมู๕ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๒ บานนี้รวมอยูกับ บานไผใหญ มีทางรถไฟกั้น ทั้งที่หมูบานติดกัน ทำใหไปรวมกับบานสายหวยแกว บอกวาตนเอง เปนลาวแงว

บานลาด

ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพุบรี

บานนี้มีลาวมากมากวากลุมอื่น อยูรวมกับ ผูมา ใหมเชน เขยสะใภ

๑๐

บานสระตาแวว

ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

มีวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗ มีลาวมากกวากลุม อื่น

๑๑

บานหนองเตา

ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

มีวัด ชาวบานบอกวาตัวเองเปนลาวแงว

๑๒

บานหนองเลา

ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัด มีลาวแงวมากกวาไทย ลพบุรี

๑๓

บานโคกสุข

ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัด วัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ บานนี้มีคนลาวแงว มี ลพบุรี โรงเรียน

๑๔

บานหนองเกวียนหัก ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

วัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๖ มีลาวแงวเกือบทั้งหมุ บาน ผูที่ยายเขามาคือคือเขยสะใภ

๑๕

บานสระตาแวว

หมู ๒ ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

ประวัติสรางวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗

๑๖

บานโคก

ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงว มากกวากลุมพวนไทย

๑๗

บานดงพลับ

หมู ๑ ตำบลดงพลับ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

ประวัติวัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๐ คนหมูบานนี้ อพยพไปอยูบานน้ำจั้นในตำบลไผใหญ

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

28


ลำดับ ๑๘

ชื่อหมูบาน บานโปรงนอย

สถานที่ตั้ง หมู ๗ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

ลักษณะทั่วไป พื้นที่สวนใหญติดทางรถไฟ วัดสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓ ชาวบานบอกวาตัวเองเปนลาวแงว บาง กลุมอพยพไปอยูบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ ปจจุบันมีการติดตอกันอยู

๑๙

บานโคกลำพาน

อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงว และไทยปะปนกัน

๒๐

บานปาหวาย

ตำบลลำทราย อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงว มีไทย จีนปน เพราะอยูในเมือง

๒๑

บานดงนอย

ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

แมวาจะใกลหางสรรพสินคา บิ๊กซี แตยังชนบท อยู บานตนเองเปนลาวแงว

๒๒.

บานหวยเปยม

ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น

๒๓

บานคอกกระบือ

ตำบลโคกกระเทียม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

บานนี้พูดลาวบอกไมไดวาตนเองเปนลาวกลุมใด แน ลาวแงวมากที่สุดในหมูรองลงมามีคนไทย มี ศาลตาปู แตไมมีชื่อ

๒๔

บานดอนมะกัก

ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมือง จังหวัด ลพบุรี

มีลาวแงว แตนอยกวา ไทย

๒๕

บานไผขวาง

ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น

๒๖

บานน้ำจั้น

หมู ๒ ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

มีวัดมาตั้ง พ.ศ. ๒๔๐๐ มีลาว และพวนปะปน กัน คนบานหนองเกวียนหักบอกวาคนบานน้ำจั้น เอาหมากเขียบไปขายบานหนองเกวียนหัก

๒๗

บานถลุงเหล็ก

หมู ๓ ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอโคกสำโรง สรางวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๒มีลาวแงวอยูบาง จังหวัดลพุบรี

๒๘

บานโคกพรม

ตำบลหลุมขาว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น มีครอบครัวไทยอยู ๒-๓ หลัง มีศาลตาปู ไมระบุชื่อวาชื่อใด

๒๙

บานหวยวัวตาย

ตำบลวังขอนขวาง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงวมากกวากลุมอื่น มีศาลตาปูไมชื่อเรียก วาอยางใด

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

29


ลำดับ ๓๐

ชื่อหมูบาน สถานที่ตั้ง ลักษณะทั่วไป บานพรหมทินเหนือ ตำบลหลุมขาว อำเภอโคกสำโรง จังหวัด บานนี้เรียกตัวเองวาลาวในหมูบานมี ลาวพวน บานพรหมทินใต ลพบุรี จีน มีศาลตาปูชื่อสนั่น มีลาวแงวอพยพมากจาก บานน้ำจั้น ตำบลใผใหญอำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี

๓๑

บานสระพานนาค

๓๒

บานสระพานจันทร ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงว ไทย พวน มากตามลำดับ อพยพมา จากบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

๓๓

บานสระพานขาว

ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี

มีคนพวนมาก รองลงมาคือลาวแงว

๓๔

บานหมอ

อำเภอบานหมอ จังหวัดสระบุรี

มีลาวแงวนอยกวากลุมอื่น เนื่องจากเดิม บานหมอ บานหนองโดน อยูรวมกัน ตอมาแยก ออกเปนอำเภอบานหมอ อำเภอหนองโดน กลุม ที่เปนลาวแงวบานหมอจึงเหลือนอย และมีบาง สวนที่อพยพไปบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี

๓๕

บานหนองโดน

ตำบลหนองโดน อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี

เรียกตนเองวาลาวแงวมีมาก กวากลุมอื่น พูด เสียงนาฟงกวากลุมลาวแงวอื่น เวลาพูดเสียงสูง มาก

๓๖

บานดงยาง

ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

เปนลาวแงวโดยมาก มีคนไทยและคนจีนปนอยู บาง

๓๗

บานกลาง

ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

เปนลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน

๓๘

บานไผดำ

ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัด เปนลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน สิงหบุรี

๓๙

บานลองกะเบา

ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

มีลาวแงวกับคนไทยมากพอกัน

๔๐

บานคลองโพธิ์ศรี

ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

มีลาวแงวกับคนไทยมากพอกัน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

หมุ ๗-๘ ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี

มีลาวแงวมากที่สุด รองลงมาคือลาวสระบุรี ไทย จีน มีศาลตาปู ชื่อวา เจาพอบัวศรี

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

30


ลำดับ ๔๑

ชื่อหมูบาน บานไผลอม

สถานที่ตั้ง ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

ลักษณะทั่วไป มีลาวแงวเกือบทั้งหมด

๔๒

บานตาลเดี่ยว

ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

มีลาวแงวเกือบทั้งหมด

๔๓

บานตาลเดี่ยวเกาะขี้ หมู ๑๒ ตำบลทองเอน แพะ-ดงยาง อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

มีลาวแงวเปนสวนมาก

๔๔

บานบึงออ

ตำบลทองเอน จังหวัดสิงหบุรี

มีลาวแงวเกือบทั้งหมูบาน

๔๕

บานจันเสน

หมู ๑ ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัด ยายบานเรือนมาจากบานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ นครสวรรค อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี มีพื้นที่ติดตอกัน หางกัน ๒ กิโลเมตร ยายมามากกวา ๑๐ ครอบครัว บานคนก็มาเปนเขย สะใภ คนใน ตำบลจันเสนอีกทั้ง เนื่องจากอยูใกลตลาด เดิน ทางโดยรถไฟสะดวกกวา

๔๖

บานโคกกระดี่

อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค

ยายไปจากบานน้ำจั้น บานโคกกระดี่อยูติดกับที อำเภอตาคลี ในหมูบานมีคนไทยมาก มีคนลาว นอยกวา เพราะเพิ่งโยกยายไป

ลาวแงวแถบบานหนองโดนซึ่งเปนหมูบานใหญเปนที่ตั้งของอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อยูทางเหนือของอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี กลุมบานหนองโดนเคยประกอบดวย บานหนองโดน บานหนองระกำ บานโคกงาม และหมูบานลาวแงวอีกสองสาม แหง และใชน้ำผุดซึ่งเปนสระน้ำจากตาน้ำเดียวกัน เพราะเปนพื้นที่หางไกลลำน้ำเรียกกันวา หนองโดน ตอมาเกิดอหิวาตกโรค ระบาดผูคนลมตายและบางสวนไดยายหนีออกไป และก็เริ่มเขามาอยูกันตอมาแตก็ไมใชกลุมใหญเชนเดิม หนองโดนปจจุบันใช เปนแหลงน้ำสำหรับทำน้ำประปา มีวัดหนองโดนซึ่งมีชุมชนลาวแงวอยูรอบๆ สวนที่เปนตัวอำเภอหรือตลาดก็จะมีคนไทยและคน จีนอยูอาศัยกันมากกวาลาวแงว มีศาลตาปูเรียกวา ปูจุย มีการเลี้ยงตาปูกลางเดือน ๖ เอาวันพุธเปนวันสุกดิบและเลี้ยงกันวันพฤหัส โดยมี “คนทรง” เปนผูหญิง สวน “จ้ำ” เปนผูชาย ทำหนาที่ติดตอระหวางชาวบานและรางทรง ที่บานปาหวาย บานขุนนวน บานดงนอย บานกกโก บานหวยเปยม บานโคกกระเทียม บานดอนมะกัก บานไผขวาง เปนหมูบาน ลาวแงวที่อยูในอำเภอเมืองลพบุรี เปนพื้นที่ซึ่งติดตอกับทางอำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี แมจะมีลาวแงวอยูมากแตก็ปนกับ ไทยและจีนบาง และบางหมูบานกลายเปนสวนหนึ่งของปริมณฑลตัวเมืองลพบุรี จึงมีการนำพื้นที่มาสรางบานจัดสรรทำใหมีคน หลายกลุมเขามาอยูรวมกัน สภาพแวดลอมและโครงสรางทางสังคมของชุมชนเดิมก็เปลี่ยนไป

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

31


หากนับวา เมืองหลม ซึ่งในปจจุบันทราบกันดีวาคือ เมืองหลมเกา เปนสวนหนึ่งในพื้นที่ซึ่งผูคนในปจจุบันมีสำเนียงพูดใกลเคียง กับทางดานซาย, เมืองเลย ซึ่งก็ใกลเคียงกับทางหลวงพระบาง มีผูเรียกตนเองวา ลาวหลม ที่บานดอนประดู บานหนองแขม บาน ปากลวย และบานทาแค ตำบลทาแค อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี รวม ๔ หมูบาน สำเนียงการพูดที่สื่อสารกับลาวแงวไดใกลเคียง กัน ในหมูบานมีศาลเจาพอหลวง มีประเพณีการเลี้ยงผีเมื่อถึง เดือน ๖ ขึ้น ๖ ค่ำ ดวย ลาวหลมกลุมนี้นาจะถูกกวาดตอนมาคราว เดียวกับครัวลาวแงวหรือลาวในกลุมเมืองหลวงพระบางที่มาพักอยูที่เมืองพิษณุโลกและพิชัยตามเอกสารในชวงสงครามเจา อนุวงศ ตั้งแต พ.ศ.๒๓๗๑–พ.ศ.๒๓๗๓ ลาวแงวกลุมที่จัดวาใหญและเปนชุมชนดั้งเดิมอีกกลุมหนึ่งในเขตจังหวัดลพบุรีคือ ที่บานหนองเมือง ตำบลหนองเมือง บานไผ ใหญ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ชาวลาวแงวในอำเภออื่นๆ เชน ที่อำเภอทางาม แถบวัดทาอิฐ เกาะแกว วัดตุมหู บางโฉมศรี ในตำบลชีน้ำราย อำเภออินทรบุรี สวนในอำเภอบางระจัน แถบตำบลบานสิงห โพงหางเสือ แถบวัดสาธุการาม มีชาวลาวแงวอยูบาง บานไผลอมในตำบลทองเอน มีลาวแงวอยูมาก เปนพื้นที่ซึ่งอุดมสมบูรณ น้ำไมทวมและเปนที่ดอน อพยพยายมาจากตำบลบาน สิงหในอำเภอบางระจัน ศาลตาปูที่นี่เรียกวาศาลเจาปู ชื่อ “เจาปูละหาน” เปนที่นับถือของชุมชนในทองถิ่นตำบลทองเอน และอยู ติดกับหนองน้ำขนาดใหญพื้นที่ราว ๑๐๐ ไร ในเดือน ๖ มีทั้งพิธีเลี้ยงเจาปูและการทำบุญกลางบาน ซึ่งจะทำพิธีกันที่วัดดงยาง เรียกวาทำบุญเบิกบาน ในเขตอำเภออินทรบุรี นอกจากตำบลทองเอนที่มีชาวลาวแงวอยูหนาแนนที่สุดแลว รองลงมาคือ ตำบลอินทร มีชาวลาวแงวใน เขตวัดมวง วัดโพธิ์ศรี เปนชุมชนดั้งเดิมกอนที่จะยายมาอยูที่ตำบลทองเอนเปนกลุมใหญ สวนอายุต่ำกวานี้ใชภาษาไทยกลางกัน หมด สวนลาวแงวที่ตำบลโคกสวาง ตำบลหนองไมเสียบ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสรรค ก็มีชาวลาวแงวอยูเปนกลุมๆ โดย อพยพถิ่นฐานไปจากตำบลทองเอนเพื่อไปประกอบอาชีพทำไร ทำนา ในหมูบานเหลานี้แทบจะไมไดใชภาษาลาวแงวพูดกันแลว ยกเวนในกลุมอายุตั้งแต ๕๐ - ๖๐ ปขึ้นไป มีชาวลาวแงวที่อพยพไปบุกเบิกที่ทำกินใหมโดยเฉพาะในแถบลุมน้ำปาสัก ทั้งที่อำเภอทาหลวง อำเภอโคกสำโรง อำเภอชัยบาดาล และแถบอำเภอวิเชียรบุรี ก็มีอยูไมใชนอย บางคนก็กลับถิ่นฐานเดิม บางคนก็อพยพครอบครัวไปตั้งถิ่นฐานอยูที่นั่นกลายเปน หมูบานใหมขึ้นมา เปนลักษณะแสวงหาที่อยูใหมตามความสนใจของตน30 จากการสัมภาษณชาวบานซึ่งเปนคนเชื้อสายลาวแงวจากที่ตางๆ มักจะเลาเริ่มตนดวยวาตนมาจากเวียงจันทนเปนสวนใหญ เกิด ศึกสงครามจึงเดินทางอพยพมาอยางฉุกละหุ และมีความลำบากตางๆ นานา ทั้งๆ ที่เราสืบคนจากลักษณะทางภาษาศาสตร ลง ความเห็นวา ลาวแงวอยูในกลุมภาษาที่มีเสียงวรรณยุกตแบบหลวงพระบาง ซึ่งไมใชกลุมลาวเวียงหรือลาวที่มาจากเวียงจันทน

30

ภูธร ภูมะธน, บรรณาธิการ. มรดกวัฒนธรรมไทยเบิ้ง ลุมแมน้ำปาสักในเขตที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนปาสัก ลพบุรี ; ศูนยศิลปวัฒนธรรม: สถาบันราชภัฏเทพสตรี .๒๕๔๑ หนา ๑๑. อางจากการสัมภาษณนางนาง บรรฑิตย ปจจุบันอายุ ๘๔ ป และนางยิน ขันคำ เดิมเปนลาวแงวจากบานถลุงเหล็ก อำเภอโคกสำโรง นายมา ขันคำ ปจจุบันอายุ ๗๖ ป เปนลาวแงวจากบาน หนองเมือง อำเภอบานหมี่ ทั้งหมดอพยพมาอยูอาศัยที่บานมะกอกหวาน อำเภอชัยบาดาลนานกวาครึ่งศตวรรษแลว ดวยเหตุผล ตองการแสวงหาที่ทำกินใหม เพราะที่อยูเดิมแออัด ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

32


สาเหตุดังกลาวอาจจะมีที่มาจากสงครามครั้งนั้นเปนครั้งใหญ สงครามคราวเจาอนุวงศสงผลสั่นสะเทือนบานเมืองทั้งราช อาณาจักรลาวใหกลายเปนประเทศราชของไทยโดยสมบูรณ และผูคนพลเมืองซึ่งเปนหัวใจของรัฐถูกกวาดตอนเขามาสูหัวเมือง ชั้นในของสยามอาจจะมากกวาครึ่งหนึ่งของประชากร และในครั้งนั้น เวียงจันทนที่เปนพระนครหลวงมานานก็ถูกเผาทำลายจน ยอยยับไปทั้งเมือง เรื่องนี้มีความสำคัญตอความรูสึกคนลาวทั้งมวลนาจะทั้งในระยะนั้นและสำนึกตอๆ มา การบอกเลาแบบมุข ปาฐะและการบันทึกทางประวัติศาสตรในครั้งศึกเจาอนุวงศคงจะสรางหรือตอกย้ำความสำคัญของเมืองเวียงจันทนจนกลบความ ทรงจำเกี่ยวกับบานเมืองหรือทองถิ่นดั้งเดิมของตนเอง จนกลายเปนคนลาวแมวามาจากเมืองอื่นๆ แตก็มีความรูสึกหรือสำนึก เดียวกันวา ตนเองมาจากเวียงจันทนเมืองที่ถูกทำลายยอยยับครั้งศึกสงครามที่นารันทดที่สุดในประวัติศาสตรลาว ประวัติศาสตรบอกเลาของชุมชนลาวแงวในที่ตางๆ สืบทอดตอกันมาดังนี้ พระครูปลัด กัลยาณวัฒน (รด ถาวโร) จำพรรษาอยูที่วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร อำเภออินทรบุรี เลาประวัติของชาวลาวแงวไววา เดิมอยูที่ตำบลพังคี แขวงเมืองหลวงพระบาง ในครั้งนั้นครอบครัวลาวแงวตำบลพังคีก็ถูกกวาดตอนมาดวย คุณยายของทาน พระครูชื่อแมเฒาแดง (ซึ่งมีอายุถึง ๑๐๐ ป) ไดเลาใหทานฟงวา …ครอบครัวชาวบานพังคีที่ถูกกวาดตอนมาคราวนั้นมีหัวหนาใหญชื่อพอเฒาบักจา แมของแมเฒา แดงซึ่งอพยพมาครั้งนั้นชื่อแมเฒาขวด เวลานั้นอายุได ๑๑ ขวบ เขาใหถือกระบั้งน้ำกับแบกดุนไฟอัน หนึ่งเทานั้น เดินทางรอนแรม มาประมาณ ๒ เดือนเศษ จึงถึงเมืองอินทรบุรี มาเห็นที่ตรงนี้ทำเลดี เหมาะสมที่จะพักอาศัยเปนที่ทำมาหากินตอไป … พอเฒาบักจาจึงขอรองหัวหนาคนไทยขอตั้งถิ่นฐานอยูที่เมืองอินทร ครอบครัวบักจาตั้งบานเรือนอยูที่ บานบางกะป คือ แถบวัดมวง, วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร สวนครอบครัวอื่นเชน ครอบครัวเชียงปา ไป ตั้งรกรากอยูบานทองเอนบาง บานปลาไหลบาง บานสิงห ในอำเภอบางระจันบาง….. 31 ในเอกสารทางราชการของไทยกลาววา “สงครัวลาวหลวงพระบางไปอยูยังเมืองพรม ๖๐๐ กวาคน” เมืองพรม หมายถึงอำเภอ พรหมบุรีในปจจุบันที่อยูตอจากอำเภออินทรบุรี ในอำเภอพรหมบุรีมีลาวกลุมใหญที่เรียกตนเองวา “ลาวเวียง” บานแปง และบาน ลาวอีก ๒-๓ หมูบานซึ่งเปนกลุมที่ไมเปนกลุมใหญเทากับที่อินทรบุรี ดังนั้น การที่เอกสารกลาวถึง เมืองพรม ก็นาจะหมายรวมถึง ทองถิ่นเมืองอินทรบุรีที่อยูติดกันดวย คำบอกเลานี้ นับเปนเรื่องที่ชัดเจนที่อางวาบรรพบุรุษของตนอพยพมาจากเมืองพังคี แถบเมืองหลวงพระบาง คนเฒาคนแกใน แถบตำบลทองเอนซึ่งเรียกตนเองวาลาวแงว บางก็วามาจากหลวงพระบาง บางก็วามาจากเวียงจันทน จนผูศึกษาภาษาลาวแงวก็ กลาววายังไมกลาสรุปมาจากเมืองใดกันแน32 แตการกลาวถึงวาบรรพบุรุษมาจากเมืองหลวงพระบางสัมพันธกับเอกสารทาง ราชการของไทยที่บันทึกไว และการวิเคราะหลักษณะของเสียงวรรณยุกตของภาษาลาวแงว ซึ่งสรุปวามีความใกลเคียงกับเสียง วรรณยุกตทางหลวงพระบาง 31

http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html ทองถิ่นศึกษา

32

นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหา บัณฑิตจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๗, หนา ๑๖–๑๘. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

33


แตคำบอกเลาของผูที่เรียกตนเองวาลาวแงวหลายคนและหลายชุมชน กลับบอกวาตนเองมาจากเวียงจันทนไมใชเมืองหลวงพระ บาง เชน ยอด พรหมสโร (พ.ศ.๒๔๓๐–พ.ศ.๒๕๒๘) เมื่อ ป ๒๕๒๕ ขณะมีอายุ ๙๕ ป เปนทั้งปราชญของหมูบานและถือวาเปนผู นานับถือและอาวุโสสูงสุดในยุคนั้น ไดเลาถึงความเปนมาของชาวลาวแงวที่ตำบลทองเอนวา …บรรพบุรุษรุนทวด เปนชาวลาวแงวรุนแรกที่อพยพมาจากประเทศลาว ชื่อทวดพุด เมื่ออายุ ๑๖ ป กำลังจะบวชเณร แตถูกกวาดตอนเปนเชลย มาอยูเมืองไทยที่บานสิงหแถบวัดสาธุการาม ไดแตงงาน กับยาทวดชื่อ ดง มีลูกชื่อ ปูหวัน ซึ่งเปนปูของปูยอด33 และเปนผูตั้งขอสันนิษฐานวา หากผูคนมีถิ่นฐานอยูในชนบทนอกเขตเมืองเวียงจันทนจึงเรียกวา แงว แตถาอยูในเมือง เวียงจันทน เรียกวา ลาวเวียง ซึ่ง เขตนอกเมืองเวียงจันทนดังกลาวก็ไมไดชี้เฉพาะลงไปวาอยูรอบๆ เวียงจันทน หรือเมืองใดก็ได ที่ไมใชเวียงจันทน ซึ่งเปนการแยกกลุมลาวเวียงออกจากกลุมลาวจากเมืองอื่นอยางชัดเจน อันเนื่องจากอยูในกลุมลาวที่ถูก กวาดตอนมาพรอมๆ กัน ชาวบานหนองเมือง ในอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี เลาวา แมจะเรียกตนเองวาลาวแงว แตก็กลาววามาจากเวียงจันทน “…มาจากเวียงจันทนไปนครพนม แลวมาที่บานชองแค อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค แลวยายมา ที่บานหนองเมือง ตอนมาจากเวียงจันทน หนีขาศึกมา มีขาวตากแหงมาดวย”34 และลาวแงวที่บานกกโก ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี บรรพบุรุษเลาวาอพยพมาจากเมืองภูมิซึ่งอยูติดกับเขาใกลกับ เมืองเวียงจันทร อพยพเรื่อยมาจนมาถึงบานกกโกจึงตั้งหลักแหลงกันที่นี่ เรื่องที่เลานั้น เห็นภาพของไพรชาวบานที่กลายเปน เชลย ถูกกวาดตอนมาอยางไมรูตัว และเดินทางรอนแรมมาดวยความลำบาก …ตระกูลมาจากเวียงจันทน ถูกเขารุกมา แตกตื่นกันมาหลายคน พวกผูชายถูกเกณฑแรงมารบ บางก็ รองไห มีอาวุธ คือหอกกับดาบ การเดินทางมาผูหญิงบางคนก็เพิ่งคลอดลูกกำลังอยูไฟก็มี บางบาน ยังตมน้ำก็ทิ้งไว แตก็ตองเดินทางกันมา ตอนเดินก็ไมมีน้ำจะดื่ม….35 ….ปูยาตายายเลาวา อพยพมาจากเวียงจันทน ตกทุกขไดยาก เกิดสงครามแยกยายแตกซะนโมมา เขาตองการนำมาเปนทาส แตไมยอม หนีมาพรอมกับจุดไฟดักคนตามมา ตอนอพยพมาเตรียมขาว ตากแหง หอใสผาทำเปนถุงยาวมัดรอบเอว เวลาหิวก็อม…36

33

อางแลว, และจากวิชาทองถิ่นศึกษาของบานไผดำ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html 34

สัมภาษณ นายราช มีเครือ

35

สัมภาษณนางมวน เหมหอม, อายุ ๘๖ ป, ๑๓ หมู ๒ บานกกโก ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี และพระชงค แสนลอม ฉายาติสสวํโส วัดกกโก ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี , ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒. 36

นายปรีชา เชื้อมุข หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, อายุ ๖๕ ป, ๕ เมษายน ๒๕๔๑

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

34


สวนลาวแงวจากบานไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ก็บอกเลาถึงความทรงจำที่ถูกถายทอดกันตอๆ มา ทำใหเห็นสภาพ บานแตกสาแหรกขาดพลัดหลงกับญาติพี่นอง การเดินทางอันยากลำบากอันเนื่องมาจากการสงคราม แตความทรงจำนี้ก็ยังบอก วามาจากเวียงจันทน ..แมโซน(ยายทวด)บอกวาเปนลาวมาจากเวียงจันทน เวียงแตกก็หนีกะชะกะชามา ตอนมามีพี่นองมา นำกันแลวหลงกัน มาอยูบานหนองโดน(สระบุรี) แลวมาอยูบานหนองเมือง แลวมาอยูบานนอยหรือ บานโนนหนองหินกอนถึงไผใหญราวครึ่งกิโลเมตร ตรงที่มีศาลตาปูติดกับสระน้ำอยูกลางทุงนา แลว มาอยูบานไผใหญ บางก็วาขี่ชางมา มีการตากขาวเหนียว มีการคั่วขาวตอกมา เวลาเดินทางก็อมกันมา คนเฒาคนแกเลาวา อพยพมาทำมาหากินและเกิดรบทำสงครามกัน..37 แตกลุมลาวเวียงที่บานแปง อำเภอพรหมบุรี ซ฿งนาจะอพยพมาพรอมๆ กับลาวแงวที่อินทรบุรี และลาวอีกหลายกลุมที่อำเภอ บานหมี่ และเรียกตนเองวา ลาวเวียง เพราะบรรพบุรุษมาจากเวียงจันทน เลาวา 38 ….ยายเปนลาวเวียง พอแมเลาวา แตกมาจากเวียงจันทน ปู ยา ตายาย บอกมาแตกบานลายเมือง ขาศึกมันไลมา มาตั้งรกรากบานนี้เลย บานนี้มีพวน มีลาว มีไทยอยูวัดเสาธง มีเจกเขาขายของ พวก พวนเขามีกำฟา เผาขาวหลาม ตรุษสงกรานตทำเหมือนกัน บุญกลางเดือน ๓ เดือน ๔ ทำบุญพระบาท ทำทุกป ฟงธรรม ฟงเทศนเหมือนกัน แตภาษาไมเหมือนกัน มาอยูรวมกับคนไทยก็ไมเปนไร รูวาเขา พูดไทยเราก็พูดไทยกับเขา แตยายมีลูกหลานเขาพูดไทยกันหมด เวากับมัน มันรูทุกคำบอกหยิบได จับได ตอบได เด็กบอกวาพูดไมเปน กะเดิ่ง กะดาง ยายรูวารกรากเราอยูเวียงจันทน ก็อยากไป….. 39 ประวัติศาสตรบอกเลาของผูคนเชื้อสายลาวแงว ไดแสดงใหเห็นวามีความสับสนในแหลงที่อพยพมาวาอยูในเขตหลวงพระบาง หรือเวียงจันทนกันแน ซึ่งเฉพาะเพียงคำบอกเลาสืบตอกันมาอาจไมใชขอยุติสำหรับขอสันนิษฐานดังกลาว เพราะกลุมผูที่เรียก ตนเองวาลาวแงวเปนกลุมที่ใหญกระจัดกระจายอยูหลายพื้นที่ แตก็มีลักษณะทางวัฒนธรรมรวมกัน เชน สำเนียงภาษา การเรียก ชื่อกลุมของตนเอง และประเพณีพิธีกรรมความเชื่อบางประการ สำหรับคำวา “แงว” ก็ไมอาจสันนิษฐานไดอยางแนชัดวาหมายถึงอะไร นอกจากการบอกเลาของผูอาวุโสในหมูบานตำบลทองเอน วา เปนการแยกกลุมลาวแงวออกจากลาวเวียง หมายถึงลาวจากเวียงจันทน และลาวจากบานเมืองอื่นๆ ซึ่งก็อาจเปนไปไดอยางยิ่ง จากคำบอกเลาและการเทียบเคียงเวลากับเอกสารทางราชการ คอนขางแนชัดวา ลาวในเขตพื้นที่ศึกษานี้เปนกลุมลาวกลุมใหญที่ อพยพมาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๑ – พ.ศ.๒๓๗๓ คราวศึกเจาอนุวงศ ที่มีการ เผาเมืองเวียงจันทนจนเสียหายยอยยับคลายคราวกรุงศรีอยุธยาเสียกรุงครั้งที่ ๒ แกพมา 37

สัมภาษณนางสังเวียน วันทอง, อายุ ๗๔ ป, ๑๓ หมู ๒ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี,

38

นายสมจิตร บุญเติร อายุ ๗๒ ป, บานแปง

39

นางปน เทพธุลี อายุ ๗๕ ป, หมู ๓ ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี, ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

35


เสนทางอพยพของลาวกลุมนี้สวนใหญมาจากทางแถบหัวเมืองใกลเคียงกับเมืองหลวงพระบาง และเดินทางผานมาทางเมือง พิษณุโลกทางหนึ่ง เมืองพิชัยทางหนึ่ง มีการแบงกลุมลาวกลุมเดียวกันใหไปอยู ณ เมืองที่เคยมีพรรคพวกของตนอยูกอนแลว แตมีอีกเปนจำนวนมากที่ตั้งถิ่นฐานบานเรือนอยูทางแถบแมน้ำลำคลอง ทั้งบริเวณริมแมน้ำเจาพระยาในเขตเมืองอินทรเมือง พรหม ลำคลองสายตางๆ ในเขตอำเภอบานหมี่ อันเปนบริเวณที่มีน้ำทาอุดมสมบูรณ ซึ่งในภายหลังก็อพยพโยกยายถิ่นฐาน กระจักกระจายเพื่อแสวงหาที่ทำกินตอไปอีก ดังเราจะเห็นวามีกลุมลาวดังกลาวในเขตที่ดอนหางไกลออกไป เราจึงพบกลุมลาวทั้งลาวเวียง พวน และลาวแงว อยูอาศัยในบริเวณนี้ตั้งแตเขตอำเภอหนองโดนในจังหวัดสระบุรี อำเภอเมืองถึง อำเภอบานหมี่และโคกสำโรงในจังหวัดลพบุรี ริมแมน้ำในจังหวัดสิงหบุรี และขยายชุมชนออกไปจนถึงในเขตอำเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค ประวัติศาสตรบอกเลาของชุมชนลาวแงว ยังคงจดจำความยากลำบากในการเดินทางรอนแรมมาเปนเวลาหลายเดือนการถูก กวาดตอนโดยไมไดเตรียมเนื้อเตรียมตัวทั้งผูใหญและเด็กเล็กๆ ไมเวนแมแตพระสงฆ การพลัดพรากสูญเสียญาติพี่นอง นคร เวียงจันทนที่ถูกตีแตกโดยขาศึก และทุกสิ่งนั้นเกิดขึ้นจากสงครามครั้งใหญที่เวียงจันทนก็เสี่อมสูญไป และลาวกลายเปน ประเทศราชของสยามอยางแทจริงจนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ ความรูสึกสูญเสียของผูแพนั้น คงไมแพความในใจของสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทเมื่อนึกถึงกรุงเกาที่ยอยยับไป วา “เสียยศเสียศักดิ์นคเรศ เสียทั้งพระนิเวศนพงศา เสียศักดิ์ตระกูลนานา เสียทั้งไพรฟาประชากร” และคำบอกเลาของลูกหลานชาว ลาวแงว สะทอนความรูสึกสูญเสียโทมนัส ของไพรฟาประชากรที่กลายเปนไพรฟาในดินแดน ใหมไดอยางดี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

36


บทที่ ๒ ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมของลาวแงว จากการสำรวจตามหมูบานตางๆ ที่เปนคนเชื้อสายลาวแงว ในเขตพื้นที่ศึกษาโดยเฉพาะในเขตจังหวัดลพบุรีและสิงหบุรี พบวา ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของลาวแงวโดยทั่วไปในปจจุบัน ไมเปนที่แตกตางไปจากคนกลุมอื่นๆ ที่อยูในสังคมชาวนา แบบภาคกลางเทาใดนัก อันนาจะเปนผลมาจากวิถีการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปจากการผลิตเพื่อยังชีพเปนการผลิตขนาดใหญและ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่เขามาแทนที่ ทำใหชุมชนแตละแหงมีลักษณะที่คลายคลึงกันในเรื่องอาชีพและความเปนอยู แต เมื่อไดศึกษาถึงรายละเอียดก็พบวาในความคลายคลึงทั่วๆ ไปเหลานั้น มีความแตกตางซึ่งเปนเอกลักษณของกลุมอยู ซึ่งแฝงไว ในรูปแบบของมิติทางความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม มากกวาอยางอื่น นอกจากนี้ การใชภาษาพูดในชีวิตประจำวันก็เปนอีกสิ่งหนึ่ง ที่สามารถแยกออกจากภาษาพูดแบบไทยภาคกลางได แตก็อยูในกลุมผูสูงอายุหรือพูดกันในพวกเดียวกันเองเทานั้น หากเปน เด็กๆ ก็อาจจะฟงไดรูเรื่องแตไมมีใครยอมพูดหรือกลาพูดกับคนนอกแตอยางใด ซึ่งเหลานี้นับเปนอัตลักษณที่โดดเดนของกลุมชาติพันธุลาวแงว

ลักษณะทางภูมิศาสตร กลุมของลาวแงวตั้งถิ่นฐานเปนชุมชนหมูบานตางๆ คือ อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อำเภอเมือง อำเภอบานหมี่ อำเภอ โคกสำโรง จังหวัดลพบุรี อำเภออินทรบุรี อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี และอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค ลักษณะ ภูมิประเทศในบริเวณนี้อาจแบงไดเปนสองสวนคือ ๑. ริมน้ำหรือใกลกับลำน้ำ อยูในบริเวณใกลกับแมน้ำหรือริมแมน้ำเจาพระยาและแมน้ำนอยในเขตอำเภออินทรบุรีและอำเภอ บางระจันในจังหวัดสิงหบุรี สวนอำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี และอำเภอบานหมอ อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี ใกลกับลำน้ำ สาขาของแมน้ำลพบุรีและแมน้ำปาสัก และอีกแหงหนึ่งคือ ริมน้ำสนามแจงหรือลำน้ำสาขาที่ติดตอกับลำน้ำสนามแจงซึ่งอยูใน อำเภอบานหมี่และอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี บริเวณดังกลาวเปนเขตที่ลุมต่ำและที่ราบเชิงเขาซึ่งมีลำน้ำสายเล็กๆ ไหลผาน ในอดีตตองใชการคมนาคมทางน้ำเปนหลักในการติดตอกับชุมชนตางๆ รวมทั้งการทำนาที่อาศัยน้ำหลากจากลำน้ำเหลานี้ ๒. เขตติดตอกับที่ราบลอนลูกคลื่นหางลำน้ำ บริเวณนี้ไดแกชุมชนบางแหงในอำเภอโคกสำโรง อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค มักจะเปนชุมชนใหมที่ผูมีเชื้อสายลาวแงวอพยพตอมาจากชุมชนเดิมที่อยูใกลลำน้ำ เพราะความแออัดหรือตองการแสวงหาที่ทำ กินแหงใหม บริเวณนี้อาจมีลำน้ำสายเล็กๆ ที่เกิดจากเขตภูเขาหรือที่สูงทางฝงตะวันตกหลายแหง หรือเปนบริเวณที่มีน้ำพุใตดิน หรือที่ชาวบานในแถบนี้เรียกกันวา พุ หรือ ชอน หรือ ซับ ซึ่งจะกลายเปนหนองน้ำขนาดใหญที่เปนแหลงน้ำสำคัญของหมูบาน บริเวณเหลานี้เปนที่ดอนกวาหางลำน้ำสายใหญ แตก็ยังเปนพื้นที่ปลูกขาวที่ใหผลดี ในอดีตตองใชการเดินทางโดยเกวียนหรือ ระแทะขามทุงแตปจจุบันก็เปลี่ยนมาเปนทางรถยนตแลว นอกจากนี้ ยังมีคนเชื้อสายลาวแงวอีกหลายกลุมหลายหมูบาน เขาไปบุกเบิกที่ทำกินในพื้นที่หางไกลออกไป เชน ในบริเวณอำเภอ ลำนารายณ จังหวัดลพบุรี หรือในอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งเปนที่ราบสูงสลับลอนลูกคลื่นเหมาะสำหรับปลูกพืชไร และอากาศคอนขางแหงแลง บริเวณนี้จึงตองทำไรปลูกพืช เชน ออย ฝาย ขาวฟาง ตางๆ มากกวาการทำนา ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

37


โครงสรางกลุมคนในทองถิ่น ในบริเวณอำเภอเมือง อำเภอบานหมี่ ตอเนื่องมาจนถึงอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี และบางสวนที่ติดตอกับอำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี แมพื้นที่อยูหางแมน้ำเจาพระยาเขามาทางฝงตะวันออก แตก็มีลำน้ำเกาและเสนทางน้ำติดตอกับแมน้ำเจาพระยา หลายแหงหลายสายรับน้ำจากเขตที่สูงและสวนหนึ่งของเทือกเขาเพชรบูรณ ลำน้ำตางๆ เหลานี้เมื่อกอน พ.ศ.๒๔๙๘ ที่มีการขุด คลองชลประทานเจาพระยา-ปาสักหรือคลองอนุศาสนนันท แบงพื้นที่การชลประทานและสรางเครือขายคลองสงน้ำชลประทาน เชนในปจจุบัน ลำน้ำเกาเหลานี้มีหนาที่เปนเสนทางขนสงทางน้ำ ทั้งผลผลิตและการคมนาคม ในทองถิ่นนี้ประกอบไปดวยคนสาม กลุมใหญดวยกัน คือ คนแมน้ำ (เปนชื่อที่ถูกเรียกจากคนทองถิ่น เนื่องจากเปนกลุมที่อพยพมาจากชุมชนเการิมฝงแมน้ำ เจาพระยาเขามาแสวงหาที่ทำกินภายในเปนกลุมที่พูดภาษาไทยภาคกลาง) คนลาว (แบงออกเปน พวน และลาวแงว) และ คนจีน (สวนใหญเปนแตจิ๋วทำอาชีพคาขาย จีนแคะทำสวนผักตางๆ) ทั้งสามกลุมนี้มีที่มาและเหตุผลในการเขามาตั้งถิ่นฐานในแถบนี้ แตกตางกัน แตก็สามารถอยูรวมกันได โดยมีกลุมเชื้อสายพวนมากที่สุด รองลงไปคือเชื้อสายลาวแงว คนแมน้ำ และคนเชื้อสาย จีนที่มีจำนวนนอยแตกุมอำนาจทางเศรษฐกิจไวมากที่สุด บริเวณลำน้ำบางขามมีชุมชนคนแมน้ำอาศัยอยูทั่วไป ริมฝงแมน้ำบางขาม ฝงตะวันออก คือ ตำบลบางพึ่ง บานชี ฝงตะวันตก คือ มหาสอนและกับบางขาม ราวๆ พ.ศ.๒๕๓๗ มีการสรางประตูระบายน้ำที่แมน้ำบางขามเสร็จก็เริ่มกักเก็บน้ำใช สภาพแวดลอม ภายในบริเวณนี้เปลี่ยนแปลงไปหลังจากสรางเขื่อนเจาพระยา ทำใหแมน้ำเหือดแหงไมหมุนเวียนดังเกา ในแถบนี้เปนศูนยกลาง การคมนาคมภายในเพราะมีโรงสีเปนจำนวนมาก มีทำเลเหมาะสมที่จะตั้งถิ่นฐานดวยความอุดมสมบูรณและอยูใกลกับชุมชนที่มี ความเจริญรุงเรืองมากอนในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือแถบวัดไลย อำเภอทาวุง และสามารถติดตอคาขายไดสะดวก ชุมชนรุงเรือง มากคือที่ตลาดทาโขลง จึงไดตั้งหมูบานขึ้น มักจะเรียกชื่อหมูบาน เชน บาง หรือ คุง เชน บางขาม บางพึ่ง บางโพธิ์ ทองคุง คุงทา เลา แถบนี้ยังคงเหลือพอเพลงแมเพลงจำนวนมากที่ยังวาเพลงกันไดเมื่อยามหนาน้ำ เพราะในอดีตมีกิจกรรมของชุมชนทางน้ำ มากมาย รวมไปถึงงานแหของวัดไลย คือแหพระศรีอาริยทางน้ำที่โดงดังดวย ตามประวัติการตั้งหมูบานแถบนี้ซึ่งเปนประวัติวัด เสียสวนใหญจะอยูในชวงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ลำน้ำลำคลองเหลานี้สรางวิถีชีวิตของผูคนที่สัมพันธอยูกับน้ำ ตอเนื่องไปจนถึงลำโพธิ์ชัยที่ตอกับคลองทาตะโก คลองสนามแจง ในอำเภอบานหมี่ อันเปนถิ่นที่อยูของกลุมพวน และลาวแงว ลาวเวียง หากเชื่อตามขอสันนิษฐานวากลุมลาวถูกกวาดตอนมาเมื่อสมัยสงครามเจาอนุวงศในสมัยรัชกาลที่ ๓ ระหวาง พ.ศ.๒๓๖๙–พ.ศ. ๒๓๗๓ เปนชวงที่กลุมพวน ลาวแงว ลาวเวียง ถูกกวาดตอนมาและเริ่มตั้งชุมชนอยูบริเวณริมคลองสนามแจงและลำน้ำสาขา ตลอดจนบริเวณริมแมน้ำนอยและใกลกับแมน้ำเจาพระยา กลุมคนไทยแมน้ำก็คงมีอยูแลวแถบแมน้ำบางขามมาจนถึงลำโพธิ์ชัย สืบคนไดวา ในชวง พ.ศ. ๒๔๔๔-พ.ศ.๒๔๔๘ เริ่มมีกลุมคนไทยแมน้ำจากแถบริมแมน้ำเจาพระยารุนตอๆ มาเขามาบุกเบิกหาที่ ทำกินในพื้นที่วางเปลา ที่อยูไกลออกมาจากบานหมี่ ในบริเวณตำบลจันเสน ตำบลสรอยทอง ตำบลชองแค อำเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค ซึ่งเปนพื้นที่ราบลุมตอเนื่องกับที่ราบลอนลูกคลื่น40

40วลัยลักษณ

ทรงศิริ. “ลักษณะโดยทั่วไปของสังคม, วัฒนธรรม, กลุมชาติพันธุ และเศรษฐกิจในตำบลจันเสน” สังคมและ วัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุมลพบุรี-ปาสัก เรือนแกวการพิมพ, กรุงเทพฯ , ๒๕๓๘ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

38


ในเวลาใกลเคียงกัน ราว พ.ศ.๒๔๕๐ ทางรถไฟสายเหนือเปนชวงที่ทำจากลพบุรีถึงปากน้ำโพ เมื่อทำเสร็จก็ไดสรางชุมชนริมทาง รถไฟขึ้นมากมาย คนจีนจำนวนมากที่เคยเปนกรรมกรสรางทางรถไฟเมื่อการกอสรางเสร็จก็ไดลงหลักปกฐานแลวชักชวนพรรค พวกพี่นองใหเขามาทำมาหากิน โดยเฉพาะการคาในชุมชนทั้งใหญและเล็กในบริเวณที่ทางรถไฟพาดผาน เกิดเปนชุมชนสองแบบ คือ ชุมชนคาขายริมทางรถไฟซึ่งอาจเรียกวาเปนชุมชนเมืองเล็กๆ และชุมชนที่อยูหางทางออกไปและพึ่งพาตลาดริมทางรถไฟนั้น กลุมคนจีนโดยเฉพาะจีนแตจิ๋วไดลงหลักปกฐานทำการคา และขยายกิจการในระหวางคนในครอบครัวและเครือญาติ สวนชาว จีนแคะเขามาตั้งบานเรือนไกลจากริมทางรถไฟ ไมนิยมคาขาย มีอาชีพยกรองปลูกผักและมีจำนวนนอย นอกจากนี้ ยังมีกลุมคนที่มีที่มาจากหลายหลายชวงเวลา ไดแก ไทเบิ้ง อพยพมาจากทางโคราชเปนกลุมใหญ ยังมีกลุมคนจาก ภาคอีสาน เชน จากจังหวัดรอยเอ็ด อพยพเขามาเมื่อราวทศวรรษที่ ๒๔๗๐ เพื่อมาเปนลูกจางทำนา หนีแลงและเมื่อไดหลักแหลง แนนอนแลวจึงไปรับครอบครัวมาอยูดวยตั้งรกรากถาวร และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็มีผูคนอพยพหนีสงครามมาจาก กรุงเทพฯ มาตั้งถิ่นฐานอยูหลายคน บางคนไมไดกลับไปและไดกลายเปนคนทองถิ่นอยางกลมกลืน41

การทำมาหากิน ระยะแรกของการตั้งถิ่นฐานนอกจากจะทำนาในพื้นที่ราบลุมริมน้ำแลว หลายๆ ชุมชนยังมีการเลาสืบตอมาวา เคยรอนทองคำใน แมน้ำแลวนำไปขาย สืบเนื่องจากทองคำเคยเปนสวยโดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ ๓ ที่เรียกเก็บสวยทองคำจาก เมืองกาญจนบุรี เพชรบุรี พนมสารคาม กำเนิดนพคุณ ฉะเชิงเทรา อางทอง อินทรบุรี สิงหบุรี เรียกวา ทองคำผุย42 เห็นไดวาเก็บเอาจากพื้นที่ซึ่งมี ลาวอยูมาก เปนพื้นที่ซึ่งมีผูอพยพชาวลาวกลุมตางๆ อาศัยอยู การรอนทองจากลำน้ำนี้เปนสิ่งที่คนลาวถนัดมากกวาคนกลุมอื่น ชาวบานที่เปนลาวเวียงบานแปงอายุราว ๗๐ กวาปเลาวา แมบานแปงมีพื้นที่ทำนามาก แตก็มีการรอนทองตามริมแมน้ำในรุนพอ แม เพราะอาศัยอยูตามริมแมน้ำเจาพระยาก็เห็นเขารอนทองเอาดินที่แมน้ำมาแชแลวรอน สมัยนั้นทองบาทละ ๔ บาท เรียกวา หนักตำลึงหนึ่ง บางบานก็เปนชางทองรูปพรรณ ตอมาก็เปลี่ยนมาเปนการทำนาควบคูกัน เมื่อทำรอนเสร็จแลวพอก็ตัดปลอง ไมไผยาวสองปลองปอกเปลือกออกแลวเจาะเอาทองใส ขางบนก็เปนขาวตากคั่วเหลืองเอาไปกินตามทาง มีมีดดาบคนละเลม เดิน ทางเอาทองไปขายที่ตลาดบานหมี่ การรอนทองคำผุยจากแมน้ำเจาพระยาเปนสิ่งที่คนปจจุบันไมเคยทราบหรือรูจักวิธีการรอน ทองเหลานั้นอีกแลว l

l

ตอนยายเปนเด็กพอแมก็พาทำนา ชาวบานบางบานเขารอนทองตามริมแมน้ำแตเปนรุนพอแม สมัยนั้น ทองบาทละ ๔ บาท เขาเรียกวาหนักตำลึงหนึ่ง ทำเสร็จแลวพอก็ตัดปลองไมใผ ทำสองปลองปอกเปลือก ออก เจาะเอาทองใส ขางบนก็เปนขาวตากคั่วเหลืองเอาไปกินตามทาง มีมีดดาบคนละเลม ไมมีปนเหมือน สมัยนี้ เมื่อกอนเอาทองไปขายที่บานหมี่ สวนบานยายปนหมอพอแมทำทอง แลวเปลี่ยนมาทำนา43

41

อางแลว

42

สุวิทย ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตรลาว สำนักพิมพสรางสรรค จำกัด, ๒๕๔๓.

43นางปน

เทพธุลี อายุ ๗๕ ป, หมู ๓ ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี, ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

39


พื้นที่ของชุมชนลาวแงวแตแรกเริ่มเปนการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นอันอุดมสมบูรณ ดังนั้น การทำนาจึงเปนอาชีพหลักกอนที่จะมีการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมที่นับไดจากการขุดคลองชลประทานเจาพระยา-ปาสัก การทำนาเปนการผลิตตามฤดูกาลและวิถีชีวิต ก็ขึ้นอยูกับวงจรการผลิตเชนนั้นดวย หนารอนหรือยามวางจากงานนาผูหญิงจะทอผา ผาที่ทอไมใชซิ่นหมี่แบบพวนแตเปนผาฝาย ธรรมดา นิยมทอเปนผาขาวมาหรือผาสำหรับทำหมอนและผาหม การทอผาเพื่อไวใชในครอบครัวไมไดทอเปนอาชีพเสริมแต อยางใด สวนฝายชายยามวางมักจะสานเครื่องมือจับปลาแบบตางๆ หรือสานกระบุง ตะกรา เอาไวใชในครัวเรือน ถึงหนาฝนก็หวานกลาดำนา การเตรียมดินหากทำนาปละครั้งใชขี้วัวใสนาก็เพียงพอ ขาวพันธุดั้งเดิมที่ปลูกก็จะมีพันธุเหลือง นางงาม พันธุหนามล พันธุทองมะเอ็ง พันธุขาวคด พันธุสายบัว ซึ่งจะมีลักษณะพิเศษตนขาวจะยืดตามน้ำเมื่อน้ำหลากในเดือน ๑๐ พันธุขาวปอม ซึ่งเปนพันธุขาวเจา ซึ่งจะใหผลผลิตราวๆ ๕๐–๗๐ ถังตอไรเมื่อถึงหนาน้ำก็จะมีเรือมาซื้อขาวตามชุมชนที่ลำน้ำ เชื่อมถึงเปนเรือมาดของพอคา บรรทุกไดครั้งละหนึ่งเกวียนครึ่งถึงสองเกวียน หากนำขาวไปขายเอง ก็จะลองไปตามคลองธรรมชาติขายตามโรงสีริมน้ำในอำเภอบานหมี่ตอไปจนถึงมหาสอน ซึ่งมีโรงสีของชาว จีนอยูมากมาย โรงสีกลางซึ่งเปนโรงสีใหญและใหราคาคอนขางมาตรฐานมีอยูสองสามแหง แถววัดปฐมพานิชและหนาโรงเรียน บานหมี่วิทยา เปนโรงสีของคนจีน มีนายหนาของโรงสีมาซื้อมีการตกลงกันเรื่องการขนถายระหวางผูซื้อกับผูขาย กลไกตลาดของ ราคาขาวขึ้นอยูกับผูซื้อซึ่งมักจะตั้งราคาเอง หากพอใจก็ขายถายังนอยหรือถูกจะไมขายเก็บไวกอน เพราะบางครอบครัวมีการ ครอบครองที่ดินมากบางทีถึง ๔๐๐–๕๐๐ ไร ซึ่งภายหลังการถือครองที่ดินก็นอยลง เพราะการแบงมรดกใหลูกหลานและถูกขาย ผานมือเปลี่ยนเจาของไป การปรับตัวครั้งใหญของชนชั้นปกครองในสังคมไทยกับกระแสทุนนิยมภายนอก นับแตเริ่มสนธิสัญญาเบาวริ่ง (พ.ศ.๒๓๙๘) ได เปลี่ยนวิถีการผลิตจากการผลิตพอยังชีพมาเปนการผลิตเพื่อขายและไดเปดระบบเศรษฐกิจของไทยเปนระบบเศรษฐกิจแบบเสรี มากขึ้น เกื้อหนุนใหเกิดการสะสมทุนของผูที่มีโอกาส ไดแก ขุนนาง ชาวตะวันตก ชาวจีนอพยพที่มีโอกาสดีกวาคนไทยหรือผู อพยพชาวลาวที่เคยเปนไพรหลวงโดยไมตองผูกพันกับระบบไพร ในขณะเดียวกัน ปญหาการปกครองภายในรวมถึงผลกระทบจากปจจัยภายนอก ทำใหเกิดการกำเนินการยกเลิกระบบไพรในชวง พ.ศ.๒๔๑๑–พ.ศ.๒๔๕๓ นับเปนความสำเร็จในการแกปญการปกครองและปญหาทางเศรษฐกิจของสถาบันกษัตริยและขุนนาง มากกวาที่จะมีผลดีกับระบบเศรษฐกิจของไพรหรือประชาชนโดยสวนรวม เพราะรัฐมิไดแกปญหาในการผูกขาดจากกลุมทุนที่มี โอกาสพัฒนากลไกตลาดเสรีและวิธีการดำเนินธุรกิจใหเอื้อกับกลุมของตน44 การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลกระทบอยางจริงจัง เห็นไดชัดในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของภาคกลางตอมา45 ในชวงเวลาเดียวกันนี้เองที่เกิดการขยายตัวของชุมชนและผูคนกลุมตางๆ เขาไปสูพื้นที่ภายใน บุกเบิกที่นาเพื่อทำนาจากดงจาก ปาใหเปนผืนนา ซึ่งเปนชวงที่กลุมลาวแงว พวนจากชุมชนเดิมขยายไปสูชุมชนใหมเชนเดียวกัน วิธีการบุกเบิกที่ดินถากถางปาของ 44ปยะฉัตร

๑๗๑-๑๗๖.

ปตะวรรณ. ระบบไพรในสังคมไทย สำนักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ, ๒๕๒๖ กลาวในบทสรุป หนา

45รายละเอียดเห็นไดจาก

การนำเสนอขอมูลสัมภาษณการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจและสังคมแบบพอยังชีพไปสูเศรษฐกิจเพื่อ การขายในชุมชนภาคกลางในชวงป พ.ศ.๒๓๙๘–พ.ศ.๒๔๗๕ ฉัตรทิพย นาถสุภา. เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต สำนักพิมพ สรางสรรค กรุงเทพฯ, ๒๕๓๓ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

40


ผูเขามาใหม ซึ่งสวนมากเปนปาไผจึงตองเผาปาและทำนาหยอดหลุมกอนเนื่องจากตอไมเยอะ ตอมาก็ใชชางไถนาจนตอไมหมด ไป จึงนำควายมาใชในภายหลัง 46 แมการบุกเบิกที่ทำกินจะทำใหชาวนาเปนเจาของที่ดินผืนใหญจำนวนมาก ตอมามีการแบงขายบาง แบงเปนมรดกบาง ทำใหการ ครอบครองที่ดินกระจายเปนรายยอย และ ชาวนาในภาคกลางเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็เปลี่ยนผานจากระบบเศรษฐกิจ แบบยังชีพอยางรวดเร็วเปนการผลิตจำนวนมาก โดยเฉพาะเมื่อเริ่มมีการขุดคลองชลประทานแจกจายน้ำไปยังนาที่ลุมอยางได ผลมากขึ้น การทำนาเพียงครั้งเดียวก็ไมพอเพียงกับคาใชจายเสียแลว จึงตองพึ่งพาเงินจากพอคาชาวจีน จนเกิดวิธีการตกขาว และตกหนี้ การตกขาวคือการรับซื้อขาวจากชาวนาที่เปนลูกหนี้หรือเชาที่ดินของพอคาในราคาถูกกวาราคาตลาด เปนการบังคับ ซื้อเพื่อเปนการหักหนี้ สวนการตกหนี้หรือตกเงิน คือการออกเงินใหชาวนากู โดยคิดดอกเบี้ยสูงๆ หรือบางครั้งมีการเพิ่มจำนวน เงินใหสูงขึ้นโดยที่ชาวนาไมรู สวนมากใชโฉนดที่ดินจำนองและมักจะขาดจำนอง วิธีการเหลานี้ ทำใหชาวนาจำนวนมากสูญเสีย ที่ดินของบรรพบุรุษไป และเปนชาวนาที่ไมมีที่ดินของตนเอง การเปลี่ยนมือเจาของที่ดินซึ่งเกิดขึ้นมาไมต่ำกวา ๕๐–๖๐ ปแลว ในปจจุบันชาวนาลาวแงวและชาวนาอื่นๆ มีที่นาจำนวนนอยลง และเปลี่ยนเปนการทำนาโดยไมเกี่ยวของกับฤดูกาล เพราะทุก ครั้งชลประทานปลอยน้ำมาก็จะ ไถ คราด หวานขาวทันที โดยใชปุยเคมี ฉีดยาฆาหญา ฆาแมลง การไถ การหวาน การจางรถ เกี่ยว กลายเปนกิจกรรมเรงรีบทั้งนั้น บางรายที่ไมมีเงินทุนตองกูเงิน ธ.ก.ส. นำเงินมาซื้อสิ่งของอุปกรณทำนา เชน บานหนึ่งเลาวา ตองซื้อปุย ๓ ตันราคา ๒,๑๐๐ บาท ยาฉีด ยาฆาแมลง ยาฆาหญา ราวๆ ๕๐๐ บาท คาเกี่ยวขาวไรละ ๓๐๐ บาท ๕๐ ไร รวม ๑๕,๐๐๐บาท คาเชานาอีก ๑,๒๐๐ บาท แตละครั้งก็มีตนทุนเยอะ ตามบานตางๆ มักมีอาชีพเลี้ยงวัวเสริมไวเปนวัวตัวผู เพราะ การทำนาอยางเดียวมีรายไดไมพอคาใชจาย บานหนึ่งๆ ก็เลี้ยงกันราว ๑๐ ตัว ๖-๗ เดือนจึงจะขาย ประมาณตัวละ ๘,๐๐๐ บาท แลวเอาเงินไปสง ธ.ก.ส. เพราะปูยาตายายก็ทำนามาตั้งแตแรก ก็ตองทำไปทั้งๆ ที่ราคาขาวถูกมาก จะใหเปลี่ยนไปทำอยางอื่นก็ คงไมได เพราะคาขายก็ไมเปนคงเปลี่ยนแปลงอาชีพยาก ในปจจุบันชาวบานทำนาทั้งที่เปนนาของตนเองและนาที่เชาผูอื่นเกือบครึ่งตอครึ่ง เชน นาตนเอง ๒๕ ไร นาเชา ๑๘ ไร โดยคาเชา ไรละ ๕๐๐ บาทตอป เปนตน47 แตชาวบานบางแหง เชน บานหนองหินใหญ ในอำเภอบานหมี่ กลุมคนอายุราว ๔๐ ปขึ้นไปจะซื้อรถมือสองมาวิ่งรับสงผักหรือผล ไมที่ตลาดไทหรือตลาดสี่มุมเมือง ชาวบานรุนนี้สวนหนึ่งไมทำนากันแลวเพราะรายไดไมพอใช มีการแนะนำใหทำนาสวนผสมขึ้น สำหรับคนที่มีที่นานอยๆ และสวนสมซึ่งมีการเชาที่ดินที่เคยเปนที่นาแลวทำการเปลี่ยนสภาพยกรองใหเปนสวนสม ซึ่งมักมี สัญญาเชากันประมาณ ๒๐ ป ชาวนาเชาที่ดินบางสวนตองเปลี่ยนสถานะเปนคนงานในสวนสม ซึ่งมีการใชยาฆาแมลงมาก บาง คนก็ตองเลิกทำนาไป เพราะเจาของที่ดินที่ใหเชาเหลานั้นมักเปนคหบดีเชื้อสายจีนในตลาด ซึ่งเปนเจาของที่ดินรายใหญ สวนชาว บานที่เปนเจาของที่ดินเองก็มักไมอยากใหเชาทำสวนสมเพราะไมแนใจวาจะสามารถเปลี่ยนใหกลับมาเปนที่นาไดดังเดิมหรือไม เหลานี้เปนสิ่งใหมที่เกิดขึ้นมาไมถึง ๑๐ ป

46

สัมภาษณ พระครูนิวิฐธรรมขันธ (เจริญ) เจาอาวาสวัดจันเสน, ธันวาคม ๒๕๓๖

47

สัมภาษณนายสา นางปน อินรุณ, อายุ ๗๕ ป, ๔๓ หมู ๘ บานโปงนอย ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

41


แมอาชีพหลักของชาวลาวแงวในปจจุบัน คือ ทำนา แตก็มักมีอาชีพเสริม เชน ทำสวน เลี้ยงสัตว ปลูกผัก คาขาย ยามวางจากทำ นาบางแหงเชนในตำบลทองเอนจะเย็บงอบ เปนสินคาของตำบลที่สำคัญ บางแหงก็จะทอผาในกลุมสตรีที่เริ่มมีการทำขึ้นใหม หมูบานและที่อยูอาศัย นอกจากจะอยูตามริมน้ำลำคลอง บางแหงก็เลือกพื้นที่ของชุมชนที่หนองน้ำที่มีปาลอมรอบ มีอยูดวยกันหลายหมูบานที่ใชแหลง น้ำใหญรวมกัน ในหมูบานของชาวลาวแงวแตละแหงจะมี ศาลตาปู ซึ่งเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำหมูบานมีอยูทุกแหง ชาวบานทั่วไป เรียกวา ตาปู ซึ่งจะอยูแยกออกมาจากหมูบาน ไมไดอยูในเขตชุมชนที่อยูอาศัย ชาวบานเชื่อวาในหมูบานมีตาปูที่คอยคุมครอง ปองกันคนในหมูบานและทุกปจะมีการเลี้ยงตาปู เชน งานเลี้ยงตาปูของหมูบานหนองหินใหญ เวลาทรงมีจ้ำหรือคนกลาง เจาพอ ที่มาเขาชื่อเจาพอสนั่นองคหนึ่ง ชื่อขุนไกรองคหนึ่ง มีศาลเจาพอกับสนั่นศาลเจาพอขุนไกรคูกัน ลาวแงวมีความเคารพและกตัญูตอผีที่เชื่อวาใหคุณ เลาตอกันมาวามีการทำบุญประจำปมาโดยตลอดตั้งแตครั้งอพยพมา ลาว แงวที่หนองเมืองเลาวาปูยาตายายไดเลาใหฟงวาไดเชิญผีตาปูมาจากเวียงจันทนดวย เพราะเพื่อปกปองคุมครองใหอยูเย็นเปนสุข ลาวแงวที่บานหนองเมืองในปจจุบันไดตั้งศาลตาปูไวกลางหมูบาน ศาลตาปูนี้ชาวหนองเมืองเรียกชื่อวา ศาลเจาผีบาน ซึ่งแตเดิมก็ เรียกกันมาเชนนี48้ สวนลาวแงวที่ที่บานกกโก เขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี เลาวาลาวแงวที่นี่นับถือผีตาปูมาแตครั้ง บรรพบุรุษและไดเชิญมาจากเวียงจันทนเชนกัน ในหมูบานนอกจากจะมีศาลตาปูแลว ก็จะมีวัดประจำหมูบาน แตละวัดจะมีขนาดใหญเล็กแตกตางกันไปตามฐานะของชุมชน ใน ระยะแรกๆ คงมีแตหอฉัน ไมมีโบสถวิหารแตอยางใด หากบวชนาคก็ตองไปอาศัยวัดประจำทองถิ่นที่ใหญกวา หรือบางแหงเชน บานน้ำจั้นมีอุโบสถเปนไมทั้งหลัง มีปาชามีกองฟอนสำหรับเผาศพ ปจจุบันแทบทุกแหงก็จะมีโบสถกออิฐถือปูนของตนเองแลว กองฟอนเปลี่ยนเปนเมรุ ปาชาทำเปนที่นาใหชาวบานเชา ศาลาเปลี่ยนเปนศาลาประชาชนใชประกอบพิธีทางศาสนา บานไผใหญในอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ที่วัดไผใหญไมมีอุโบสถ วันสำคัญทางศาสนานาก็มีการเวียนเทียนรอบศาลาเล็กๆ ที่ มีการประดิษฐานพระพุทธรูป เดิมใชวิธี “ขึ้นพระ” หมายถึงนำพระพุทธรูปออกมาตั้งที่โตะกลางแจงทำเปนปะรำพิธี นิมนตพระ มาแลวทำบุญ ความสำคัญของศาลาวัดในอดีตอีกอยางหนึ่ง คือ ใชเปนโรงเรียนของเด็กๆ ในหมูบาน มีกระดานดำแบงเปนหองๆ โรงเรียนหยุด วันโกนกับวันพระ ตอมาก็จะมีโรงเรียนระดับประถมแทบทุกหมูบานและโรงเรียนมัธยมระดับตำบล หากเปนการสรางศาลาลาว จะไมมีการฝงเสาลงในดิน แตจะวางเสาลงบน “ตีนเสา” ซึ่งอาจเปนทอนไมเนื้อแข็งหรือหินมารองรับ ก็ได บางแหงก็ใชหลอแทงซีเมนตรองรับแลวใชวิธี ขื่อแปและคานเสา เหตุที่ไมฝงเสาลงดินเพราะเมื่อฝนตกชุกสภาพดินยืดหยุน โอกาสเสาจะทรุดมีไดมาก นอกจากนั้นพื้นดินที่ชุมชื้นดวยน้ำฝนเปนที่อยูของปลวกและเชื้อราตางๆ สิ่งเหลานี้จะกัดกรอนทำให เสาผุพังเร็วขึ้น การใชตีนเสารองรับจะชวยบรรเทาปญหาเหลานี้ได นอกจากนี้การใชตีนเสารองรับยังชวยใหเปนผลดีในการยาย บาน เปนแนวคิดที่เผอิญพองกับเรือนไทยทางภาคใต

48

นายราช มีเครือ, อายุ ๘๗ ป, บานหนองเมือง ตำบลไผใหญ จังหวัดลพบุรี,

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

42


วิธีการปลูกศาลาโดยไมใชการขุดฝงเสาลงพื้นเปนลักษณะเรือนแบบลาวที่ยังพบอยูทั่วไปในแถบประเทศลาว และบางแหงในเขต จังหวัดเลย อำเภอดานซาย เปนตน ในกลุมลาวเวียง ที่วัดจินดามณี ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี เริ่มสรางวัดในราว พ.ศ.๒๔๓๐ โดยพระจันดาและพระพุทธาพี่ นอง มีการสรางศาลาที่ชาวบานเรียกวา วัดจินดามณีศาลาลอย สรางมาประมาณ ๗๐ ป ศาลาวัดที่นี่สรางโดยการใชตีนเสารองรับ สูงราว ๓๐ เซนติเมตร ซึ่งเปนสิ่งกอสรางที่มีรูปแบบแปลกไปกวาศาลาอื่นๆ ในทองถิ่นนี้หรือในพื้นที่ภาคกลาง ปจจุบันศาลานี้ ตองการบูรณะโดยดวน lบานผูคนสมัยกอน เวลาจะสรางบานก็ชวนพรรคพวกกันไปตัดไมในปาเพราะมีไมอยูมากการปลูกบานไมไดทำใหญโตหลังคามุง ดวยหญาคา หมูบานเริ่มขยายตัวเพราะเปนประเพณีที่แตงงานแลวตองนำเขยเขาบานฝายหญิง ดังนั้น เมื่อลูกสาวแตงงานบาน ลูกเขยก็จะปลูกอยูรายรอบบานพอตา เปนสาเหตุที่หมูบานขยายใหญขึ้น อาหารการกิน อาหารการกินคนลาวแงวในอดีตนั้นกินอยูอยางงายๆ ผักมากมายเก็บเอาตามที่มีในหมูบานหรือตามปาละเมาะหลังหมูบาน หมู เนื้อ ไก ปลา เพิ่งนำมาใชประกอบอาหารกันบางในปจจุบัน คนลาวแงวสวนใหญไมนิยมรับประทานอาหารที่มีสวนผสมของกะทิ อาหารสวนมากจึงเปนแกงเลียง แกงสม น้ำพริกปลารา และอาหารหลักๆ ที่นิยมทำกินกันมาก คือ ปลารา ปลาจอม ปลาเจา ปลาสม น้ำพริก แจว แจวกุง ลาบ และแกงออม โดยกินแนมกับผักสดชนิดตางๆ ในสมัยที่ไมมีตูเย็น วิธีการถนอมอาหารสำหรับลาวแงว คือ นำเนื้อปลา เนื้อไก เนื้อกบหรือแมแตปลาไหลมารวนใหสุกพรอมกับ ใสน้ำปลาราคลุกเคลาตั้งไฟออนๆ จนแหง เก็บไวประกอบอาหารในวันตอ เวลาไดปลามามากๆ ก็จะแบงบางสวนมาทำปลายาง บาง ปลาเกลือบาง วิธีการทำปลาเกลือก็คือนำปลาชอนมาขอดเกล็ดเคลาเกลือหมักไว ๑ คืน เชาลางน้ำตากแดด ใหแหงสนิท จะ เก็บไวไดนานและกินอรอย ปลาราชาวบานหากขึ้นชื่อจะไมใชเพียงปลาตะเพียนอยางเดียวตองเอาปลาทุกอยางมาผสมกันจึงจะดี และตองหมักไวนานหลาย เดือนใหตัวสีแดง กลิ่นหอม ซึ่งคนไทยหรือคนคนกลุมอื่นอาจไมชอบ โดยใชเกลือหมักไมใชขาวคั่วแบบคนไทย คนลาวไมชอบ กินปลาราขาวคั่ว เพราะรูสึกวามีกลิ่นตุๆ แตก็สามารถกินได ปลาราทำจากเกลือตัวจะแข็งเก็บไวไดนาน เมื่อหมักนานเขาก็เริ่มเปนน้ำ สวนเนื้อปลาจะเละๆ ทำเสร็จแลวตองหมั่นดูน้ำสังเกตดู วามีหนอนหรือไม หากมีก็จะตมน้ำเกลือปลอยใหเย็น นำมาเทใหทวมเพื่อทำใหหนอนลอยออกมาก คอยตักหนอนออกใหหมด อาหารของลาวแงวมีหลายอยางที่ใชปลาราเปนเครื่องปรุง เชน แกงเลียง แกงสม พอตมน้ำรอนแลว จะเอาเนื้อปลาราใสคอยคน แลวกรองเอาแตน้ำปลาราใสในหมอแกง จากนั้นใสพริกแกง ใสผักแลวปรุงรสใหกลมกลอม สำหรับพริกปลารา วิธีทำเริ่มจากนำหอมเผามาตำ ใสปลาและน้ำปลาราตม พริกลาบใสเครื่องลาบ ปลาราสับ เปนตน ปลาสมนั้น เปนอาหารอรอยขึ้นชื่อและแพรหลายเปนที่นิยมทั่วไปทั้งในและนอกทองถิ่น

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

43


น้ำพริกหรือบางบานเรียกวา “แจว” วิธีการทำคือนำพริกเม็ดใหญมาเผาคอยดูอยาใหไหม หอมแดงเผารวมดวยกันสุกแลวเอา ออกมาจากไฟ ปลอยใหเย็น ลอกสวนที่ไหมออก นำไปโขลกใหละเอียด จากนั้นตมน้ำปลาราใหเดือด ใสปลาชอนหรือปลาดุกที่ ลางสะอาดลงในหมอปลารา ตั้งไฟจนเดือดรอใหสุก ตักขึ้นมาแลวปลอยใหเย็น เอาแตเนื้อปลาโขลกรวมกับพริกหอมแดงและ เกลือ เมื่อโขลกใหเขากันแลวตักใสถวยเทน้ำปลาราตมลงไป หากเค็มเติมน้ำมะนาวหรือน้ำมะขาม ตั้งสำรับทานกับผักสด ผักตม ก็ได นอกจากนี้ น้ำพริกปลาราของลาวแงว มีทั้งตำพริกสดเผา ตำพริกแหงปน ตำพริกขี้หนูคั่วซึ่งบางบานเรียกพริกแกว โดยใสปลาสด ตม หรือเปลี่ยนเปนปลาปน ปลายาง เขาไปดวยก็ได ปลาราสับ วิธีทำคือเลือกปลาราที่เปนตัว มาสับใหละเอียด ระหวางนั้นเอากระชาย ขา ตระไคร หอม กระเทียม หรือจะแยกตำให ละเอียดก็ไดใสรวมกับเนื้อมะขามเปยกรวมกับปลาราสับใหละเอียด ใสพริกแหงปนไปพรอมกัน จากนั้นนำใสถวยซอยใบมะกรูด โรยขางบน กินกับผักสด เชน ยอดมะมวงออน ใบชะพลู ถั่วฝกยาว ผักชะอม ผักกระเฉด ผักบุงสดและตม ผักกระถิน บางทีมี คนไมกินปลาราสับดิบ ก็จะนำปลารามาผัดน้ำมันหมูหรือน้ำมันพืช ขณะเดียวกันก็ทอดพริกแหงแนมดวยเพื่อเพิ่มสีสัน เคยมีคนนำปลาราสับที่เหลือ นำมาผัดกับไขไกหรือไขเปดแบบแหง แลวคลุกกับขาวกินอรอยไปอีกแบบหนึ่ง แกงหนอไมปาใสยานางหรือแกงเปรอะที่ขาดไมไดเลยคือน้ำปลารา และหมกหมอหรือหมกหนอไมก็ใสน้ำปลารา การทำหมกหมอ ตองนำหนอไมมาเจียนเปนเสนๆ น้ำปลาราขาดไมได พริกแกงนอกจาก พริก หอม กระเทียม ตะไคร แลวตองใส มักเขน เปน เครื่องเทศที่ทำใหหอม ขาวเบือ คือ นำขาวสารมาแชน้ำจนยุยแลวนำมาโขลกใหละเอียด สวนใบหญานางนำมาขยี้คั้นจนไดน้ำสี เขียว และอาจจะใสเนื้อหมูหรือไมใสก็ได นำพริกแกงมาละลายน้ำ ใสน้ำใบหญานาง ใสหนอไมและหมู ตั้งไฟ คนไปเรื่อยๆ แลว ใสน้ำปลารา ขาวเบือใสทีหลังสุด ชิมรสจนไดที่เคี่ยวไปเรื่อยๆ จนน้ำแกงเริ่มงวด แลวจึงใสใบแมงลัก ยกลงจากเตา ตำสมหมากหุงใสปลาราหรือสมตำก็ตองใสปลาราจึงจะอรอย โดยเฉพาะตำสมถั่ว ซึ่งมีเครื่องปรุงคือ ถั่วฝกยาว ปลารา พริก กระเทียม และน้ำมะขาม วิธีทำคือ ตำพริก กระเทียม ถั่วฝกยาว แลวใสน้ำปลาราหรือตัวปลาราตามใจชอบ ชิมรสเปรี้ยว เค็ม หวานใหอรอย ขนมจีนน้ำยาก็เปนอาหารที่ขาดปลาราไมได ทุกครั้งที่มีการทำน้ำยาจะตองมีสวนผสมของปลาราทุกครั้งไป ไมมีบานใดที่ทำน้ำยา แลวไมใสปลารา ในทองถิ่นนี้ปลาราที่มีชื่อที่สุดคือ ปลาราบานแปง49 เปนหมูบานริมแมน้ำเจาพระยาแตกอนจะใชปลาจากแมน้ำมาทำปลาราและ น้ำปลา เกือบทุกบานจะมีบอซีเมนตรูปสี่เหลี่ยมขนาด ๒X๒ เมตร ขางลางมีรูสำหรับน้ำออก สวนดานบนใชเสื่อคลุม เพื่อหมัก

49บานแปงเปนชุมชนเชื้อสายลาวเวียง

และเปนชื่อตำบล อยูในอำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี แบงออกเปนสองสวนคือ ไทยบาน แปงกับลาวบานแปง ติดกับฝงแมน้ำเจาพระยาทางฝงตะวันออกและติดกับถนนสายเอเชีย ชุมชนที่เรียกวาบานแปงลาวนั้นกลาวกัน วาเปนลาวเวียงที่อพยพมาจากเวียงจันทน และในทองถิ่นนี้มีวัดของกลุมลาวเวียง คือ วัดคู วัดกลางธนรินทร (ซึ่งเปนวัดเกาแก สราง เมื่อราว พ.ศ. ๒๓๘๐ มีพญากลางนรินทร หรืออีกชื่อหนึ่งคือ “เจาคุณเมืองกลาง” เชื้อสายขุนนางลาวเวียงจันทรเปนหัวหนาตั้ง ถิ่นฐานในบริเวณนี้) วันจินดามณี และวัดพุทธาราม ชาวลาวบานแปงไมไดทำบุญกลางบานกันแลว และไมมีประเพณีเลี้ยงผีตาปู ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

44


ปลาราน้ำปลา แตเดิมจะใชปลาในแมน้ำเจาพระยาโดยผูชายจะเปนคนหา และผูหญิงจะเปนคนทำ ตอมาตองซื้อปลาจากลพบุรี หรือสิงหบุรี มาทำแทนเพราะปลาจากแมน้ำเจาพระยาหมดไปนานแลว การทำปลาราของลาวเวียงบานแปงจะตางกับปลาราของคนไทยที่ปลอยใหปลามีกลิ่น แลวจึงนำไปเคลากับเกลือและขาวคั่ว แต ปลาราของชาวลาวเวียง จะนำปลาที่ไดทุกอยางเอาตัวที่ไมเล็กนักมาใช ขอดเกล็ดปลา แหวะทองเอาขี้และไสออก จากนั้นลางน้ำ ใหสะอาด นำปลามาคลุกเคลากับเกลือปนทิ้งรวมไว ๑ คืน วันรุงขึ้นดูวาปลาตัวแข็งหรือไม หากตัวตัวออนก็เติมเกลือปนลงไปอีก จากนั้นนำปลามาสัวะคือตำในครกไมแลวใสรำลงไปคลายกับปลาราคนไทย สัวะใหปลา เกลือ และรำ เขากันใหดี แลวนำไปใสใน โองหรือไหใหแนน ปดดวยกาบหนอไผแลวขัดดวยไมอีกที หลังจากนำมาใสโองหรือไหแลว ตองคอยดูหากปลาราที่ทำแลวมีหนอนขึ้น ตองตมน้ำเกลือปลอยใหเย็นสนิท แลวนำไปเติมใน ไหปลาราเพื่อใหหนอนที่อยูดานบนลอยออกมาและคอยตักทิ้ง การหมักปลาราใหเปนหรือไดที่ใชเวลาราวๆ ๔-๕ เดือน การทำน้ำปลานั้นสมัยกอนทุกบานทำเอง บานไหนซื้อน้ำปลากินจะถูกมองวาขี้เกียจ วิธีทำ คือ นำปลาทุกชนิดที่ไดมาคัดเลือกเอา ปลาขนาดเล็ก เชน ปลาสรอย ปลาซิว ไปเคลาเกลือ แลวนำไปหมักโดยใสถังที่เตรียมไวใหไดที่ใชเวลาหลายเดือน คอยตักน้ำปลา หมักไวในถังซีเมนตอีกทีหนึ่งแลวตากแดดทิ้งไว หรือจะนำน้ำมาตม กรองใสขวดก็ไดหัวน้ำปลา ปจจุบันเหลือคนที่ทำปลาราและน้ำปลานอยมาก เหตุที่เปลี่ยนไปเพราะปลาในแมน้ำเจาพระยาหายากขึ้นจนแทบไมมี และแม อาชีพทำนาเปนอาชีพสำคัญ บางครอบครัวก็ขายนาไปแลว มีการประกอบอื่นโดยการใชรถยนต เชน การเรคาขาย ทั้งการ คมนาคมสะดวกขึ้นเลือกซื้อสินคาไดเอง ไมตองทำเอง ไมยุงยาก ไมตองรอ ลูกหลานก็มีงานทำ สงเงินมาใหใชทำใหไมเดือดรอน หรือมีความจำเปนตองทำใชเองแตอยางใด สวนขนมนั้น นิยมทำกันอยางงายๆ เชน ถาขาวเหลือก็ตากใหแหงนำมาคั่วใหเหลืองแลวใสน้ำตาล เรียกวา ขนมขาวตาก สวน ขนมดาดกะทะ มีแปงขาวจาว กลวยน้ำวาสุก มะพราวขูด น้ำตาลปบ ผสมใหเขากัน นำมาดาดกับกะทะโดยใสน้ำมันเล็กนอย (การดาดคือลักษณะการทอดแบบแหงๆ) ซาละเปาก็นิยมทำกัน มักทำใสถั่วนำมาทอดกับน้ำมัน เนื่องจากตามทุงชาวนาจะหวาน พันธุถั่วตางๆ เชน ถั่วทอง ถั่วหลังแตก ถั่วลิสง ไวตามหัวไรปลายนา เก็บมาทำขนมไดงาย ขนมลอดชอง ตองใชแปงขาวจาว วิธีการทำสมัยกอนชาวบานจะนำขาวมาแชแลวโมจนไดแปงใสใบเตยใหหอมนำมากวนจนไดที่ แลวใสในกะลามะพราวที่เจาะรูใชกนขวดที่สะอาดกดใหแปงลอดชองออกมา ตมในน้ำเดือด ก็จะไดกินขนมลอดชองทำเองไม ตองไปซื้อตามตลาดกันแตอยางใด

ภาษาลาวแงว ภาษาของลาวแงวอยูในกลุม ตระกูลภาษาไท-กะได ทางตะวันตกเฉียงเหนือหรือในกลุมสำเนียงแบบเมืองหลวงพระบาง ในชุมชน ลาวแงวการพูดภาษาลาวแงวยังมีอยู เปนที่นาสังเกตวาหากบานใดที่แมเปนลาวแงวลูกจะพูดลาวแงวตามแม และมักพบบอยๆ วาคนเชื้อสายลาวแงวที่อายุมากกวา ๓๐ ป เมื่อพูดไทยแลวจะพลั้งเผลอหลุดภาษาลาวแงวออกมาบอยๆ ลาวแงวจะใชภาษาแงวติดตอกับคนกลุมเดียวกัน หากพูดกับคนตางกลุมจะใชภาษาไทยกลาง เดิมคนเชื้อสายลาวแงวจะสอนลูก หลานใหพูดภาษาลาวแงว แมปจจุบันนี้ก็ยังสอนใหพูดภาษาลาวแงวอยูแตนอยลงมาก เนื่องจากความเจริญของทองถิ่น การ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

45


ติดตอกับคนตางกลุมมีมาก ลาวแงวก็ไดรับการศึกษาในระบบมากขึ้นโอกาสในการใชภาษาลาวแงวนอยลง ตลอดจนมีการ แตงงานกับคนไทย จึงสอนลูกหลานและใชภาษาไทยกลางมากกวา ชาวลาวแงวในทองถิ่นตางๆ ก็มีลักษณะเชนเดียวกัน ดังนั้น จึงมีแนวโนมที่จะละทิ้งภาษาถิ่นของตน หันมาใชภาษาไทยกลางมากขึ้นทุกที ลาวแงวหลงเหลือแตภาษาพูดไมปรากฏวามีภาษาเขียนหรือหนังสือโบราณที่เปนตัวอักษรไทยนอยหรือักษรลาวแตอยางใด การ ใชภาษาลาวแงวในปจจุบันยังมีอยูในแทบทุกหมูบานและชาวบานลาวแงวพูดภาษาลาวแงวไดมากกวาครึ่ง การใชภาษาพูดในชีวิต ประจำวัน คนที่อายุตั้งแต ๔๐ ป ขึ้นไปมักพูดลาวแงวไดคลอง 50 การบันทึกภาษาคำลาวแงวที่ใชแตกตางจากภาษาไทยกลางอยางเห็นไดชัด เชน l

l

กำไร l

l

ใชวา l

กองแขน

l

l

กางเกงl l

ใชวาl

โซง

l

l

นอยหนาl l

ใชวาl

หมากเขียบ

l

l

ใบแมงลักl l

ใชวาl

อีตู

l

l

ฟกทองl l

ใชวาl

มะอึ

l

l

ขนุนl

l

ใชวาl

หมักมี้

l

l

มะละกอl l

ใชวาl

หมากหุง

l

l

รองเทาl l

ใชวาl

เกิ๊บ

l

l

มะเขือเทศll

ใชวา l

หมากอีเดน

l

l

นาบาว l l

ใชวาl

นาชาย

l

l

เพิ่น l l

ใชวา l บุคคลที่ ๓ /ทาน

l

l

ผเขา l l

ใชวา l สำรับขาว

l

l

โจะ

ใชวา l ยาย

l l

50

ทองถิ่นศึกษา การศึกษาขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปญญาชาวบานของชาวบานบานไผดำและชาวตำบลทอง เอน http://www.phaidam.f๒s.com/thong_en/sub_local.html ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

46


l

l

โสน

ll

ใชวา l

ทวด

l

l

พี่เขยl

l

ใชวาl

พี่อาย

l

l

รองเทาผาใบl

ใชวา l

เกิบโบก

l

l

จับl

ใชวาl

จก

ใชวาl

สาด

l

และคำที่ใชอยูในชีวิตประจำวัน เชน l

l

เสื่อ l

l

l

l

ฟูก/ที่นอนll

ใชวา l บอนนอน

l

l

ใครl

l

ใชวาl

ไผ

l

l

ทานl

l

ใชวาl

เพิ่น

l

l

ฉัน/เราl l

ใชวาl

เฮา

l

l

ริมl

l

ใชวาl

ฮิม

l

l

ชวยl

l

ใชวาl

ซอย

l

l

ทำอะไรl l

ใชวาl

เฮ็ดอิหยัง

l

l

ที่ไหนl

l

ใชวาl

ที่ได

l

l

โกหกl

l

ใชวาl

ขี้ตั๋วะ

l

l

ดวงอาทิตยl

ใชวา l ตะเว็น

l

l

ขอหนอยl l

ใชวา l

l

l

ลาน (บาน)ll

ใชวา l เดิ่น (บาน)

ขอแด

ขอสังเกตในการใชภาษาลาวแงว ๑. ร ของไทย ลาวแงวจะออกเสียงเปน ฮ ดังคำตอไปนี้

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

47


รักl l

เรือ l

l

เรือนl

l

รองl

l

รดราด

ฮักl l

เฮือ l

l

เฮือนl

l

ฮองl

l

ฮดฮาด

๒. ช ในภาษาไทย ลาวแงวจะออกเสียงเปน ซ ส ดังคำตอไปนี้ ชวยl l

ใชl

l

ชอนl

l

แชl

l

เชานา

สวยl l

ไซl

l

ซอนl

l

แซl

l

เสานาl

๓. ญ ในภาษาไทย จะเปน ย ใน ลาวแงว ผูใหญll

แมใหญl l

ผูหญิง l l

ผูหยายll

แหมหยายll

ผูหยิง

๔. คำเรียก ชื่อนำหนาผลไม จะมีคำนำหนาวา หมาก /บัก แทบทั้งสิ้น เชน มะละกอl

แตงโมl l

มะเขือเทศlนอยหนา

หมากหุง l

หมากโมl l

หมากเดนl หมากเขียบ/บักเขียบ

๕. ง คำที่เปน คุณศัพทหรือกริยาวิเศษณเมื่อเปนภาษาลาวแงว จะมีคำวา คี้ นำหนา เชน โกหกl l

ตระหนี่

คี้ตัวะl l

คี้ถี่

๖. เสียงใดก็ตามที่มี ใ- ไ- เปนคำนำหนา จะออกเสียง เปนคำที่มีวรรณยุกตจัตวา แทบทั้งสิ้น สวนสำเนียง ของพวน จะออก เสียง เ-อ เชน ภาษาไทยl

ที่ไหนl

l

ใครl

l

ได l

ภาษาลาวแงวl

ที่ไดl

l

ไผl

l

ได

ภาษาพวนl

กะเลอl

เผอl

l

-

๗. ภาษาลาวเวียง/ลาวแงว (ตางกันตรงสำเนียง) ๘. ภาษาลาวแงวกับพวน ตางกันทั้งคำและสำเนียง ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

48


การละเลนและการพักผอน วันสงกรานต ในอดีตมีการละเลนหลายอยาง ลวนเปดโอกาสใหหนุมสาวมาพบปะกัน เปนโอกาสพิเศษแหงป เชน สะบา เลนลูก ชวง ตี่จับ เลนหมากเบี้ย เขาผีนางกวัก เขานางแมว แหนางแมว บางชุมชนมีการพากันไปขุดดินสอพองมาใชในงานสงกรานตถือ เปนโอกาสใหหนุมสาวมีการเกี้ยวพาราสีกัน ตอนเย็นที่วัดจะมีการตกพระทราย การละเลนของสาวๆ กับหนุมๆ ซึ่งชอบเลนสะบาซึ่งลาวเวียงเชนที่บานแปงไมเลน เมื่อไมมีลูกสะบามาเลน เพราะไมใชพื้นที่ปาเขา หรือมีปาทึบพอที่จะหาลูกสะบาได เมื่อสัก ๓๐ ปมาแลว หนุมสาวจะเอากระปองเปลาของปลากระปองที่ใชแลวรูปทรงยาวรีมาวาง เปนเปาแทนลูกสะบา วางหางกันราวหนึ่งคืบเรียงกันเทาที่จะหากระปองได ระยะหางประมาณ ๕ เมตร แลวขีดเสนไว นำเอากน ครกที่แตกเฉพาะตรงที่เปนกอนกลมถากเหลี่ยมคมใหหมดใชแทนลูกสะบาสำหรับทอย มาวางไวบนหลังเทา ใชเทาโยนใหกน ครกไปถูกกระปอง ไดแตมเปนลูกอมเปนสตางค แตเด็กๆไมใหเลน เพราะเปนการละเลนของหนุมสาวที่นานๆ จะมีโอกาสพูดคุย กัน เพราะหากไมใชเทศกาลหนุมสาวจะทำงานอยูบานกับพอแม เมื่อมีโอกาสจึงตองใชใหเต็มที่ ในชวงลอยกระทง มีการลอยกระทงที่สระน้ำของวัด มีกรรมการวัดจัดงาน เฮ็ดเอง ลอยเอง เด็กๆ ชอบที่จะเลนขายของ การเลนแอดตะไพหรือเลนซอนหาเลนแอบกันตามกองฟาง เลนไมหึ่ม เสือตะครุบหาน ไมขามซาว เปนตน แตที่สนุกเห็นจะเปนเลนไมหึ่ม อุปกรณมีไมแม ยาวสัก ๑ เมตร ถึง ๑ เมตรครึ่ง ไมลูกยาว ๒๐ เซนติเมตร หลุมขุดกวางยาวไม เกินหนึ่งฟุต วิธีเลนแบงออกเปนสองฝายเทากัน ใชการเสี่ยงทายโดยใหแตละฝายเดาะไมโดยเอาไมแมกับไมลูกใหตัวแทนแตละฝายเดาะ หากใครไดแตมมากกวากันก็จะเปนฝายเลนกอน โดยเลนตาที่ ๑ เอาไมลูกวางไวปากหลุมงัดไมออกไปขางหนาใหฝายตรงขามรับ หากรับได ก็จะมาเปนฝายเลน อีกฝายหนึ่งจะไปรับ หากฝายใด เลนตาที่สองเอาไมแมมาถือไวโดยใหปลายไมเลยไปขางบน ประมาณ ๑๐ ซม. พรอมนำไมลูกมาวางไวหนาไมแม โยนลูกขึ้นใชปลายไมแมดีดออกไปขางหนา ถาฝายตรงขารับไมได ฝายที่ ครองการเลนอยูมีกี่คนมาเดาะแลวนับรวมกัน สมติวารวมแลวได ๒๐ ไม ก็จะตองตีใหไกลไปตกที่ใดนับเปนหนึ่งครั้ง ทำไปจน ได ๒๐ ครั้ง อีกฝายหนึ่งตองเริ่มฮึ่มมาถึงจุดที่เริ่มเลน วิธีหึ่งตองวิ่งออกเสียง “ฮึ่ม” หยุดที่ใดก็ใหสมาชิกที่เหลือวิ่งตอจนถึงจุด เริ่มตน การเลนนี้สนุกก็ตอนที่ทุกคนตองไปพรอมกันไปดูไปจับผิดวาเพื่อนจะหยุดหึ่มตอนไหน บางที่เด็กๆ เลนกันจนเพลินพอ แมตองมาตามใหกลับบานไปกินขาว อาบน้ำ กันบอยๆ พอแมจะหามเลนหมากเก็บบนบาน เพราะถือวาเลนไดเฉพาะบานที่มีคนตายเทานั้น สวนในการทำบุญฉลองงานของคนลาวสมัยกอน โดยเฉพาะชายผูสูงอายุมักฟงหมอลำ จากวิทยุ นิยมฟง ลำเพลิน ลำกลอน ลำ เดินเรื่อง มักจะมีการจางลิเกลาวมาเลนฉลองงานตางๆ เชน บวชนาค ฉลองหอฉัน เปนตน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

49


ภาพที่ ชาวลาวแงวไมมีลักษณะการแตงกายโดดเดนถือเปนวัฒนธรรมเฉพาะตัวจนเปนอัตลักษณของกลุมแต อยางใดทั้งในโอกาสพิเศษหรือการแตงกายในชีวิตประจำวัน การแตงกายในอดีตก็เปนแบบเดียวกับสมัยนิยมใน ระยะนั้น g

การรักษาโรค หมองู หมอตำแย สุขภาพอนามัย ของชาวบานน้ำจั้น เดิมในหมูบานมี ผูทำการรักษาโรคตางๆ คือ หมองู เปนคนจีน ชาวบาน เรียกวา เจกหลี แซตั้ง อีกคนหนึ่งชื่อนายหวั่น พุมเกตุ หมอผี เปนคนภาคอิสาน มาอยูที่บานบานน้ำจั้น ชาวบานเรียกวา หมอลำซอง ? หมอตำแย มีนางจันที ไมทราบนามสกุล และนางแอ พุมเกตุ หมอยาที่รักษาโรค โดยใชสมุนไพร คือนายเงิน ทองโท และอาจารยภัตรซึ่งอพยพมาจากภาคอีสาน ทานยังเปนปราชญของบานน้ำจั้น มีความรูเกี่ยวกับยารักษาโรค เกี่ยวกับการรักษา มีความเชื่อเรื่องผี ผีปอป ผีโพรง เมื่อกอนหมูบานมีปาชา

ขอหามและความเชื่อของลาวแงว ความเชื่อของคนลาว เชน หามกวาดบานตอนกลางคืนเพราะเชื่อวาเปนเสนียดจัญไร แตถากวาดดินตอนกลางคืนไมเปนไร คน ตายโหงหามนำศพเขาบาน กินสาเกแลวผมหายรวง น้ำเตาและหอยโขง ถากินแลวของดีจะเสื่อม ตนลั่นทมหามปลูกในบานเพราะ เปนตนไมสำหรับปลูกในวัด และหามปลูกตนมะขามเทศ เพราะจะทำมาหากินไมขึ้น ถาปลูกตนรักซอนภรรยาจะมีชู และใหไวผม แกละหากมีลูกแฝด51

ประเพณีและพิธีกรรม 51

จากหนังสือเอกลักษณ จังหวัดลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

50


ชาวลาวที่อพยพและถูกกวาดตอนจากการสงครามมาเมื่อตนรัตนโกสินทร เมื่อมาอยูตามหัวเมืองตางๆ ยังคงสืบทอดประเพณี วัฒนธรรม คานิยม และความเชื่อดั้งเดิมของบรรพบุรุษไว l ในขณะเดียวกันก็รับเอาวัฒนธรรมในทองถิ่นที่ตนอาศัยอยู ไปยึดถือปฏิบัติดวยเชนกัน นับไดวาเปนการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมลาวและไทยภาคกลางเขาดวยกัน เปนที่นาสังเกตวา คนลาวเหลานี้จะเครงครัดปฏิบัติตามความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม คอนขางมากกวาคนไทยเสียอีก เพราะเวลามีงานบุญหรือ งานประเพณีเราเห็นชาวลาวในงานนั้นๆ อยางพรอมเพรียงหนาหูหนาตามากกวา การทำบุญที่วัด ในอดีตเมื่อถึงวันพระที่เปนวันประเพณี ชาวบานจะพรอมใจกันมาทำบุญที่วัด หยุดงานในไรนา ไมวาจะเปนเด็ก หนุมสาว หรือ คนแก จะแตงตัวสวย ใครมีทอง มีเสื้อผาชุดใหมก็จะแตงมาอวดกันเต็มที่ สาวๆ ใสผาถุง คนแกนุงโจงกระเบนใสเสื้อสีขาวเปน สวนใหญ ผูชายก็ใสเสื้อผาสุภาพเรียบรอย เปนชวงหนุมสาวมีโอกาสมาเจอกันคุยกัน กับขาวที่นำมาถวายพระจะเปนของที่ดีที่สุดทำกันสุดฝมือ อาหารประจำคือหมี่กรอบ โดยนำหมี่มาทอดในน้ำมันที่รอนจัด พักไว เคี่ยวน้ำตาล ใสน้ำมะขามเปยก เคี่ยวใหไดที่แลวนำหมี่ที่ทอดไวคุกใหเขากัน ของหวานคือขนมหมอแกง ขนมลอดชองเปนสวน ใหญ ใครมีผลไมก็นำมา ใสไวในพาขาวหรือสำหรับ สวนขาวสุกใสขันบาตรซึ่งสวนมากจะเปนขันเงิน เตรียมธูป ดอกไมมาดวย ชวยกันถือมาวัด ผูชายแบกพาขาว ผูหญิงถือขันหรือตะกรา เมื่อถึงวัดจะยกทั้งพาขาวถวายพระ สวนขาวสุกตองใหเหลือติดกนขัน ขณะที่ฟงพระสวดถาเด็กคนไหนนอนผูใหญจะสอนวา ระวังเกิดชาติหนาจะเปนงูเหลือม หรือเด็กคนไหนดื้อชอบดาคนอื่นจะบอกวา ถายังดาอีกระวังปากจะเทารูเข็ม คนไหนที่ชอบตีพอ แมก็จะบอกวามือจะเทาใบลาน ซึ่งจะทำใหเด็กกลัวไมกลาดื้อและเชื่อฟงผูใหญกันทั้งนั้น ทำบุญเสร็จแลวกอนกลับบานจะมีการแลกกับขาว บางคนก็จะแบงกับขาวใหกับคนแกที่จำศีลอยูวัด นี่เปนเหตุผลอีกอยางหนึ่งที่ ชาวบานจะตองทำกับขาวอยางสุดฝมือเพื่อจะไดอวดฝมือกัน สวนขาวที่เหลือติดกนบาตรเมื่อตอนใสบาตรก็เพื่อจะนำมาใหเด็ก กินหรือผูใหญจะกินเองก็ไดถือวาจะไดบุญไมเปนโรคภัยไขเจ็บเลี้ยงงาย ปจจุบันการทำบุญของชาวบานไดเปลี่ยนไป จากที่เคยทำทุกวันพระวันโกน บางคนจะมาทำบุญเฉพาะวันพระใหญ เชน วันพระ ๑๕ ค่ำ วันตรุษหรือวันสงกรานต วันสารท วันเขาพรรษา วันออกพรรษา เทานั้น การบูชาพระสงฆผูใหญ : การบูชาหลวงพอโอดของลาวแงว ในทองถิ่นนี้มีพระดังๆ อยางหลวงพอโอดที่วัดจันเสน หลวงพอพรหมที่ชองแค หลวงพอแพวัดพิกุลทองที่สิงหบุรี ทั้งชาวลาว พวน ไทย และจีนตางนับถือและเขาวัดทำบุญกับวัดดังกลาวอยูเสมอ ถือวาเปนพระสำคัญในเขตนี้

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

51


สวนศูนยรวมจิตใจของผูคนในทองถิ่นนี้ คือ พระครูนิสสัยจริยคุณหรือหลวงพอโอดแหงวัดจันเสนผูลวงลับไปแลว ลาวแงวใน ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ประกอบดวย บานน้ำจั้น บานโปง บานหนองหินใหญ บานหนองตะโก บานไผใหญ เปนหมูบานที่อยูรายรอบวัดจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค ไมเพียงแตลาวแงว แตยังครอบคลุมไปถึงคน ตางกลุมตางชาติพันธุ เพราะวัดจันเสนเปนวัดใหญที่สุดในพื้นที่นี้ วัดจันเสนมีการจัดงานประจำปตลอดทั้งปทำใหคนเขาวัด สม่ำเสมอจากในหมูบานตางๆ เชน เมื่อทานยังมีชีวิตอยูในราวเดือนยี่เปนงานวันเกิด งานสงกรานตสรงน้ำพระวันที่ ๑๖ เมษายน ของทุกป จะมีงานในวันที่ ๑๔–๑๖ เมษายน หากวันเสารมีเดือนหา ขึ้น ๕ ค่ำ จะมีงานเรียกวา “งานเสารหา” ของวัดจันเสน มีการหุงน้ำมันโดยพระครูนิสัยจริยคุณรวมทำพิธี ดวยตนเอง มีทรายเสกสำหรับชาวบานเชื่อวาปองกันภัยอันตรายเปนอยางดีงานประเพณีลอยกระทง วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ทุก ครั้งที่มีงานประจำป วัดจะมีการจำหนายวัตถุมงคล มอบของที่ระลึกสำหรับผูที่ทำบุญรายเล็กรายนอย นับตั้งแต ดายสายสิญจน กระตุด (ตะกรุด) พระเครื่อง เหรียญ ที่จัดทำเฉพาะงานนั้น52 และที่ขาดไมไดเลยคือการจัดมหรสพใหชาวบานไดชม เชน ภาพยนตร ลิเก งานใหญๆ เชน งานสงกรานต งานลอยกระทง จะมีวงดนตรีดังๆ ใหชม เชน วงของไพวัลย ลูกเพชร เพลิน พรมแดน ไวพจน เพชรสุพรรณ รวมดาวกระจาย พุมพวง ดวงจันทร ในสมัยนั้นมีผูมาเที่ยวงานหลั่งไหลมาที่วัดจันเสนเปน จำนวนมาก มีทั้งมาทางรถไฟ ทั้งขบวนเที่ยวขึ้น และขบวนรถไฟเที่ยวลอง หมูบานที่อยูรายรอบวัดจันเสนเมื่อตกเย็นชาวบานก็ จะชักชวนเดินกันมาเที่ยวงานวัดจันเสนเปนกลุมๆ มีทั้งผูใหญ หนุมสาวที่มากับพอหรือแม เพราะที่บานจะมีใครคนหนึ่งที่ตอง เฝาบานหรืออาจมีการผลัดเปลี่ยนกันมาเที่ยวงาน ดวยเหตุนี้พระครูนิสสัยจริยคุณ จึงมีอุบายใหผูที่มางานอยูในงานจนใกลแจง ดวยเกรงวาเมื่อกลับบานยามดึก อาจถูกคนอื่นทำราย โดยการกำหนดใหลิเกหรือภาพยนตรทำการแสงจนแจง ชาวบานจะไดเกิน ทางกลับบานดวยความปลอดภัย แตที่นาสนใจอยางหนึ่งคือเมื่อกำหนดใหมหรสพแสดงจนแจง พระครูนิสัยจริยคุณจะจางใหมหรสพหยุดการแสดงดวยการจาง ใหหยุดการแสดงดวยเงินครั้งละ ๓๓ บาท สำหรับลิเก ๑๗๙ บาทสำหรับภาพยนตร และระนาด ๒๐ บาท ชาวบานจะคอยฟงวา งานนี้มีการจางใหหยุดแสดงการดวยเงินเทาใด แลวก็จะไปเสี่ยงโชคกันตามอัธยาศัยบาง บางถูกรางวัลก็มาก บางวาเฉียดไป เฉียดมาก็มี ทำใหเขาใจวาหลวงพอใหโชคแมนนัก แมคนลาวแงว บานตางๆ มิไดอาศัยอยูในเขตตำบลจันเสน แตก็มีเปนจำนวนมากที่ตองมาซื้อหาของใชของกินที่ตลาดจันเสน และยังมารวมบุญของวัดจันเสนอยางสม่ำเสมอ กิตติศัพทอยางหนึ่งของหลวงพอโอด ในหมูลาวแงว คือ ทานทัก ทานทายใจ แมนยำ หากชาวบานใดมีเรื่องเดือดรอนใจ เชน ของหาย คนหาย หรือของถูกลักขโมย เมื่อมาหาทานบอกเลาเรื่องราวที่รอนใจ ทานจะจับยามสามตาบอกวาพบหรือไมพบหรือของนั้นอยูที่ใด กับบุคคลลักษณะใด เขาทำนองวา มีเรื่องรอนมาก็จะเย็นไปและ สบายใจเมื่อกลับบาน หลวงพอโอดทานพูดนอย ใบหนายิ้มแยมตลอดเวลา ใจดี เยือกเย็น จากบุคลิกนี้ แมชาวบาน จีน ไทย ลาว พวน ตางก็ศรัทธา และนับถือทานเปนอยางยิ่ง และเชื่อวาวัตถุมงคล นับจากดายสายสิญจน ลูกอม เหรียญ สีผึ้ง ตะกรุด พระรูปหลอหลวงพอนาค รูปหลอหลวงพอโอด หากบุคคลใดมีไวติดตัวจะคลาดแคลว แลอยูยงคงกระพันมีเมตตามหานิยม

52

พระสิทธิพันธ โสโก อายุ ๔๕ ป ๒๒ พรรษา

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

52


ชาวลาวแงวในละแวกนี้ตางมีวัตถุมงคลของหลวงพอโอดติดตัวไวแทบทุกคนทุกบาน บางคนตองจัดหาคนในครอบครัวทั้งตนเอง บุตรสาว บุตรชาย

ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต การเกิด ในชุมชนลาวแงว สำหรับหญิงที่มีครอบครัวเมื่อสัก ๔๐ - ๕๐ ปมาแลว มักจะสังเกตตัวเองหากประจำเดือนไมมาก็แสดงวาทอง และไมไดไปอนามัยหรือหาหมอฝากครรภแตอยางใด เพราะทุกหมูบานมีหมอตำแยก็จะออกไปทำงานในไรในนาตามปกติ บาง คนทำงานจนไมรูตัววาถึงกำหนดคลอด ออกไปทำนาก็คลอดลูกนอกบานหรือที่นาก็มี บางคนจะมีอาการ เชน ตัวบวม จึงหยุดอยู บานและเตรียมพรอมที่จะคลอด เมื่อตั้งทองราวแปดเดือนฝายสามีจะไปตัดฟน พวกไมสะแก ไมมะขาม ไมตะโก เพราะวาควันทำใหไมแสบตา เวลาอยูไฟจะไม ออกรอนมากเกินไป กวาจะถึงกำหนดคลอดฟนก็แหงพอดี พอรูวาจะมีคนคลอดลูกเพื่อนบานก็จะมาอยูชวยกัน บางคนก็ทำเบาะ ให เพราะมีขอหามวาเวลามีทองตอนอยูไฟหามยัดนุน หามทำอะไรที่ตองยัดนุน เชน หมอน เบาะ หรือที่นอนของลูก และคนสมัย กอนจะไมเตรียมเสื้อผาไวเพราะถือวาเปนลางไมดี เวลาแมจะพาลูกออนออกจากบานก็เอาดินหมอปายหนา วากันวาเด็กนาชังผี จะไมเอาตัวไป และหากเมียมีทองหามผัวหามผีถือกันวาลูกเกิดมาจะเปนใบ เวลาคลอดลูกจะตองมีการอาบน้ำบนบาน ก็จะเอาไมที่มีหนามมาสะไวใตถุนปองกันผีไมใหเขามา สวนอาหารคนหลังคลอดก็จะ กินขาวกับเกลือหรือกับปลาเกลือ กินแกลมกับกระเทียมดอง ขิงดอง บางทีก็มีแกงเลียงเพราะจะทำใหแมมีน้ำนม หามกินของ เย็นหรืออาหารที่เปนเมือกๆ สวนผาออมมักจะใชผานุงเกามาฉีกเปนผาออม แมมักจะเลี้ยงลูกจนเกือบหนึ่งป เพราะจะใหกินนม แมตลอด ก็มีความผูกพันกันดี การอยูไฟก็ยังมีการทำกันอยูบาง แมจะเปนสิ่งที่ถูกมองวาเปนการรักษาแบบโบราณ แตก็เปนการดูแลที่เชื่อมความรักความ อบอุนสงผานแกเมียหรือลูกสาวของพอแม เพราะแมของลูกสาวจะดีใจที่ทำกันอยางธรรมเนียมเดิมๆ พอกับแมไปหาไมฟนไม สะแกมาเตรียมไวเพราะเชื่อวา ถาใครอยูไฟไดรางกายจะแข็งแรง ไมหนาว ไมสะบั้นเวลาฟาฝนมา ไมอวนไมบวม ทำใหรางกาย สมสวน การอยูไฟ ตองเลือกบริเวณที่เปนเพิงมิดชิดกันลม นำไมกวาง ๑ เมตร ยาว ๑ เมตร วางบนสังกะสีที่อยูบนดินที่ปรับใหเรียบ นำ ฟนมาเรียงกอไฟ ตองคอยระวังไมใหไฟลุกโชน และตองมีคนคอยดูไฟให เพราะบางทีแมลูกออนนอนหลับเพลินไฟก็จะรอนเกิน ไป หากไมไหวหรือแอบราไฟ คนเฝาก็จะคอยเดิมใหสม่ำเสมอ ระหวางอยูไฟคำใดไมเปนมงคลหามพูด เวลาคนอยูไฟเปนผื่นหามทัก ใหอาบน้ำวันละครั้ง การอาบน้ำอยูไฟยุงยากมาก เพราะจะ ตมน้ำใสหมอใบใหญ ใสใบมะขาม ใบสมปอย กอนจะอาบยกหมอน้ำที่ตมเดือดไวลงวางบนพื้นใหแมลูกออนมานั่งโดยกมหนา ใหตรงกับหมอใหใบหนาถูกไอน้ำแลัวเอาผามาคลุมทำเปนกระโจมรมใหเหงื่อออก นานสัก ๒๐–๓๐ นาที พอน้ำเย็นลง นำน้ำนั้น อาบใหอาบอยางเดียวไมใหถู โดยเฉพาะใบหนา เพราะจะทำใหเนื้อหนังหยอน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

53


หากมีอาการของพิษไฟ ตัวรอนเปนผื่นทุรนทุราย ตองหาคนที่ดับพิษไฟเปน สวนใหญก็จะเปนหญิงสูงอายุ เอาสะระแหนเคี้ยวกับ เหลาขาว ทองคาถาแลวพนใสตัว คนที่ไมไดอยูไฟ มักจะบอกวา เวลาครึ้มฟาครึ้มฝนจะหนาวสะบั้น ทำอะไรอยูกลางแจงก็ทนไมไดตองรีบขึ้นบาน ทำรางกายให อบอุน หาเสื้อผาหรือผาหมมาหมไว แตคนที่เคยอยูไฟหลังคลอดลูกจะไมมีอาการเชนนั้น ในอดีตตามหมูบานมักมีหมอตำแย กอนที่จะมีสถานีอนามัยหรือกอนที่มีการคมนาคมที่สะดวก ถาหมอตำแยทำคลอดใหเด็ก รอดปลอดภัย บานนั้นตองมีการสมมา คือ ตอบแทนเงินคาครูคาย หมากพลู สวนการโกนผมไฟจะทำกันเองในครอบครัวโดยผูใหญของบาน เริ่มจากเอาคนเฒาคนแกตัดผมหรือขลิบผมเด็กๆ ถามีลูกแฝด หรือเลี้ยงยาก หรือลูกรองไมหยุด ไมสบายบอย คนเฒาคนแกจะทำตุกตา แลวทำทรง ผมจุก ผมแกละ ผมโกะ เสี่ยงทายใหเด็ก นอยจับจับไดตุกตาแบบใดก็จะไวผมทรงนั้น การแตงงาน มีการทำพาขวัญทำที่บานเจาสาว ตั้งพาขวัญไวที่หัวนอนสามคืนจึงรื้อทิ้ง ประกอบดวย บายศรีปากชาม มีการไหวผีของตระกูล บอกกลาวแตก็ไมเปนกิจลักษณะเทาใดนัก เวลาทำพิธีมีครูคาย ในปจจุบันการแตงงานเปลี่ยนแปลงไปตามสมัยนิยม ผูที่ออกไป ทำงานนอกหมูบานก็มักจะไดเขยและสะใภตามภูมิลำเนาที่ตนไปทำงานหรือโยกยายไปอยูอาศัย อยางไรก็ตาม ในปจจุบันก็ยัง นิยมแตงงานกันในเดือนคู เชน เดือน ๔ หรือเดือน ๖ การอุปสมบท กรณีที่ลูกมีความประสงคจะบวช พอแมจะดีใจและรีบบวชให เพราะเปนความสมัครใจไดอานิสงฆทั้งผูบวชและพอแม ผูบวชจะ เตรียมตัวโดยการไปอยูวัด ๓-๗ วัน เพื่อทองบทสวดมนตตางๆ ซึ่งในปจจุบันก็ยังคงปฏิบัติกันอยู ในวันงานพิธี มีการนำนาคมาโกนผมโดยพอแมจะเปนผูตัดปอยผมกอน ตามดวยญาติผูใหญ นำใบตองมาหอผมที่โกนไปไวตาม ตนไม เชื่อกันวาจะทำใหอยูเย็นเปนสุข แลวอาบน้ำนาค แตงกายดวยเสื้อผาสีขาว ญาติจะนำสรอยทอง เข็มขัดนากมาใหนาคใส มี การสอนนาคโดยพระสงฆหรือเจาอาวาสหรือพระผูใหญที่นับถือที่แตเดิมใหหมอทำขวัญ แลวมีการกินเลี้ยงทั้งเชาเที่ยงเย็น หาก บานใดเลี้ยงดูบกพรองก็จะเปนที่เสียหนาได หลังจากนั้นจึงนำนาคเขาพระอุโบสถทำพิธิบวช แลวจึงมีการฉลองพระใหมอีกโดย ญาติมิตรซึ่งพระบวชใหมไมไดเกี่ยวของดวยแลว ในปจจุบันการบวชกลายเปนเรื่องของความมีหนามีตาในสังคม ตองมีวงดนตรี มีการกินเลี้ยง และพอแมตองเปนฝายเตรียมเงิน สำหรับจัดงาน บางครอบครัวตองกูยืมเงินทองมาสำหรับการจัดงานโดยเฉพาะ เพราะบานใดไมสามารถจัดงานเชนนี้ไดก็จะรูสึก ตอยต่ำกวาเพื่อนบานและเปนการเสียหนาของครอบครัว การตาย ในอดีตเมื่อมีคนตาย คนเฒาคนแกมักไมใหลูกหลานไปงานศพ การสวดศพสวนใหญจะสวดกัน ๓ คืนที่บานผูตายแลวจึงเผา หากมีการแหคนตายผานหนาบานทุกบานจะปดประตูหนาตางหามเด็กๆ ออกมา การแหคนตายไปเผาจะใชเชือกคลองโลงดาน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

54


หนาและหลัง ใชไมสอดมีคนหามสองคนหัวและทาย และหากบานใดมีงานศพหากนำศพลงจากบานจะถือเคล็ดตองเทน้ำในโอง บนบานใหหมด เวลาเผาศพก็จะใชเชิงตะกอนกลางแจงตองมี “ไมขมศพ” คือไมทอนหนักๆ ที่จะทับศพไมใหโคลงตัว หากคนตายโหงจะนำไปฝง ไวที่ปาชากอนราว ๑ ป แลวจึงนำมาเผาภายหลัง เวลาเผาศพ จะมีถังน้ำใสลูกมะกรูดเผา เพื่อใหชาวบานที่มาเผาศพลูบหนา ถือวา จะไดไมติดตา ซึ่งยังคงทำสืบเนื่องมาจนถึงปจจุบันในวัดบางแหง และในอดีตคนเฒาคนแกที่ไปงานศพจะถือมีดมาดวยแลวขาก ลับจะใชมีดฟนกิ่งไมกิ่งเล็กๆ เพื่อเปนเคล็ดวาผีที่อาจมาดวยจะไดจำทางกลับได การนำศพเขาสูเชิงตะกอน จะมีพระสงฆจูงหนาศพ ตอมาคือผูนำทางถือหมอดินใสขาวตอกคอยหวาน และลูกหลานถือรูป กระถางธูปชวยแบกโลงหรือเข็นโลงวนรอบเมรุ ๓ รอบ แลวจึงประชุมเพลิง ตางจากปจจุบันที่ไมวาจะตายอยางไร ก็จะสวดศพทำพิธีที่วัดอยางนอย ๓ วัน และปาชาของหมูบานก็กลายเปนที่นาไปจนหมด

ภาพที่ การอุปสมบทของลูกหลานคนลาวแงวตางชวงเวลา

ประเพณีเกี่ยวกับการทำมาหากิน ^การทำขวัญขาว การทำนาในอดีตมีพิธีกรรมหลายอยาง ตั้งแตเริ่มทำนาก็คือ แรกนา ทำเฉพาะพื้นที่เล็กๆ และเมื่อขาวเริ่มตั้งทองก็จะมีเลี้ยงขวัญ ขาว เชน สมเขียวหวาน มีการหาบขาวเขาลาน เก็บขาวเขายุงก็จะมีพิธีเรียกขวัญหรือเอิ้นขวัญ และพิธีเปนที่ทราบกันทั่วไปและยังมีผูจดจำได คือ การเรียกขวัญขาว จะทำในขณะที่ขาวเริ่มตั้งทองออกรวงในราว เดือน ๑๐ ชาวบานลาวแงวเรียกวา เอิ้นขวัญขาว ตามบานมีไมแมโพสพเรียกวา ไมคาถา พอโซนหรือผูเฒาที่เปนปูหรือตาจะเปนคนทำให เรียกขวัญเวลาขาวตั้งทอง ซึ่งจะมีขนมจันอับ เผือกตม มันตม กระจก น้ำหอม เสื้อผา เพื่อเอาใจแมโพสพ เมื่อเกี่ยวขาวแลว จึงมีการนวดขาวบนลานบานโดยใชแรงวัวควายย่ำลงบนฟอนขาว บางบานจะทำบุญนวดขาวโดยการทำบุญ เลี้ยงพระ เมื่อจะนำขาวเขายุงมีการ “เอิ้นแมโพสพ” เพื่อเรียกใหแมโพสพไปอยูในยุงในฉางในราวเดือน ๓ ขึ้น ๓ ค่ำ สวนใหญถือ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

55


เอาวันศุกร ไมใหพอชายไปเอิ้น เพราะมีนิทานเลาวา แมโพสพเปนหญิงสาวไมมีผัว มีคราวหนึ่งเมียไมวางยุงอยูใชผัวไปเอิ้นแม โพสพ เมื่อผัวเห็นแมโพสพเปนแมหญิง ผัวจะทำมิดีมิราย แมโพสพเลยหนีไป ตั้งแตนั้นมาตองใหผูหญิงไปเรียกแมโสพ เวลาไป เรียกแมโพสพตองเตรียมของใสตะกราไป มีขนม แปง กระจก น้ำอบ น้ำมัน หวี ผาถุงใหม ขาวสุก ไขตม และมีไมคาถา ๔ อัน แทนทิศทั้ง ๔ ทำจากไมไผขนาด ๑ ฟุต เขียนเปนอักษรขอม เวลาเอิ้นตองไปที่นาแลวหันหนาบอกแมโพสพทั้งสี่ทิศ เอิ้นแลวเอาผาคลุมตะกราแมโพสพกลับบาน ไมพูดคุณกับใครจนกวาจะ นำตะกราแมโพสพไปวางไวในเลาขาว หากถึงเวลาขายขาวในเลา ตองจง (แบงหรือเก็บ) ขาวไวในเลาหรือยุงขาวเพื่อใหแมโพสพ ดวย แลวบอกแกแมโพสพวา แมโพสพกลับมาอยูยุงกระดานฝาแปน อยูแลวก็กันบใหตกจกบพรอง ใหอยูในเลาเดอ53 แตเดิมหากชวงกอนทำนาปใดฝนฟาแลงก็จะมีการแหนางแมว เพื่อขอใหฝนตกเพื่อเตรียมตัวในการทำนาตอไป นอกจากนี้ยังมี การกองขาวทำบุญลาน ซึ่งตองนิมนต ๙ รูป ทำบุญที่ลานบาน

ประเพณีสิบสองเดือน สำหรับความเชื่อโดยทั่วไปที่ยังคงประเพณีสิบสองเดือนแบบดั้งเดิมของวัฒนธรรมลาวแงวในชุมชนตางๆ ในปจจุบัน คือ การ ทำบุญเลี้ยงตาปูซึ่งเปนศาลผีประจำหมูบาน ทำบุญตรุษสงกรานต ทำบุญเขาพรรษา กอนวันเขาพรรษามีการหลอเทียนถวายพระ การทำบุญขาวยาคู การจุดไตหางประทีปในวันออกพรรษา และการทำบุญกลางบาน เชน บานไผใหญจะทำบุญกลางบานเดือน ๖ วันอังคารขึ้นแรมแลวแตชาวบานจะตกลงกัน สารทลาวจะมีกลางเดือน ๑๐ และการทำบุญสลากภัตร เปนตน แมสภาพสังคมจะเปลี่ยนแปลงไป ประเพณีตางๆ ซึ่งเกี่ยวของกับการทำนาไดเปลี่ยนแปลงไปจนหมดสิ้น แตก็ยังคงมีประเพณี สิบสองเดือนที่ยังคงทำสืบเนื่องอยูในชุมชนลาวแงวอยู และมีลักษณะที่ไมเหมือนกับชุมชนคนไทยในภาคกลางทั่วไป ไดแก ^เดือนอาย ทำบุญขาวยาคู เดือนอายหรือราวเดือนธันวาคม เปนชวงการเกี่ยวขาวหนัก และหมูบานบางแหงจะมีการทำบุญขาวยาคู การทำบุญขาวยาคูของ ลาวแงวแตเดิมไมไดทำ แตเมื่อมีอาจารยมาจากภาคอีสานมาเริ่มแนะนำใหทำเฉพาะที่บานน้ำจั้น54 ซึ่งชาวลาวแงวก็รับมาปฏิบัติได อยางกลมกลืน แมอาจารยภัตรจะนำการกวนขาวยาคูมาจากภาคอีสานนานแลว แตชาวบานก็ยังถือปฏิบัติติดตอกันมาจนถึง ปจจุบัน การทำบุญขาวยาคูในทุกวันนี้ที่บานน้ำจั้นจึงเปนการทำบุญแบบภาคอีสาน วันที่มีการทำบุญยาคูตรงกับเดือน ๑๒ แรม ๘ ค่ำ ชวงวันเวลาดังกลาว ขาวของชาวบานกำลังตั้งทอง กอนวันทำบุญหนึ่งวัน ชาวบานจะมาพรอมกันที่วัดเวลา ๑๙.๐๐ น. เพื่อ ชวยกันกวนขาวยาคู

53

สัมภาษณนางสังเวียน วันทอง อายุ ๗๔ ป บานเลขที่ ๑๓ หมู ๒ บานไผใหญ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

54

นางไร มะเริงสิทธิ์ อายุ ๖๐ป, ๘๐ หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

56


ขาวยาคูมีสวนประกอบดังนี้ ขาวน้ำนมที่ชาวบานนำมาจากนา น้ำตาล น้ำกะทิ แปงขาวจาว มาผสม กอนจะกวนขาวยาคู จะตองนำ เด็กหญิงพรหมจารี55 มากวนกอน ชาวบานจะชวยกันกวนใหครบทั้ง ๓ กะทะ จนกวาจะสุก สังเกตวามีสีออกเขียวนวล จากนั้นนำ ขาวยาคูมาเทใสถาดที่เตรียมไว ปลอยไวใหเย็นเก็บไวในที่มิดชิด ชวยกันทำความสะอาดอุปกรณทั้งหมด ใชเวลาในการกวน ทั้งหมดเกือบ ๓ ชั่วโมง จากนั้นจึงแยกยายกันกลับบาน รุงขึ้นคือวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ ชาวบานมาทำบุญตามปกติ โดยจะเตรียมขาวมาตักบาตร มีของคาวหวานมาทำบุญ ชาวบาน ซึ่งเปนผูรูนำขาวยาคูที่กวนไวตอนกลางคืนมาตัดเปนชิ้นโรยดวยมะพราวจัดใหสวยงาม เตรียมถวายพระพรอมกับอาหารของชาว บาน จากนั้นมัคทายกกลาวบูชาพระรัตนตรัย อาราธนาศีล รับศีล พระสงฆเริ่มสวดมนต ถึงบทพาหุง ชาวบานเริ่มลงมือตักบาตร เตรียมไวใหพรอมทั้งของคาวของหวานพรอมดวยขาวยาคูเตรียมไวสำหรับพระพุทธและพระสงฆ เมื่อพระสวดมนตจบแลวก็จัด ถวายไดทันที เมื่อพระสงฆฉันเสร็จแลวพระสงฆอนุโมทนา ขณะพระวาบทยะถา ใหเริ่มกรวดน้ำ พอพระวาบทสัพพี พึงประนม มือรับพรไปจนจบ เมื่อเสร็จสิ้นการทำบุญแลวจะมีการนำขาวยาคูทั้งหมดมาแจกจายใหกับชาวบานโดยทั่วกัน การทำขาวยาคูนี้เชื่อวา เปนยา เปน ของดี กินแลวหายโรค หายภัย ปจจุบันมีการเปลี่ยนวันกวนและการถวายขาวยาคูมาเปนวันที่ ๕ ธันวาคม ซึ่งเปนวันพอแหงชาติของทุกป เนื่องจากปจจุบัน ชาวนาทำนาไมพรอมกันขึ้นอยูกับน้ำจากชลประทาน จึงกำหนดใหมีการกวนขาวยาคูมาเปนวันที่ ๔ ธันวาคม และถวายขาวในวัน ที่ ๕ ธันวาคม กลางเดือน ๕ งานบุญสงกรานต ในอดีตประเพณีสงกรานตตามหมูบานบางแหง เชน บานน้ำจั้น ทำกันถึง ๑๕ วัน ซึ่งจะทำกลางเดือน ๕ ในวันสุดทายของการ ทำบุญสงกรานตจะมีพิธีสรงน้ำพระ เรียกวา ฮดสง การสรงน้ำพระแตเดิมมีการปลูกรานใหพระนั่ง สานตะแกรงไมไผกวาง ประมาณ ๑ เมตรครึ่ง วางไวบนราน จากนั้นก็หาไมไผลำยาวๆ เจาะรูหางเทาๆ กัน ระยะเทากัน จำนวนรูเทากับจำนวนพระ จาก นั้นนำลำไมไผที่เจาะรูแขวนไวกับตนไม นิมนตพระนั่งเรียงลำดับจากหัวแถวถึงทายแถว เมื่อถึงพิธีสรงน้ำพระ ชาวบานจะนำน้ำอบและดอกไมลอยในขัน แลวใสลงไปในลำไมไผ น้ำจะไหลไปตามลำและเมื่อถึงรูที่เจาะ ไวน้ำก็จะไหลลงไปยังองคพระที่นั่งอยู จากตนแถวถึงปลายแถว สวนดอกไมในน้ำก็จะไหลตกลงบนตะแกรงที่สานไวบนรานที่ พระนั่ง เปนการสรงน้ำพระ และบางหมูบานยังมีพิธีอาบน้ำตาปูดวย56 พิธีที่สำคัญในวันสรงน้ำพระจะมีการ กอเจดีย” เพื่อหาเงินเขาวัด บางแหงที่หมูบานไมติดกับลำน้ำ แตเดิมนั้นใชกอนกรวดที่หาได ในหมูบานมากอเปนเจดีย มีธงปก แลวใสเงินเขาไปในกองกรวด จะใสเทาไรแลวก็แตศรัทธา สาเหตุที่ใชกรวดเพราะแตเดิมไมมี 55

นางวันเพ็ญ จำปาแดง อายุ ๔๐ ป, หมูที่ ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

56

สัมภาษณ นายที นางบุญรอด ชางเสา, อายุ ๘๐ ป, ๑๔ หมู ๒ บานไผใหญ ตำบลสายหวยหวย อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, เลา วาที่บานไผใหญไมเปลี่ยน การเรียกชื่อ “ตาปู” เหมือนหมูบานอื่น เพราะเคยเรียกเปนอยางอื่นแลวเจ็บไขไดปวย ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

57


ทราย ตอมาเมื่อในหมูบานมีการกอสรางมีทรายเขามา ชาวบานก็กอเจดียทรายหรือที่เรียกวา กอพระทราย แบบเดียวกับกอกอง กรวด ตอมาก็เปลี่ยนจากกอกองทรายเปนกอเจดียขาวเปลือก โดยชาวบานจะนำขาวเปลือกมากอในบริเวณลานวัด แลวแตใคร จะนำมามากนอยเพียงไร มากอรวมกันไวในลานวัด ปหนึ่งๆ ไดประมาณ ๓๐-๔๐ ถัง ซึ่งพระก็นำขาวเปลือกไปสีและเก็บไว เปนภัตตาหารของพระสงฆหรืออาจจะนำไปขายแลวนำเงินมาบำรุงวัดแลวแตทางวัดจะจัดการ แตพอมาถึงปจจุบันก็เปลี่ยนจาก กอเจดียขาวเปลือกมาเปนกอเจดียขาวสาร ซึ่งชาวบานก็นำมามากนอยแลวแตศรัทธาใหทางวัดเก็บไว การกอเจดียขาวสารนี้มิไดกอที่ลานวัดเพราะเกรงวาจะสกปรก จึงขึ้นมากอบนศาลา โดยพื้นศาลามีการปูเสื่อ ซึ่งการกอเจดียนี้จะ มีการใสเงินและปกธงไวที่เจดียทุกครั้ง นอกจากพิธี กอเจดีย แลว ชาวบานจะมีประเพณี อาบน้ำผูใหญ เด็กๆ หรือหนุมสาวตางไมลืมประเพณีการอาบน้ำผูใหญใน หมูบาน ซึ่งประเพณีนี้ไมกำหนดวันตายตัวอาจจะเปนวันที่ ๙ หรือ ๑๐ ของงานสงกรานต หนุมสาวจะพากันตระเวนอาบน้ำคน เฒา คนแกในหมูบานมีการน้ำเสื้อ ผาถุง หรือผาขาวมา อาจมีปจจัยเปนเงินทองมอบใหกับผูเฒาผูแกดวย ทางบานของผูเฒาก็จะ ทำน้ำขาวไวแจกใหกับลูกหลานไดดื่มกัน และเมื่อลูกหลานอาบน้ำใหผูเฒาแลวก็จะขอพรจากผูเฒา ผูเฒาก็จะสวดยถา สัพฺพี ไป จนจบ จากนั้นก็จะอวยพรพรอมทั้งผูกสายสิญจนใหกับหนุมสาวที่มาขอพร ซึ่งชาวบานถือวาการอาบน้ำผูใหญและไดรับพรจาก ผูใหญถือเปนศิริมงคลแกชีวิต จะทำใหชีวิตพบกับความเจริญรุงเรือง ลาวแงวบานทองเอนจะมีพิธีที่เปนเอกลักษณแตกตางคือ “การสงหอขาว” หมายถึงการนำหอขาวไปเซนไหวบรรพบุรุษและผูที่ ลวงลับไปแลวตามธาตุ เจดียในวัดของชุมชน57 การละเลนในงานสงกรานต นอกจากจะเปนประเพณีกอเจดียแลว ยังมีการเลนสนุกสนานเชน การเลนสะบา หรือลงผีนางดง นาง สุม นางกวัก และการแหนางแมวที่แฝงนัยยะของประเพณีเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ สำหรับในปจจุบันประเพณีตางไปจากที่กลาวมาแลว และคอนขางจะหลงเหลืออยูนอย เพราะลูกหลานสวนมักยายถิ่นฐานไป ตามชีวิตที่หนาที่การงานเปลี่ยนแปลง โดยโยกยายออกไปทำงานที่อื่นหรือทำงานในเมืองหรือการแตกแยกครัวเรือนไปอยูที่อื่น ทำใหไมสะดวกตอการที่จะกลับมารดน้ำผูใหญในวันสงกรานต แตก็ยังพอมีอยูบางในชุมชนลาวแงวบางแหง58

เดือน ๖ ทำบุญกลางบาน เลี้ยงตาปู การทำบุญกลางบานซึ่งบางชุมชนก็เรียกวา “ทำบุญเบิกบาน”59 มักจะมีอยูในชุมชนลาวแงวแทบทุกชุมชน คือ การทำบุญที่ชาว บานทุกครัวเรือนจะมารวมกันบริเวณกลางลานวัด โดยประมาณมักจะเปนวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ เชน ที่บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ 57

สัมภาษณ นายวันดี อวนพี, อายุ ๖๕ ป, ๕๐ หมู ๓ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

58

นายมวน หนูแสง อายุ ๗๘ ป อาชีพ ทำนา บานเลขที่ ๗๔ หมู ๔ ตำบลน้ำจั้น อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๔. 59

สัมภาษณ นายวันดี อวนพี, อายุ ๖๕ ป, ๕๐ หมู ๓ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ลาวแงวทองเอน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

58


อำเภอบานหมี่ พระสมุหยงค ธมจารี60 เลาวา ชาวบานจะทยอยกันมาตั้งแตเวลา ๖.๓๐ น. ชาวบานความเชื่อวาการทำบุญกลาง บาน เปนการทำบุญเพื่อเปลี่ยนรางเสียเคราะห หรือที่เรียกวาเปนการทำบุญสะเดาะเคราะหนั่นเอง สิ่งที่ตองจัดเตรียมมารวมในการทำพิธีคือกระทงสามเหลี่ยมหนาวัว ภายในกระทงประกอบดวย ✴ รูปปนตุกตาชายหญิงเทาจำนวนสมาชิกภายในครอบครัว พรอมทั้งรูปปนสัตวเลี้ยงภายในบานที่มีอยู รูปปนอุปกรณ เครื่องมือ

การเกษตรที่มีอยูทุกชิ้น บางทีก็ใชดินเหนียวปน บางบานปนเปนสีขาวเพราะใชแปงขาวเหนียว และเชื่อวาจะไดมีผิวพรรณขาว หมดจดนาดูนาชม ถาใชดินเหนียวปนก็จะทำใหผิวพรรณดำคล้ำไมผองใสไมชวนมอง บางบานใสเสื้อผาใหกับตุกตาที่ปนโดยใช กระดาษแกวที่ทำกระดาษวาว ซึ่งชาวบานเชื่อวาจะไดมีเสื้อผาไวสวมใสตอไป ✴ สิ่งของในครัว ไดแก หอมแดง พริกแหง ปลารา เพื่อความอุดมสมบูรณในเรื่องอาหารการกิน ✴ ผลไมสุก เชน มะมวง ขนุน และทุเรียน เพื่อจะไดมีความสุข มีผูอุปถัมภค้ำชูและมีเงินทองมากมาย ✴ ขนมหวาน ไดแก ขนมหมอแกง ขนมชั้น และเม็ดขนุน เพื่อชีวิตที่สดชื่น มีขาวปลาอาหารที่อุดมสมบูรณมิไดขาด ✴ ขาวดำ ขาวแดง ขนมจีนหรือเสนหมี่ ซึ่งของสามสิ่งนี้จะขาดไมได เพราะขาวดำกับขาวแดงเปนสัญลักษณแทนความชั่วรายหรือ

สิ่งที่ไมดี จะไดสงหรือสะเดาะเคราะหออกไปจากตัว สำหรับเสนหมี่ เมื่อสะเดาะเคราะหแลวจะมีชีวิตใหมที่ยืนยาว ✴ น้ำ ๑ ขวด โดยมีหญาคา ๙ เสนขมวดรัดขวดน้ำ เพื่อจะไดมีน้ำดื่มตอไป ✴ ธูป ๑ ดอก ดอกไมเทาไรก็ได และธงสามสีตัดผมตัดเล็บใสลงในกระทง

ภาพที่ ๑๕ การทำบุญกลางบานหรือบางหมูบานเรียกวาบุญเบิกบานที่บานน้ำจั้น รวมทำบุญบริเวณ ลานวัดหนาโบสถ ซึ่งจะนำสิ่งของตางๆ มารวมกันกอน มักจะทำกันในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖

60

พระสมุหยงค ธมจารี ซึ่งมีอายุ ๗๔ ป บวชได ๑๖ พรรษา

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

59


ภาพที่ ๑๗ และ ภาพที่ ๑๘ แตละบานหรือแตละครอบครัวจะแทนดวยกระทงสามเหลี่ยมหนึ่งกระทง ซึ่ง บรรจุขาวเหนียวปนเปนรูปบุคคลเทากับจำนวนสมาชิกในครอบครัว สัตวเลี้ยงในบาน อาหารคาวหวาน พริก หอม กระเทียม น้ำ และถังทรายใสหญาคา ซึ่งเชื่อวา กระทงเหลานี้จะเปนตัวแทนของการเปลี่ยน รางเสียเคราะห หมายถึงใหโชครายหรือเคราะหกรรมตางๆ หายไปกับกระทงสามเหลี่ยม และเมื่อเสร็จพิธี ก็จะนำน้ำที่ใชในพิธีนี้ไปประพรมรอบบาน ถือเปนการทำบุญบานไปดวย

เมื่อเตรียมสิ่งของในกระทงของแตละบานเรียบรอยแลว สิ่งที่ตองนำมานอกจากนี้ คือ น้ำ ๑ ขวด สำหรับทำน้ำมนต หญาคามัด รวมกัน จำนวน ๓ หรือ ๕ หรือ ๗ หรือ ๙ ตนก็ได มัดรวมกันแลวใสไวในขวดน้ำ สายสิญจนพันไวรอบๆ ขวดน้ำ ทรายใสในถัง น้ำ และอาหารคาวหวานจัดใสปนโตสำหรับถวายภัตตาหารแดพระสงฆเมื่อเสร็จพิธี เมื่อถึงเวลาประมาณ ๗.๐๐ น. พระจะเริ่มพิธีโดยสวดมนตเย็น ซึ่งแตเดิมจะทำกันในวันกอนที่ทำบุญ แตปจจุบันเนื่องจาก เปลี่ยนไปทำพิธีใหเสร็จในวันเดียวจึงเริ่มแตเชา จากนั้นจะสวดบทมงคลคาถา ๓๘ ประการ ขณะที่สวดก็ทำน้ำมนตไปดวย เมื่อ สวดจบพระจะเดินปะพรมน้ำมนตใหชาวบาน ขณะที่พระพรมน้ำมนตชาวบานทุกคนจะตองหันหนาไปทางทิศตะวันตก เพราะเชื่อ วาเคราะหกรรมจะไดตกหายจากไปไมกลับมาเปนการสิ้นเคราะหสิ้นโศก ชีวิตจะมีความสุขสมบูรณหลังทำพิธีแลว เมื่อเสร็จพิธีสงฆ ชาวบานทุกคนจะตองนำกระทงหนาวัวไปวางไวที่ทางสามแพรง กอนจะนำกระทงไป ใหจุดธูปที่ปกอยูในกระทง กอน เมื่อนำกระทงไปวางที่ทางสามแพรงแลวจะพูดวา เอามาสงเนื้อสงตัวแทนรางเจาของที่เราอยู หรือ ขอใหอยูเย็นเปนสุข จาก นั้นก็ถอยหลังมา ๑ กาว แลวใชมีดกรีดลงไปบนพื้นดินเปนสัญลักษณของการตัดทิ้งระหวางที่ยืนอยูกับกระทงหนาวัว แลวหัน หลังกลับ หามหันกลับไปมองอยางเด็ดขาด เพราะเชื่อวาถาหันไปมองอาจจะตองไดรับเคราะหที่เราไดตัดทิ้งไปแลว จากนั้นนำขวดน้ำที่มีหญาคาเสียบอยูกับถังทรายกลับบาน เอาหญาคาเสียบไวที่หลังคาบานเปนการปองกันพายุที่จะพัดเอา หลังคาบานไป ซึ่งชาวบานถือเคล็ดคำวา คา ในคำวาหญาคา หลังคาจะไดติดคาอยูกับบานไมหลุดลอยไปตามกระแสลม สำหรับทรายก็หวานไวรอบๆ บาน โดยหวานจากซายไปขวา ขณะหวานก็อธิษฐานวา ขอใหอยูเย็นเปนสุขอยาไดมีสิ่งใดมารบกวน สวนดานสายสิญจนก็โยงไวรอบๆ บานเพื่อปองกันความชั่วรายที่จะกล้ำกรายเขามาในบาน น้ำมนตในขวดนำไปเทใสโองอาบน้ำ และดื่มแกสมาชิกภายในบานเพื่อใหเปนสิริมงคลแกตัว

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

60


การทำบุญกลางบานนี้แตเดิมจะทำกันกลางแจงจริงๆ แตปจจุบันอากาศรอนมาก ชาวบานจึงตองกางเต็นทเพื่อไมใหเกิดความ กระวนกระวายใจในขณะทำพิธี เพื่อพิธีจะไดเปนไปอยางราบรื่นชีวิตก็จะราบรื่นเชนกัน และพิธีเลี้ยงตาปู โดยกำหนดกันตามความเหมาะสม สวนใหญจะอยูในราวกลางเดือน ๖ อดีตถือกันวาจะตองเลี้ยงตาปูกอน ลงมือกับงานในไรนา ปจจุบันก็ถือวันกันตามสะดวกแตก็ยังอยูในชวงกลางเดือน ๖ กลางเดือน ๑๐ ทำบุญสารทลาว สำหรับวันสารทชาวลาวแงวทำบุญสารท ๒ ครั้ง ในกลางเดือนสิบครั้งหนึ่ง คือ ทำบุญสารทลาว เชื่อวาประเพณีนี้สืบเนื่องมาแต เมืองลาว และสิ้นเดือนสิบทำบุญสารทไทย อีกครั้งหนึ่ง การทำบุญสารทลาวซึ่งตรงกับขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ สารทไทยเริ่มเมื่อแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ และสารทพวนแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๙ และสารทจีนตรงกับราวๆ กลางเดือน ๙ ดังนั้น ชุมชนขนาดใหญที่มีคน ตางกลุมตางเชื้อสายรวมกันอยูก็จะมีการทำบุญสารทไมตรงกันดังระยะเวลาที่แสดงไว แตก็มีการรวมทำบุญดวยกันทั้งสารทลาว สารทไทย สารทพวน และสารทจีน ที่วัดเดียวกัน แมเปนพิธีของแตละกลุมแตผูคนตางเชื้อสายก็รวมทำบุญรวมชวยงานกันได โดยไมมีปญหาแตอยางใด เมื่อถึงวันสารท นำขนมสารทมาทำบุญถวายพระ หลังจากนั้นก็นำขนมที่ทำมาแลกเปลี่ยนกัน ตางติชมหรือ ถามกันวา เวลาทำ ขนมใชมะพราวกี่ลูก ขาวตอกกี่ถัง ถือวาเปนการประชันฝมือกัน บางบานก็ทำเหนียว กรอบ บางบานก็รวนซุย ขนมไมติดกัน บาง ครั้งก็มีการฝากขนมไปใหเพื่อนบานกลุมอื่นที่ไมใชลาวแงว เชน พวน ชาวไทยแมน้ำ หรือคนจีนในตลาด ซึ่งเมื่อถึงวันสารทของ เขา เขาก็จะนำขนมสารทของเขามาคืนแกเราเพราะสารทพวน สารทไทย สารทจีนไมตรงกัน ในกลุมชุมชนที่ไมใชลาวแงวทั้งหมูบาน หรือหมูบานที่มักจะติดกับหมูบานที่ไมใชแงว จะไมไดอยูกันเฉพาะกลุม แตมีการติดตอ สัมพันธกับคนกลุมอื่น ทั้งในและนอกหมูบาน ขนมกระยาสารทจึงเปนสื่อสัมพันธอยางหนึ่งที่แสดงถึงการติดตอระหวางกลุมที่ เปนไปดวยดี ในหมูบานลาวแงว เชนที่บานโปงนอย ในอำเภอเมืองลพบุรีมีการทำกระยาสารท เรียกวา “กวนสารทลาว” วิธีการคือ ทุกบาน เตรียมของทำกระยาสารททุกอยางมารวมกัน ชวยกันกวนทีละกะทะ สมมติวามี ๔ บานมารวมกวนดวยกันก็กวน ๔ ครั้ง ยัง เปนการรวมมือที่ยังเห็นอยูในปจจุบัน ขนมสารทของลาวมีสวนผสม ดังนี้ ขาวเมา ขาวตอก ถั่วลิสง งา น้ำตาล แบะแซ มะพราวขูดเพื่อมาทำเปนน้ำกะทิ กอนพ.ศ. ๒๕๒๐ เวลาชาวบานจะทำขนมสารทจะตองมาตลาดหาซื้อของที่ตองการ เชน น้ำตาล แบะแซ มะพราว งา แตบางอยางก็มีอยู แลว เชน ถั่วลิสง ขาวเมา ขาวตอก โดยตองทำเองทุกขั้นตอน เริ่มจากทำขาวเมา คือ นำขาวเปลือกขาวเหนียวมาแชน้ำในโอง ๑ คืน จากนั้นทำใหสะเด็ดน้ำแลวนำมาคั่ว พอขาวเริ่มแตกนำมาใส ครกมองหรือครกตะลุมพุก ใชแรงคนตำบางครั้งจะมีเพื่อนบานมาชวย กะวาพอไดที่แลวนำขาวมาฝด เก็บกากใหดี แลวนำ ขาวเมามาคั่วใหพอง จากนั้นพักไว การทำขาวตอกทำโดยนำขาวเปลือกมาคั่วใหแตกเปนดอกขาว นำมาฝดเลือกสวนที่ตองการคือขาวที่แตกเปนดอก นำถั่วลิสงมา คั่วใหเหลือง งามาคั่วใหสุก นำทั้งหมดแยกสวนพักไว แลวเอามะพราวมาขูดแลวคั้นใหไดกะทิ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

61


เมื่อเตรียมสวนผสมไวพรอมแลว นำกะทิมาเคี่ยวกับน้ำตาล แบะแซ สังเกตวาถานำสวนผสมมาหยอดในขันน้ำแลวไมละลายก็ ใชได ใสขาวเมา ขาวตอก กวนไปสักพักใสถั่วลิสงและงาบางสวน ชวงนี้ตองลาไฟแลวคอยๆ กวนไปจนกวาขนมจะไมติดกะทะ จากนั้นนำงาที่เหลือมาโรยในกระดง ยกขนมจากกะทะมาใสในกระดง กดใหแบนเรียบเสมอกัน แลวตัดเปนชิ้นพอเหมาะ เพราะ งายตอการจัดเก็บ การทำขนมสารทนี้ตองชวยกันทั้งครอบครัว แตละบานตองทำขนมนี้ใหมากๆ และเก็บไวใหพนจากมด ปองกันไมใหขนมชื้น61 หลวงพอโอดเกจิอาจารยที่เปนที่นับถือของทองถิ่นนี้อดีตเจาอาวาสวัดจันเสน เคยเทศนเรื่องอานิสงฆของการทำขนมกระยาสารท หรือ สารทไทย สารทลาว สารทพวน วา62 เริ่มตั้งแตการทำขนมตองใชคนทั้งครอบครัว ตองอาศัยความสามัคคี ความอดทน เชน การขูดมะพราวมากกวา ๑๐ ลูก การตำขาวเมาและตองเลือกเก็บกาก เก็บสิ่งที่ไมตองการออก การคั่วขาวตอกที่ตองคอยหัก เปลือกขาวออกจากขาวที่แตกแลว การคั่วถั่ว คั่วงา ดังคำพังเพยที่วา กวาถั่วจะสุกงาก็ไหม สองสิ่งนี้ตองการความพิถีพิถันเปน อยางมาก หากไมมีฝมือในการทำขนมของผูอาวุโสในครอบครัวแลว ไฉนเลยขนมจะอรอย การทำบุญสารทจึงเปนงานบุญที่สราง ความสามัคคีภายในครอบครัว ทำจิตใหปราณีตและเปนคนใจเย็นขึ้น วันนี้ชาวลาวแงวสวนใหญไมทำขนมสารทลาวแลว เพราะมัวแตเรงรีบทำนาหรือทำอาชีพของตน ขนมสารทลาววันนี้ ไดมีการ เปลี่ยนแปลงไปเปนอยางมากนับตั้งแต ไมมีการปลูกถั่วปลูกงาไวที่ปลายไรปลายนา ไมมีเตรียมสวนผสมของขนมรวมกันภายใน ครอบครัว มีนอยบานนักที่ยังมีการกวนขนมในครอบครัวแมวาจะตองซื้อของที่เตรียมแทบทั้งหมด มากกวาครึ่งของหมูบานจะ ซื้อหรือสั่งทำขนมสารทจากเจาที่รูจักหรือเจาที่มีชื่อเสียงในจังหวัดอื่นๆ แตถึงแมไมไดทำขนมเองก็ยังมีการฝากขนมใหแกกันและ กันอยู X X gเดือน ๑๑ ออกพรรษา บุญไตหางประทีป เทศนมหาชาติ ชวงเดือน ๑๑ เปนเทศกาลออกพรรษาและมีการทำบุญไตหางประทีป และมีการ เทศนมหาชาติ กอนวันที่จะมีการเทศนก็มีการ จับสลากวาบานใดไดกัณฑอะไรถือวาเปนการเสี่ยงทายโดยจะรวมกันไปเปนครอบครัวในกัณฑที่เปนเจาภาพ สถานที่เทศนคือวัด ประจำหมูบาน ซึ่งมีการจัดเตรียมและตกแตงอยางสวยงามใหมีบรรยากาศคลายกับปาหิมพานต ประดับดวยตนไม ดอกไม รัง ผึ้ง เครื่องจักสานเปนรูปสัตวตางๆ หรือทำดวยกระดาษอยางสวยงาม เครื่องกัณฑเทศนจะประกอบดวยสิ่งของที่หาไดงาย เชน กลวย ออย พริก แฟง ขาวสาร ผักสด ธูป เทียน แลวตัดกระดาษทำเปนพวงมาลัย กอนการเทศนวันหนึ่ง ในชวงเย็นจะมีการแหขาวพันกอนโดยชาวบานหญิงชายรวมกับกรรมการวัด ตั้งขบวนแหเริ่มที่วัดแหมา ตามบานเรือน ในขบวนมีเครื่องประโคม ฆองกลอง ขบวนผานหนาบานใดก็จะเตรียมขามตมมัดพรอมปจจัยใสในบาตรหรือใน ยาม เสร็จจากแหแลวจะนำสิ่งของทั้งหมดไปรวมกันไวที่ศาลาวัดเพื่อเตรียมถวายพระในตอนเชา แลวขบวนแหจะเดินรอบศาลา ๓ รอบ มีสาแหรกสำหรับวางขาวพันกอนประมาณ ๗–๑๐ จุด การใสขาวพันกอนไมจำเปนวาจะตองปนขาวใหได ๑,๐๐๐ กอน เวลาใสขาวพันกอน ประมาณ ตี ๕ เมื่อเสร็จแลว พระจึงจะเริ่มเทศนมหาชาติ แตบางแหงจะเริ่มเทศนในตอนเที่ยงคืนของวัน 61

นางวันดี เชาวธรรม, อายุ ๖๘ ป, ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔.

62

นางสมปอง บุญเติร, อายุ ๔๐ ป, ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

62


เรื่อยไปเสร็จราว ๔ โมงเย็น สวนขาวพันกอนไดวางไวเมื่อตอนเชา ชาวบานจะนำไปไวตามนา ของตนเอง 63 การเทศนมหาชาติใน หมูบานของลาวแงวในปจจุบันจะนิมนตพระที่อื่นๆ และพระทางอิสานก็นิยมนิมนตหากมีเสียงไพเราะและเทศนแบบแหลหรือลำ กลอนไดดี ในปจจุบันบางชุมชน เชน แถบบานไผลอมในตำบลทองเอน ยังมีการทำบุญขาวพันกอนโดยชาวบานจะรวมกันนำขาวเหนียวมา นึ่งที่วัด เมื่อสุกแลว นำมาปนเปนกอนใหไดพันกอน โดยรวมมือกันทำ กอนรุงเชานำไปแหรอบศาลาที่จะเทศนมหาชาติ ๓ รอบ แลวนำไปวางไวหนาธรรมาสนกอนพระเทศนมหาชาติ เปนการแหขาวพันกอน นอกจากนี้ยังมีการทำบุญไตหางประทีปในชวงเทศกาลออกพรรษา จุดประสงคของการจุดไตหางประทีปเปนการบูชาพระพุทธเจา เพื่อความเปนสิริมงคลในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิต ทำกันในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เวลาราว ๑๕.๐๐ น. อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลายจะมารวมกันที่ลานวัด เพื่อมาทำมาจากตนกลวยและใชไมทำขามา เมื่อทำเสร็จแลวนำมาไวที่กลางแจงดานหนา ศาลาวัด เวลาราว ๑๙.๐๐ น. ชาวบานจะมาพรอมกันที่ลานวัดเพื่อนิมนตพระสงฆจุดธูปเทียน ชาวบานเตรียมเครื่องสักการะ ตางๆ ประกอบดวย ธูป ๙ ดอก เทียน ๑ เลม ขาวตั้งทอง ๑ ตน และดอกไม64 แลวกลาวอธิษฐานวา ใหขาวงาม ไมใหเปนเพลี้ยเปนมอด ใหมีรูปสวย รูปงาม สาธุ สาธุ สาธุ65 เมื่อกลาวอธิษฐานแลวนำเครื่องสักการะทั้งหมดไปปกไวที่ตัวมา จากนั้น อาจจะมีการเฉลิมฉลองเพื่อความสนุกสนาน เชน การ รำวง วันที่มีการบูชาไตหางประทีป เมื่อกลับมาถึงบานจะมีการบูชาหัวแมกะได เลือกหัวกะไดที่สูงกวา จุดธูป ๕ ดอก ดอกไม ๕ ดอก เทียน ๑ เลม ดายขาวสำหรับมัดหัวบันได จุดประสงคที่ทำคือ เพื่อใหมีสติ และแสดงความกตัญูตอบันไดที่ตลอดปที่ผานมา ไมมีใครไดรับบาดเจ็บจากการใชบันได66 ? เดือน ๑๒ ลอยกระทง จะมีการจัดงานลอยกระทงกันทุกป แมชุมชนลาวแงวบางสวนจะไมใชชุมชนริมน้ำ แตก็มีงานลอยกระทงซึ่งจัดวาเปนงานใหญอยู ที่วัดจันเสน ซึ่งใชสระน้ำขนาดใหญของชุมชนเปนที่ลอยกระทง และชาวบานทั่วสารทิศจะมาชุมนุมกันที่นี่มากกวาที่อื่นซึ่งยังคง เปนเชนนี้อยูจนถึงปจจุบัน การลอยกระทงถือกันวาเปนลอยเคราะหและบูชาแมพระคงคา และขอพรเพื่อเปนสิริมงคลแกชีวิต

ตารางเปรียบเทียบประเพณีสิบสองเดือนในอดีตบริเวณตางๆ

63

สัมภาษณนายสา นางปน อินรุณ, อายุ ๗๕ ป, 43 บานโปงนอย ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี,

64

พระสมุยงค เจาอาวาสวัดน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

65

นางไร มะเริงสิทธิ์ อายุ ๖๐ป, ๘๐ หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี

66

นางเฮียง บุญนกแกว, อายุ ๗๐ป, ๗๕ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

63


เดือน กลาง ๕ ตรุษสงกรานต

อีสาน บุญสงกรานตหรือบุญน้ำสรง

บริเวณศึกษา งานสงกรานต, แหนางแมว

๖ แรกไถนา, ประเพณีเวียนเทียนใน บุญบั้งไฟ หรือบุญวิสาขบูชา วันวิสาขบูชา, ประเพณีวันอัฏฐมีบูชา

ทำบุญกลางบาน, เลี้ยงตาปู

บุญสลากภัตร

บุญซำฮะหรือบุญเบิกบาน

๘ เทศกาลเขาพรรษา-ประเพณีถวาย บุญเขาพรรษา สลากภัต

ทำบุญตักบาตรวันเขาพรรษา

บุญขาวประดับดิน

สารทจีน, สารทพวน

๑๐ สิ้นเดือน เทศกาลสารท

บุญขาวสลากหรือบุญขาวสากหรือ กลางเดือนงานสารทลาว สิ้นเดือนงาน บุญสลากภัต สารทไทย

๑๑ เทศกาลออกพรรษาประเพณี บุญออกพรรษา บุญจุดประทีป บุญออกพรรษา, บุญไตหางประทีป, ตักบาตรเทโว, ประเพณีทอดกฐิน หรือบุญไตประทีป ประเพณีไหล เทศนมหาชาติ แหขาวพันกอน เรือไฟ บุญผาสาทเผิ้งหรือบุญ ปราสาทผึ้ง ๑๒ ประเพณีลอยกระทงหรือลอย ประทีป,ประเพณีเทศนมหาชาติ

บุญกฐิน

ลอยกระทง

๑(อาย) เทศกาลปใหม

บุญเขากรรม

เกี่ยวขาวหนัก บางหมูบานทำบุญยาคู

๒(ยี่)

บุญคูณลานหรือบุญกุมขาวใหญ เอิ้นแมโพสพหรือเรียกขวัญขาว

๓ วันมาฆบูชา

บุญขาวจี่และบุญมาฆบูชา

บุญผะเหวดหรือบุญมหาชาติ

งานเทศนมหาชาติ

ความเชื่อ ชาวลาวแงวนับถือศาสนาพุทธ มีความเชื่อในเรื่องบุญ-กรรม และเขาวัดฟงธรรมกันอยูเสมอ แตก็ยังเชื่อเรื่องผี อันไดแก ผี บรรพบุรุษ ผีบานผีเรือน พระภูมิเจาที่ แมโพสพ เปนความเชื่อที่คูขนานกันไป

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

64


?การทำบุญเลี้ยงตาปู ในหมูบานลาวแงวมีการเลี้ยงตาปูซึ่งชาวบานถือวาเปนเจาบานหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประธานของหมูบาน เชื่อวามีการเลี้ยงตาปูมาโดย ตลอดตั้งแตครั้งเมื่อตอนที่อพยพมา ตามปกติพิธีเลี้ยงผีของหมูบานตางๆ ในชุมชนลาวแงว ชาวบานจะเตรียมสิ่งของมาเลี้ยงผี ประกอบดวย ขาว น้ำ ขนมหวาน ๒ คู หรือ ๔ ถวย ขนมหวานเหมือนขนมบัวลอยตมกับน้ำตาลแตไมใสกะทิ หมู ๑ หัว หรือ ๑ แถบ ไก ๑ ตัว หรือ ครึ่งตัว เหลา ๑ ขวดเล็กหรือขวดใหญก็ได บางคนมีน้ำอัดลม ธูป ๒ ดอก ของทั้งหมดใสผาขาว เรียกวา ๑ สำรับ มีขบวนกองยาวคอยตีเปนระยะๆ แหจากในบานไปที่ศาล แลวนำไปวางไวภายในศาลตาปู ลาวแงว บานหนองเมือง มีความเชื่อเรื่องผีตาปูเพราะปูยาตายายเลาสืบตอกันมาวา เชิญผีตาปูมาดวยจากบานเดิมที่เวียงจันทน67 ชาวบานที่นี่เชื่อวาบรรพบุรุษของตนมาจากเวียงจันทนเพื่อปกปองคุมครองใหอยูเย็นเปนสุข ลาวแงวที่บานหนองเมืองไดตั้งศาล ตาปูไวกลางที่หมูบาน เรียกชื่อวา ศาลเจาผีบาน” ศาลเจาพอสนั่นวัดหนองเมือง มีพื้นที่ศาลเปนสัดสวนมีรั้วรอบ มีประตูทางเขา สรางขึ้นมาใหม ผูบริจาครายใหญคือกำนันของบานหนองเมือง ภายในศาลมี รูปเคารพ แผนปายของจีน มีดอกบัวขนาดใหญ ทำ ดวยไมมีที่ตั้งอยางดี มีพวงมาลัยคลองไวจนทวมดอกบัว มีตุกตาหญิงชาย รูปปนมาชาง พวงมาลัยมากจริงๆ รอบๆศาลมีคน นำศาลพระภูมิชำรุดมาวางเรียงไวมากมาย ภายในศาลขางฝามีไมทำเปนดอกบัวขนาดเล็ก วางกองรวมกันไว บานหนองหินใหญ มีศาลเจาปูสนั่น เปนศาลเกามาจากลพบุรี กอนหนานั้นไมทราบแนวามีคนทรงหรือไม แตวันนี้คนทรงชื่อปานั น คำศรี อายุ ๗๐ ป เปนคนเลี้ยงคนดูแลเจาศาลเจาปู สภาพบริเวณศาล มีตนไมใหญ รมรื่น มีคลองสงน้ำขนาบซายขวา ดาน หนาของศาลคือวัดบานหนองหิน มีตนไมใหญอยูเกือบ ๑๐ ตน ติดกับศาลคือศาลาวัดกำลังกอสราง สวนลาวแงวที่ บานกกโก เขาสามยอด เลาวาชาวลาวแงวที่นี่นับถือผีตาปูมาแตครั้งบรรพบุรุษเชนกันและไดเชิญมาจาก เวียงจันทนซึ่งเหมือนกับชาวบานหนองเมือง บานโปงนอย เรียกตัวเองวาลาวแงว มีการเลี้ยงตาปู ขางขึ้น เดือน ๖ เรียกวา เจาพอหลวงสอน แตเดิมเรียก “ตาปู” แตเดี๋ยวนี้ เรียก “เจาพอ” ศาลตาปู บานหนองเมือง มีสองแหงเพราะเปนชุมชนใหญ ศาลตาปูมีในหมูบานแหงหนึ่งและในบริเวณวัดหนองเมืองแหงหนึ่ง เรียกวาศาลเจาพอสนั่น บริเวณศาลเปนสัดสวนมีรั้วรอบและประตูทางเขาที่เพิ่งสรางขึ้นมาใหม โดยมีผูบริจาครายใหญคือกำนัน ของบานหนองเมือง ภายในศาลมีแผนปายแบบจีน ดอกบัวขนาดใหญทำดวยไมมีที่ตั้งอยางดี และมีพวงมาลัยคลองไวจนทวม ดอกบัว และมีไมทำเปนดอกบัวขนาดเล็กวางกองรวมกันไว ทั้งมีตุกตาหญิงชายรูปปนมาชาง รอบๆ ศาลเจาพอสนั่นมีคนนำศาล พระภูมิชำรุดมากองไวมากมาย เดี๋ยวนี้เวลามีการเลี้ยงตาปู มีการฝากเลี้ยงโดยเรี่ยไรเงินไปทำบุญ ศาลตาปู การทำงานเพื่อเสียง ทาย เมื่อสมประสงคแลว ก็มีการแกบน เลี้ยงตาปู ปจจุบันคนรวมกิจกรรมนอย แตกอนไมมีการฟอนรำแตเดี๋ยวนี้เพิ่มมาอีก บานหนองเกวียนหัก ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ มีศาลตาปูเชนเดียวกัน และเลี้ยงตาปูกลางเดือน ๖ ซึ่งเปนเดือนเดียวกับการ ทำบุญกลางบาน แตจะกำหนดวันกันเมื่อสะดวก ของทีน่ ำมาเลี้ยงไดแก ไกตม ขนมหวาน มะพราวออน ขนมบัวลอย ชาวบาน

67

นางวิน นาคแยม

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

65


นับถือตาปูโดยไมมีการเขาทรงแตอยางใด หากชาวบานหนองเกวียนหักจะเดินทางไปไหน ก็จะบอกกลาวเพื่อใหเกิดความอุนใจ และปลอดภัย บานโปรง ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี มีศาลเจาพอทองคำซึ่งเปนศาลที่สรางขึ้นมาใหมจากเดิมที่สรางดวยไมมุง หลังคาสังกะสี มีการเลี้ยงเจาพอเดือน ๖ ขึ้น ๙ ค่ำ เมื่อมีการเลี้ยงจะมีการทรงหรือการจ้ำ มีรางทรงมาแลว ๔ รุน เปนผูหญิง ทั้งหมด คนที่เปนรางทรงจะเปนคนดี ซื่อสัตย ฐานะปานกลางไมจนไมรวย มีผัวเดียว บริเวณศาลดานหลัวมีตนกามปูใหญ ถัด ไปเปนสระน้ำที่ขุดใหม ดานหนาเปนที่พื้นวางสำหรับทำกิจกรรม ภายในศาลมีตุกตาหญิงชาย มา และไมทำเปนดอกบัวทำจากไม สะเดา และพวงมาลัยมากมาย สวนศาลตาปู บานไผใหญ อำเภอบานหมี่ ศาลตาปูบานนี้อยูที่เดิมบริเวณใกลสระน้ำกลางทุงนาและไมมีชื่อตาปู แตเดิมศาลจะมี ตนไม มีตนคาง กฐิน สะแก สะเดา หนาศาลมีสระน้ำ ชาวบานเชิญใหมาอยูในหมูบานหรือใกลๆ หมูบานแตก็ไมยอมมาทราบจาก ตอนเขาทรง ภายในมีตุกตา ชางมา หญิงชายเหมือนกับที่ทำใสไวในศาลพระภูมิ มีดอกบัว ทำจากไมงาว ทาแดงปลายไม ดอกบัว ก็เหมือนกับอวัยวะเพศชาย พวงมาลัย แกวปกธูป เพิ่งมีการทรงมาสามรุนและไมเกี่ยวของกับพิธีกรรมเลี้ยงตาปูและการเลี้ยงผีก็ ใชวิธีเรียบงาย งานเลี้ยงผีทำกันกลางเดือน ๖ ใชดอกบัว ๑ คู ขนมบัวลอย ไก หมู เหลา มีการบอกกลาวและบนเมื่อมีการเดินทาง ของหาย หรือถามขาวญาติพี่นองที่จากไปไกล แตละคนหากสมประสงคแลวก็ไปแกบน ศาลตาปู บานน้ำจั้น อยูทางทิศตะวันออกของวัดน้ำจั้น ชาวบานตั้งศาลตาปูหรือ ศาลเจาพอสนั่น ไวกลางหมูบาน เดิมเปนศาลทำ ดวยไมเสา ๔ ตน ตอมามีการสรางใหมทำเปนอาคารขนาดยอมกออิฐถือปูนทั้งหมด ดานหนาโลง ภายในมีมาไมมีรูปปนรูปชาย แกเปนสัญลักษณแทนตาปู กระถางธูป เครื่องบวงสรวง เชน พวงมาลัย ถาดอาหาร แตเดิมการไหวผีตาปูไมมีการลงทรง ตอมา เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๓๐ จึงมีการทรงเกิดขึ้น ชาวบานน้ำจั้นเรียกวิญญาณที่มาลงทรงวา เจาพอสนั่น”ชื่อ สนั่น นั้นอางวาเปนชื่อ เดิมของตาปูที่ลาวแงวไดอัญเชิญมาจากบานเมืองเดิม เชื่อกันวามาจากเวียงจันทน และเวลาลูกหลานจะบวชนาคมีการนำนาคมา ไหวบอกกลาวขอขมาเจาพอ ศาลตาปูของเดิมมักจะอยูกลางทุงนา หรือไมก็นอกชุมชนใกลกับกลุมบาน ลักษณะเปนศาลไมขนาดเล็กๆ ใชเสาสี่เสาอันเปน ลักษณะทั่วไปของศาลผี และปจจุบันมีอยูหลายหมูบานที่เรียกกันวาเจาพอสนั่น และเจาพอสนั่นนี้ปรากฏวาเปนชื่อตาปูในหลายๆ หมูบาน เชน บานหนองหินใหญ บานหนองเมือง ซึ่งเปนหมูบานลาวแงวดั้งเดิม และบานน้ำจั้นซึ่งเปนหมูบานลาวแงวที่ขยับขยาย ตอมา แตสิ่งที่เคารพนับถือของลาวแงวที่ทองเอนกลับนับถือ “เจาปูละหาน” ซึ่งเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่รักษาหนองน้ำขนาดใหญของ ทองถิ่น อันมีกฎขอหามไมใหชาวบานใชอวนลากแตสามารถจับสัตวน้ำไดเพียงพอกินเทานั้น จะเห็นวาในอดีตศาลตาปูหรือในอีสานสวนใหญเรียกวา “ปูตา” จะอยูบริเวณชายทุงหรือบริเวณชายหมูบาน (หรือกลางหมูบา นวะ) เปนศาลไมขนาดเล็กๆ ชุมชนในภาคอีสานหรือในประเทศลาวจะมีศาลปูตาในสถานที่ที่เรียกวา “ดอนปูตา” ซึ่งเปนปาครึ้ม อยูใกลๆ กับชุมชนและมีประจำหมูบานแทบทุกแหง เรียกไดวาเปนปาของหมูบานที่ชาวบานรักษารวมกันและไมใชประโยชนจาก ดอนปูตานี้หากไมไดรับการยินยอมจากสวนรวม และจะเขาไปในสถานที่นี้เฉพาะมีงานพิธี เชน การเลี้ยงผีปูตา เทานั้น ศาลปูตามักมีประจำทุกหมูบาน แตหากชุมชนนั้นมีขนาดใหญในระดับเมือง ศาลประจำชุมชนก็จะเรียกวา มเหสักขหลักเมือง สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ในระดับนี้ก็จะมีความซับซอนและเปน “ผี” ที่มีอำนาจใหญกวา “ผี” หรือสิ่งศักดิ์สิทธิในระดับหมูบาน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

66


กลุมลาวแงวแตเดิมจะเรียกสิ่งเคารพของหมูบานวา “ตาปู” และไมมีชื่อ ตอมาในระยะหลังนาจะไดรับอิทธิพลของการทรงเจา ทำใหมีการเปลี่ยนแปลงจากการนับถือ ตาปู เปน “เจาปู…” หรือ “ปู…” และตอมาก็เปน “เจาพอ…”ตามลำดับ การทรงเจาเพิ่งจะ ปรากฏขึ้นในราวไมถึง ๒๐ ป และรางทรงจะเปนหญิงสาวหรือหญิงวัยกลางคน

ภาพที่ ๑๐ ศาลเจาพอหลวงบานทาแค ตำบลทาแค อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ซึ่งชาวบานบอกวา ตนเปนลาวหลม ภาพที่ ๑๑ ศาลตาปูที่บานหนองเมือง ซึ่งเปลี่ยนเปน “ศาลเจาปูศรีเมือง” ซึ่งทุกวัน นี้ชาวลาวแงวมักเปลี่ยนชื่อจากตาปูเปน เจาปูบาง หรือ เจาพอบาง

ภาพที่ ๑๒ ศาลเจาพอสนั่น บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี ยังคงรูปแบบเดิมอยางใกลเคียงแมเปน ศาลที่สรางขึ้นใหม

บานศรีนวล ในบานนี้จะมี ศาลเจาพอเขาตก อยูกลางหมูบาน ซึ่งภายในศาลนำไมมาทำเปนมีด ปน ดอกบัว หมูบานศรีนวลที่ หนองโดนจะมีการเขาทรงโดยหญิงอายุราว ๗๐ ป และจะมี “จ้ำ” ซึ่งเปนผู ? ทำหนาที่คอยถามเจาพอเวลาเขาทรงแลว ของที่นำ มาเลี้ยงผีคือ ขนมตมแดงตมขาว ขนมปลากริม หากผูใดบนหมูหรือไกไวก็จะนำมาแกบนในคราวนั้น หมูบานนี้ก็เชนเดียวกับ หมูบานลาวแงวอื่นๆ คือจะเกรงกลัวเรื่องผีปอบแมปจจุบันจะไมมีเรื่องปอบเขาแลวก็ตาม ประเพณีตามวาระของหมูบานนี้ การก วนขาวทิพย เมื่อกลางเดือน ๖ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

67


งานเลี้ยงผีตาปู บานน้ำจั้น บานน้ำจั้น อยูในตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี เปนสวนที่ติดตอกับตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค จนนับไดวาเปนทองถิ่นเดียวกัน ลาวแงวที่บานนี้เลี้ยงผีในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกป ผูคนที่มารวมงานสวนใหญเปนหญิงสูง อายุ การเลี้ยงผีประจำปในอดีตไมมีการลงทรง เพิ่งจะมีเมื่อยายซอนเริ่มรับเจาพอสนั่นแลวเปนคนทรงมาเมื่อเกือบ ๒๐ ปมาแลว ใน อดีต เจาพอมาเขาบอย ทั้งเขาพรรษา ออกพรรษา สงกรานต แตปจจุบันมาลงทรงปละครั้งคือในงานเลี้ยงผีตาปูประจำป bคนทรง ที่บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี มีงานเลี้ยงผีตาปู คนทรงเปนผูหญิงอายุราว ๗๐ ป ตระกูลเดิมเปนลาว แงวที่จังหวัดสระบุรี ตอมายายมาอยูที่บานน้ำจั้นราว ๕๐-๖๐ ปแลว ชาวบานเชื่อกันวา “ผี” หรือ “เจา” ซึ่งเปนคำที่ชาวบานในปจจุบันเรียกกัน จะเขารางคนที่มีนิสัยใจคอหรือชีวิตความเปนอยูที่เรียบ งาย สภาพครอบครัวมีความสุข สมาชิกภายในครอบครัวรักใครกลมเกลียวกัน และอบรมใหลูกเปนคนดี ขยันทำมาหากิน และ ประกอบอาชีพสุจริต มีนิสัยใจคอเยือกเย็น รักษาความสะอาด คนทรงบานน้ำจั้น ก็เปนคนที่มีลักษณะนิสัยดังกลาว ซื่อสัตยตอ สามีแตงงานมีลูกดวยกัน ๔ คน สามีตั้งแตลูกยังเล็กๆ ก็อดทนเลี้ยงลูกมาคนเดียวโดยไมยอมแตงงาน จนถึงทุกวันนี้ ครอบครัว เปนที่รักใครของคนในหมูบาน ชาวบานบอกวายายคนทรงเปนคนตรง ใจดี จริงใจ ไมโกหก ไมหลอกลวงใคร เลี้ยงลูกจนไดสะใภ ไดเขย ไมดางพรอย ดีทุกคน บางคนเปนมัคทายก เปนพิธีกรในงานสำคัญ เวลามีการทำบุญ ลูกๆ ที่อยูน้ำจั้นจะมาทำบุญกันทุกคน และไมมีปญหาเรื่องเงิน ทองกับใครดวย68 เปนการยอมรับนับถือครอบครัวนี้ทั้งครอบครัวจากคนในหมูบาน แตการที่เริ่มเปนคนทรงในระยะแรกๆ มีทั้งยอมรับและไมยอมรับ มีเรื่องเลาวาเปนคนกลัวผีมาก ครั้งหนึ่งลุกขึ้นมากลางดึกเดิน ลงเรือนลูกสาวเห็นเปนคนแกอายุสัก ๘๐ ป ลงไปขางลางหารากไมมาแลวไมพูดจากับใคร คิดวานาจะเปนผีปอบเขา ก็ไปตาม หมอผีมาไลให ชาวบานเชื่อวาในบานนี้มีผีปอบแตไมรูวาเปนใคร ผีปอบก็ออกชื่อใหลูกสาวมาของหญิงคนหนึ่งใหมาชวย พอ ครอบครัวนั้นรูทำกำกะแทะวางไว ๔ ทิศ เพื่อกันไมใหผีเขาบาน กลัวไปเขาไปกินลูกหลาน หมอก็รดน้ำมนตแลวบอกวาเชิญเจา พอเขาเลย จึงกลายเปนคนทรงเจาพอสนั่นมาจนปจจุบัน ตอมาลูกหลานและชาวบานก็ยอมรับกันทุกคนที่เปนคนทรงของเจา พอ 69 วันหนึ่งขณะที่ยายคนทรงอยูทามกลางคนในหมูบานบริเวณศาลาวัด ก็เกิดการเขาราง เวลาพูดจาไมใชภาษาลาวแงว สำเนียงผิด เพี้ยนไปเปนลาวอื่น คลายๆ กับลาวอีสาน วันนั้นยายรางทรงก็สูบยา ดื่มเหลา ทั้งที่ไมเคยมีพฤติกรรมเชนนี้มากอน เมื่อมีคนถาม รางทรงก็เลาใหฟงวา มาจากเวียงจันทน ขี่มาแกขาหักมา”ซึ่งก็เปนเหตุหนึ่งที่ทำใหลาวแงวที่บานน้ำจั้นบอกผูอื่นวาบรรพบุรุษของ พวกตนมาจากเวียงจันทน เมื่อถึงเวลาไหวตาปูในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกปก็จะมีพิธีเลี้ยงผี 68

นางสาวสำเนียง บัวตา, อายุ ๔๔ ป, บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔.

69

สัมภาษณนายสมยงค สมทรง บุตรนางซอน สมทรง, อายุ ๔๖ ป, ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

68


ภาพที่ ๘ และ ภาพที่ ๙ ศาลตาปู ซึ่งปจจุบันชาวบานเรียกกันวา “เจาพอสนั่น” และภายในศาลเจา พอสนั่น ซึ่งมีพวงมาลัย ชางมาจำลอง กระถางธูป ราวเทียน โดยปรับปรุงเปนศาลใหญกออิฐถือปูนจาก ศาลไมสี่เสาหลังเล็กๆ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

พิธีกรรม การเลี้ยงตาปูของชาวบานน้ำจั้น จะถือทำกันในวันอังคารขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ พิธีกรรมที่เขาไปสังเกตการณตรงกับวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ราว ๗ โมงเชา ชาวบานจะแตงกายเชนเดียวกับเมื่อมางานบุญ นำของเลี้ยง เชน ขาว น้ำ ขนมหวาน หัวหมู หรือ ไก เหลา ธูป ของ ทั้งหมดใสผาขาว เรียกวา ๑ สำรับ ใสพาขาวมาวางไวในบริเวณศาลตาปู แลวจุดธูปบอกการเลี้ยงตาปู อธิษฐานขอพรใหกับตนเอง และครอบครัว ผูที่นำของมาสวนใหญจะเปนหญิงมากกวาชาย ระหวางนั้นกลองยาวก็ตีแบบเถิดเทิงรวมขบวนมาดวย ชาวบานจะ รอคนทรงมาถึง จนเกือบ ๗ โมงครึ่ง คนทรงซอนทายจักรยานยนตของลูกชายโดยไมตองมีการแหมาจากบานหรือมีผูชวยใดๆ สวมเสื้อสีเหลือง ใสผาถุงสีชมพู ทา แปงหนาขาวนวล ยิ้มแยมแจมใส ซึ่งตามปกติจะนุงแตผาโจงกระเบน เขามาในบริเวณศาลตาปูที่ชาวบานเตรียมที่นั่งไวให จะมี หญิงกลางคนเปนผูชวยคนนำขัน ๕ มาเชิญยายซอนเพื่อเขาทรง เมื่อยายซอนรับขัน ๕ แลวโดยการยกมือไหวหันหนาไปทางศาล แลวเดินไปปกธูปเปนการเริ่มลงทรง จากนั้นผูชวยนำพานขัน ๕ ไปไวที่โตะบูชา ชาวบานเตรียมหมากพลูบุหรี่ไวให รางทรงเลือก สูบบุหรี่ กลองยาวก็ตีบรรเลงรับเปนชวงๆ ชาวบานที่เปนนางรำมาเชิญรางทรงออกไปรำกันอยางครึกครื้น เมื่อกลับเขามาเจาพอ ในรางทรงบอกวาไมไดรำวงมานานแลว เมื่อเจาพอนั่งลงมีการตอบโตไถถาม ทุกคนจะเงียบ สำรวมสงบ ชาวบานก็เริ่มถามเรื่องที่ของใจ เชน อยากรูวามันเปนยังไงอากาศรอนหลาย คนทำนาไดแยงน้ำกันแลว ฝนฟามันจะดีเดือนไหนวันไหน ลองจับยามสามตาดูบาง ซึ่งเจาพอสนั่นในรางทรงก็จับกระดูกคางไกเสี่ยงทาย แลวบอกวา ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

69


บานนี้ขาวเขาแตงตัวสวย ไมเหมือนบานโนน นุงซิ่นสั้นๆ คนทางโนน แบกโนนแบกนี่ ไมตองกลัว ฝนจะตกเร็วๆ นี้ แลวลมจะแรง เจาพอพอใจไหมที่ชาวบานมาพรอมเพรียงกัน ของกินมากจริง ของเซนทำใหมนะ อยางของหวานใหมี ๔ ขา ๔ ถวย อยาทำมา ๓ หรือ ๕ หวานเหมือนกัน ๔ ถวย แตไมเปนอะไร บอกไว ขนม ๔ ถวย เอาน้ำมาดวย แลวมีชาวบานบอกใหเชิญเจาแมผมหอมมาดวย วา ไมไปรับ มาไมไดก็ไมตองมา…. แคนี้มาไมไดก็ไมตองมา ๆ เอาธูปสองดอกไปบอกใหมานี้ แลวเอากลองยาวไป รับ เอาพวงมาลัยไปดวย ลูกหลานไปสอบเรียนตอจะไดหรือไม ไดอยู ไมอยางก็ตองอยางหนึ่ง อยูทางเหนือโนน วันไหนฝนตกละเจาพอ จะตายแลงกันแลว โคกดอนรับคมเกี่ยวคือกับถั่วนะ แตขาวไมคอยจะสวย ทำไมหนูเยอะจัง หนูก็หากินเหมือนกับคน นอกจากนี้ ชาวบานถามเรื่องลูกชายที่ไปทำงาน ถามเรื่องการสอบเรียนตอของลูก ถามเรื่องการเดินทางจะปลอดภัยไหม บางคน ถามเรื่องที่สงสัย เชน ถามเจาพอถึงการเดินทางวาเดินทางมาอยางไร เจาพอตอบวา “ขี่มามามาก็แก วิ่งก็ชา มาตั้งแตกลางคืน เจา พอมาจากเวียงจันทน” ชาวบานก็ถามวา “ทางโนนมีความเปนอยูอยางไร สบายดีหรือไม” จากนั้นจะดื่มเหลาที่มีคนเทใสแกวมอบ ให บางครั้งจะสูบยาและเคี้ยวหมากดวย เจาพอสนั่นจะพูดเปนภาษาอิสานโตตอบกับชาวบานที่รองถามเรื่องตางๆ ปกติรางทรงจะพูดลาวแงวเวาภาษาอีสานไมไดและไม คลอง จากนั้น ชาวบานที่ทำนาก็จะใจจดจออยูกับการแกะคางไกเสี่ยงทายของคนทรงเพื่อพยากรณวาปนั้นน้ำจะมากหรือน้ำจะนอย ระหวางนั้นก็มานั่ง แตยังมีการถามกันอยู ชาวบานบอกวา “เจาพอยังเทียมอยู””ในระหวางนี้มีการขอใหเจาพอเปาหัว ผูกดายสาย สิญจนใหเด็กและผูหญิง จากนั้นเมื่อเสร็จพิธีชาวบานก็จะรองรำทำเพลงและแบงอาหารที่ทำมาไหวตาปูกลับไปครึ่งหนึ่งเพื่อรับ ประทานเปนสิริมงคลแกครอบครัว เมื่อเสร็จพิธีลูกหลานรางทรงก็จะพากลับบาน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

70


แตเดิมชาวบานก็เรียกผีที่ลงทรงกันวา “ตาปู” แตมาเดี๋ยวชาวบานจะเรียกวา “เจาพอสนั่น” ชาวบานที่นับถือเจาพอสนั่นมีอยู หลายหมูบาน นาจะเปนการนับถือเลียนแบบกันตอๆ มา

ภาพที่ ๑๒ ภาพที่ ๑๓ พิธีเลี้ยงผีตาปูบานน้ำจั้น ลาวแงวที่บานนี้เลี้ยงผีในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ ของทุกป ผูคนที่มารวมงานสวนใหญเปนหญิงสูงอายุ การเลี้ยงผีประจำปในอดีตไมมีการลงทรง เพิ่ง จะมีเมื่อคนทรงเมื่อเกือบ ๒๐ ปมาแลว ในอดีตเจาพอมาเขาบอย ทั้งเขาพรรษา ออกพรรษา และ สงกรานต แตปจจุบันมาลงทรงปละครั้งคือในงานเลี้ยงผีตาปูประจำป ในปนั้นปรากฏวาเปนเมียเจา พอสนั่นมา คนทรงจึงแตงกายสวยงาม ฟอนรำเลนกับชาวบานอยางสนุกสนาน กอนจะมีการทำนาย ทายทักตางๆ แลวเสี่ยงทายกระดูกคอไก ซึ่งยังคงรักษาธรรมเนียมเสี่ยงทายแบบเกานี้ไว

bความเชื่อเรื่องผีปอบ ความเชื่อเรื่อง “ผี” นอกจากผีตาปู ผีไรผีนาซึ่งเปนผีดีแลว ยังมีผีรายคือ “ผีปอบ” ในหมูคนลาวยังมีความเชื่อและหวาดกลัว “ผี ปอบ” อยูจนถึงปจจุบัน ปอบเปนไดทั้งหญิงและชาย แตผูถูกเพ็งเล็งมักเปนหญิงแกมีอายุ หากมีคนเจ็บไขไดปวย ตายบอยๆ เปนไขตายออกลูกตาย จะมีคนถูกเพงเล็ง และเมื่อใครถูกกลาวหาวาเปนปอบก็จะถูกกีดกันออกจากสังคมหมูบานนั้น ไมมีใคร คบหาดวย แมความกลัวผีปอบจะมีมากในชุมชนคนลาว แตก็ทำใหคนไทยที่อยูหมูบานใกลเคียงหามปรามลูกหลานไมใหไปเที่ยวบานคน ลาวเพราะกลัวผีจะมาเกี่ยวของดวย แตปจจุบันเสื่อมคลายไปบางแลว แสดงถึงการรังเกียจหรือกลัว “ผีปอบ” ไมเพียงมีอยู เฉพาะในหมูคนลาว

ใครเปนปอบ ชาวบานเชื่อวา ปอบมี ๒ อยาง คือ ปอบวิชา”คนจะเปนผีปอบลักษณะนี้นับถือคุณไสยแลวทำพิธีเซนไหวผิดจากที่เคยเปน เชน ผี ปอบที่บานโปง อำเภอบานหมี่ เปนผีมีครูทำใหผูบาวหลง เวลาตายแลวไมตองหาคนสืบทอดเปนปอบและถาตายไปปอบก็ตายไป ดวย อยางที่สองคือ ปอบเชื้อ”ตายทรมานตองใหลูกหลานมารับ ถาไมรับก็จะกินลูกกินหลาน หมายถึง ลูกหลานจะเจ็บจะไขอยู ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

71


ตลอดเวลาไมก็ตายไปเลย ในปจจุบันชาวบานก็ยังกลัวผีปอบอยู เพราะพวกนี้เวลาใครเจ็บไข มันก็จะไปกับคนไปเยี่ยม บางที่ผี จะไปกับพี่นองที่เขาเรียกวาผีช้ำด้ำพลอย และชาวบานเชื่อสนิทวาเปนอยางนั้นจริงๆ 70 คนที่เปนญาติกับปอบมักจะระมัดระวังตัวมาก เวลาเพื่อนบานไมสบายจะไมไปเยี่ยมคนปวยกลัวถูกกลาวหาวาพาปอบไปดวย และจะถูกกลาวหาหากผูปวยนั้นทรุดหนักไปอีก สมัยกอนหากมีคนตายโดยหาสาเหตุไมไดก็จะโทษปอบ คนที่ถูกผีหรือปอบเขาจะมีลักษณะเปนคนออนแอ ขี้โรค และเปนคนนาสงสาร คนที่ถูกปอบเขาจะมีลักษณะออนแอ เชน เมื่อ ปอบเขาก็นั่งกมหนาแลวพูดเปนเสียงคนแกพูดวา “กูเห็นมึงยางแหยงแยะๆ กูก็มากับตาเต็มขึ้นบามันมา” บางคนชาวบานบอกวา อยูเฉยๆ ผีผลักลมนับแตนั้นมาก็ไมสบาย เขาโรงพยาบาลนอนแหมบตลอดเวลาแลวก็ตาย แมหมอจะสรุปวาเปนโรคเบาหวาน แตชาวบานบอกวาปอบเขา เวลาที่ปอบเขาจะรองโหยหวน ญาติๆ ตองหาหมอหรือหาพระมาไล เวลาหมอไลผี คนที่ถูกผีหรือปอบเขาจะรองหาลูกของคนที่ เปนปอบ “ซอยแหมแด นวยมาซอยแมแด” ซึ่งเปนการกลาวหาวาแมของลูกชายที่ออกชื่อเปนปอบ บางคนถึงกับจะเอาปนมายิง คนที่ถูกปอบเขา เพราะโกรธที่กลาวหาวาแมของเขาเปนปอบ เมื่อชาวบานเขาไปพูดคุยก็จะเกิดการเลาลือกันไปตางๆ นานา ทุกคนที่ถูกผีเขาจะบอกวาไมรูตัววาพูดอะไรบาง และจะมีการกลา วหาผูอื่นอยูเสมอ เชน บอกวาใครในหมูบานเปนปอบ ใครเปนผูดูแลเลี้ยงดูผีเหลานี้ จนชาวบานจัดกลุมคนที่เปนปอบและเลี้ยงผี ได เวลาที่ปอบเขา ปอบในรางของคนก็จะบอกวาชื่ออะไร เคยกินคนนั้นคนนี้มาแลว บางตัวยังบอกวาคนนี้ตับใหญ คนนั้นตับ อรอยก็มี เวลายามค่ำคืนคนเฒาคนแกจะสอนไมใหปากไวหรือทัก ถามสิ่งไมเห็นตัว อยางเมื่อเกิดเสียงดัง แลวถามวา เสียงอะไร เดี๋ยว ปอบจะเขาหลายคนยืนยันวามีจริง บางคนเห็นเปนหมาตัวใหญ เห็นเปนคนแก ตอนเย็นๆ หรือกลางคืนเดินออกหนา พอเรา เดินตามมันจะหันหนามาหลอกทำใหตกใจ แลวจะเขาหาหากเปนคนขวัญออน ลักษณะคนที่เปนปอบ ลักษณะของคนที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบ คือ จะไมสุงสิงกับใครจะอยูแตเฉพาะกลุมตน เปนคนแปลกไปจากคนในสังคมหมูบาน นั้น โดยเฉพาะไมแตงงาน มีความเปนอยูตางจากคนอื่น มีฐานะดีกวาคนอื่นหรือคนที่กลาวหา บรรพบุรุษอาจจะประพฤติตนไมดี คนที่เก็บตัวหรือถูกคนในสังคมรังเกียจก็จะถูกกลาวหาวาเปนปอบ ครอบครัวที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบจะไมชอบสุงสิงกับใคร ฐานะความเปนอยูไมเดือดรอน สามารถพึ่งตนเองไดและชอบเก็บตัว วากันวาปอบชอบเขาคนขวัญออน คนใจออน นาจะเปนคน ตกใจงาย คนที่ไมคอยเปนตัวของตัวเอง เชื่อคนอื่นงาย ครอบครัวหนึ่งถูกกลาวหาวาเปนปอบ ผูชายคนหนึ่ง ผูหญิงสอง ฐานะดีไมตองพึ่งพาใคร เมื่อพี่ชายที่แตงงานแยกครัวไปแลวมา เอาสรอยทองของมีคาของนองสาวไปหมด ทั้งสองคนพี่นองก็ไมพูดจากับใครๆ ทำใหชาวบานพูดถึงคนบานนี้วา วันๆ มันไมพูด กับใคร น้ำก็ไมอาบ ไมออกไปไหน พูดทีบอกทีก็ปากสั่นมุบมิบ สงสัยจะทองคาถา และหญิงพี่นองสองคนนี้ก็ถูกหาวาเปนปอบ สาวรวมจะผูกคอตาย กอนหนานั้นก็เคยผูกคอตายมากอนแตมีคนชวยไวไดทัน ชาวบานบอกวาอยากใหมันตาย จะไดหมดไป 70

สัมภาษณนายสมยงค สมทรง, อายุ ๔๖ ป, ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

72


จากหมูบานเสียที คนภายนอกมองวาผูหญิงบานนี้ทำตัวลึกลับ เชน ตอนกลางวันไมทำอะไรเอาแตนอน บานชองเงียบเชียบ เวลา มองเขาไปในบานก็นากลัวมากมืดๆ ทึบๆ พอกลางคืนเปดไฟทำงานเหมือนตอนกลางวัน บางทีออกมาอาบน้ำเพราะหองน้ำอยู นอกบาน เวลาพวกมันอยูบาน อาปากเลียปากเหมือนมันอยากกินอะไร อีกอยางไมยอมออกมาพูดคุยกับใคร แมแตคนขางบานที่ เคยทักทายกันมากอน คนหมูบานอื่นที่เปนคนไทยก็มองลักษณะของคนที่เปนปอบเชนเดียวกัน มีการเลาวา หญิงชาวบานคนหนึ่งตายไปนานกวา ๓๐ ป แลว มีฐานะปานกลาง นุงโจงกะเบน แตสายตาลอกแลก เมื่อมาถือศีลที่วัดจันเสนจะอยูมุมศาลาไมมีใครเขาใกลดวย ถาคนใน หมูบานเจ็บไขไดปวยก็จะถูกเพงเล็ง เวลามีผีเขาเขาไลผีจะอางชื่อหญิงคนนี้ หมอผีจะใชตนขาเฆี่ยนจนกวาผีจะออก คนที่ผีเขา สามารถดื่มเหลาเปนขวดๆ โดยไมเปนไร ไกเปนๆ ฉีกกินดิบๆ สูบบุหรี่มวนโต พูดวาเขาไมใชคนที่เปนรางนี่ก็เปนลักษณะของผี ปอบเขา แตเวลานี้คนสวนใหญที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบก็ตายไปหมดแลว71 l

l

l

g g

71

ภาพที่ ๑gสระน้ำหรือหนองน้ำ ที่บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี สระg น้ำเปนสิ่งจำเปนมากในอดีตสำหรับชุมชนชาวลาวแงวหลายแหง ศาลตาปูก็มักตั้งอยูg ใกลกับหนองน้ำหรือสระน้ำเหลานี้

สัมภาษณพระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน, ๑๖ เมษายน ๒๕๔๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

73


ภาพที่ ๒ และ ภาพที่ ๓ บานเรือนที่อยูอาศัยของชาวลาวแงวบานหนองเมืองและบานไผใหญ ภายในบริเวณบานไม เรียบรอยพิถีพิถัน เพราะไมไดใสใจตอความสวยงามนัก ดังเปนความเห็นที่กลุมชาติพันธุอื่นมีตอชาวลาวแงว ?

การกลาวหา ในกรณีที่ยกตัวอยางได ที่หมูบานลาวแงวแหงหนึ่งในอำเภอบานหมี่ มีครอบครัวหนึ่งถูกกลาวหาวาเปนปอบซึ่งเขาใจกันวาแมเปน มากอน หญิงผูนี้อยูกับพอแมอยูบานเรือนไทยหลังคามุงแฝกฝาไมฟากหลังใหญมากแสดงถึงฐานะที่ร่ำรวยพอควร และเปนคนผู งามคือคนสวย แตงงานมาแลวครั้งหนึ่งกอนไปฟองหยาวาตนเองเปนหมันไมมีลูกขอเลิกกับผัว ชาวบานเขาใจวาหาเหตุอยากเอา ผัวใหม พอเลิกแลวมีลูกติดคนหนึ่งเปนผูชาย ซึ่งปจจุบันยังมีชีวิตอยูอายุ ๗๕ ป ตอมาไดผัวใหมมีลูกอีก ๕ คน ชาวบานยังนินทา กันวา บอกวาตัวเองเปนหมันเปนหยังมีลูกหลายแท พอตอนที่แมเธอตายปอบคงไมมีที่ไปและหญิงคนนี้คงรับเอามา และเมื่อ ตายไปแลว ปอบก็มาอาศัยอยูกับลูกสาว ลือกันวาลูกสาวคนนี้ตอนเชาไปนากลับมาตอนเย็นก็ตายโดยไมมีเหตุ ชาวบานเชื่อวา ปอบคงกินขางในมานานแลว ปอบคนหนึ่งที่มีพื้นเพมาจากภาคอีสานและมีผัวหลายคน ตอมาไดกับคนหมูบานหนึ่งเลากันวาเวลาถึงวันพระก็จะปนขางฝาตอน กลางคืน แลวขึ้นไปบนหลังไปนั่งคอมจั่วบาน หญิงคนนี้เปนปอบเพราะไปเรียนวิชาที่ใหผูชายรักชาวบานเรียกวา “ครูห…(อวัยวะ เพศหญิง)ใหญ” ชาวบานรูจักในชื่อครูอีเปอ เลาลือกันวายายคนนี้ชอบกินเด็ก หักคอเด็ก เดี๋ยวเด็กบานนั้นตายบานนี้ตาย ซึ่ง เปนการตายติดๆ กันโดยไมรูสาเหตุ จึงเปนเหตุทำเกิดการรุมฆาปอบขึ้น ชวงเย็นๆ ใกลค่ำ หญิงแกที่ถูกหาวาเปนปอบไปขอปลาชาวบานที่กำลังชวยกันวิดสระ มีทั้งปลาเปนปลาตาย แตพอเดินมาสัก หนอยในปาละเมาะ ก็มีพอตาลูกเขยคูหนึ่งตามมาเอาไมคานตีปอบจนตายทามกลางคนเห็นเหตุการณหลายคน เพราะโกรธที่เปน ปอบที่ชาวบานเชื่อกันวาไปหักคอเด็กในหมูบานตายหลายคนซึ่งเด็กคนหนึ่งเปนหลานของทั้งสองคนดวย ยายแกที่ถูกหาวาเปนปอบถูกตีจนแตตายปลาที่ถือมาก็ดิ้นอยูขางๆ คนที่ไปมุงดูก็พูดกันวาปอบมันยังอยู แมจะถูกตีจนตายตอน เย็นใกลค่ำแตก็ไมมีใครกลาไปเก็บศพ ผัวก็รองไหสงสารเมียและมาเฝาทั้งคืน รุงเชาจึงมีคนมาเก็บศพไปทำพิธี ทั้งพอตาและลูกเขยที่ใชไมคานรุมตียายแกตายไมติดคุก เพราะเสียเงินใหตำรวจไป คนละ ๔,๐๐๐ บาท รวม ๘,๐๐๐ บาท ซึ่ง เมื่อราว ๔๐ ปกอนก็เปนจำนวนเงินที่มากเอาการอยูตอนยายแกที่ถูกหาวาเปนปอบโดนฆาตายมีคนเห็นเหตุการณหลายคน แต ไมมีใครเขาไปชวย กลายเปนเรื่องเลาที่เลาตอกันมา ชาวบานแชงใหคนที่เปนปอบใหตายไปเสีย โดยบอกวามันไปเขาสิงเขา เฮ็ดใหเขาเดือดรอน เด็กนอยหยาน(กลัว) ลูกหลานนอน หลับละเมอรองไห อีกอยางเวลาเขาไปสิงใคร จะออกชื่อวาอาศัยอยูกับคนนั้นคนนี้เปนการกลาวหากันตอไปอีก ทำใหทั้ง ครอบครัวคนที่ถูกหาวาเปนปอบขายหนาเพราะกลัวถูกกลาวหาวาเปนปอบดวย

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

74


การกลาวหาคนที่เปนปอบมักจะเปนเหตุการณใดก็ไดตามแตชาวบานที่ไมสามารถใหเหตุผลได เชน หญิงสาวคนหนึ่งยืนลาง หนาที่หนาตางแลวตกลงมาจากบานซึ่งสูงขนาดบันได ๗ ขั้น ชาวบานก็เลาลือวาเพราะนองเขยไปหวานแหที่สระในนาของหญิงที่ ถูกหาวาเปนปอบ เมื่อกลับมาจากนาได ๒-๓ วัน ก็เจ็บขาเดินไมได ชาวบานวาสงสัยปอบจะทำใหเจ็บไข และปอบโกรธแคนจน ทำใหพี่สะใภตกบันไดบาน กลายเปนหัวขอที่ทุกคนในหมูบานใหความสนใจ บางก็แนะนำใหแกไปหาหมอที่รักษา แมแตถานำเด็ก ไปเลนใกลบานนี้หรือเด็กเห็นหนาคนที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบ เด็กก็จะรองไหดวยความหวาดกลัว หรือตอนกลางคืนก็จะรอง หวีดหวาดกลัว ชาวบานกลัวกันจนไมอยากทักทาย ปอบยังมีอยูในปจจุบันb เมื่อราว ๓๐ ปมาแลว ปอบเขาคนนั้นคนนี้บอยมาก ปจจุบันเปลี่ยนไปแมจะยังมีการเลาลือเรื่องปอบอยู แตก็ไมพบวามีการเขากัน บอยๆ เหมือนในอดีต เมื่อสอบถามวาหมูบานนี้มีปอบไหม กลัวไหม ชาวบานก็จะบอกวาบานนี้ผีเขามาไมได เพราะมีการทำพิธีคุมครองไวดีแลว แตบาง คนบอกวาที่หมูบานก็ยังมีผีปอบ ยามกลางคืนมีแสงวาบ วาบ พอคนเห็นจะหายไปเปนปอบวิชา ซึ่งเชื่อวาตอนนี้ผียังไมตายไม หมดไปจากหมูบาน บางหมูบานเลาวา ยังมีการกลัวเรื่องผีปอบกันอยู แตปจจุบันก็ไมคอยพบวามีปอบเขาแลว สวนเรื่องปอบเชื้อ หรือที่เคยถูกกลาวหาวาเปนปอบญาติก็จะใหหมอผีมาทำพิธีเรียกเขาหมอแลวนำไปฝงดินหรือแลวแตวาหมอจะนำไปทำอะไร แตเวลาใครพูดเรื่องปอบก็จะทำเสียงคอยๆ แตเวลาเลาเรื่องปอบไปทำอยางนั้นอยางนี้ ผูเลาจะออกทาทางและเสียงดังจะโยงถึง เรื่องเกาๆ ที่เคยเกิดขึ้นใหฟงอยางออกรสออกชาติ เชน “มีอยางหรือเอาหมาไปนอนดวย คนดีๆ เขาเฮ็ดกันหรือ” “เดี๋ยวนี้มัน กินขาวกับไขกับถั่วลิสง” แตก็ยังกลาวดวยเสียงเบาๆ อยางกลัวๆ วา มันไดยินนะวาเราพูดถึงมัน บางคนบอกวามีวิชาดีกันไมใหผีปอบเขาหรือหลอกได บางคนก็บอกวามีเคล็ดที่ทำใหปอบไมเขาใกล เมื่อจะเดินผานบานปอบ จะ ตองรีบทักมันกอนแมไมเห็นตัว ใหรีบพูดวา “ปอบปอบ” พูดทั้งตอนผานบานปอบไปและตอนกลับ ปอบยังคงเขาคนในหมูบานชาวลาวแงวอยู แมจะเปนคนมีอาชีพเปนครู เชน เมื่อไมสามารถหาสาเหตุไดจากการที่รถลมลงใกล จอมปลวกใหญ ก็มีอาการไมรูสึกตัว ญาติพี่นองเห็น หมาแกๆ นาเกลียดมากนั่งเฝาอยู ชาวบานและญาติๆ ก็เชื่อวาครูคนนั้นถูก ผีหรือปอบเขาแตก็ไมกลาบอกใหรูตัวเพราะกลัวจะไมเชื่อและไมอยากใหกลัวจนไมเปนอันทำอะไร ผูที่เปนปอบในสังคมของชุมชนลาวแงวคือผูที่ประพฤติตนตางไปจากคนสวนใหญ ในอดีต จะเพ็งเล็งไปที่คนที่มีคุณไสยที่ ประพฤติผิดศีลธรรมเปนไสยดำ โดยเฉพาะเพศหญิง หญิงที่มีมากกวาผัวเดียว หรือคนที่ไมยุงเกี่ยวกับเพื่อนบานกับกิจกรรม ของชุมชน ก็จะถูกมองวาเปนปอบ แตในปจจุบัน ผูที่ถูกหาวาเปนปอบมักจะเกี่ยวกับความตึงเครียดในชีวิต เชน หญิงที่มีปญหา ทางเศรษฐกิจ เชน ถูกพี่ชายโกงที่นาหรือสมบัติจนไมสามารถชวยเหลือตนเองได เมื่อหมกมุนกับปญหาของตัวเองจนตัดขาด ออกจากสังคมภายนอกก็จะถูกกลาวหาวาเปนปอบ ลักษณะของการถูกกลาวหาวาเปนปอบยังคงอยูในชุมชนลาวแงวจนถึงปจจุบัน แมจะมีการคลี่คลายลดความตึงเครียดไปจาก เดิมอยางมากก็ตาม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

75


บทที่ ๓ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง กับสำนึกทางชาติพันธุ จากอดีตเชลยศึกหัวเมืองไกลโพนที่ถูกกวาดตอนอพยพครัวเรือนมาสูลุมน้ำเจาพระยา ปจจุบันผูสืบเชื้อสายจากกลุมชาติพันธุ ไต-ลาวเหลานี้กลายเปนสวนหนึ่งของสังคมไทยอยางกลมกลืน เพราะถูกบูรณาการอยูภายใตรัฐไทยมาเปนระยะเวลานาน ภายใตสังคมแหงความคลายคลึงของผูคนในพื้นที่ราบลุมแหงภาคกลางของประเทศไทย ความแตกตางของชุมชนที่มีพื้นฐาน ความเปนมาและความเปนกลุมที่แตกตางกันก็ปรากฏอยางชัดเจน ในอดีตแมจะอยูในทองถิ่นเดียวกัน แตก็มีการแบงแยก ระหวางชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุอยางแนชัด เชน บานไทยอยูสวนไทยบานลาวอยูสวนลาว ไมไดไปมาหาสูหรือหลอมรวมกลาย เปนหนึ่งเดียว ตอมา เมื่อพื้นที่ทำกินตองแสวงหากันใหม กลุมคนจีนที่มาพรอมกับอาชีพคาขาย ออกเงินกู สรางโรงสีซื้อขายขาวที่ เปนฐานทรัพยากรสำคัญ การผสมผสานระหวางกลุมชาติพันธุจึงเกิดขึ้นในชุมชนระยะตอมา จนถึงปจจุบัน ผูคนก็ติดตอกัน ตลอดไมไดแบงเปนกลุมลาว กลุมไทย หรือกลุมจีน ดังเชนที่เคยเปนมา ชวงเวลาเกือบสองรอยปที่ผานมาแมนโยบายของรัฐมีสวนกำหนดแนวทางและวิถีชีวิตของไพรพลหรือประชากรอยูมาก แตใน ทามกลางสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง ชีวิตของผูคนที่ถูกทางการหรือราชสำนักเรียกวา “ลาว” ก็ปรับเปลี่ยนไปจนอาจไมมีอะไร คลายคลึงกับรากเหงาของวัฒนธรรมที่บานเมืองเดิม จากการศึกษาในกลุมชาติพันธุลาวแงวทำใหพบวา รูปธรรมที่ชัดเจนของการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เปนแรงผลักดันจากภายใน กลุมลาวแงวเองนั้นไมปรากฏชัดเจนแตอยางใด ตลอดชวงเวลาทั้งในทางประวัติศาสตรเปนตนมา ไมวาจะในฐานะเชลยสงคราม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

76


ไพรฟาขาแผนดิน และประชาชนผูเปนเกษตรกรของประเทศ แตกตางจากกลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่แมเปนเชลยสงครามเมื่อครั้งตน รัตนโกสินทรเชนเดียวกัน แตก็มีการรวมกลุมกันอยางชัดเจนกวา ไดรับความสนใจจากนักศึกษาและนักวิชาการจากสถาบันการ ศึกษาตางๆ มากกวาอยางเห็นไดชัด สาเหตุหนึ่งที่อาจสันนิษฐานได คือ ในกลุมตางๆ ที่กลาวมานั้น มีเอกลักษณของกลุมชาติพันธุที่ชัดเจนกวา เชน การแตงกาย ภาษาพูด ความเปนมาทางประวัติศาสตรจากถิ่นฐานเดียวกัน และประเพณีและพิธีกรรมความเชื่อ ซึ่งเปนเหตุผลที่สำคัญในการบู รณาการชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุเดียวกัน เขาไวเปนกลุมที่มีอัตลักษณโดดเดนและธำรงสำนึกทางชาติพันธุไดมากกวา ในสังคมปจจุบันที่เปดกวางขึ้น พรอมทั้งการเดินทางที่สะดวกสามารถออกไปสูโลกภายนอกไดอยางรวดเร็ว และจากระบบการ ศึกษาที่เปนเหตุหลักทำใหเกิดการยายถิ่นฐานอยางมากที่สุดในทองถิ่นนี้ ทำใหผูคนในทองถิ่นนี้มีการติดตอกันรวมทั้งมีการ แตงงานขามกลุมจนกลายเปนเชื้อสายที่ผสมผสานกันทั้งหมดโดยไมไดแบงเปนกลุมลาว กลุมไทย หรือกลุมจีน แมจะเกิดการผสมผสานกันก็ตาม แตสำนึกทางชาติพันธุยังคงอยู รองรอยตางๆ ปรากฏใหเห็นเมื่อเขาไปศึกษา แมจะออนแรง และเบาบางจนอาจถูกมองขามไปไดอยางงายดาย

สำนึกทางชาติพันธุลาวแงว การปรับตัวและการเปลี่ยนแปลง จากผลของสงครามครั้งศึกเจาอนุวงศ นอกจากจะทำใหเวียงจันทนยอยยับลงไปแลว กลุมชาวลาวที่ถูกกวาดตอนเขามาอยูใน กรุงเทพฯและหัวเมืองโดยรอบซึ่งเปนเชลยทั้งหลาย ตองตกระกำลำบาก สะทอนความรูสึกทุกขยากดังกลอนลำพรรณนาไว และ มีผูนำมาเปนบทรองเพลง “ลาวแพน” ดังนี้ มาขอยจะกลาว ถึงพวกลาวเปาแคนแสนเสนาะ มาสอเพาะ เขากับแคนแสนขยัน เปนใจความ ยามยากจากเวียงจันทน ตกมาอยูเขตขัณฑ อยุธยา อี่แมคุณเอย เฮาบเคยจะตกยาก ตกระกำลำบาก แสนยากก็นี่นักหนา พลัดทั้งที่ดินถิ่นฐาน พลัดทั้งบานเมืองมา พลัดทั้งปู พลัดทั้งยา พลัดทั้งตาทั้งยาย พลัดทั้งแมลูกเมีย พลัดทั้งเสียลูกเตา พลัดทั้งพงศทั้งเผา ทั้งลูกเตาก็หนีหาย บักไทยมันเฆี่ยน บักไทยมันขัง จนไหลจนหลังของขอยนี่ลาย จะตายเสียแลวหนา ที่ในปาดงแดน ผาทอก็บมีนุง ผาถุงก็บมีหม คาดแตเตี่ยวเกลียวกลม หนาวลมนี่เหลือแสน ระเหินระหกตกยาก ตองเปนคนกากคนแกน มีแตแคนคันเดียว ก็พอไดเที่ยวขอทานเขากิน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

77


ตกมาอยูในเมือง ตองถีบกระเดื่องกระดอย สีซอมตำตอย ตะบิดตะบอยบฮูสิ้น ถือแตเคียวเกี่ยวหญา เอาไปใหมาของเพื่อนมันกิน เที่ยวซมซาน ไปทุกบานทุกถิ่น จะไดกินก็แตเดน แสนอึดแสนจน เหมือนอยางคนตกนาฮก มืดมนฝนตก เที่ยวหยกๆ ถกเขมร ถือของสองคบ จับกบทุงพระเมรุ เปอนเลน เปอนตม เหม็นขมเหม็นคาว จับทั้งอางทองขึง จับทั้งอึ่งทองเขียว จับทั้งเปยวทั้งปู จับทั้งหนูทองขาว จับเอามาใหสิ้น มาตมกินกับเหลา เปนกรรมของเฮา เพราะอายเจาเวียงจันทนเพื่อนเอย

ความรูสึกที่สงผานกลอนลำลาวแพนนี้ คงสะทอนใหเห็นเพียงความยากลำบากในระยะแรกๆ ของชีวิตเชลยศึก ซึ่งตอมาเมื่อ สรางหลักฐานมีถิ่นฐานที่เปนชุมชนลาวและถูกบูรณาการทางการเมืองและสังคมวัฒนธรรมจากรัฐรวมเปนสวนหนึ่งของประชากร สยาม การอยูอาศัยในพื้นที่ราบลุมภาคกลางอันมีสภาพแวดลอมที่อุดมสมบูรณตามธรรมชาติ และวีถีชีวิตที่สัมพันธกับการทำนา เพียงอยางเดียวก็สามารถดำรงชีวิตไดอยางไมยากลำบากแตประการใด ทั้งยังไมมีความขัดแยงระหวางกลุมชาติพันธุอยาง รุนแรงเนื่องจากนโยบายของรัฐ หากมองภาพรวมเชนนี้ก็อาจเขาใจเหตุผลของขอมูลที่วา “ไมมีรูปธรรมที่ชัดเจนในการ เคลื่อนไหวทางสังคม ที่เปนแรงผลักดันจากภายในกลุมลาวแงว” เนื่องเพราะ “สำนึกทางชาติพันธุ” หรือ “ethnicity” จะมีความหมายตอสังคมหรือชุมชนที่เปนกลุมชาติพันธุ [ethnic group] ก็เมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงและความขัดแยงทางสังคม มีนัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและความขัดแยงทางสังคม การแสวงหาอัตลักษณตัว ตนทางวัฒนธรรมและอาจรวมถึงการตอรองทางการเมืองในบางกรณี การสรางตัวตนของกลุมและความสัมพันธระหวางเชื้อชาติ ซึ่งถือเปนการตอรองทางการเมืองหรือความอยูรอดของกลุมชาติพันธุดังกลาว ซึ่งผูคนในกลุมนั้นๆ พยายามบอกเลาแสดงตัวตน ใหคนในสังคมไดรับรูและประกาศพื้นที่ของตนเอง ซึ่งนำไปสูการเคลื่อนไหวทางสังคมหรือการเคลื่อนไหวทางการเมือง กลุมชาติพันธุ หรือ ethnic group หมายถึงคนกลุมหนึ่งในหมูคนกลุมใหญ มีลักษณะรวมที่เปนที่ยอมรับกันภายในกลุมวา ตนเองวาเปนคนกลุมเดียวกัน เชน ภาษา สำเนียงพูด การแตงกาย อาหาร ประเพณีวัฒนธรรม จนกระทั่งการบอกเลาทาง ประวัติศาสตรที่รวมไปถึงในความหมายของการสรางจินตนาการในอดีตรวมกันของกลุม จากนิยามความหมายในลักษณะการอธิบายขางตน การเคลื่อนไหวทางสังคมในการรวมกลุมอยางชัดเจนของกลุมลาวแงวจึงไม อาจนับวามีลักษณะของสำนึกทางชาติพันธุที่รับรูโดยทั่วไปแตอยางใด ซึ่ง “การรับรูโดยทั่วไป” ในที่นี้หมายถึง มีกระบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองอยางชัดเจน หรือ มีการเคลื่อนไหวรวมตัวกันทาง สังคม ฟนฟูวัฒนธรรมและประเพณีในระดับทองถิ่น พยายามแสวงหาอัตลักษณของกลุมทั้งที่สรางขึ้นมาใหมและการนำ แบบแผนดั้งเดิมมาผลิตขึ้นใหม เปนตน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

78


อยางไรก็ตาม หากศึกษาลงไปในรายละเอียดภายในกลุมลาวแงว จะพบวา มีการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เปนที่รับรูกันภายในกลุม และชุมชนกลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่อยูในทองถิ่นเดียวกัน ถึงอัตลักษณและการดำรงความเปนกลุมชาติพันธุของลาวแงว อันเปนที่ รับรูกันโดยทั่วไปซึ่งอยูภายในระดับทองถิ่น แตในระดับชาติหรือประเทศนั้น กลุมชาติพันธุลาวแงวอาจไมมีตัวตนโดยสิ้นเชิง เพราะถูกมองวาเปนประชากรไทยสวนหนึ่งของพื้นที่ราบภาคกลางเทานั้น ความสมานฉันทและความกลมกลืนของประชากรเปนภาพรวมที่เกิดขึ้นจากการอธิบายของรัฐ ทำใหเราเพิกเฉยตอการ เปลี่ยนแปลงและการแสวงหาอัตลักษณของกลุมชนกลุมตางๆ ซึ่งสวนใหญจะเปนปญหาในกลุมคนชายแดนหรือชนกลุมนอยที่ ถูกมองวาเปนปญหา จนแมในกลุมชนที่ดูเหมือนวาจะไมมีความแตกตางแตประการใด เชน กลุมลาวแงว ในพื้นที่ภาคกลางนี้ก็ ถูกมองวาไมมีตัวตนและไมมีการเคลื่อนไหวทางสังคมที่แสดงถึงอัตลักษณของกลุม ซึ่งขอมูลจากทองถิ่นทำใหเราทราบวา แมมีการเปลี่ยนแปลงความเปนอยู มีการสรางบานเรือนใหม มีคานิยมในการบริโภคเหมือนกับสังคมของคนกลุมอื่นๆ ใน ประเทศไทย แมจะไมพูดลาวเวลาออกนอกหมูบาน ไมฟงหมอลำเพลิน ไมฟงลำกลอน ไมดูลิเกลาวเหมือนกับปูยาตายาย วันนี้ คนลาวก็คือคนไทย แตงกาย ฟงเพลง ไปหางสรรพสินคา ใครจะรูวาที่เดินไปขางๆ จะเปนคนเชื้อสายลาวแงว แตเมื่อพิจารณาถึง ประเพณีพิธีกรรมที่ยังคงทำกันอยูและสภาพชีวิตการทำมาหากินของกลุมลาวแงว เราก็จะพบกระบวนการเคลื่อนไหว ความ เปลี่ยนแปลง และที่สำคัญสิ่งเหลานี้แสดงอัตลักษณของกลุมลาวแงวอยางชัดเจน โดยไมตองมีเหตุแหงความขัดแยงทางสังคม เปนพลังผลักดันใหเกิดการรวมกลุมแตอยางใด ในกลุมชาติพันธุลาวแงว ทามกลางการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง พบวามีลักษณะเดนที่อาจจะ เรียกไดวาเปนอัตลักษณของกลุมลาวแงว ๒ ประการ คือ ความเชื่อเรื่องผี ซึ่งยังมีบทบาทสำคัญตอชีวิตผูคนและโครงสรางทาง สังคมของชุมชนอยางมาก สวนอัตลักษณอยางที่สองคือ ผลกระทบตอชุมชนลาวแงวจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจของรัฐและ ความสัมพันธระหวางรัฐกับชุมชน ซึ่งอาจกลาววาเปนลักษณะที่พบเห็นไดทั่วไปของกลุมชาวนาในทองที่ภาคกลาง ไมอาจแสดง ความเปนกลุมชาติพันธุแตอยางใด แตความเดนชัดดังกลาว กลายเปนวีถีชีวิตในปจจุบันของชาวลาวแงวซึ่งสวนใหญเปนชาวนา หรือเกษตรกรที่ไดรับผลกระทบจากปจจัยตางๆ และเปนปจจัยสำคัญที่นำการเปลี่ยนแปลงตางๆ มาสูชุมชนลาวแงว แมจะไมมีการแสดงออกถึงเอกลักษณทางวัฒนธรรม ประเพณี การแตงกาย ภาษาพูด อยางโดดเดนชัดเจน จนเปนที่รับรูทั่วไป แตสำหรับผูคนในทองถิ่นเดียวกัน แตอยูตางหมูบาน ก็มองกลุมลาวแงวแตกตางไปจากกลุมของตน และแนนอน แฝงไวดวย การดูถูกทางชาติพันธุที่ชาว “ลาว” ยังคงไดรับสืบทอดตอเนื่องมาตลอด จนกระทั่งปจจุบัน ผูศึกษาซึ่งเปนชาว “ลาวแงว”72 ไดสอบถามชาวบานในหมูบานใกลเคียงที่ไมมีเชื้อสายลาว เชน กลุมคนไทยแมน้ำ พวน และจีน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุที่อยูใกลชิดและเปนคนในทองถิ่นเดียวกัน เมื่อนึกถึงกลุม “ลาว” สิ่งที่นึกถึงเกี่ยวกับคนลาว มีลักษณะที่นา สนใจ ดังนี้ คนลาวตองกินปลารา คงเห็นวาคนลาวสวนใหญจะทำปลารากินเอง และเมื่อทำอาหารทุกครั้งตองมีสวนผสมของปลาราหรือ น้ำปลาราอยูในอาหารดวย และไมวาอาหารมื้อใดจะตองมีน้ำพริกปลาราบาง ปลาราสับบาง หรืออยางนอยที่สุดก็ตองทำน้ำปลารา ละลายพริกผง กินกับผักสดหรือผัดตม 72

รุจิรา เชาวนธรรม, มิถุนายน ๒๕๔๕.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

79


คนลาวสกปรก หากมองเขาไปในบานคนลาวเห็นวาไมมีการเก็บมุง กางอยูตลอดเวลา ดูวาสกปรกไมมีการซักตาก และเสื้อผา สวนใหญก็ไมสะอาด รวมทั้งเรื่องการทำอาหารตางๆ ก็ไมพิถีพิถันเทาเทียมคนกลุมอื่น มีความเปนอยูงายๆ บางทีเหมือนเปนคำดู หมิ่น กดกลุมลาวใหต่ำตอยลง หากถูกวากลาววา “ทำอะไรเหมือนลาว” จะหมายถึงการกระทำในความหมายที่ไมดีทั้งหมด เชน คนลาวชอบขอ เห็นอะไรของคนอื่นที่ตนไมมีก็ขอไมเกรงใจผูให หากใหนอยก็จะเอาจากผูอื่นมากๆ คนลาวทำนา ดูเหมือนอาชีพทำนาเปนเรื่องต่ำตอยของสังคมในประเทศไทยทั้งๆ ที่ขาวเปนอาหารหลักของคนไทยทุกคน และ การทำนาดูจะเปนสิ่งที่คูมากับกลุมชาติพันธุลาว เพราะอยูในพื้นที่เพาะปลูกในที่ราบที่อุดมสมบูรณ ชาวลาวแงวสวนใหญไม สามารถเปลี่ยนอาชีพมาทำอยางอื่นได โดยเฉพาะการคาขายนั้นไมอาจทำไดอยางสิ้นเชิง บางทีจะพบวาคนลาวถูกเอาเปรียบ ตลอดมาจากพอคาคนกลาง ทั้งที่เปนคนไทยและคนจีน เวลาขายขาวแลวไดเงินมาเหมือนกับไมคุมกับที่ลงแรงไป ดังนั้น นัยยะ ในการมองวา “คนลาวทำนา” ก็คือมองเปนวาเปน “คนจน” นั่นเอง และคนจนในสังคมไทยหมายถึงเปนผูที่ดอยโอกาส และเปน ชนชั้นที่ถูกดูถูกนั่นเอง คนลาวเอื้อเฟอ มีการแบงปน ไววางใจคนอื่นงาย คิดวาคนอื่นจะเหมือนกับตนและมักถูกคดโกงอยูบอยๆ คนลาวซื่อและอดทน ความรูสึกนี้คนกลุมอื่นมองคนลาวแงวไปรวมกับคนอิสาน คือ “ซื่อ” แตไมมีไหวพริบ ซึ่งเปนความหมาย ที่แตกตางจาก “ซื่อสัตย” และยอมทำงานหนักขยันขันแข็งอดทนในแบบที่คนกลุมอื่นไมทำ คนลาวขี้กลัวและตระหนี่ มักกลัว เชน กลัวเทคโนโลยีที่ตนเองไมมีความรูและไมแนใจ ตื่นตระหนกในทามกลางกระแสสังคมที่ กำลังเปลี่ยนแปลง และคนลาวสวนใหญมีที่ดินและทรัพยสินมากเพราะตระหนี่ ไมเหมือนกับกลุมชาติพันธุอื่นๆ เชน พวน ที่ชอบ ปลูกบานชองประณีตใหญโต แตงกายสวยงาม แตการทำมาหากินและการเก็บงำเงินทองไมอาจเทียบไดกับลาวแงว คนลาวมักทำ เปน เชย ไมถูกกาละเทศะ เชน ชอบพูดเสียงดัง ไมมีมารยาท มักชอบโวยวาย เรื่องมาก คนลาวมักถูกดูหมิ่น เมื่อลาวเปนคนกลุมนอย หากอยูในทองถิ่นหรือหมูบานใดมักถูกดูหมิ่นจากคนกลุมอื่นๆ ลาวที่อยูในกลุม คนพวน หรือลาวในหมูคนไทย หรือลาวไปเปนสะใภหรือเขยบานคนไทย คนจีน คนพวนก็จะโดนกดขี่ดูหมิ่นอยางมาก คนลาวเลี้ยงผี มีคนไทยมักเตือนลูกหลานหรือผูรูจักวา “เวลาไปบานลาวระวังผี คนลาวถือผี” ใหระวังตัว การพูดจา อยาไปกิน อาหารบานคนลาว เดี๋ยวจะไปผิดผีเขา ซึ่งเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนในอดีตจนทำใหกลุมลาวออกจะโดดเดี่ยวจากหมูบา นอื่นๆ ในกลุมคนไทยและพวน แตปจจุบัน ความหวาดกลัวนี้นอยลงเนื่องจากสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป โดยหมูบานไทยลาวที่ การติดตอสัมพันธกันมากขึ้น พระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน ซึ่งเปนคนไทยแมน้ำในทองถิ่นนี้ ใกลชิดกับกลุมชาติพันธุตางๆ มาโดยตลอด เพราะ วัดจันเสนเปนพื้นที่ขยายตัวจากการบุกเบิกที่ดินทำกินของคนกลุมตางๆ ดังนั้น จึงตองพบปะคนกลุมชาติพันธุตางๆ อยูเสมอ ให ความเห็นถึงคนเชื้อสายลาวแงววา l

“จากการพูดคุยกับคนลาว เขาเปนคนจุกจิก คิดเล็กคิดนอย ทำใหเปนเรื่องเปนราว ความคิดนี้ทำให เปนปญหาของชุมชน เกิดความขัดแยง แตถาถูกใจเขา อะไรก็ได ทุมเท เต็มที่ ถาไมถูกใจเขา จะพลิก

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

80


เลย จากหนามือเปนหลังมือ ถาดึงเขามาทำงานรวมกับวัดตามแนวทางที่ถูกตอง คือ ตองตามใจเขา จะทุมเทและรวมมือ e

มีความขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ ไมเหมือนคนแถบแมน้ำ ที่อพยพมาจากอำเภออินทรบุรี มา ใหมๆ ก็ขยันขันแข็ง ในการประกอบอาชีพดี แตบางคนก็หลงดื่ม หลงกิน หลงเลน ทำใหไมคอยได เก็บรักษาเงินทองเทาที่ควร ที่มาอยูแรกๆ มีทั้ง คนที่ประหยัดและฟุมเฟอย มีทั้งบวกและลบ

e

การประกอบอาชีพของเขามีบางคนสายตายาวไกล แสวงหาที่ดิน แสวงหาอาชีพใหม โดยมีชาวลาว แงวในบางชุมชนไปมีไรนา แถวอำเภอลำนารายณ อำเภอวิเชียรบุรี อำเภอหนองไผ ในจังหวัด เพชรบูรณ เพื่อเพิ่มพูนรายได จัดวามีสายตายาวไกล การรวมประเพณีของชาวลาวแงวกับวัดจันเสน ก็มี สารทลาว สารทไทย พิธีคลายคลึงกัน ทำบุญเสร็จแลวก็จะทำขวัญขาว ชวงเดือน ๙ เดือน ๑๐ ขาวกำลังงามใชได มีกระยาสารท หมากพลู ใสชะลอมไปปกที่ทองนา73

ในขณะที่คนเชื้อสายพวนซึ่งอยูในหมูบานเดียวกับคนเชื้อสายลาวแงว มองวา “คนลาวสกปรก ไมพิถีพิถัน” ในขณะที่ลาวแงวมอง พวนวา “ชอบแตงตัวสวยๆ งามๆ ขี้โอ ไมขยัน และถือตัวไวตัว และขี้โอในบางครั้ง” เหลานี้แสดงถึงการแบงกลุมดวยลักษณะ การดำรงชีวิตและพฤติกรรมที่แตกตางกัน ในคนตางกลุมก็จะมีวิธีคิดในการมองคนกลุมอื่นที่สงผานสืบทอดตอมาเรื่อยๆ ดังนั้น ความเปนกลุมชาติพันธุจึงไมอาจวัดเพียงเฉพาะประเพณีวัฒนธรรม ภาษาพูด หรือการแตงกาย ดังที่ไดกลาวไวแลว สำหรับกลุมคนเชื้อสายลาวแงวที่ผูศึกษาประมวลความคิดเห็นจากการสัมภาษณคนเชื้อสายลาวแงวในหมูบานตางๆ ในพื้นที่วิจัย พบวา ลาวแงวมองความเปนตนเองดวยความรูสึกนอยเนื้อต่ำใจ และรับทราบสิ่งที่ชาวบานกลุมอื่นๆ มองพวกตนวาเปนอยางไร โดยจะเห็นวามีการตอบโตวิธีคิดของคนกลุมอื่นๆ ที่มองพวกตนไวดวย ดังนี้ คนลาวก็เปนเหมือนคนไทยอื่นๆ จะใชคนลาวหรือไมใชคนลาว ก็เปนเชนเดียวกับคนทั่วไปในสังคมที่อยูในประเทศไทย มีทั้ง ลาวที่เปนคนดีและคนไมดี ไมดีในที่นี้หมายถึงสิ่งที่คนชาติพันธุอื่นๆ มองตนเองในเรื่องตางๆ ไมคิดวาเปนเรื่องแปลกเพราะไมวา คนกลุมใดก็เปนเชนนี้ทั้งนั้น ความรูสึกของคนลาวแงวก็คือ เปนคนไทยอยูในประเทศไทย จะแตกตางจากกลุมอื่นเพียงภาษาพูด ที่มีเฉพาะกลุมเทานั้น แตการแตงกาย การดำเนินชีวิต หรือการพูดก็สามารถพูดไทยไดดี ไมคิดวาแตกตางจากคนกลุมอื่นแต อยางใด ดังนั้น ลาวแงวจึงถือวาตนเปน “คนไทยที่แตกตาง” เทานั้น คนลาวสามารถพึ่งตนเองได เปนสิ่งที่คนลาวภาคภูมิใจมากกวาสิ่งอื่นๆ จากความขยันขันแข็งทำใหสรางฐานะมีหลักฐานมั่นคง มากกวาคนกลุมอื่น เชน สามารถเปนเจาของที่ดินขนาดใหญจนไดแบงใหลูกๆ ไดทั่วทุกคน มีการสรางบานเรือนใหญโต มีศรัทธา ในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และชวยเหลือกิจของสงฆ เสมอตนเสมอปลาย

73

สัมภาษณพระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน, ๑๖ เมษายน ๒๕๔๔

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

81


คนลาวแงวไมสามารถรวมกลุมได คนเชื้อสายลาวแงวใหความเห็นเรื่องที่ไมสามารถรวมกลุมได เชน คนพวนวา เพราะคนลาวก ลายเปนคนไทยโดยไมเหลือสำนึกของความเปนลาวกันหมดแลว และไมมีผูนำในการรวมกลุม ไมมีเงินทุนมากเหมือนกับพวนซึ่ง มีศูนยกลางของสมาคมชาวพวนที่บานกลวย และคนพวนก็เปนใหญเปนโตกันมากกวา74 เนื่องจากกลุมพวนมักไมไดเปนเจาของที่ดินรายใหญเหมือนลาวแงว จึงพยายามหาชองทางสงเสียใหลูกหลานเรียนหนังสือและ รับราชการมากกวารับมรดกทำงานในไรนา ซึ่งผลดังกลาวทำใหคนเชื้อสายพวนจากกลุมบานหมี่หลายคนเปนใหญเปนโตในวง ราชการ และขยายขอบเขตในสำนึกทางชาติพันธุออกไปอยางกวางขวาง จนในปจจุบัน คนลาวแงวมีความพอใจในตนเองแตขณะเดียวกันก็ยอมรับการเปลี่ยนแปลงโดยไมโตแยง ในทามกลางสภาพสังคมปจจุบัน แมชาวลาวแงวจะมีอาชีพสวนใหญเปนเกษตรกรทำไรทำนา ซึ่งยังคงรักษาความถนัดในอาชีพของตนสืบตอกันมา ปู ยา ตายาย เคยมีที่นา เคยมีฐานะดี แมในปจจุบันจะมีความยากลำบากมากขึ้นก็ไมไดยึดมั่นถือมั่น เพราะคิดวามีกับไมมีเปนของคูกัน วันนี้ ลูกหลานลาวก็สามารถดำเนินชีวิตได แมจะพบกับปญหาทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ แตก็ประคับประคองตนไดตามอัตภาพ แมบาง คนจะแปลกใจวาทำไมคนลาวไมเปลี่ยนอาชีพอยางอื่น ยังคงปลูกขาวอยางเดียว ทั้งๆ ที่ทำแลวก็ยังเปนหนี้อยู ทำไมไมคิด เปลี่ยนไปทำอาชีพอื่นอยางอื่น เหตุผลที่คนลาวยังตองทำนาเหมือนเดิม ไมอยากเปลี่ยนแปลงเพราะหากคิดจะทำอะไรใหมก็ตอง ลงทุน ตองเริ่มตนใหมทุกอยาง จึงไมอยากเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิตใหม ในขณะที่คนลาวบางกลุมตองการเปลี่ยนแปลง มีการไป ซื้อไรในแถบจังหวัดเพชรบูรณ เปลี่ยนไปทำ ไรขาวโพด ไรออย และโยกยายออกไปจากชุมชนเดิม แตในขณะเดียวกัน ความเปลี่ยนแปลงในสังคมและวัฒนธรรมในปจจุบัน ก็ไมไดทำใหเกิดความวิตกกังวลใดๆ เชน คนที่เปน ลาวแงวรุนหลังไมนิยมพูดลาว แตถาบานไหนมีปู ยา ตา ยาย อยูรวมกัน ลูกหลานก็จะพูดลาวได คนสูงอายุยังอยากใหเด็กรุน หลังพูดลาวเปนบาง แตก็คิดวาทุกสิ่งทุกอยางยอมมีการเปลี่ยนแปลง จะพูดลาวหรือไมพูดลาวความเปนอยูก็ไมไดแตกตางไป เพราะยังคงเปนลูกหลานลาวแงวเชนเดิม และการเปลี่ยนแปลงนี้ หากมีผลกระทบมาถึงการปรับเปลี่ยนอาชีพในทุกวันนี้ การทำ นาที่ปูยา ตายาย พอแม ทำกันก็เปลี่ยนไปเมื่อไดรับการศึกษา พอแมหวังใหลูกเปนเจาคนนายคน หลายครอบครัวมีลูกหลานไป ทำงานในหนวยงานราชการ ทำงานบริษัทก็มาก บางรับจางใชแรงงานทำงานหนักก็มี ลาวแงวในปจจุบันสงลูกเรียนหนังสือเพื่อให ไดงานทำเพื่อไมตองทำงานหนักเหมือนพอแม ตองการใหลูกหลานมีการเปลี่ยนแปลงจากที่เปนอยู ไมตองมาอยูที่บานของตน และผลักดันใหไปทำงานที่อื่น เพื่อชีวิตที่ดีกวา และหากตองปรับเปลี่ยนตัวเองและชุมชนไปในทิศทางนี้ กลุมลาวแงวก็ไมมีปญหา แตอยางใด เพราะตองการเปนสวนหนึ่งของความเปน “คนไทย” อยูแลว

สำนึกทางชาติพันธุและการดำรงอยูของกลุมลาวแงวในสังคมปจจุบัน สำหรับกลุมชาติพันธุลาวแงว เพื่อจะพิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลงและการดำรงอยูของกลุมในภาวะปจจุบัน ซึ่งพิจารณาจากการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง พบวามีลักษณะเดน ๒ ประการ คือ ๑. อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุของกลุมลาวแงว ผานทางความเชื่อเรื่องผี ซึ่งยังมีบทบาทสำคัญตอชีวิตผูคนและโครงสราง ทางสังคมของชุมชนอยางมาก

74สัมภาษณ

นายศิริ –นางบุญเทือง มีเกษร, อายุ ๕๒ ป อาชีพ ทำนา, ๓ หมู ๑ บานหนองเกวียนหัก ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๒ สิงหาคม ๒๕๔๕. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

82


๒. ผลกระทบตอชุมชนลาวแงวจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจของรัฐและความสัมพันธระหวางรัฐกับชุมชน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ อัตลักษณทางวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลง: พิธีกรรมและความเชื่อเรื่องผี อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุของกลุมลาวแงวที่สำคัญนับจากอดีตจนถึงปจจุบัน ที่แสดงถึงความเปนกลุมลาวแงวไดอยาง ชัดแจง คือ พิธีกรรมและความเชื่อเรื่องผี ที่ยังคงมีความบทบาทสำคัญตอชีวิตผูคนและโครงสรางทางสังคมของชุมชนอยางมาก นอกจากนี้ จากการสำรวจชุมชนลาวแงวในบริเวณศึกษา โดยเฉพาะหมูบานในเขตอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี พบวา ยังมีการให ความสำคัญกับประเพณีของชุมชนที่ยังมีหนาที่ทางสังคมอยูในปจจุบันและเปนประเพณีที่แสดงเอกลักษณของกลุมสังคมลาวแง วอยู คือ สารทลาว กลางเดือน ๑๐ สวนงาน เลี้ยงผีตาปู ในเดือน ๖ กอนงาน ทำบุญกลางบาน ในเดือน ๖ มักจะทำกันในวันพระ เดือน ๖ ที่ตอเนื่องกัน ก็เปนลักษณะทางวัฒนธรรมและความเชื่อที่แสดงถึงกลุมลาวแงวอยางชัดเจน การทำบุญสารท ซึ่งมีความหมายถึงการตอนรับฤดูกาลใหมเปนฤดูแหงการเก็บเกี่ยว ซึ่งสัมพันธกับการทำขวัญขาวเพราะชวงนี้ ขาวกำลังทองแกไดที่ เปนวิธีที่มองเห็นความสำคัญของตนขาวที่เสมือนหญิงสาวทองแกตองไดรับการดูแลอยางดี เปนชวงเวลาที่ สำคัญสำหรับชุมชนเกษตรกรรม ดังนั้น เทศกาลสารทจึงยังคงเปนชวงเวลาที่สำคัญของกลุมลาวแงว การเลี้ยงผีตาปู เปนการรวมกันทำบุญใหกับผีที่ปกปกรักษาชุมชน ซึ่งชาวบานเรียกวา “ตาปู” ซึ่งหมายถึงเปนบรรพบุรุษของพวก ตน เปนการทำบุญเพื่อแสดงความเคารพตอผีที่คุมครองหมูบาน ถือกันวาหากยังไมไดเลี้ยงตาปูฤดูกาลเริ่มทำนาก็จะยังไม สมบูรณ เปนการสรางความอุนใจสำหรับชีวิตตอไปในภายหนาจากการลงทรงและทำนายทายทัก แมจะมีความเปลี่ยนแปลงรูป แบบพิธีกรรมไปมาก แตหัวใจของการทำบุญเลี้ยงผีตาปูนี้ยังคงอยู นั่นคือ แสดงความเคารพตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกเหนือธรรมชาติ ที่คุมครองใหคุณแกชาวบาน ตราบใดที่ยังคงใหความเคารพยำเกรง ก็จะไมเกิดภัยอันตรายแตชีวิตของผูคนในชุมชนแตอยางใด และการทำบุญกลางบานซึ่งบางชุมชนก็เรียกวาทำบุญเบิกบาน การทำบุญที่ชาวบานทุกครัวเรือนจะมารวมกันบริเวณกลางลานวัด ในชวงวันเพ็ญ เดือน ๖ ชาวบานมีความเชื่อวาการทำบุญกลางบาน เปนการทำบุญเพื่อเปลี่ยนรางเสียเคราะห หรือที่เรียกวา เปนการทำบุญสะเดาะเคราะห โดยใชตุกตาและกระทงสามเหลี่ยมใสสิ่งของตางๆ สวนหนึ่งอุทิศใหกับผีบรรพบุรุษ โดยจะไปวาง ไวที่ธาตุเจดียตามวัด หรือบริเวณแพรงเพื่ออุทิศใหกับผีไมมีญาติ ซึ่งก็เปนรูปแบบเดียวกับกลุมชาติพันธุอื่นๆ ที่ทำบุญสารท เดือน ๑๐ เพื่ออุทิศใหผีบรรพบุรุษ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมวัฒนธรรมในทองถิ่นตางๆ จะเห็นไดวา ทั้งสามพิธีเปนพิธีกรรมที่เลือกสรรแลวจากประเพณีสิบสอง เดือนที่สนิทแนนอยูในชุมชนหลายๆ แหงในกลุมวัฒนธรรมลาวซึ่งมีฐานเปนชุมชนเกษตรกรรม และยังคงมีความคลายคลึงกับ ประเพณีพิธีกรรมของผูคนในกลุมวัฒนธรรมแถบสิบสองปนนา (ลื้อ) - หลวงพระบาง ในกลุมชุมชนแถบชาติตระการ นครไทย นาแหว ดานซาย ภูเรือ ไปจนถึงเมืองเลย และกลุมชาติพันธุญอที่เคยมีถิ่นฐานอยูในแถบดินแดนสวนหนึ่งของสิบสองปนนา ที่ เนนในเรื่อง ความเชื่อเรื่องอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ เชน การเลี้ยงผี “ปู” การทำบุญใหแกบรรพบุรุษ ซึ่งควบคูไปกับความเชื่อ ในพุทธศาสนาซึ่งมีประเพณีการทำบุญในวาระโอกาสตางๆ แมจะเปนความสัมพันธที่ยังไมชัดเจน แตเราพอมองเห็นสายใยบางๆ ที่มีความคลายคลึงกันอยูในเบื้องตน ซึ่งเราอาจจะศึกษาถึงความสัมพันธดังกลาวตอไปในอนาคต ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

83


ความเชื่อเรื่องผี เปนอัตลักษณของกลุมลาวแงวซึ่งเปนที่รับทราบกันดีในทองถิ่น ฝงรากลึกอยูในชุมชนลาวแงวมานาน แบงออก เปนขั้วที่ตรงขามกันระหวาง ผีดี และ ผีราย ไดแก ความเชื่อ ผีตาปู ซึ่งเปนผีบรรพบุรุษ เปนผีดีที่ชวยปกปกรักษาหมูบานและลูก หลานในหมูบาน เมื่อถึงวาระในรอบปก็จะมีพิธีเลี้ยงผีตาปูครั้งหนึ่ง ใครจะบนบานสิ่งใดก็ตองมาแกบนจึงมีหนาที่ในการสราง ความมั่นใจใหเกิดขึ้นกับชาวบานดวย ในขณะเดียวกัน หากผูใดลวงละเมิดขาดความยำเกรงก็จะทำใหเกิดความเดือดรอนได สวนผีที่เปนขั้วตรงขามคือ ผีปอบ ซึ่งเปนผีราย มีทั้งที่เกิดจากการเรียนวิชาหรือเรียนไสยศาสตรที่นำไปใชในทางที่ผิดศีลธรรม และผีที่สืบทอดตอมาจากบรรพบุรุษที่ประพฤติไมดี การถูกกลาวหาวาเปนปอบมักจะเปนเรื่องใหญเสมอในชุมชนลาวแงวและ เห็นไดชัดวาเปนระบบควบคุมทางสังคมที่เครงเครียดและยังไมหมดไป แมสภาพสังคมในปจจุบันจะเปลี่ยนแปลงไปจนคนใน สังคมอื่นๆ คงไมอาจยอมรับได ผีด:ี ผีตาปู ชุมชนของคนในกลุมวัฒนธรรมไต-ลาว จะมีพื้นที่สาธารณะสำหรับปลูกศาลสี่เสาหรือตูบเล็กๆ ที่เรียกกันวาศาลผีหรือหอผี ซึ่ง เปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน สำหรับใชทำพิธีเลี้ยงผี ชุมชนในภาคอีสานหรือในประเทศลาวจะมีศาลปูตาในสถานที่ซึ่งเรียกวา “ดอนปูตา” ซึ่งเปนปาไมรกครึ้มขนาดกวางใหญอยู ใกลๆ กับชุมชน และมีประจำหมูบานแทบทุกแหง เรียกไดวาเปนปาของหมูบานที่ชาวบานรักษารวมกันและไมใชประโยชนจาก ดอนปูตานี้หากไมไดรับการยินยอมจากสวนรวม ชาวบานมักหวาดกลัวพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์นี้ และจะเขาไปเฉพาะมีงานพิธี เชน การ เลี้ยงผีปูตา เทานั้น ศาลปูตามีประจำทุกหมูบาน แตหากชุมชนนั้นมีขนาดใหญในระดับเมือง ศาลประจำชุมชนก็มักจะเรียกวา ศาลมเหสักข ซึ่งเปน หลักบานหลักเมือง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในระดับนี้ก็จะมีความซับซอนและเปน “ผี” ที่มีอำนาจใหญกวา “ผี” หรือสิ่งศักดิ์สิทธิในระดับ หมูบาน ในหมูบานลาวแงวมีการเลี้ยงตาปูซึ่งชาวบานถือวาเปนเจาบานหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประธานของหมูบาน เชื่อวามีการเลี้ยงตาปูมาโดย ตลอดตั้งแตครั้งที่อพยพมา ศาลตาปูของเดิมมักจะอยูกลางทุงนาหรือไมก็นอกชุมชนใกลกับหมูบาน ลักษณะเปนศาลไมขนาด เล็ก ใชเสาสี่เสาอันเปนลักษณะทั่วไปของศาลผี เพียงแตไมเหมือนกับในภาคอีสานหรือในลาวที่อยูในดอนปูตาเปนพื้นที่ปาครึ้ม แตศาลตาปูที่หมูบานลาวแงวถูกปรับเปลี่ยนพื้นที่สาธารณะจากที่เคยอยูนอกชุมชนและกลายเปนอยูทามกลางกลุมบานเรือน และโดยสวนมากมักติดกับหนองน้ำสาธารณะ เชน ลาวแงวที่ทองเอนนับถือ เจาปูละหาน”ซึ่งเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่รักษาหนองน้ำ ขนาดใหญของทองถิ่น อันมีกฎขอหามไมใหชาวบานใชอวนลากแตสามารถจับสัตวน้ำไดเพียงพอกินเทานั้น เปนที่นาสังเกตวา แม จะไมมีที่ดอนหรือปารกครึ้มเปนสถานที่ของหอผีปูตา แตชาวลาวแงวก็ใชหนองน้ำซึ่งเปนหนองน้ำสาธารณะ อันเปนสิ่งสำคัญของ ชุมชนในทองถิ่นนี้เปนสถานที่ตั้งของศาลผีตาปู เปนการปรับตัวตามสภาพแวดลอมในการตั้งถิ่นฐาน เพราะพื้นที่ในบริเวณหางจากลำน้ำเขามาภายในเขตที่ราบลอนลูกคลื่อนใน ลุมลพบุรี-ปาสักนี้ สวนใหญจะใชน้ำจากตาน้ำ และมีการขุดหนองน้ำหรือสระน้ำสาธารณะของชุมชนไวใชรวมกัน ซึ่งศาลตาปูแทบ ทุกชุมชนก็มักอยูใกลชิดกับสระน้ำสาธารณะของชุมชนดังกลาว ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

84


ในกลุมลาวแงวแตเดิมจะเรียกสิ่งเคารพของหมูบานวา “ตาปู” ตางไปจากในอีสานหรือในลาวโดยสวนใหญเรียกวา “ปูตา” สวนใน เขตชาติตระการ นครไทย ในสวนที่ติดตอกับทางฝงซายของแมน้ำโขงเรียกวา “ปู” ยังไมมีคำอธิบายอยางแนชัดวา การเรียกชื่อที่ แตกตางกันของผีบรรพบุรุษของคนในกลุมไต-ลาวนี้ มีสาเหตุใดถึงเรียกชื่อตางกันเล็กนอย อยางไรก็ตาม วิธีคิดในการนับถือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ดังกลาวนั้นมีรูปแบบเดียวกันอยางชัดเจน เดิมชาวลาวแงวในชุมชนตางๆ เรียกผีที่ปกปกรักษาหมูบานเพียงในชื่อ “ตาปู” ปจจุบันมีอยูหลายหมูบานที่เปลี่ยนจากการเรียก ตาปูวาเจาพอในชื่อตางๆ ซึ่งสำรวจแลว พบวาชื่อ เจาพอสนั่น เปนชื่อของตาปูที่พบมากกวาชื่อเจาพออื่นๆ เชน บานหนองหิน ใหญ บานหนองเมือง ซึ่งเปนหมูบานลาวแงวดั้งเดิม และบานน้ำจั้นซึ่งเปนหมูบานลาวแงวที่ขยับขยายตอมา บางหมูบานที่ไมได เปลี่ยนเพราะมีเลากันวา เคยเรียกเปนอยางอื่นแลวเจ็บไขไดปวย สำหรับผูทำพิธีกรรม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวบานเรียกวา “จ้ำ” ทำหนาที่เปนตัวแทนของชุมชนติดตอสื่อสารกับผีปูตา ทำพิธีกรรมเกี่ยวกับผีปูตาและศาลที่อยูในดอนปูตา บางทีก็เรียกชื่อวา เฒาจ้ำ บาง มักเปนชาวสูงอายุที่มีความประพฤติดี อาจจะ คัดเลือกจากสายตระกูลหรือเสี่ยงทาย และชุมชนจะใหความเคารพศรัทธา จ้ำสวนใหญมักเปนผูชายเปนหญิงแทบไมมี แตตอมา ก็มีนางเทียม ซึ่งสวนใหญจะเปนรางทรงในการติดตอกับผีบรรพบุรุษอื่นๆ ซึ่งหากหมูบานใดมีนางเทียมก็จะอยูในตำแหนงที่ มี ความสำคัญนอยกวา สวนในกลุมลาวฝงตะวันตกและแถบเลยจนถึงดานซาย เรียกวา กวน หรือ เจากวน หรือไมบางแหงก็เรียกควบกันไปวา กวนจ้ำ ผูติดตอสื่อสารที่พบในปจจุบันจะถูกเรียกวารางทรงจะเปนหญิงชราหรือหญิงวัยกลางคน ซึ่งในบางหมูบานก็เปนหญิงสาวก็มี ชาวบานเชื่อกันวา “ผี” หรือ “เจา” ซึ่งเปนคำที่ชาวบานในปจจุบันเรียกกัน จะเขารางคนที่มีนิสัยใจคอหรือชีวิตความเปนอยูที่เรียบ งาย สภาพครอบครัวมีความสุข สมาชิกภายในครอบครัวรักใครกลมเกลียวกัน และอบรมใหลูกเปนคนดี ขยันทำมาหากิน และ ประกอบอาชีพสุจริต มีนิสัยใจคอเยือกเย็น รักษาความสะอาด ไมมีตำแหนง “จ้ำ” ที่เปนผูชาย นอกจากจะมีผูชวยในการทำพิธีซึ่งมีทั้งผูชายและผูหญิง การเปลี่ยนแปลงจากการนับถือ ตาปู เปน “เจาปู…” หรือ “ปู…” และตอมาก็เปน “เจาพอ…”ตามลำดับ นาจะไดรับอิทธิพลจากการทรงเจา ผูเปนรางทรงติดตอกับผีเจา พอก็ไมไดเรียกวานางเทียม การทรงเรียกวาการจ้ำแตเมื่อผีเขารางแลวก็เรียกวา “เทียม” เชนกัน ในหลายๆ หมูบานพอจะสืบคนไดวา การลงทรงหรือการจ้ำ หรือการเขาทรงในงานพิธีเลี้ยงผีในเดือน ๖ นั้น เพิ่งเริ่มขึ้นไมนาน เทาใดนักเพียงสิบกวาปที่ผานมา แตเดิมมีเพียงการเตรียมสิ่งของไปทำพิธีแบบงายๆ และบางหมูบานในขณะนี้ก็ไมมีการลงทรง แตอยางใด ตามปกติพิธีเลี้ยงผีของหมูบานตางๆ ในชุมชนลาวแงว ชาวบานจะเตรียมสิ่งของมาเลี้ยงผีประกอบดวย ขาว น้ำ ขนมหวาน ๒ คู หรือ ๔ ถวย ขนมหวานเหมือนขนมบัวลอยตมกับน้ำตาลแตไมใสกะทิ หมู ๑ หัว หรือ ๑ แถบ ไก ๑ ตัว หรือ ครึ่งตัว เหลา ๑ ขวดเล็กหรือขวดใหญก็ได บางคนมีน้ำอัดลม ธูป ๒ ดอก ของทั้งหมดใสผาขาว เรียกวา ๑ สำรับ มีขบวนกลองยาวคอยตีเปนระ ยะๆ แหจากในบานไปที่ศาล แลวนำไปวางไวภายในศาลตาปู ในการเลี้ยงผีตาปูนี้ผูรวมพิธีที่ใหความสนใจมากกวาเกือบทั้งหมด จะเปนผูหญิง การปรับเปลี่ยนผีประจำหมูบานจากตาปูเปนเจาพอ ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

85


ลาวแงว บานหนองเมือง ตั้งศาลตาปูไวกลางที่หมูบาน เรียกชื่อวา ศาลเจาผีบาน และศาลเจาพอสนั่น ที่วัดหนองเมือง บานหนอง หินใหญ มี ศาลเจาปูสนั่น เปนศาลเกามาจากลพบุรี กอนทุกวันนี้คนทรงเปนผูหญิงอายุราว ๗๐ ป เปนคนดูแลเจาศาลเจาปู สภาพบริเวณศาล มีตนไมใหญ รมรื่น มีคลองสงน้ำขนาบซายขวา ดานหนาของศาลคือวัดบานหนองหิน มีตนไมใหญอยูเกือบ ๑๐ ตน บานกกโก เขาสามยอดในเมืองลพบุรี เลาวา ที่นี่นับถือผีตาปูและเชื่อวาไดเชิญมาจากเวียงจันทน บานโปงนอย ในเมือง ลพบุรี เรียกวา เจาพอหลวงสอน แตเดิมเรียก “ตาปู” แตเดี๋ยวนี้เรียก “เจาพอ” บานหนองเกวียนหัก อำเภอบานหมี่ มีศาลตาปู ชาวบานนับถือตาปูโดยไมมีการเขาทรงแตอยางใด หากชาวบานจะเดินทางไปไหนก็จะบอกกลาวเพื่อใหเกิดความอุนใจและ ปลอดภัย ที่ บานโปง ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ มี ศาลเจาพอทองคำ มีรางทรงมาแลว ๔ รุน เปนผูหญิงทั้งหมด บริเวณศาล ดานหลัวมีตนกามปูใหญ ถัดไปเปนสระน้ำที่ขุดใหม ดานหนาเปนที่พื้นวางสำหรับทำกิจกรรม ภายในศาลมีตุกตาหญิงชาย มา และไมทำเปนดอกบัวทำจากไมสะเดาซึ่งเปนสัญลักษณแทนปลัดขิกและพวงมาลัยมากมาย บานไผใหญ อำเภอบานหมี่ ศาลตาปู บานนี้อยูที่เดิมบริเวณใกลสระน้ำกลางทุงนาและไมมีชื่อตาปู หนาศาลมีสระน้ำ ชาวบานเชิญใหมาอยูในหมูบานหรือใกลๆ หมูบานแตก็ไมยอมมาทราบจากตอนเขาทรง เพิ่งมีการทรงมาสามรุน และไมเกี่ยวของกับพิธีกรรมเลี้ยงตาปู และศาลตาปู บาน น้ำจั้น ชาวบานตั้งศาลตาปูหรือ ศาลเจาพอสนั่น ไวกลางหมูบาน เดิมเปนศาลทำดวยไมเสา ๔ ตน ภายในมีมาไมมีรูปปนรูปชาย แกเปนสัญลักษณแทนตาปู การลงทรงเจาพอหรือที่ชาวบานปรับเปลี่ยนจากตาปูซึ่งเปนผีบรรพบุรุษใหกลายเปนผีในระดับเจาพอ นาจะมีความหมายในการ เพิ่มความศักดิ์สิทธิ์ เพิ่งปรากฏขึ้นเมื่อราวสิบกวาปที่ผานมา เจาพอในชื่อตางๆ มักจะปรากฏหลังจากมีการลงทรงและไมอาจสืบ ทราบวา มีการกระจายความเชื่อเหลานี้จากแหลงหรือชุมชนใดกอน lการเรียกชื่อวิญญาณศักดิ์สิทธิ์วา “ตาปู” แตเพียงเทานี้ ในความรูสึกของคนรุนปจจุบันนั้น ไมเพียงพอและดูขลังมากเทากับคำ วา “เจาพอ” แทบทุกชุมชนจะเปนเชนนี้ นอกจากบางแหงที่เลาวา ตาปูไมยอมปรับเปลี่ยนเปนเจาพอ แมชาวบานอยากจะเปลี่ยน เพราะเมื่อฝาฝนแลวก็เกิดภัยพิบัติแกหมูบาน และยังคงเรียกชื่อวาตาปูตอมา lในกระแสความเชื่อที่ซับซอนของผูคนในภาคกลาง ความเชื่อถือในอำนาจนอกเหนือธรรมชาติมีสัดสวนเพิ่มขึ้นตามสภาพการ บีบรัดทางสังคมและเศรษฐกิจที่เครงเครียดมากขึ้น ในความเชื่อดังกลาวจึงปรากฏอุบัติการณที่มี “เจาพอ” และ “เจาแม” เกิดขึ้น มากมาย โดยเฉพาะยุคเศรษฐกิจแบบฟองสบู เกิดตำหนักการลงทรงที่ไมสัมพันธกับความเชื่อดั้งเดิม ผีที่ลงทรงก็เปนผีในระดับ อดีตกษัตริยผูลวงลับไปแลว หรือบุคคลสำคัญในประวัติศาสตรหรือในตำนาน หรือผีที่อาจจะมีชื่อเสียงและเปนที่รูจักกันอยาง กวางขวาง ดวยเหตุผลดังกลาว จึงนาจะเกี่ยวของกับการปรับเปลี่ยนผีบรรพบุรุษของชุมชนลาวแงว จาก “ตาปู” ที่ไมมีชื่อเฉพาะ กลายเปน “เจาพอ” ในชื่อตางๆ โดยชื่อเฉพาะดังกลาวก็ยังไมทราบที่มาวา ทำไมจึงเรียกกันในชื่อเหลานี้ เชน สนั่น สอน หรือ ทองคำ โดย ชุมชนที่มีความสัมพันธทางเครือญาติก็มักจะนับถือเจาพอองคเดียวกัน ทั้งยังสรางเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับการมีบรรพบุรุษที่ อพยพโยกยายมาจาก “เวียงจันทน” เมื่อเกิดศึกสงครามในอดีต แมตนเองจะไมใชลาวเวียงก็ตาม เมื่อการเลี้ยงผีตาปูมีการลงทรง รางทรงในชุมชนตางๆ มักจะเปนหญิงชราหรือหญิงวัยกลางคน ไมปรากฏวาผูชายเปนเทียมหรือ รางทรงแตอยางใด ฝายหญิงที่เปนรางทรงนี้มักมีสถานภาพคาบเกี่ยวกับการเปนผูทำพิธีงานเลี้ยงผีตาปูของหมูบาน จากหมูบาน ในอีสานที่เฒาจ้ำหรือจ้ำที่เปนชายชราผูมีหนาที่เปนสื่อกลางติดตอกับผีบรรพบุรุษหรือในบางแหงก็เปนรางทรงดวยก็ถูกเปลี่ยน มาเปนหนาที่ของฝายหญิง ชุมชนบางแหงในเขตบานหมี่ยังมีตำแหนง “จ้ำ” อยู แตก็เปนเพียงผูชวยประกอบพิธี และในปจจุบัน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

86


แมแตในอีสานตำแหนงผูติดตอกับวิญญาณที่ลงทรงก็จะมี “นางเทียม” เพิ่มขึ้นมาอยูหลายแหงและมีบทบาทไมแพเฒาจ้ำหรือจ้ำ ที่เปนผูชายแตอยางใด lนาสังเกตวาการปรับเปลี่ยนชื่อจากการเรียก “ปูตา” ในอีสานหรือในลาว ก็เปลี่ยนเปน “ตาปู” ซึ่งขึ้นชื่อบรรพบุรุษในฝายหญิง กอน แสดงใหเห็นวา มีการปรับบทบาทและสถานภาพของเพศหญิงที่เกี่ยวของกับงานพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนใหมีความสำคัญ มากขึ้น โดยเฉพาะในชุมชนลาวแงวที่ตั้งถิ่นฐานในภาคกลาง จนถึงแมชุมชนในเขตหมูบานประมงที่มีสภาพเศรษฐกิจดีมากจน อาจจะกลาวาเปนอุตสาหกรรมขนาดยอมในครัวเรือน เชน ชุมชนที่บานปากยาม จังหวัดนครพนม จากการศึกษาของ อาภาภิรัตน วัลลิโภดม ก็พบวานางเทียมของชุมชนมีอยูถึงสองคน และมีบทบาททางสังคมและพิธีกรรมไมแพจ้ำผูชายแตอยางใด สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นบทบาทและสถานภาพของผูหญิงที่มีตอชุมชนมากขึ้น นอกเหนือไปจากครัวเรือน ก็ยังไดรับการยอมรับ แมเมื่อเกี่ยวของกับงานพิธีกรรมของชุมชนที่เกี่ยวกับความเชื่อเรื่อง “ผี” ดวยเหตุผลหลายประการ ทั้งในทางจิตวิทยาที่อาจกลาว วา มีความเชื่อวา เพศหญิงมีจิตใจที่ออนแอ สามารถสื่อและติดตอกับวิญญาณหรือผีไดมากกวาเพศชาย และความเชื่อเรื่องผี เปนความเชื่อที่เปนรองจากความเชื่ออยางเปนทางการคือ ความเชื่อในทางพุทธศาสนา สวนความเชื่อเรื่องผีมักจะอยูในความ สนใจของฝายหญิงมากกวาชาย ตางจากเพศชายที่มีบทบาทตอวัดในทางพุทธศาสนาที่ถือวาเปนความเชื่ออยางเปนทางการ รวมถึงการปกครองที่ผานอำนาจรัฐ ซึ่งในอดีตฝายหญิงแทบจะไมมีบทบาทตอชุมชนในเรื่องดังกลาว อยางไรก็ตาม บทบาทที่เพิ่มมากขึ้นของเพศหญิงนี้ นาจะมี ความสัมพันธกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบของการเขามาของทุนนิยมและวิถีการผลิตขนาดใหญแมจะเปนใน ระดับครัวเรือนก็ตาม สภาพสังคมและเศรษฐกิจในยุคปจจุบันสะทอนออกมาในรูปแบบของกรณีฝายหญิงมีบทบาทนำในการทำ พิธีกรรมมากขึ้น และเราสามารถเห็นไดเมื่อมองผานจากพิธีกรรมการเลี้ยงผีตาปูของชุมชน ผีราย : ผีปอบ ?ความเชื่อเรื่อง “ผี” นอกจากผีตาปู ผีไรผีนาซึ่งเปนผีดีที่ปกปกรักษาชุมชนหมูบานและผลผลิตในนาแลว ยังมีผีรายคือ “ผีปอบ” ในหมูคนลาวแงวยังมีความเชื่อและหวาดระแวง “ผีปอบ” อยูจนถึงปจจุบัน จนกลายเปนอัตลักษณที่มิไดสรางขึ้นและผูคนใน กลุมอื่นๆ ตางรับทราบและออกจะรังเกียจและกลัวในความเชื่อดังกลาวดวย lปอบเปนไดทั้งหญิงและชาย แตผูถูกเพ็งเล็งมักเปนหญิงแกมีอายุ หากมีคนเจ็บไขไดปวย ตายบอยๆ เปนไขตายหรือออกลูก ตาย จะมีคนถูกกลาวหา และเมื่อใครถูกกลาวหาวาเปนปอบก็จะถูกกีดกันออกจากสังคมของหมูบานนั้น ไมมีใครคบหาดวย แมความกลัวผีปอบจะมีมากในชุมชนคนลาว จนทำใหคนไทยที่อยูในละแวกหมูบานใกลเคียงหามปรามลูกหลานไมใหไปเที่ยว บานคนลาวเพราะกลัวผีจะมาเกี่ยวของดวย แมจะไมเขาใจที่มาที่ไปนักก็ตาม แตปจจุบันความหวาดกลัวและระแวงภัยจากผีใน ชุมชนลาวแงวเสื่อมคลายไปบางแลว นั่นแสดงถึงการรังเกียจหรือกลัว “ผีปอบ” ไมเพียงมีอยูเฉพาะในหมูคนลาว แตยังทำใหคน เชื้อสายอื่นๆ มองคนลาวอยางระแวดระวังและรังเกียจคนลาวจากเรื่องผีปอบนี้ดวย

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

87


การกลาวหา ถือวาเปนกระบวนการควบคุมทางสังคมอยางหนึ่ง เพื่อใหสังคมอยูในสภาพปกติในลักษณะเสมอภาค มีการสราง ความสัมพันธในระหวางคนในชุมชนหมายถึงรวมกิจกรรมของชุมชนอยางพรอมหนา ไมวาจะเปนงานพิธีกรรมหรืองานสาธารณะ สวนรวม ผูที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบมักจะมีลักษณะหรือความประพฤติในชวงชีวิตหนึ่งที่ไมเปนปกตินักสำหรับบรรทัดฐานของ สังคมในหมูบานลาวแงว เมื่อถูกกลาวหาวาเปนปอบก็มักจะนำอันตรายมาสูชีวิตตนเองและครอบครัว ทั้งกลายเปนคนที่สังคมใน ชุมชนเพิกเฉย ถูกปายความผิดในกรณีที่ไมอาจหาสาเหตุ ในกรณีที่ยกตัวอยางได ที่หมูบานลาวแงวแหงหนึ่งในอำเภอบานหมี่ มีครอบครัวหนึ่งถูกกลาวหาวาเปนปอบซึ่งเขาใจกันวาแมเปน มากอน หญิงผูนี้อยูกับพอแมมีบานเรือนไทยหลังคามุงแฝกฝาไมฟากหลังใหญมากแสดงถึงฐานะที่ร่ำรวยพอควร และเปนคนผู งามคือคนสวย แตงงานมาแลวครั้งหนึ่งกอนไปฟองหยาวาตนเองเปนหมันไมมีลูกจึงขอเลิกกับผัว ชาวบานเขาใจวาหาเหตุอยาก เอาผัวใหม พอเลิกแลวมีลูกติดคนหนึ่งเปนผูชายซึ่งปจจุบันยังมีชีวิตอยูอายุ ๗๕ ป ตอมาไดผัวใหมมีลูกอีก ๕ คน ชาวบานยัง นินทากันวา “บอกวาตัวเองเปนหมันเปนหยังมีลูกหลายแท” ตอนที่แมเธอตายชาวบานคิดวาปอบคงไมมีที่ไปและหญิงคนนี้คงรับ เอามา และเมื่อเธอตายไปแลวปอบก็มาอาศัยอยูกับลูกสาวตอมา ลือกันวาลูกสาวของหญิงคนนี้ตอนเชาไปนากลับมาตอนเย็นก็ ตายโดยไมมีเหตุ ชาวบานเชื่อวาปอบคงกินขางในมานานแลว และปอบก็ยังคงอยูกับลูกหลานตระกูลนี้ ชาวบานแชงใหคนที่เปนปอบใหตายๆ ไปเสีย เพราะทำใหเด็กๆ หวาดกลัว รวมไปถึงผูใหญดวย ทั้งเวลาเขาไปสิงใคร จะออกชื่อ วาอาศัยอยูกับคนนั้นคนนี้เปนการกลาวหากันตอกันเปนทอดๆ อีก ทำใหครอบครัวคนที่ถูกหาวาเปนปอบขายหนาเพราะความ กลัวที่ถูกกลาวหาวาเปนปอบดวย การกลาวหาคนที่เปนปอบ มักจะเกิดจากเหตุการณใดก็ไดตามซึ่งชาวบานไมสามารถใหเหตุผลได เห็นไดชัดเจนวา ภาวะของ ความเปนปอบ คือ ภาวะของ การถูกกลาวหา”ผูที่ถูกกลาวหานั้นมักจะประพฤติตนตางไปจาก บรรทัดฐานหรือการคาดหวังของสังคมในชุมชนนั้นๆ เชน แปลกแยกเพราะร่ำรวย มีทรัพยสมบัติที่นามาก เปนคนที่ไมชอบของ เกี่ยวกับผูอื่นหรือมีบุคลิกเงียบๆ เก็บตัว ไมมีครอบครัวหรือเปนหญิงมากผัว หรือมีบรรพบุรุษที่เคยถูกกลาวหาวาเปนปอบมา กอน นาสังเกตวา คานิยมแบบผูหญิงยุคใหมในสังคมไทยที่สามารถพึ่งตนเองได มีชีวิตแบบปจเจกชน แยกยายไปอยูตางชุมชนหรือ ไมไดอยูเปนแบบมีชุมชนแบบดั้งเดิม เปลี่ยนคูควงเมื่อไมพึงใจ และมีชีวิตอยูกับการทำงานจนอยูเปนโสดนาน ซึ่งนาจะเปน คุณสมบัติขั้นพื้นฐานของการถูกกลาวหาวาเปนปอบในสังคมลาวแงวทั้งนั้น แตในชุมชนลาวแงวในปจจุบัน หญิงผูมีการศึกษาและสามารถพึ่งตนเองไดในสังคมยุคใหมก็มักจะโยกยายออกไปจากชุมชน ไป ทำงานตางถิ่น หรือมีครอบครัวที่อื่นซึ่งไมไดอยูในชุมชนเดิม จึงไมเห็นถึงผลกระทบเทากับผูที่ยังอยูในชุมชนเดิม โดยผูที่ยังคงรักษาวิธีคิดและความเชื่อในเรื่อง “ความเปนปอบ” ที่เปน “การกลาวหาผูอื่น” ในอดีตจะเพ็งเล็งไปที่คนที่มีคุณไสยที่ ประพฤติผิดศีลธรรมเปนไสยดำ หญิงที่มีมากกวาผัวเดียว และคนที่ไมยุงเกี่ยวกับเพื่อนบานกับกิจกรรมของชุมชน ก็จะถูกมอง วาเปนปอบ แมจะเสื่อมคลายไปบางก็ตาม โดยเห็นไดชัดวา ผูหญิงที่ถูกกลาวหาในปจจุบัน มักจะไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผูที่ถูกหาวาเปนปอบมักจะเกี่ยวกับความตึงเครียดในชีวิต มีความยากลำบากในการดำรงชีพ มีฐานะทางสังคมที่ดอยกวาผูอื่น และไมมีครอบครัวหรืออยูเปนโสดขาดการเลี้ยงดูเอาใจใสจากลูกหลาน หมกมุนกับปญหาของตัวเองจนตัดขาดออกจากสังคม ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

88


ภายนอกก็จะถูกกลาวหาวาเปนปอบ เปนการปรับเปลี่ยนจากการถูกกลาวหาเพราะความประพฤติขัดกับบรรทัดฐานที่ถือวาดีงาม ของสังคม เชน อาจจะร่ำรวยเกินไป มาเปนบรรทัดฐานที่ถือในเรื่องความสำคัญทางเศรษฐกิจและสถานภาพทางสังคมที่วัดคุณคา ดวยฐานะทางการเงิน นาสังเกตวาปอบในปจจุบันกลายเปนคนที่อาจเลี้ยงตนเองไมไดและยากจน ซึ่งวิธีคิดที่แฝงการกลาวหานี้ เห็นไดชัดเจนวาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ปอบยังคงมีอยูในปจจุบัน เมื่อราว ๓๐ ปมาแลว ปอบเขาคนนั้นคนนี้บอยมาก ปจจุบันเปลี่ยนไปแมจะยังมีการเลาลือเรื่องปอบ อยู แตก็ไมพบวามีการเขากันบอยๆ เหมือนในอดีต นั่นหมายถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบความเชื่อไปตามสภาพสังคมสมัยใหม ซึ่ง มีชองทางติดตอกับโลกภายนอกไดอยางสะดวกงายดาย ไมจำเปนตองสรางกฎเกณฑการกลาวหามารองรับกระบวนการควบคุม ทางสังคมเชนในอดีต ซึ่งยังอยูในภาวะเปลี่ยนผาน จึงยังคงความเชื่อไวในกลุมคนบางสวนของสังคม และถูกเพิกเฉยและไมเชื่อ ถือจากกลุมคนอีกบางสวน และความลักลั่นในความเชื่อเรื่อง “ผี” เหลานี้ ยังคงอยูในชุมชนลาวแงวไปอีกนาน

ความสัมพันธระหวางรัฐกับชุมชน และผลกระทบตอชุมชนลาวแงวจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจของรัฐ ความสัมพันธของรัฐกับกลุมลาวทั้งในอดีตและปจจุบัน เมื่อถูกกวาดตอนมาเปนเชลยศึกสงครามใหมๆ มีบันทึกวาชาวลาวที่ถูกกวาดตอนมาโดยเฉพาะที่ไปอยู ณ เมืองสระบุรี มักจะ หลบหนีกลับบานเมืองเกาของตนไมไดขาด สวนใหญเปนกลุมยอยเล็กๆ หลบหนีรอนแรมเพื่อหาทางกลับไปอยูยังบานเกิดเมือง นอนของตน ทางการจะสั่งกรมการเมืองใหตามหาตัวตามบานราษฎรตามวัดวาอารามตางๆ จับกลับทำสวยสงหลวง เชน สวยเรว เพื่อใหทันกำปนบรรทุกไปขาย คนลาวในอดีตเมื่อเปนไพรหลวงจึงตองทำงานสงสวย รวมทั้งตองสรางชุมชนหมูบานของตนเอง ชีวิตที่มีภาระตอหลวงจึงเปนเรื่องที่คอนขางเครงเครียดและถูกกดขี่พอควร การที่รัฐใชวิธีการปกครองกลุมชาติพันธุตางๆ โดยใหกรมการเมืองที่บางเปนขุนนางกลุมเดียวกันและบางเปนขุนนางจากสวน กลางปกครอง แบงเขตการปกครองออกเปนหัวเมืองตางๆ โดยมีเจาเมือง ซึ่งจะมีตำแหนงลดหลั่นกันไป เชน ปลัดเมือง นายกอง ปลัดกอง นายรอย สมุหบัญชี สารวัต นายหมวด เสมียนกอง และเลก ซึ่งอยูภายใตระบบไพร75 และไพรลาวหรือเลกลาว เปนสิ่งที่มีคามากสำหรับราชสำนักและรัฐในสมัยตนรัตนโกสินทร เพราะเปนไพรหลวงที่ทำงานสงสวย โดยตรง จึงตองมีการสรางกฎเกณฑและระเบียบแบบแผนสำหรับชุมชนลาวไมใหเดินทางไดอยางใจนึก แมในระยะตอมา เมื่อมีการปรับปรุงการปกครอง ยกเลิกระบบไพร ในสมัยรัชกาลที่ ๕ กลุมลาวจึงมีอิสระในการบุกเบิกการทำมา หากิน แตอำนาจรัฐในการควบคุมดังกลาวก็ยังมีตอผลชุมชนลาวแงว ความสัมพันธระหวางเจาหนาที่หนวยงานของรัฐโดยเฉพาะ ฝายปกครองจึงเปนไปดวยความหวาดระแวงจากชาวบาน และสงผลจนถึงปจจุบัน คำบอกเลาจากชุมชนลาวแงว จะเกลียดและกลัวตำรวจมาก จนถึงปจจุบันก็ยังไมอยากเกิดเปนความที่ตองไปยังสถานที่ราชการ เพื่อติดตอ โดยเฉพาะสถานีตำรวจหรือการขึ้นโรงขึ้นศาล

75

บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร, กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทนายัลธรรมศาสตร, ๒๕๔๑, หนา ๑๑๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

89


กอน พ.ศ.๒๕๐๕ มีหลายกรณีที่ทำใหชาวบานลาวแงวไมอยากเขาไปยุงกับอำนาจของรัฐผานทางกำนันผูใหญบานที่ไมใชกลุม ชาติพันธุเดียวกับตนและพวกตำรวจ เชน ชาวบานมักถูกจับในขอหาตมเหลาเถื่อนกันอยูเสมอ และเอาเถิดเจาลอกับตำรวจอยูเปนประจำ แตหากถูกจับไดก็จะยอมความ หรือติดสินบนตำรวจไป ตำรวจจับไปแลวเสียเงินใหแลวก็กลับมาตมอีก เพราะเปนอาชีพเสริมเพียงอยางเดียวและสามารถขายได เรื่อยๆ บางครั้งหากไปซื้อขายขาวในตลาดกับคนจีนก็จะถูกโกง ชาวบานมักมองวาทั้งตำรวจและกำนันจะเปนฝายเขาขางคนจีนที่เปน นายทุนในตลาด ถาชาวบานเมื่อมีเรื่องกับตำรวจและถูกยิงตาย บางคนที่โดนลูกหลงก็ตายฟรี เปนเชนนี้เพราะญาติไมกลาเอา เรื่อง เมื่อมีการตีหญิงคนหนึ่งตายดวยเขาใจวาเขาเปนปอบ เมื่อตีแลวก็หลบซอนตัวกอน จากนั้นจึงติดตอกับตำรวจ เสียเงินใหกับ ตำรวจเมื่อราว ๔๐ ปกอน ๘,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนเงินจำนวนมาก เรื่องราวก็จบไป กรณีพิพาทระหวางชาวบานกับตำรวจคนของรัฐ ชาวบานมองวาจะถูกกลั่นแกลงไดงาย มีเรื่องที่ไรก็ตองเสียเงินทุกทีและตองเปน ฝายเสียเปรียบอยูตลอดเวลา ทำอยางไรก็ไดใหอยูหางตำรวจไวใหมากที่สุด มีหลายคนที่ฐานะแยลงเพราะไปมีเรื่องกับตำรวจ หรือถูกกลั่นแกลง อีกทั้งคนของรัฐมักใชอำนาจที่มีอยูไปหาผลประโยชนใสตัวเองจากชาวบาน การรักษาสิทธิและการมีเสรีภาพ เปนเรื่องไกลตัวของชาวบานสมัยกอน เนื่องจากรัฐขาดการประชาสัมพันธหรือชาวบานยังไมรูจึงละเลยสิทธิที่ควรไดรับ กอน พ.ศ.๒๕๑๔ ไมมีผูปกครองสนับสนุนใหลูกหลานเรียนหนังสือ ในระดับประถมศึกษาในหมูบานขนาดกลางๆ แตละชั้นปมี นักเรียนไมถึง ๒๐ คน และสงใหเรียนตอกันนอยมากเพราะเชื่อวาผูที่มีการศึกษาก็ไมเห็นจะไดงานดีแตอยางใด ชาวลาวแงวกอน หนานั้นจึงจะจบการศึกษาเพียงประถม ๔ จากนั้นก็ออกมาทำนา แตปจจุบันสถานการณเปลี่ยนไป เนื่องจากที่ดินทำกินลดลงและ มองวา การไมมีการศึกษามากพอจะเกิดความลำบากในการดำเนินชีวิต ถูกเอารัดเอาเปรียบอยูตลอดเวลา จนแมจะมีโรงเรียนชั้นประถมในหมูบาน แตชาวบานที่หมูบานใกลเมืองก็ไมนิยมใหลูกหลานเรียนในหมูบาน แตจะใหนั่งรถสอง แถวไปเรียนในเมืองมากกวา เพราะไมศรัทธาหรือไววางใจการจัดการศึกษาในชุมชน หากมีทางเลือกที่ดีกวาก็มักจะเลือกดังทาง ดังกลาว การสนับสนุนใหลูกหลานเรียนหนังสือก็เพราะไมอยากใหลูกหลานทำนาเหมือนตน เพราะลำบาก เสี่ยงตอการถูกกด ราคา ทั้งภัยธรรมชาติ อยากจะใหเปนเจาคนนายคน ปจจุบันขาวสารของทางราชการมีการประชาสัมพันธ ทั้งทางวิทยุโทรทัศนและหอกระจายของหมูบานทำใหชาวบานไดรับรูเรื่อง ราวที่เกี่ยวของกับตนเองมากขึ้น คนที่มีอายุ ๗๐ ปลงมาสวนมากสามารถอานหนังสือได บางคนมีความคิดกวางขวางเห็น แนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดีงามและสามารถนำมาปรับใชในชีวิตประจำวัน ถาเปนหมูบานที่ไมใชลาวแงวทั้งหมูบานการมีกำนัน เปนคนแงว ทำใหใกลชิดกับกลุมของตน รักษาผลประโยชนของคนในหมูบาน คอยดูแลชวยเหลือลูกบานทุกหมูบาน มีความเปน กันเอง โอกาสที่จะแสวงหาผลประโยชนใหตนเองแทบไมมีเลยอีกทั้งตำแหนงผูใหญบาน กำนัน ไดมาจากการเลือกตั้ง มีกำหนด ในการดำรงตำแหนงวาระ ๔ ป จะเลือกตั้งกันใหม

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

90


ในชุมชนลาวแงวเมื่อมีการเลือกตั้งกำนัน ก็มีทั้งคนไทยและคนลาวไดเปนกำนันสับเปลี่ยนกันไป ชาวบานจะเลือกกำนันหรือ ผูใหญบานโดยมีเกณฑ คือ จะมองวาสามารถชวยเหลือลูกบานไดอยางไร มีฐานะหรือไม นิสัยใจคอ ภูมิหลังของพอแม มีความ เอื้ออาทรหรือไม และจะไมเวนที่จะกลาวถึงเชิงลบ ถาเปนผูนำที่ทำหนาที่บกพรอง ในปจจุบันมีการกระจายอำนาจปกครองในระดับตำบล และเกณฑในการเลือกตั้งกรรมการองคการบริหารสวนตำบล มักจะเลือก จากฐานะความมั่งคั่งวามีหรือไม การกลาพูดกลาทำเปนตัวแทนรักษาผลประโยชนใหไดหรือไม หรือหากไมมีฐานะก็จะดูที่ความ ขยันขันแข็ง มีความตั้งใจจริง ใหขอมูลขาวสารของทางราชการทุกครั้งที่ไดรับเรื่องมาเพื่อรักษาผลประโยชนของชุมชน ซึ่งเปนธรรมชาติของสังคมไทยในปจจุบันไมตางจากการเลือกตั้งผูแทนราษฎรเทาใดนัก ที่จะเลือกคนฐานะร่ำรวยเพราะคิดวามี อำนาจและบารมี ที่สามารถแสวงหาสิ่งที่เปนผลประโยชนใหกับกลุมของตนได โดยไมพิจารณาถึงเงื่อนไขอื่นๆ ความเชื่อดังกลาว เปนเหตุใหเกิดการคอรับชั่นจากคนกลุมดังกลาวไดงาย ในหมูบานของลาวแทบทุกกลุมจะมีผูนำที่ไมใชทางการจัดสรรมา คือผูนำชุมชนที่ไมเปนทางการซอนอยู เชน ผูที่ประกอบอาชีพ โดยสุจริต ผูที่มีการพึ่งตนเองไดมากที่สุด ผูที่มีความขยัน ผูมีฐานะทางเศรษฐกิจดี เชน มีนามากกวา ๕๐ ไร หรือผูที่ทำมาหากิน โดยไมตองเชาจากนายทุนอื่น เพราะในหมูบานก็จะมีผูมีฐานะร่ำรวยจนกระทั่งเปนนายทุนเงินกู โดยเมื่อถึงหนานาก็จะรับซื้อขาว เปลือกพรอมทั้งหักดอกเบี้ยกันทันที ผูนำชุมชนของลาวจะถูกมองจากคนนอกกลุมเชน คนไทยวา ในอดีตนั้นไมคอยจะ “พัฒนา” นัก แตปจจุบันนี้เขาพัฒนาตนเอง กันมาก76 ความหมายของการพัฒนานี้ คือ รับรูขอมูลขาวสารจากราชการทันทวงที มีลักษณะทันคนหรือฉลาดขึ้น มีความ สามารถทัดเทียมกับกำนันผูใหญบานซึ่งเปนคนในกลุมชาติพันธุอื่นๆ ปจจุบันความสัมพันธระหวางรัฐกับชาวบานเปลี่ยนไป อีกทั้งขาราชการ ตำรวจ ทหาร ครู ในปจจุบันก็เปนลูกหลานของคนลาวใน หมูบาน จึงเห็นเปนบุคคลธรรมดา ไมไดนากลัวดังแตกอน และความรูเทาทันดังกลาว ชาวบานเชื่อวาเจาหนาที่ของรัฐจะมารีดไถ ไมไดอีกตอไป

การพัฒนาของรัฐกับผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจตอชุมชนลาวแงว พื้นที่ของชุมชนลาวแงวแตแรกเริ่มเปนการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่นอันอุดมสมบูรณ ดังนั้น การทำนาจึงเปนอาชีพหลักกอนที่จะมีการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมที่นับไดจากการขุดคลองชลประทานเจาพระยา-ปาสัก การทำนาเปนการผลิตตามฤดูกาลและวิถีชีวิต ก็ขึ้นอยูกับวงจรการผลิตเชนนั้นดวย หนารอนหรือยามวางจากงานนาผูหญิงจะทอผา ผาที่ทอไมใชซิ่นหมี่แบบพวนแตเปนผาฝาย ธรรมดา นิยมทอเปนผาขาวมาหรือผาสำหรับทำหมอนและผาหม การทอผาเพื่อไวใชในครอบครัวไมไดทอเปนอาชีพเสริมแต อยางใด สวนฝายชายยามวางมักจะสานเครื่องมือจับปลาแบบตางๆ หรือสานกระบุง ตะกรา เอาไวใชในครัวเรือน ถึงหนาฝนก็หวานกลาดำนา การเตรียมดินหากทำนาปละครั้งใชขี้วัวใสนาก็เพียงพอ ขาวพันธุดั้งเดิมที่ปลูกก็จะมี พันธุเหลือง นางงาม พันธุหนามล พันธุทองมะเอ็ง พันธุขาวคด พันธุสายบัว ซึ่งจะมีลักษณะพิเศษตนขาวจะยืดตามน้ำเมื่อน้ำหลากในเดือน

76

สัมภาษณพระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสวัดจันเสน, ๑๖ เมษายน ๒๕๔๔

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

91


๑๐ พันธุขาวปอม ซึ่งเปนพันธุขาวเจา ซึ่งจะใหผลผลิตราวๆ ๕๐–๗๐ ถังตอไร เมื่อถึงหนาน้ำก็จะมีเรือมาซื้อขาวตามชุมชนที่ลำน้ำ เชื่อมถึงเปนเรือมาดของพอคา บรรทุกไดครั้งละหนึ่งเกวียนครึ่งถึงสองเกวียน หากนำขาวไปขายเอง ก็จะลองไปตามคลองธรรมชาติขายตามโรงสีริมน้ำในอำเภอบานหมี่ตอไปจนถึงมหาสอน ซึ่งมีโรงสีของชาว จีนอยูมากมาย โรงสีกลางซึ่งเปนโรงสีใหญและใหราคาคอนขางมาตรฐานมีอยูสองสามแหง แถววัดปฐมพานิชและหนาโรงเรียน บานหมี่วิทยา เปนโรงสีของคนจีน มีนายหนาของโรงสีมาซื้อมีการตกลงกันเรื่องการขนถายระหวางผูซื้อกับผูขาย กลไกตลาดของ ราคาขาวขึ้นอยูกับผูซื้อซึ่งมักจะตั้งราคาเอง หากพอใจก็ขายถายังนอยหรือถูกจะไมขายเก็บไวกอน เพราะบางครอบครัวมีการ ครอบครองที่ดินมากบางทีถึง ๔๐๐–๕๐๐ ไร ซึ่งภายหลังการถือครองที่ดินก็นอยลง เพราะการแบงมรดกใหลูกหลานและถูกขาย ผานมือเปลี่ยนเจาของไป การปรับตัวครั้งใหญของชนชั้นปกครองในสังคมไทยกับกระแสทุนนิยมภายนอก นับแตเริ่มสนธิสัญญาเบาวริ่ง (พ.ศ.๒๓๙๘) ไดเปลี่ยนวิถีการผลิตจากการผลิตพอยังชีพมาเปนการผลิตเพื่อขายและไดเปดระบบเศรษฐกิจของไทยเปนระบบเศรษฐกิจแบบ เสรีมากขึ้น เกื้อหนุนใหเกิดการสะสมทุนของผูที่มีโอกาส ไดแก ขุนนาง ชาวตะวันตก ชาวจีนอพยพที่มีโอกาสดีกวาคนไทยหรือผู อพยพชาวลาวที่เคยเปนไพรหลวงโดยไมตองผูกพันกับระบบไพร ในขณะเดียวกัน ปญหาการปกครองภายในรวมถึงผลกระทบจากปจจัยภายนอก ทำใหเกิดการกำเนินการยกเลิกระบบไพรในชวง พ.ศ.๒๔๑๑–พ.ศ.๒๔๕๓ นับเปนความสำเร็จในการแกปญการปกครองและปญหาทางเศรษฐกิจของสถาบันกษัตริยและขุนนาง มากกวาที่จะมีผลดีกับระบบเศรษฐกิจของไพรหรือประชาชนโดยสวนรวม เพราะรัฐมิไดแกปญหาในการผูกขาดจากกลุมทุนที่มี โอกาสพัฒนากลไกตลาดเสรีและวิธีการดำเนินธุรกิจใหเอื้อกับกลุมของตน77 การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลกระทบอยางจริงจัง เห็นไดชัดในสภาพเศรษฐกิจและสังคมของภาคกลางตอมา78 ในชวงเวลาเดียวกันนี้เองที่เกิดการขยายตัวของชุมชนและผูคนกลุมตางๆ เขาไปสูพื้นที่ภายใน บุกเบิกที่นาเพื่อทำนาจากดงจาก ปาใหเปนผืนนา ซึ่งเปนชวงที่กลุมลาวแงว พวนจากชุมชนเดิมขยายไปสูชุมชนใหมเชนเดียวกัน วิธีการบุกเบิกที่ดินถากถางปาของ ผูเขามาใหม ซึ่งสวนมากเปนปาไผจึงตองเผาปาและทำนาหยอดหลุมกอนเนื่องจากตอไมเยอะ ตอมาก็ใชชางไถนาจนตอไมหมด ไป จึงนำควายมาใชในภายหลัง 79 แมการบุกเบิกที่ทำกินจะทำใหชาวนาเปนเจาของที่ดินผืนใหญจำนวนมาก ตอมามีการแบงขายบาง แบงเปนมรดกบาง ทำใหการ ครอบครองที่ดินกระจายเปนรายยอย และ ชาวนาในภาคกลางเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็เปลี่ยนผานจากระบบเศรษฐกิจ แบบยังชีพอยางรวดเร็วเปนการผลิตจำนวนมาก

77ปยะฉัตร

๑๗๑-๑๗๖.

ปตะวรรณ. ระบบไพรในสังคมไทย สำนักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ, ๒๕๒๖ กลาวในบทสรุป หนา

78รายละเอียดเห็นไดจาก

การนำเสนอขอมูลสัมภาษณการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจและสังคมแบบพอยังชีพไปสูเศรษฐกิจเพื่อ การขายในชุมชนภาคกลางในชวงป พ.ศ.๒๓๙๘–พ.ศ.๒๔๗๕ ฉัตรทิพย นาถสุภา. เศรษฐกิจหมูบานไทยในอดีต สำนักพิมพ สรางสรรค กรุงเทพฯ, ๒๕๓๓ 79

สัมภาษณ พระครูนิวิฐธรรมขันธ (เจริญ) เจาอาวาสวัดจันเสน, ธันวาคม ๒๕๓๖

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

92


ในราว พ.ศ.๒๔๙๘ เริ่มมีการขุดคลองชลประทานสายใหญเจาพระยา-ปาสัก หรือคลองอนุศาสนนันทน นอกจากนี้ยังมีการขุด คลองชลประทานเล็กๆ แยกยอยกันเปนเครือขายกางปลา ทั้งที่เปนคลองหรือลำน้ำแตเดิมก็ถูกปรับใหเปนคลองชลประทาน ใน ขณะเดียวกัน การสรางเขื่อนเจาพระยาและเขื่อนภูมิพล มีผลอยางยิ่งตอลำน้ำสายในทางฝงตะวันออกของเจาพระยาดวย เพราะ ทำใหการหมุนเวียนของน้ำมีไมเพียงพอ ลำน้ำสายเดิมๆ ที่เปนหัวใจของชุมชนในแถบบานหมี่ บางขาม ทาวุงจึงหมดความสำคัญ ลง

ภาพที่ ๑๙ แรงงานในการเกษตรปจจุบัน เปลี่ยนเปนใชเครื่องจักรกลแทบทุกขั้นตอน ในภาพ เปนการขนขาวเพื่อนำมาตากแดดลดความชื้น การขนขาวหากตองจาง คิดราคาถังละ ๑ บาท

การทำนาเพียงครั้งเดียวก็ไมพอเพียงกับคาใชจายเสียแลว จึงตองพึ่งพาเงินจากพอคาชาวจีน จนเกิดวิธีการตกขาวและตกหนี้ การตกขาวคือการรับซื้อขาวจากชาวนาที่เปนลูกหนี้หรือเชาที่ดินของพอคาในราคาถูกกวาราคาตลาด เปนการบังคับซื้อเพื่อ เปนการหักหนี้ สวนการตกหนี้หรือตกเงิน คือการออกเงินใหชาวนากู โดยคิดดอกเบี้ยสูงๆ หรือบางครั้งมีการเพิ่มจำนวนเงินให สูงขึ้นโดยที่ชาวนาไมรู สวนมากใชโฉนดที่ดินจำนองและมักจะขาดจำนอง วิธีการเหลานี้ ทำใหชาวนาจำนวนมากสูญเสียที่ดิน ของบรรพบุรุษไป และเปนชาวนาที่ไมมีที่ดินของตนเอง การเปลี่ยนมือเจาของที่ดินซึ่งเกิดขึ้นมาไมต่ำกวา ๕๐–๖๐ ปแลว ในปจจุบันชาวนาลาวแงวและชาวนาอื่นๆ มีที่นาจำนวนนอยลง และเปลี่ยนเปนการทำนาโดยไมเกี่ยวของกับฤดูกาล เพราะทุก ครั้งชลประทานปลอยน้ำมาก็จะ ไถ คราด หวานขาวทันที โดยใชปุยเคมี ฉีดยาฆาหญา ฆาแมลง การไถ การหวาน การจางรถ เกี่ยว กลายเปนกิจกรรมเรงรีบทั้งนั้น บางรายที่ไมมีเงินทุนตองกูเงิน ธ.ก.ส. นำเงินมาซื้อสิ่งของอุปกรณทำนา เชน บานหนึ่งเลาวา ตองซื้อปุย ๓ ตันราคา ๒,๑๐๐ บาท ยาฉีด ยาฆาแมลง ยาฆาหญา ราวๆ ๕๐๐ บาท คาเกี่ยวขาวไรละ ๓๐๐ บาท ๕๐ ไร รวม ๑๕,๐๐๐บาท คาเชานาอีก ๑,๒๐๐ บาท แตละครั้งก็มีตนทุนเยอะ ตามบานตางๆ มักมีอาชีพเลี้ยงวัวเสริมไวขายเปนวัวตัวผู เพราะการทำนาอยางเดียวมีรายไดไมพอคาใชจาย บานหนึ่งๆ เลี้ยงกันราว ๑๐ ตัว ๖-๗ เดือนจึงจะขาย ประมาณตัวละ ๘,๐๐๐ บาท ในปจจุบันชาวบานทำนาทั้งที่เปนนาของตนเองและนาที่เชาผูอื่นเกือบครึ่งตอครึ่ง เชน นาตนเอง ๒๕ ไร นาเชา ๑๘ ไร โดย คาเชาไรละ ๕๐๐ บาทตอป เปนตน80

80

สัมภาษณนายสา นางปน อินรุณ, อายุ ๗๕ ป, ๔๓ หมู ๘ บานโปงนอย ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

93


สำหรับคนที่หมดที่นา เนื่องจากการฝากขายที่นากับนายทุน ก็กลับมาเปนผูรับจางและใชแรงงาน เชนรับจางไถนา รับจางหวานปุย รับจางขับรถไถ หรือแลวแตวาใครจะจางไปทำงาน โดยคาแรงขั้นตำประมาณ ๑๐๐ บาทขึ้นไป แตชาวบานบางแหง เชน บานหนองหินใหญ ในอำเภอบานหมี่ กลุมคนอายุราว ๔๐ ปขึ้นไปจะซื้อรถมือสองมาวิ่งรับสงผักหรือผล ไมที่ตลาดไทหรือตลาดสี่มุมเมือง ชาวบานรุนนี้สวนหนึ่งไมทำนากันแลวเพราะรายไดไมพอใช มีการแนะนำใหทำนาสวนผสมขึ้น สำหรับคนที่มีที่นานอยๆ และสวนสมซึ่งมีการเชาที่ดินที่เคยเปนที่นาแลวทำการเปลี่ยนสภาพยกรองใหเปนสวนสม ซึ่งมักมี สัญญาเชากันประมาณ ๒๐ ป แมอาชีพหลักของชาวลาวแงวในปจจุบัน คือ ทำนา แตก็มักมีอาชีพเสริม เชน ทำสวน เลี้ยงสัตว ปลูกผัก คาขาย ยามวางจากทำนาบางแหงเชนในตำบลทองเอนจะเย็บงอบ เปนสินคาของตำบลที่สำคัญ บางแหงก็จะทอผาใน กลุมสตรีที่เริ่มมีการทำขึ้นใหม แมบานที่อยูวางรับเย็บผาโหล ซึ่งไดคาจางโหลละ ๒๐–๒๕ บาท หรือถักคอเสื้อคอกระเชา ไดตัว ละ ๓ บาท นักเรียนที่จบมัธยมตนจนถึงมัธยมปลายมักจะทำงานที่บริษัทมินิแบ ไปทำงานกรุงเทพฯ เปนทหาร ตำรวจ ครู ปะปน กันไป

ภาพที่ ๒๓ และ ภาพที่ ๒๔ การทำสวนสมในพื้นที่ทำนาของนายทุนสวนสมจากปทุมธานี โดยเชาที่ ของชาวนาในระยะ ๒๐ ป และใหคาเชามากกวาคาเชานาอยางเทียบไมติด โดยไมมีการจางแรงงานจาก ชาวบานแตอยางใด พื้นที่ทำสวนสมเปนพื้นที่อุดมสมบูรณดวยระบบชลประทานอยางดี และหากชาวนา รายใดไมใหเชาที่ก็มักจะปลูกขาวไดยาก เพราะถูกลอมรอบดวยสวนสม และมีปญหาในเรื่องน้ำและการใช ยาฆาแมลง

แมวาการทำสวนสม จะมีอยูรายรอบหมูบาน ไมปรากฏวามีการจางแรงงานในหมูบานน้ำจั้นเลย บางสวนจำนำแรงงานมาจากตาง ถิ่นโดยมาจากภาคอีสานเปนสวนมาก รอบหมูบานที่มีลาวแงวอยูจะมีการเชาที่ขนาดใหญเพื่อทำสวนสม นับจากบานหนองหินใหญ บานไผใหญ บานโปรง บานน้ำจั้น บางคนที่มีนาเปนของตนเองไมอยากใหเชาทำ แตก็มีการลอมรอบที่นาจึงจำใจตองใหเชาระยะ ๒๐ ป เพราะนายทุนสวนสม ตองการเชาที่เทานั้น เปนที่นาสังเกตวานาเหลานี้เปนนาเชา เจาของที่ดินยังตองการใหทำนามากกวา แมวาจะไดคาเชาเพียงไรละ ๕๐๐ บาทตอป แตผูเชานาจายเงินไมตรงตามกำหนดและมักตอรองกับเจาของนา ทำใหเจาของนาตัดความรำคาญยอมใหเชาทำ สวนสม การเชาสวนสมจะมีวิธีการ คือ ถาเชาที่ ๒๐ ไร คาเชาที่ไรละ ๒,๐๐๐ บาทตอป รวม ๒๐,๐๐๐ บาทตอป หากที่ดินใครมี การเชาอยูกอนก็จะจายคาออกจากนาไรละ ๑,๐๐๐-๒,๐๐๐ บาท โดยกอนทำสัญญาจายมัดจำในราคาไรละ ๒,๐๐๐ บาท การจาย คาเชาจาย ๕ ป ตอ ๑ ครั้ง จนครบสัญญา หมายความวาที่ดิน ๒๐ ไร เมื่อครบ ๕ ปก็จะตองจาย ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนคา ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

94


ตอบแทนที่ดูแนนอนและมีมูลคาสูงกวาการใหเชาที่ทำนาแบบเดิม แตเจาของที่ดินไมแนใจวา เมื่อครบ ๒๐ ป จะใชที่ดินไดดัง เดิมหรือไม ชาวบานบางคนกลัวสารเคมีที่มากับสวนสม และบางบานที่อยูใตลมก็เริ่มมีปญหากันแลว และกลัวเปนมะเร็งเพราะมี การทำสวนสมอยูรายรอบหมูบาน อีกทั้งสารเคมีที่ชาวนาใชตามทุงนา ชาวบานบางคนถึงกับบอกวามีชีวิตอยูอยางตายผอนสง lชาวนาเชาที่ดินบางสวนตองเปลี่ยนสถานะเปนคนงานในสวนสม ซึ่งมีการใชยาฆาแมลงมาก บางคนก็ตองเลิกทำนาไป เพราะ เจาของที่ดินที่ใหเชาเหลานั้นมักเปนคหบดีเชื้อสายจีนในตลาด ซึ่งเปนเจาของที่ดินรายใหญ สวนชาวบานที่เปนเจาของที่ดินเองก็ มักไมอยากใหเชาทำสวนสมเพราะไมแนใจวาจะสามารถเปลี่ยนใหกลับมาเปนที่นาไดดังเดิมหรือไม เปนสิ่งใหมที่เกิดขึ้นมาไมถึง ๑๐ ป พื้นที่การทำนาสวนใหญของชุมชนลาวแงวในปจจุบัน จะอยูในเขตปฏิรูปที่ดินเปนพื้นที่เฉพาะเกษตรกรรม ไมสามารถเปลี่ยนทำ เปนโรงงานหรือบานจัดสรรได มีคลองชลประทานทั้งเล็กและใหญหลอเลี้ยงตามนาอยูทั่วไป ทำใหตองมีการทำนาตลอดทั้งปที่มี การปลอยน้ำมา จึงทำนามากกวา ๒ ครั้ง ซึ่งทำกันเชนนี้มากวา ๓๐ ปแลว มีการพึ่งปุยเคมี ยาฆาแมลง ใชเครื่องจักรกลคือรถไถ เดินตามและรถไถสีสมแบบนั่งขับ เวลาหวานปุย ฉีดยา มีการจางคนในหมูบานที่ไมมีนาเปนของตนเอง การทำงานหนักเชนนี้ ทำใหชาวนาตองพึ่งเครื่องดื่มบำรุงกำลังจนติด และเกิดปญหาสำหรับคนใชแรงงานมากๆ ทำใหติดยาบาดวยเชนกัน ระยะหลัง พ.ศ.๒๕๔๐ ยาเสพติดระบาดมากในหมูบานทั่วไป เนื่องจากพื้นที่มีการใชแรงงานมาก โดยเฉพาะอาชีพรับจาง เชน แรงงานในสวนสม รวมทั้งเยาวชน ทุกวันนี้ยังไมมีหนวยงานใดคิดแกปญหาอยางเต็มที่ เพราะบางครอบครัวก็กินยาทั้งพอและ ลูก คนขายก็เปนคนในหมูบาน คนซื้อก็ซื้อกันในหมูบาน ในปจจุบัน ครอบครัวหนึ่งๆ สามารถทำนาไดดวยตัวเองเพียงคนเดียว แตตองอาศัยแรงงานรับจางทำนา ซึ่งเมื่อหักคาใชจายแลว แทบไมไดคาตอบแทนเลย แมวาบางบานจะมียุงขาว แตก็ไมไดใชประโยชนมากนัก ลุงบอกวาเดี๋ยวนี้ไมมีการทำขวัญขาวแลว ใช รถ ใชเครื่องจักร เวลาทำนา ใชรถเกี่ยว แลวขายเลย ไมมีการเก็บ แมราคาไมคอยถูกใจก็ตองจำใจขาย เพราะไมอยากยุงยาก รีบ ขาย รีบนำเงินไปใชจาย หนี้สิน คาปุย คายา จายหนี้หรือดอกเบี้ย ธ.ก.ส หนี้ชั่วชีวิต จากเดิมที่ชาวบานกูเงินกับนายทุนในตลาดซึ่งเปนคนเชื้อสายจีน ตอมาก็มีการรวมกลุมเปนสมาชิกสหกรณธ.ก.ส. กูเงินโดยมี การนำเอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดินไปจำนำตามวงเงินที่สามารถกูได จึงเรียกวา เงินกลุม เงินที่ไดจะนำไปใช เชน ✴

✴ ✴ ✴ ✴

จายคาปุย ซึ่งบางทีเปนของธกส. ที่ไปตกลงกับรานคาเอาไว หรือไปซื้อในตลาดบาง บางครั้งจะมีคนนำปุยมาขายแบบ ขายเชื่อ วิธีการเหมือนตกดอก ทำใหเปนหนี้เพิ่มขึ้น ซื้อสิ่งอำนวยความสะดวก เชน เครื่องใชไฟฟา รถ สรางบานตอเติมบานใหม ใชหนี้ กูเพื่อนำมาใชจัดงานบวช งานแตง ใหทัดเทียมเพื่อนบาน ซื้อที่นา ซื้อรถไถ โดยผอนชำระเปนงวดๆ

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

95


แตปจจุบันเงินทุนที่ลงไปสูชาวบานเริ่มเปลี่ยนแหลงที่มา โดยสวนใหญมาจากรัฐบาลในรูปแบบของเงินกองทุนตางๆ ฝายนายทุน ในหมูบานกลายเปนผูรับประโยชนจากดอกเบี้ยหรือการเปนพอค้คนกลางที่ชาวบานตองมาพึ่งพา สวนเงินรูปแบบตางๆ เชน กองทุนหมูบาน ชาวบานบางคนกลาววา กองทุนหมูบานละ ๑ ลานบาท มันก็ดีถาเขาชวยคนจน แตไมนามีดอกเบี้ย จะไดมีเงินหมุน ชาวบานคิดวามันยุงยาก เลยตกลง กันวาไมเขากองทุนดีกวา เพราะกังวลวาเมื่อถึงกำหนดสงจะหาเงินไมทัน ไมเอาดวยเพราะไมอยากยุงยากไปรับประกันใคร การที่ มีเงินลงในหมูบานละ ๑ ลานบาท ไมไดชวยใหเกิดความสามัคคีขึ้นแตอยางใด กลับทำใหเกิดปญหาหลายอยางตามมา 81 ในปจจุบัน เงินกองทุนที่เขาสูหมูบานมีหลายประเภท ที่ดูเหมือนจะเปนโครงการในระยะยาวและมีวงเงินกูไมมากนัก เชน เงิน กองทุนฟนฟูหมูบานโครงการตางๆ เปนของกลุม เชน กลุมทอผา ใหกูไดไมมีดอกเบี้ย บริหารรวมกัน หากสมาชิกคนใดไมนำเงิน มาใชคืน สมาชิกทั้งหมดตองชดใชเงินรวมกัน ระยะเวลากูและสงคืน ๑ ป สมาชิกบอกวา ดีกวาไปกูคนอื่น กูเงินมาใชจายเกี่ยว กับจางดำนา ซื้อของใชจายในครอบครัวเพื่อการศึกษาของลูก และกองทุนเงิน ก.ข.บ.จ. กรรมการบริหารเปนผูอาวุโสในหมูบาน เชน กำนัน ผูใหญบาน สมาชิกอบต ผูชวยสารวัตรกำนัน ผูกูจำตองเขียนโครงการเอง ที่ผานมาผูกูมักจะเขียนโครงการผิดแกไข บอย จึงใหกรรมการเขียนใหฉบับละ ๕ บาทเอกสารจะไดไมผิด กรรมการทั้ง ๑๒ คนเปนผูพิจารณา เมื่อใครเขียนโครงแลว กรรมการอนุมัติ ใหกูได ผูกูตองไปเปดธนาคาร เมื่อเงินเขาบัญชี จึงไปรับเงินได เงินกองทุนหมูบาน (ก.ท.บ.) วงเงิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท สมาชิกในหมูบานเปนผูเลือกกรรมการจำนวน ๑๕ คน คุณสมบัติของ กรรมการคือ ไมติดยาเสพติด ไมเคยตองโทษมากอน ไมเปนบุคคลที่ถูกไลออกจากราชการ ผูดูแลและที่ปรึกษาคือพัฒนากร ชุมชน จำนวนผูขอกูมีมากเกือบทั้งหมูบาน ขอกูไดหมดทุกคนแตจะไดมากหรือนอยตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการ เชน มีผูขอกูสูงสุดเปนเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท และต่ำสุด ๒,๐๐๐ บาท ในขณะเดียวกันผูที่เปนกรรมการสามารถกูได ๒๐,๐๐๐ บาท จึงมีขอครหาตอกรรมการอยูเสมอ ผูกูสวนมากยอมรับมติของกรรมการ เนื่องจากกรรมการและผูกูมีแนวคิดตรงกันคือทุก คนที่กูจะตองไดเงินมากนอยตามความสำคัญของโครงการ และจะเฉลี่ยเงินใหเทาๆ กัน กอนกูตองเขียนโครงการ ใหกรรมการ พิจารณาโครงการเพื่ออนุมัติ เมื่อโครงการผานตองมาทำสัญญาและรับเงิน ถึงกำหนดสงก็สงเงินตามกำหนดตามสัญญา สมาชิก ตองนำเงินกูไปทำตามโครงการที่เขียนไว บางคนก็ปฏิบัติตามโครงการมีบางที่นำเงินไปทำอยางอื่น เชน ✴ ✴ ✴

มีการนำเงินกูไปทำอยางอื่นแตเมื่อถึงเวลา ผูกูสามารถสงดอกและตนครบถวน เมื่อถึงกำหนดสง ก็ จะไปกูที่อื่นมาสง พอเงินออกก็นำเงินไปใชคืนพรอมดอกเบี้ย แจงวากูเงินไปเลี้ยงปลา แตไมไดเลี้ยงจริง เมื่อกำหนดสง มีเงินมาสงทั้งตนและดอก

ปญหาที่พบในกองทุนทุกประเภท คือ เงินที่กูไดเปนเงินจำนวนนอย เงินที่กู ไดออกไมตรงกับเวลาที่ตองการใช บางทีเกี่ยวขาว แลวเงินจึงออกไมทันกับความตองการ ดังนั้นเงินกูตางๆ จึงไมมีประโยชนถึงที่สุดของชาวบาน แตกลับทำใหเกิดวัฎจักรกลับมาเปนหนี้อีก วนเวียนไปอยางนี้ตลอดเวลา จนกลายเปหนี้ที่ชั่วชีวิตนี้ก็คงไมสามารถหลุดออกไป พนจากวงจรนี้ได บางคนบอกวาหากเปลี่ยนไปประกอบอาชีพตองไปเริ่มตนใหมนับตั้งแตตองซื้อเครื่องมือเครื่องใชใหมทั้งหมด

81

สัมภาษณนายพุย เหี้ยมหาญ, อายุ ๖๕ ป, บานหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

96


มีชาวนาคนหนึ่งเปลี่ยนจากการทำนาไปทำสวนสม แตก็ถูกมองวาคงไมสามารถทำตอไปได เพราะไมมีทุนเชนเดียวกับนายทุน สวนสมจากปทุมธานี รวมถึงความชำนาญในอาชีพการปลูกสมก็ไมมีแตอยางใด ผลจากการทำงานหนักตั้งแตคนในรุนบรรพบุรุษของลาวแงวในการบุกเบิกที่ดินทำกิน และสวนใหญเปนเจาของที่นาแปลงใหญ ถูกโครงสรางการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐทำใหคนสวนหนึ่งกลายเปนเจาของที่ดินรายยอย บางรายกรรมสิทธิ์ที่ดินก็หลุดมือไป เนื่องจากการกูยืมเงินมาใชในการทำเกษตรกรรม แมจะอยูในพื้นที่ปฏิรูป น้ำทาอุดมสมบูรณ สามารถทำนาไดมากกวา ๒ ครั้ง หรือทำทุกครั้งที่ชลประทานปลอยน้ำมา แตก็ตองมีตนทุนคาปุย คายาฆาแมลง การดูแลรักษา ซึ่งทำใหตนทุนเปนจำนวนเงินที่สูง แมจะสามารถทำนาไดเพียงคนเดียวไมตองชวยเหลือกันในระหวางครอบครัว แตตนทุนกับราคาขาวที่ขายได ทำใหชาวนาบางราย ไมมีเงินเหลือหลังจากขายขาวแลว กลายเปนการทำงานเพื่อนายทุนที่ไมเห็นตัวตน และเปนการสนับสนุนจากรัฐบาล ผลเสียของการกลายเปนวัฎจักรหนี้ที่ไมมีวันสิ้นสุด กำลังเปลี่ยนผานจากมือของนายทุนในตลาดที่เปนคนเชื้อสายจีน กลาย เปนการสนับสนุนจากรัฐบาล ผูไดรับผลประโยชนจากการทำงานหนักของชาวนาชาวลาวแงว คือ การกระจายรายไดไปสูกลุมคน ตางๆ ไมวาจะเปนพอคาคนกลางผูรับซื้อขาว ผูผลิตปุยเคมีและยาฆาแมลง ผูผลิตเครื่องดื่มบำรุงกำลัง ผูผลิตและผูขายยาบา เห็นไดอยางชัดเจนวา ชาวนาชาวลาวแงวกำลังตอสูเลี้ยงปากทองใหกับคนที่พวกเขาอาจไมเคยรูจักตัวตนจริงๆ และจะตางกันอยางไรกับเชลยลาวที่ตองทำงานสงสวยใหแกหลวงอยางลำบากยากเย็น

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

97


บทที่ ๔ สรุป สังคมวัฒนธรรมในลุมน้ำเจาพระยาหรือในภาคกลางของประเทศไทย มีการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมอยางคอยเปนคอยไป ซึ่งเปนสิ่งสำคัญในการสรางบูรณาการใหชุมชนของกลุมชาติพันธุตางๆ อยูรวมกันโดยปราศจากเหตุการณขัดแยงรุนแรงระหวาง กลุม โดยการดูดกลืนวัฒนธรรมบางอยางของกลุมชาติพันธุเหลานี้ใหกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยลุมแมน้ำเจาพระยา จากอิทธิพลของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่ผานมา นอกจากจะเปนการรวบอำนาจทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และ ระบบความเชื่อจากทองถิ่นเขาสูศูนยกลางแลว ยังสรางสถานการณในปจจุบันที่ไมสามารถแยกแยะกลุมชาติพันธุกลุมตางๆ ออก จากกันอยางชัดเจนหากสังเกตเพียงสภาพโดยทั่วไป นอกเสียจากความเชื่อบางประการที่ยังคงหลงเหลือและมีหนาที่ทางสังคม อยูในชุมชนนั้นๆ สิ่งเหลานี้อาจเรียกไดวาเปน สำนึกทางชาติพันธุ [Ethnicity] อยางหนึ่ง ซึ่งจะเปนกุญแจสำคัญในการศึกษา เกี่ยวกับกลุมชาติพันธุที่อยูภายใตสังคมไทยทุกวันนี้ จากการศึกษาพบวา หากพิจารณาไมวาในทางประวัติศาสตรหรือในความรูสึกของผูคนปจจุบัน ลักษณะการดูถูกทางชาติพันธุตอ กลุมลาวยังคงดำรงอยูอยางไมเสื่อมคลาย กลุมชาติพันธุลาวถูกมองมองอยางเปนคนอื่นอยูตลอดเวลา แมจะเปนลาวเชลยศึกที่ เขามาตั้งถิ่นฐานอยูในภาคกลางตั้งแตเมื่อเกือบ ๒๐๐ ปมาแลว ซึ่งเปนชวงเวลาที่ไมไดนอยไปกวากลุมชาติพันธุอื่นๆ ในทองถิ่น ภาคกลางนี้สักเทาใด เพราะโครงสรางแหงการดูถูกทางชาติพันธุฝงแนนอยูในความรูสึกของรัฐ ตั้งแตในครั้งราชสำนักปกครอง ซึ่งมองกลุมลาวเปน เพียงกำลังพลที่จะสนับสนุนและหลอเลี้ยงพระนครหรือราชสำนักในชวงหลังศึกสงคราม ทั้งยังมีอคติตอกลุมลาวดังปรากฏใน เอกสารตางๆ และวรรณกรรมที่เผยแพรสูสามัญชน ความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมลาวที่ถูกมองวาดอยกวา และไม ทัดเทียมกับวัฒนธรรมหลวงแบบภาคกลาง ทำใหเกิดการดูถูกและเขาใจผิดรวมไปถึงไมพยายามเขาใจในสังคมและวัฒนธรรม ของกลุมลาวมากขึ้น หากฟงกลอนลำพรรณนาถึงความทุกขยากของเชลยลาว ซึ่งมีผูนำมาเปนบทรองเพลง “ลาวแพน” ก็จะรับรู ถึงความนอยใจในการถูกมองวาตอยต่ำ ที่ไมตางกันกับที่เราคนพบในการศึกษานี้เลย ผูคนเชื้อสายลาวแงวในทามกลางความเปนคนไทยของรัฐไทย บริเวณเขตภาคกลางของลุมเจาพระยาในชุมชนเกษตรกรรมที่ทำ นาเปนอาชีพหลัก ถูกเรียกวา “ลาวแงว” จากผูคนกลุมอื่นและยอมรับการเรียกชื่อกลุมนี้ของตนโดยเปนที่ยอมรับกันทั้งภายใน กลุมและภายนอก อยูอาศัยตั้งถิ่นฐานมาตั้งแตเมื่อสงครามครั้งกวาดตอนเชลยศึกชาวลาวกลุมใหญเขาสูหัวเมืองชั้นใน สมัย รัชกาลที่ ๓ เปนลาวที่เปนกลุมที่อาจถูกละเลยและมองขาม เพราะปะปนอยูกับกลุม พวน ซึ่งเปนกลุมชาติพันธุในทองถิ่นเดียวกัน ที่มีจำนวนชุมชนและประชากรมากกวา กลุมลาวแงวนี้ แมจะมีลักษณะเฉพาะทางประเพณีและวัฒนธรรมไมโดดเดน แตก็ยังคง สำนึกทางชาติพันธุที่เกาะเกี่ยวการรวมกลุมเขาไวดวยกันได และธำรงสืบมาจนถึงปจจุบัน ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

98


สำนึกทางชาติพันธุที่ยังคงอยูและแสดงถึงอัตลักษณของกลุมอยางโดดเดนนั่นคือ ระบบความเชื่อในเรื่องอำนาจนอกเหนือ ธรรมชาตินั่นคือ การนับถือผี ที่สัมพันธอยูกับวิถีชีวิตการเกษตรในบางสวน การควบคุมทางสังคมที่ยังคงเหลือ และความสำนึก รวมในการเปนกลุมผูอพยพมาจากเมืองลาวครั้งบรรพบุรุษ และอีกสวนหนึ่งที่แสดงถึงอัตลักษณของกลุมชาวลาวแงวคือ การ เปนชาวนา ที่ทำนามาหลายชั่วคนดวยความขยันขันแข็ง แตการเปนชาวนาในสังคมไทย เปนภาวะที่ถูกกดดันในอำนาจของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมซึ่งนำพาการพัฒนาของรัฐเขามาปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมและวิถีการผลิตอยางขนานใหญ จนทำให ปจจุบัน เกิดภาวะหนี้ชั่วชีวิตที่ชาวลาวแงวไมสามารถหลุดพนไปจากวงจรเหลานี้ไดl ในทามกลางสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลงอยางขนานใหญ ทั้งในทางสังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งมีการใชทรัพยากรอยางไมจำกัด และ กลายเปนผลรายที่สงผลกระทบตอชุมชนชาวนาในภาคกลางซึ่งรวมไปถึงชุมชนลาวแงวอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ชุมชนลาวแง วอาจจะยังไมมีกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมไมวาจะในทางวัฒนธรรมหรือในทางการเมือง จนสามารถเห็น สำนึกทาง ชาติพันธุ ที่แสดงออกอยางโดดเดนชัดเจน เพราะสภาพสังคมในอดีตไดดูดกลืนความแตกตางของกลุมลาวใหกลายเปนความ เหมือนโดยเฉพาะในทางกายภาพจนเกือบหมดสิ้นแลว แตสำนึกทางชาติพันธุของผูคนเชื้อสายลาวแงว ก็ยังคงอยูในรูปแบบของ ความเชื่อ โดยเฉพาะในเรื่องอำนาจเหนือธรรมชาติและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน ภาษาและสำเนียงการพูดแบบลาวแงว สวนความเครงเครียดในชีวิตซึ่งไดรับผลกระทบจากกระบวนการ พัฒนาของรัฐ และโครงสรางที่ไมกอใหเกิดความเปนธรรมแกชาวนา สรางภาระหนี้สินที่ไมมีวันหลุดพน ทำใหเกิดการถวิลหา ความเปนอยูที่เรียบงาย สามารถพึ่งตนเองได ระลึกถึงอดีตที่งดงามในชีวิตของผูคนและในชุมชนที่สงบสุข ดังที่นายมานะ สารท พงษ อายุ ๕๓ ป หมู ๓ บานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี กลาวถึงอดีตของพวกตนวา

ประเพณีของหมูบานเดี๋ยวนี้เปลี่ยนไปหลาย ตามสมัยนิยมแลว คนสมัยนี้บคือคนตะกอน ขี้เกียจ มัก งาย บใสใจเรื่องเกาๆ อิหยังอิหยังก็ซื้ออยางเดียวหาแตความสบาย วาเรื่องโบราณไมคอยดี เฮายังวา เรื่องโบราณมีดีอยูหลายอยาง ดูตามบานนี่ซิ ผักหญาหลายอยางก็ปลูกกินเอง ไมตองไปซื้อ สมัย กอนไมตองใชเงิน ไมตองเสี่ยงกับสารเคมี

ความในใจดังกลาว สะทอนความยากลำบากในชีวิตของกลุมคนที่ ครั้งหนึ่งเคยพึ่งพาตนเองได และมีชีวิตในแบบที่เรียบงาย สงบ สุข การรวมกลุมเพื่อธำรงรักษาอัตลักษณของตนเองในกลุมฃองชาวลาวแงวอาจจะฉายภาพไมชัดเจนนัก แตเชื่อแนวา หากมี สภาพการณที่บีบรัดชุมชนลาวแงวยิ่งขึ้นกวาในปจจุบัน อัตลักษณและสำนึกทางชาติพันธุก็อาจจะถูกผลิตซ้ำเพื่อสรางอำนาจตอ รองของกลุมขึ้นมาใหม และนับวาเปนประเด็นที่ตองเฝาติดตามในอนาคต

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

99


ขอมูลสัมภาษณ กนกวรรณ นาสิงห บานหนองเมือง. สัมภาษณ ๒๖ เมษายน ๒๕๔๑. เจาอาวาสวัดจินดามณี. อายุ ๔๖ ป ๓๒ พรรษา. บานแปง ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑๔ เมษายน ๒๕๔๔. จั่น ชูศรี. อายุ ๖๑ ป. ๕๒ หมู ๓ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๔. จำรัส แกวเหล็ก. อายุ ๖๓ ป. ๖๐ หมู ๑๐ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. ซอน สมทรง. หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๑. ถนอมศรี บุตรดี. อา ยุ ๖๖ป. ๙๒ หมู ๓ ตำบลทาแค อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. ที - บุญรอด ชางเสา. ๑๔ หมู ๒ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๔. ทุย หนูคง อายุ ๗๔ ป. ๕๘ หมู ๑ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. ประสิทธิ์ โสภา. อายุ ๗๑ ป. ๑/๑ หมู ๑๑ บานไผลอม ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. ปรีชา เชื้อมุข. อายุ ๖๕ ป. บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๕ เมษายน ๒๕๔๑. ปลิว กำเพชร. อายุ ๖๓ ป. ๑/๑ หมู ๑ ตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. ปน- ทุย เทพธุลี. อายุ ๘๕ และ ๗๕ ป. หมู ๓ ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔. พระชงค แสนลอม ฉายา ติสสวํโส. วัดกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. พระณรงคฤทธิ์ ยโสธโร. อายุ ๔๕ ป ๔ พรรษา. รองเจาอาวาสวัดพระปรางค บานไผลอม อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. พระสมุยงค เจาอาวาสวัดน้ำจั้น. ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. ภู อนุภาพ. ๔ หมู ๑๑ ตำบลหลุมขาว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. มานะ สารทพงษ. อายุ ๕๓ ป. หมู ๓ บานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑๓ เมษายน ๒๕๔๔. มวน เหมหอม อายุ ๘๖ ป. ๑๓ หมู ๒ บานกกโก ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑. ราช มีเครือ อายุ ๘๗. บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๑. ราตรี กองเงิน. อายุ ๖๖ ป อาชีพ ทำนา. ๕๑/๑ หมู ๗ ตำบลหนองเตา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ไร มะเริงสิทธิ์. อายุ ๖๐ ป. ๘๐ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัด ลพบุรี. ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

100


ละเอียด นวลแปง. อายุ ๕๓ ป. ๓๖/๒ หมู ๘ ตำบลหวยโปง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. วิน นาคแยม. อายุ ๕๗ ป. ๕๒/๑ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๔. วันดี เชาวธรรม. อายุ ๖๖ ป. สัมภาษณ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๒. ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔. วันดี อวนพี. บานกลาง ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. วันเพ็ญ จำปาแดง. อายุ ๔๐ ป. หมูที่ ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. ศรี ศุภลักษณหิรัญ. ๕๒/๑ หมู ๒ ตำบลพุคา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔. สมจิตร บุญเติร. อายุ ๗๒ ป. ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี. สัมภาษณ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๑. สมปอง บุญเติร. อายุ ๔๐ ป. สัมภาษณ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔. สา อินรุน. อายุ ๗๕ ป. ๔๓ หมูที่ ๘ ตำบลโคกเสลา อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๑ กันยายน ๒๕๔๔. สุนีย สอนเครือ. อายุ ๗๐ ป. บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๑. เสนอ คำกระสินทร. บานกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. อายุ ๖๕ ป. บานกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒. สังเวียน วันทอง. อายุ ๗๔ ป. ๑๓ หมู ๒ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สำรวย พงษตน. อายุ ๔๒ ป อาชีพทำนา. ๑๐๗ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. สัมภาษณ ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๔. อำไพ อะโหสี กำนันตำบลไผใหญ. สัมภาษณ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๔๕.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

101


บรรณานุกรม จิตร ภูมิศักดิ์. ความเปนมาของคำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ กรุงเทพฯ : บริษัทสำนัก พิมพดวงกลม จำกัด, พิมพครั้งที่ ๒, ๒๕๒๔ โพธิ์ แซมลำเจียก. ตำนานไทยพวน กรุงเทพฯ :บริษัท ก. พลพิมพ พริ้นติ้ง จำกัด ๒๕๓๗ ภูธร ภูมะธน บรรณาธิการ. มรดกวัฒนธรรมไทยเบิ้ง ลุมแมน้ำปาสักในเขตที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนปาสัก ลพบุร;ี ศูนยศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏเทพสตรี ,๒๕๔๑ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดลพบุรี สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี กรุงเทพฯ : สำนักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๑๗ สุจิตต วงษเทศ บรรณาธิการ. นิราศทัพเวียงจันทนกรุงเทพฯ; สำนักพิมพมติชน, ๒๔๔๔ สุเทพ สุนทรเภสัช บรรณาธิการ. สังคมวิทยาของหมูบานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงพิมพสมาคมสังคมศาสตรแหง ประเทศไทย, พระนคร; ๒๕๑๑. สุวิทย ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตรลาว ๑๗๗๙–๑๙๗๕ สำนักพิมพสรางสรรค: กรุงเทพฯ, ๒๕๔๓ บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ; ๒๕๔๑ มหาสิลา วีระวงศ เรียบเรียง, สมหมาย เปรมจิตต แปล. ประวัติศาสตรลาว โรงพิมพเทคนิคการพิมพ; ลำพูน, ๒๕๓๕ นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี วิทยานิพนธมหาบัณฑิต ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๗ ศิวพร ฮาซันนารี. การศึกษาระบบเสียงในภาษาลาวหลวงพระบาง: ศึกษาเปรียบเทียบกับภาษาลาวครั่ง ลุมน้ำทาจีน และภาษา ลาวดานซาย วิทยานิพนธมหาบัณฑิตศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๓. http://www.phaidam.f2s.com/thong_en/sub_local.html

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

102


ภาคผนวกที่ ๑ การจำแนกบรรณานุกรรมเกี่ยวการศึกษาเรื่องลาวในทองถิ่นภาคกลาง ชุมชนและกลุมชาติพันธุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. รายงานการศึกษาชุมชน ชาวพวน-หมูบานโพธิ์ศรี ตำบลบางปลามา จังหวัดสุพรรณบุร.ี กรุงเทพ : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, ๒๕๒๑. สถาบันไทยศึกษา เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง "ไทดำ : จากสิบสองจุไท ผานลาว สูภาคกลางของประเทศไทย" จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ :, ๒๕๔๑ มงคล สำราญสุข. “ชาวครั่งแหงจังหวัดสุพรรณบุรี” พิพิธภัณฑสาร. ปที่ ๖, ฉบับที่ ๑ (ต.ค.-พ.ย. ๒๕๓๕) : หนา ๓-๒๑ วิเศษ เพชรประดับ. “ลาวครั่งในจังหวัดชัยนาท” พิพิธภัณฑสาร. ปที่ ๓, ฉบับที่ ๓ (พ.ค. ๒๕๓๓) : หนา ๑๕-๒๒ ชูชีพ อุดม, จิราพร แสงศิลป และเรืองยุทธ ตีระวณิช “ลาวโซง” วารสารเมืองโบราณ. ปที่ ๑ ฉบับที่ ๔ กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๑๘ : ๒๘-๓๑. นิพนธ เสนาพิทักษ. “ผูไทยโซง” สาสนผูไทย. คณะกรรมการชมรมไทยโซง, บรรณาธิการ. กรุงเทพ : โรงพิมพอักษรพิทยา, ๒๕๒๓ : ๖-๓๖. สุมิตร ปติพัฒน, บัณฑร ออนดำ และพูนสุข ธรรมภิมุข. ลาวโซง. กรุงเทพ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๑. ผวน พวงชวาลวงศ. ไทยพวนหาดเสี้ยว. เอกสารพิมพดีดประกอบหารบรรยาย, ๑๒ หนา โพธิ์ แซมลำเจียก. ตำนานไทยพวน เลาเรื่องเกาแก. กรุงเทพ : ดอกหญา, ๒๕๓๗. วิเชียร วงศวิเศษ. ไทยพวน. พิมพเปนอนุสรณเนื่องในงานทอดกฐินขององคการสงเคราะหทหารผานศึก ณ วัดหาดเสี้ยว อ. ศรีสัชนาลัย จ. สุโขทัย ๒๗ ตุลาคม ๒๕๑๗ สุดแดน วิสุทธิลักษณ. “พวนบานหาดเสี้ยว ความคำนึงถึงเมื่อสามปใหหลัง” วารสารเมืองโบราณ. ปที่ ๑๙ ฉบับที่ ๔ กรุงเทพ: เมืองโบราณ, ๒๕๓๖. ๑๐๐-๑๑๑ ราชบัณฑิตยสถาน.“พวน สารานุกรมไทย เลม ๒๐. กรุงเทพ : ไทยมิตรการพิมพ, ๒๕๒๙. ๑๓๐๑๗-๑๓๐๒๑

ภาษาศาสตร กันทิมา วัฒนะประเสริฐ และสุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. รายงานการวิจัย ระบบเสียงภาษาลาวของลุมน้ำทาจีน. พิมพครั้งที่ ๒. นครปฐม : ภาควิชา ภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๒๕๓๑. กาญจนา พันธคา. ลักษณะเฉพาะทางดานเสียงของภาษาลาวในอำเภอเมืองจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา ภาษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓. จินดา ชาติวงษ. การศึกษาลักษณะของภาษาลาวครั่งที่ตำบลหวยดวน อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๒๙

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

103


จารุวรรณ สุขปต.ิ การศึกษาลักษณะของภาษาลาวพวนที่ตำบลหัวหวา อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิต วิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๓๒ ชลลดา สังวาลทรัพย. การศึกษาลักษณะของภาษาลาวพวนที่ตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก วิทยานิพนธ ศศ.ม. จารึกภาษา ไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๔ เชน นคร. ระบบคำวากยสัมพันธในภาษาลาวครั่ง หมูบานวังเลา ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๒๕๔๔. ธนากร สังเขป ระบบเสียงภาษาลาวแงวและเปรียบเทียบกับภาษาถิ่นไท ๕ ภาษา วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตสาขาภาษาศาสตรอาเซียอาค เนย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๖ วรรณา รัตนประเสริฐ. คำและลักษณะคำในภาษาลาวเวียงในจังหวัดฉะเชิงเทรา มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๒๘ วรนุช ประพิณ. การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพทภาษาลาวโซงในจังหวัดนครปฐม ราชบุรีและเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย) ๒๕๓๙ วิจิตร คำมัญ. ๒๕๓๕. ระบบเสียงภาษาลาวครั่ง อำเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษา ไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. วิไลลักษณ เดชะ. ๒๕๓๐. ศึกษาเปรียบเทียบระเบียบเสียงของภาษาไท ๖ ภาษาที่พูดใน อ.ทาตะโก จ.นครสวรรค. วิทยานิพนธปริญญามหา บัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วัลลียา วัชราภรณ. ๒๕๓๔. การศึกษาคำลงทายในภาษาลาวครั่ง. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาชนบท บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. นงนุช ปุงเผาพันธ. ลักษณะของภาษาลาวแงว ที่ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษาไทย ๒๕๒๗ ศิริกุล กิติธรากุล. ๒๕๓๙. ความสัมพันธระหวางความใกลชิดชุมชนกับการเลือกใชศัพท ของชุมชนลาวครั่งที่บานหนองกระพี้ ตำบลบานหลวง อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศิวพร ฮาซันนารี. ๒๕๔๓. การศึกษาระบบเสียงในภาษาลาวหลวงพระบาง :ศึกษาเปรียบเทียบกับภาษาลาวครั่ง ลุมน้ำทาจีน และภาษาลาว ดานซาย วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. รายงานการวิจัยเรื่อง วิเคราะหการใชคำและการแปรของภาษาของ คนสามระดับอายุ ในชุมชนภาษาลาวลุมน้ำทาจีน นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๖ พิณรัตน อัครวัฒนากุล. การศึกษาเปรียบเทียบระบบวรรณยุกตในภาษาของคน "ลาว" คน "ญอ" และคน "ผูไท" ในอำเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. อักษรศาสตร (ภาษาศาสตร) ๒๕๔๑ พนิดา เย็นสมุทร. คำและความหมายในภาษาลาวโซง มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร (จารึกภาษา ตะวันออก) ๒๕๒๔ พรศรี ชินเชษฐ. วรรณยุกตภาษาลาวแงวในคำเดี่ยวกับในคำพูดตอเนื่อง วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

104


อรพันธ อุนากรสวัสดิ์. การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาผูไทกับภาษาลาวโซง กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๖ อรพิน มณีวงศ. การศึกษาเปรียบเทียบภาษาลาวโซงที่จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดนครปฐม วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตสาขาภาษาศาสตรอา เซียอาคเนย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๐ อัญชนา พานิช คำลงทายในภาษาลาวโซง วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๗ เอมอร เชาวนสวน, การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพทภาษาลาวในจังหวัดนครปฐมและภาษาลาวในแขวงบอแกว ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว วิทยานิพนธ ศศ.ม. จารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๗ Boonprasert, Chaluay. Discourse Structure in Phuan. M.A. Thesis(Linguistics). Institute of Language and Culture for Rural Development, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University, ๑๙๘๕. Eam-Eium, Chalong. A Phonological Description of Phuan at Tambon Hat Siaw, Si Satchanalai District Sukhothai Province. M.A. Thesis(Linguistics). Institute of Language and Culture for Rural Development, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University, ๑๙๘๖.

ผาและเครื่องแตงกาย กมลา กองสุข. ผาจก : กลุมลาวคั่งบานกุดจอก ชัยนาท-บานทับผึ้งนอย สุพรรณบุรี กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ, ๒๕๓๖ แกมนวล. “ผาลาวครั่ง รอยตอของชุมชน” ไลฟแอนดเดคคอร. ปที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ (พ.ค. ๒๕๓๗) : หนา ๑๒๓-๑๒๗ แกมนวล. “ผาลาวครั่ง: จินตนาการจากสิ่งแวดลอม”. ไลฟแอนดเดคคอร. ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔๙ (ก.ย. ๒๕๓๘) : หนา ๑๖๒-๑๖๗ ชนิดา ตั้งถาวรสิริกุล. สื่อสัญลักษณผาลาวเวียงจันทน ชนิดา ตั้งถาวรสิริกุล ; บรรณาธิการ ชาญวิทย เกษตรศิริ, กาญจนี ละอองศรี. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, บานทุงนา ต.ทัพหลวง อ.บานไร จ.อุทัยธานี.) วิบูลย ลี้สุวรรณ. ลาวศิลปะการถักทอเสนใย. ปที่ ๓๘, ฉบับที่ ๓ (ต.ค. ๒๕๔๐) : อนุสาร อสท. มหาวิทยาลัยศิลปากร. สถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตก. ลาวโซง : การแตงกาย ประเพณีและความเชื่อ สถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตก มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม : ๒๕๓๗ ธนิษฐา แดนศิลป. เสื้อผาและทรงผม วัฒนธรรมที่ยังไมตายของลาวโซง. ปที่ ๓๖, ฉบับที่ ๖ (มี.ค. ๒๕๔๒) : หนา ๒๙-๓๘ ; อมรรัตน วิศิษฏวุฒิพงศ เสื้อผาเครื่องนุงหมของลาวโซง การณีศึกษาชุมชนลาวโซงบานยางลาว ต.บานดอน อ.อูทอง จ.สุพรรณบุรี สารนิพนธ สาขามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๕ อรชร เอกภาพสากล. “เสนทางสายผาลาวครั่ง” เมืองโบราณ. ปที่ ๒๔, ฉบับที่ ๔ (ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๔๑) หนา๑๑๒-๑๑๖

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

105


พิธีกรรมและความเชื่อ นิภาพร โชติสุดเสนห. พระราหู : ภาพสะทอนการผสมกลมกลืนทางความเชื่อของกลุมชาติพันธุ ลาวเวียง. สารนิพนธภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๔๑ วันวิสาข สูศิลวัฒน. ความสัมพันธระหวางพิธีเสนเรือนกับวิถีชีวิตของชุมชนลาวโซง หมูบานดอนไฮ ตำบลเขายอย อำเภอเขายอย จังหวัด เพชรบุรี สารนิพนธ ศศ.บ. มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๘ วลีรัตน มีกุล. ผีบาน : บทบาทและความสำคัญตอวิถีชีวิตคนในชุมชน กรณีศึกษา : ลาวโซงบานสระ ตำบลสระพัฒนา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม สารนิพนธ ศ.บ. มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๐ ราตรี มฤคทัต พิธีลาสิกขาของลาวพวน : วิเคราะหในเชิงมานุษยวิทยา วารสารภาษาและวัฒนธรรม : ๙, ๒(๒๕๓๓) ยุรี ใบตระกูล. พิธีบุญกำฟาของลาวพวน : กรณีศึกษาหมูบานพวน ตำบลบางน้ำเชี่ยว อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี กรุงเทพฯ : ภาควิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๗ วาสนา อรุณกิจ. พิธีกรรมและโครงสรางทางสังคมของลาวโซง กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙ นารถฤดี วิวัตติกุล. ๒๕๔๒. การดำรงอยูรวมกันของกลุมความเชื่อผีเจานายและกลุมความเชื่อ ผีเทวดา กรณีศึกษา : ชาวลาวครั่งหมูบานโคก ตำบลอูทอง จังหวัดสุพรรณบุร.ี สารนิพนธ ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุคนธ ศีลบุตร. ๒๕๓๘. พิธีกรรมเลี้ยงผี ความเชื่อของชาวครั่ง หมูบานโคก อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร มหาวิทยาลัยศิลปากร. จิราพร เจริญสุข. พิธีศพของลาวโซง ที่อำเภอบานดอน อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุร.ี ปริญญานิพนธศิลปศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๑๗. นุกูล ชมภูนิช. ประเพณีชาวไทยโซงหมูบานเกาะแรด. กรุงเทพ : เพชรเกษมการพิมพ, ๒๕๓๘. มณีรัตน ทวมเจริญ. “พิธีเสนเรือนของโซง” ศิลปและโบราณคดีในประเทศไทย. ปที่ ๑ ฉบับที่ ๒, ๒๕๑๓. มยุรี วัดแกว. “พิธีศพของโซง-แนวความคิดเกี่ยวกับศาสนาพิธีกรรม.” วารสารสังคมศาสตร วิทยาลัยครูเพชรบุรี กันยายน ๒๕๒๒. ๒:๒๓-๒๗ สุกัญญา จันทะสูน. ภูมิปญญาชาวบาน และกระบวนการถายทอด : การศึกษา "พิธีเสนเรือน" ของชาวลาวโซง จังหวัด กรุงเทพฯ : สาขาวิชาการ ศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง ภาควิชาการศึกษานอกโรงเรียน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๘ วาสนา อรุณกิจ. พิธีกรรมและโครงสรางทางสังคมของลาวโซง วิทยานิพนธ อ.ม. สังคมวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙ Lise Rishoj Peterson. “Religious Activities during Dry Season among the Loa Song Dam, Thailand” Folk Vol. ๑๖-๑๗, ๑๙๗๔ : ๓๔๕-๓๗๙.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

106


ศิลป ประเพณี และวัฒนธรรม ภัทรพงษ เกาเงิน. จิตรกรรมฝาผนังวัดหนอพุทธางกุร : การผสมผสานกันอยางลงตัวของศิลปะไทย จีน และลาว. ปที่ ๔๔, ฉบับที่ ๓ (พ.ค. มิ.ย. ๒๕๔๔) : หนา ๔๖-๔๕ ; สันติ เล็กสุขุม. โครงการศิลปะลาวในประเทศไทย กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๘ พรพิมล ชันแสง อิ่นกอน : ประเพณีการละเลนของลาวโซง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี กรุงเทพฯ : สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา บัณฑิตวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๑ วนิดา พิเศษพงษา. วัฒนธรรมไทยโซงหมูบานเกาะแรด. ศุนยวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม, ๒๕๓๐. สมทรง บุรุษพัฒน. “อิ่นกอน” ภาษาและวัฒนธรรม ๑.๒ กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๒๔ : ๗-๑๖. สมทรง บุรุษพัฒน. การเลนคอนของลาวโซงที่บางกุง. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท, มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๔. อุบลทิพย จันทรเนตร. ความสัมพันธระหวางเพลงกลอมเด็กกับโลกทัศนของลาวพวน : จังหวัดสิงหบุรี. กรุงเทพ : ภาควิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๗ จิรัชณา วานิช การทดลองใชเรื่องเลาจากโครงเรื่องวรรณกรรมตะวันตกเพื่อวัดทัศนคติที่มีตอการแกปมปญหาครอบครัวของชาวบานลาวโซง ต.หนองปรง อ.เขายอย จ.เพชรบุรี กรุงเทพฯ : สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๑. ความสัมพันธระหวางเพลงกลอมเด็กกับโลกทัศนของลาวพวน : กรณีศึกษาหมูบานวัดกุฎีทอง จังหวัดสิงหบุรี กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๗ มานิตา เขื่อนขันธ. ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่นชาวลาวโซง บานดอนมะเกลือ ตำบลดอนมะเกลือ อำเภออูทอง จังหวัด สุพรรณบุรี กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๑ ฤดีมน ปรีดีสนิท. รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง วิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรมประเพณีและประวัติศาสตรชุมชนกรณีไทย-พวน อำเภอบานผือ. อุดรธานี : ศูนยศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏอุดรธานี, ๒๕๓๙. อุบลทิพย จันทรเนตร. ความสัมพันธระหวางเพลงกลอมเด็กกับโลกทัศนของลาวพวนกรณีศึกษา หมูบานวัดกุฎีทอง จังหวัดสิงหบุรี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. รัฐศาสตร (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) ๒๕๓๖ ฤทัย จงใจรักษ. “เครื่องใชไมสอยของลาวโซง”. วารสารเมืองโบราณ ๒๒:๘ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๑๙ : ๗๘-๘๔.

โครงสรางสังคม ระบบเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงและการผสมกลมกลืน มยุรี วัดแกว. การศึกษาโครงสรางสังคมชาวโซง. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาพัฒนาสังคม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๒๑. สมพร เกษมสุขจรัสแสง. การผสมผสานทางวัฒนธรรมของลาวโซงในเขตอำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศึกษาศาสตร (การศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง) ๒๕๒๖ คนึงนุช มียะบุญ. ๒๕๓๗. การปรับตัวตอสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงของลาวครั่งที่บานโคก จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา บัณฑิควิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

107


วรณัย พงศาชลากร. ๒๕๓๘. พืชเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในชุมชนลาวครั่ง : ศึกษากรณีบานโคก ตำบลอูทอง อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธสังคมวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. เกรียงศักดิ์ ออนละมัย. วิถีการดำเนินชีวิตของชาวชนบทในกระแสโลกาภิวัฒน : ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนไทพวน ตำบลหินปก อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี. กรุงเทพ : คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, ๒๕๔๐. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมในชุมชนบานเยอ บานไทยดำ และบานไทยลาว : การ ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณี ขอนแกน : คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, ๒๕๓๐ ชนัญ วงษวิภาค. ๒๕๓๒. การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นกับการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม : ศึกษาเฉพาะลาวครั่งอูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. เอกสารการพิมพโรเนียว กรุงเทพฯ : ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุมิตร ปติพัฒน. ลาวโซง : พลวัตของระบบวัฒนธรรมในรอบสองศตวรรษ กรุงเทพฯ : หาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๐ สมพร เกษมสุขจรัสแสง. การผสมผสานทางวัฒนธรรมของลาวโซงในเขตอำเภอเขายอยจังหวัดเพชรบุรี กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ ศษ.ม. การ ศึกษาผูใหญและการศึกษาตอเนื่อง ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๖ นำพวัลย กิจรักษกุล. การศึกษารูปแบบการตั้งถิ่นฐาน ประชากร เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของลาวโซง ในจังหวัดนครปฐม นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๒ วิริยะ สวางโชติ. ความสัมพันธแบบ “ละแวกบาน” และแบบ “สังคมประชา” ในชุมชนชาติพันธุ ไทย-ลาว แหงหนึ่งที่จังหวัดลพบุรี ปที่ ๑๙, ฉบับ ที่ ๔ (ต.ค. - ธ.ค. ๒๕๓๖) : หนา ๖๘-๗๗

สำนึกทางชาติพันธุ กนกพรรณ แสงเรือง. ความสำนึกในเอกลักษณชาติพันธุของลาวพวน. กรุงเทพ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒. ปยะพร วามะสิงห. ความสำนึกในชาติพันธุของลาวพวน. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร มานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร ๒๕๓๘

ประวัติศาสตรกลุมชาติพันธุ บังอร ปยะพันธุ. ประวัติศาสตรของชุมชนชาวลาวในหัวเมืองชั้นในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. อักษรศาสตร (ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต) ๒๕๒๙ บังอร ปยะพันธุ. ลาวในกรุงรัตนโกสินทร กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๑. ศรีศักร วัลลิโภดม. “ลาวในเมืองไทย เมืองโบราณ ปที่ ๖, ฉบับที่ ๒ (ธ.ค. ๒๕๒๒-ม.ค. ๒๕๒๓) : หนา ๕๕-๗๐ ;

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

108


ฉลอง สุนทราวาณิชย. สัมพันธภาพไทย-ลาว เชิงประวัติศาสตร กอนคริสตศตวรรษที่ ๒๐ ปที่ ๘, ฉบับที่ ๑ (พ.ย. ๒๕๒๙) : หนา ๑๔๒-๑๕๐ ศิลปวัฒนธรรม สุที หริมเทพาธิป. วังหนา” ในชุมชนลาวที่สระบุรี : วังสีทาของพระปนเกลาฯ ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ ๒๑, ฉบับที่ ๑๐ (ส.ค. ๒๕๔๓) : หนา ๔๔-๕๑ สมบัติ พลายนอย ลาวบางกอก. ปที่ ๒๓, ฉบับที่ ๓ (ม.ค. ๒๕๔๕) : หนา ๙๘-๑๐๓ ลอม เพ็งแกว. จดหมายเหตุฉบับเชลยศักดิ์ครั้งรัชกาลที่ ๑ ใหพระลาวสึก บวชใหม ดวยเหตุออกเสียงอักษรไมชัด. ศิลปวัฒนธรรม ปที่ ๙, ฉบับที่ ๒ (ธ.ค. ๒๕๓๐) : หนา ๘๖-๙๐ “ผูชวยเจาอาวาส พระครูวิสุทธิญาณสุนทร เลาเรื่อง “ลาว” ที่วัดปทุมวนาราม” ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ ๑๒, ฉบับที่ ๙ (ก.ค. ๒๕๓๔) : หนา ๕๒-๕๘ พูนพิศ อมาตยกุล. ลาวแพน. ปที่ ๔, ฉบับที่ ๑๐ (ส.ค. ๒๕๒๖) : ศิลปวัฒนธรรม. หนา ๑๘-๒๕ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องแนวทางการวิจัยลาวศึกษาในประเทศไทย มหาสารคาม กรุงเทพฯ : ๒๕๓๗

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

109


ภาคผนวกที่ ๒ ถิ่นฐานของลาวใน คือกลุมลาวที่อพยพเขามาสรางชุมชนในพื้นที่หัวเมืองชั้นใน ใกลพระนคร จากการศึกสงครามเมื่อสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร ลาวพวน หรือ พวน หมายถึงกลุมชาวผูไทจากเมืองพวนและบานเมืองในเขตที่ราบเชียงขวาง จากเอกสารเรื่องกลุมชาติพันธุ ปรากฏวา มีการประเมินขอมูลจำนวนคนพวนที่อยูในที่ราบเชียงขวางมีมากพอๆ กับคนเชื้อสายพวนที่อยูในประเทศไทย คือ เกือบหนึ่งแสนคน ซึ่งขอมูลนี้อาจไมถูกตองก็ได แตอนุมานใหเห็นวามีการประเมินจำนวนคนพวนจากเชียงขวางใกลชายแดน เวียดนามในสมัยที่ถูกกวาดตอนมานั้น โยกยายกันมานาจะเปนจำนวนครึ่งหนึ่งของประชากรทีเดียว พวนนาจะเปนคนกลุมใหญที่สุดที่ถูกอพยพเขามาสูหัวเมืองชั้นใน เนื่องพวนเปนกลุมไทดำกลุมหนึ่ง และมีวัฒนธรรมใกลชิดกับ ชาวผูไทในเขตเมืองแถง และถือตัววาเปนคนพวนไมใชคนลาว รวมทั้งคนลาวก็เรียกวาพวนโดยไมนับเปนลาวดวย ดังนั้น ภาษา พูดจึงมีความใกลชิดกับลาวโซงหรือไทดำ พวนถูกกวาดตอนเขามาตั้งแตในสมัยรัชกาลที่ ๑ และเขามามากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ ๓ ครั้งศึกรบกับเวียดนามและศึกเจา อนุวงศ ครัวพวนถูกอพยพมาสมทบกับพวกพองทั้งที่เมืองฉะเชิงเทรา ลพบุรี สระบุรี ปราจีนบุรี ซึ่งในปจจุบัน กลุมผูมีเชื้อสาย พวนตั้งถิ่นฐานอยูในจังหวัดตางๆ หลายแหงทั้งในภาคกลาง อีสาน และภาคเหนือตอนลาง ความแตกตางไปจากกลุมลาวอื่นๆ ที่ อยูในทองถิ่นเดียวกัน ทำใหพวนมีเอกลักษณพิเศษทั้งภาษาพูด ขนบประเพณี พิธีกรรม และลักษณะพฤติกรรม ดวยเหตุที่เปนก ลุมใหญและมีเอกลักษณนี้เองทำใหมีการรวมตัวเกิดสมาคมไทพวน จัดกิจกรรมตางๆ สำหรับคนเชื้อสายพวนในปจจุบัน ซึ่งเปน ลักษณะพิเศษที่ลาวในกลุมอื่นๆ ไมสามารถรวมตัวกันเชนนี้ได บานน้ำจั้น บานเขาพระงาม บานถนนใหญ บานถนนแค บานทาแค บานโคกกระเทียม อำเภอเมือง จังหวัด ลพบุรี บานกลาง บานหัวเขา บานสวางอารมณ บานเชียงงา บานโพนทอง บานหมี่ใหญ บานหมี่นอย บานทุงทะเล หญา บานคลองไมเสียบ บานหวยแกว บานเขาวงกต บานกลวย บานทราย บานมะขามเอน บานสำโรงนอย บานสำโรงใหญ บานหินปกใหญ บานหินปกทุง บานหินปกเหนือ บานวัดวังเหนือ บานวัดวังใต บานวังกะพี้ ใหญ บานวังกะพี้นอย บานเขาดอนดึง บานสระใหญ บานไผใหญ บานหนองทรายขาว บานเนินยาว บานสระ เตยใหญ บานสระเตยนอย บานมะขามเฒา อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี (อำเภอบานหมี่มีชาวพวนเกือบทั้ง อำเภอ) บานหลุมขาว บานดงพลับ บานหนองมวง บานหนองพิมาน บานทุงทะเลหวา (อพยพปะปนมากับกลุมลาว เวียงและลาวหลวงพระบาง) อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี บานกลับ บานครัว บานคลอง บานคลองบุญ บานคลองโดน บานสราง อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี อำเภอดอนพุดมีพวนอยูเกือบทั้งอำเภอ จังหวัดสระบุรี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

110


บานสราง อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี (อพยพมาจากอำเภอบานนา จังหวัดนครนายก) บานฝงคลอง บานทาแดง บานหนองแสง บานคลองตะเคียน บานคลองคลา บานเกาะคา บานแขมโคง บาน สะแกซึง บานขุมขาว บานหนองหัวลิง บานโพธิ์ศรี บานโพธิ์ทอง บานกลางโสภา บานเกาะหวาย อำเภอ ปากพลี จังหวัดนครนายก (อำเภอปากพลีเปนพวนเกือบทั้งอำเภอ) บานเขาเพิ่ม บานเขากะอาง อำเภอบานนา จังหวัดนครนายก (อพยพมาจากอำเภอปากพลี) บางกลุมที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก บานบางน้ำเชี่ยว บานโภคา (ดอนคา) บานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี บานชองแค บานจันเสน บานวังรอ บานขอนคู อำเภอตาคลี, จังหวัดนครสวรรค อำเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค อำเภอทาตะโก, จังหวัดนครสวรรค อำเภอชุมแสง, จังหวัดนครสวรรค อำเภอไพสาลี, จังหวัดนครสวรรค อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี (อพยพมาจากแถบจังหวัดนครสวรรค) บานดงขุย อำเภอชนแดน, อำเภอหนองไผ, ตำบลสระกรวด อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ บานดงนอย บานเมืองแมด บานเมืองกาย อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา (มาพรอมกับลาวอาสา ปากน้ำที่ยายมาจากปากน้ำสมุทรปราการ ถิ่นฐานเดิมคือเมืองนครพนม) อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี อำเภอศรีมหาโพธิ, บานหัวซา บานหัวหวา บานหัวนา บานหัวสระขอย บานหายโศก บานโคกปบ บานโคกวัว บานโคกพนมดี บานหนองเสือ บานหนองสระแก บานหนองเกตุ บานหนองนก บานหนองหมู บานโพนไทร บานโพนกะเบา บานดอนสับฟาก บานดอนกะทง บานยาบ บานแลง บานคูลำพัน บานไผขาด บานละเมาะไผ บานหนองปรือ บานปรือหวาย บานสมแสง บานแปรงไผ บานเกาะกระตาย บานมวงขาว บานซำหวา บานโคกมอญ บานสระ ขอย อำเภอศรีมโหสถ (โคกปบ), อำเภอบานสราง,จังหวัดปราจีนบุรี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

111


อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี บานลานคา บานกกมวง บานดาน บานสูตร บานอุทุมพร บานหมี่ บานเกา บานดอกไม บานไผเดี่ยว บานเกา หอง บานมะขามลม อำเภอบางปลามา, อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอเขายอย, อำเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี บานวังลุม บานปาแดง บานวังทับคลอ บานทุงโพธิ์ อำเภอทับคลอ, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร บางสวนอพยพกระจัดกระจายไปในหลายทองถิ่น เชน ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก บานหาดเสี้ยว บานหาดสูง บานใหม บานแมราก อำเภอศรีสัชนาลัย บานคลองมะพลับ อำเภอสวรรคโลก บานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย บานเข็ก อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก บานปากฝาง บานผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ (เปนพวนที่ไมสามารถพูดพวนไดแลว) บานทุงโฮงเหนือ บานทุงโฮงใต อำเภอเมือง จังหวัดแพร บานหลับมืนพวน อำเภอเวียงสา, บานฝายมูล อำเภอทาวังผา จังหวัดนาน บานหวยกั้น อำเภอจุน, บานปากอย อำเภอแมสาย, บานศรีดอนมูล, บานปาสักนอย อำเภอเชียงแสน, ตำบลศรีดอนชัย อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย บานเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี อำเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

112


ลาวเวียง และลาวจากเมืองตางๆ ใกลเวียงจันทน เหตุการณครั้งที่อพยพลาวเวียงมาเปนจำนวนมากที่สุดเกิดขึ้นสมัยสงครามเจา อนุวงศเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๙ และ พ.ศ.๒๓๗๑ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ซึ่งในที่สุดมีพระราชประสงคใหเผาเมือง เวียงจันทนเสียใหสิ้น และทำใหลาวกลายเปนประเทศราชตอมาจนกระทั่งฝรั่งเศสเขามามีอำนาจเปนเจาอาณานิคมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ บานวัดคู บานวัดกลาง บานแปงลาว ตำบลบานแปง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี อำเภอพนมทวน อำเภอบอพลอย อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี คลองทาไข อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี บานเมืองกาย อำเภอพนมสารคาม บานดอนทานา ตำบลคูยายหมี อำเภอสนามชัยเขต และมีลาวเมืองพลาน จังหวัดฉะเชิงเทรา บานอรัญญิกในจังหวัดอยุธยา ตำบลทัพหลวง อำเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี อำเภอพนมสารคาม อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ลาวตี้มีที่ บานสูงเนิน บานทำเนียบ บานเกาะ บานหนองบานเกา และบานวังมะเดื่อ อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ลาวครั่ง หรือลาวภูครัง หรือลาวภูคัง ในเอกสารกลาววาเปนเมืองอยูทางฝงซายของแมน้ำโขง ปจจุบันเปนที่ทราบกันแลววา ภูค รัง เปนชื่อภูเขาอยูในเขตอำเภอภูเรือในปจจุบัน เชิงเขานี้มีบานหนองบัวตั้งอยูและเปนที่ตั้งของเมืองภูครังแตเดิม และเปนเมืองมี เจาเมืองปกครองอยูจนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ ๕ จึงไดยายเมืองไปตั้งเมืองดานซายริมน้ำหมันใกลกับพระธาตุศรีสองรักษรวมทั้ง เจาเมืองภูครังก็ยกใหเปนเจาเมืองดานซายดวย ในบริเวณนี้มีที่ราบแคบๆ ที่สามารถเดินทางติดตอกับเมืองแกนทาว เมืองเลยซึ่งเมื่อเลียบริมน้ำโขงก็ตอไปถึงเวียงจันทน และยัง เปนทางขึ้นไปเมืองหลวงพระบางอีกทางหนึ่งนอกจากที่น้ำปาด ดังนั้นเมื่อมีการอพยพผูคนจากหัวเมืองลาว จากเมืองหลวงพระ บาง เมืองเลย เมืองแกนทาว เมืองพันพราว (ในจังหวัดหนองคาย) ก็จะใชเสนทางนี้พักอยูที่เมืองพิษณุโลกไมก็เมืองพิชัย กอนจะ เดินทางเขาสูหัวเมืองชั้นใน สวนกลุมพวน หรือกลุมลาวเวียง ก็จะเขามาตามเสนทางเมืองทาบอซึ่งตรงขามกับฝงเวียงจันทน ผา นบานผือไปยังหนองบัวลำพู ผานดงพญาเย็น แลวเขามาพักที่สระบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

113


ลาวภูครังที่ถูกกวาดตอนในรัชกาลที่ ๒ ใหไปอยูที่เมืองนครชัยศรีหรือในจังหวัดนครปฐม สวนลาวที่เมืองหลวงพระบาง กวาดตอนมาอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๓ เนื่องจากศึกเจาอนุวงศ ก็ใหไปพักที่เมืองพิษณุโลกและพิชัย กอนจะสงไปอยู ณ ที่พวก จากเมืองของตนเคยอยู โดยกระจายอยูในทองถิ่น ดังนี้ Oบานหนองตาสาม บานโคก บานทามา ตำบลสระพังลาน อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี lหมู ๘ ตำบลศรีสำราญ อำเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี lบานวังดัน บานหนองอีเงิน บานทัพผึ้งนอย บานดงรัง บานทุงกวาง บานทับละคร ตำบลวังดัน, บานวังกุม บานชัฎ หนองยาว บานนกจาน บานทุง บานพุบอง บานแฝก บานปาชี บานกกเต็น บานตาด บานหนองพลับ, ตำบลหวยขมิ้น บานหนองแกสามหนอง บานสระบัวกำ บานเขานางงาม บานน้ำโจน บานปาสัก ตำบลหนองมะคาโมง บานดานชาง บานทับกระดาษ บานพุน้ำรอน บานหนองปลากระดี่ บานดอนประดู บานพุหวาย บานหนองผือ บานวังหนอไม บานวัง น้ำเขียว ตำบลดานชาง อำเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี (กลุมนี้ถูกเรียกวา “ลาวดาน” ) lบานทุงสี่หลง บานภูมิ บานนิคม บานรางมูก บานใหม บานปาแก บานลำเหย ตำบลลำเหย บานบางหลวง บานฝง คลอง บานหนองกระพี้ ตำบลบางหลวง บานดอนแกะแระ บานหวยดวน บานทุงผักกูด บานกงลาด ตำบลหวยดวน, บานสวนใหม บานดอนรวก บานหวยกรด บานสระสี่เหลี่ยม ตำบลดอนรวก อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม lหมู ๑๓ ตำบลสุขเดือนหา อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท lบานโคกหมอ อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี ลาวแงว ถิ่นฐานสำคัญของลาวแงวในจังหวัดลพบุรี คือที่บานหนองเมือง อำเภอบานหมี่, บานหวยโปง อำเภอโคกสำโรง บานทา แค บานทาศาลา บานดงนอย อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี และมีถิ่นฐานในจังหวัดสระบุรี ที่บานนายาว บานตาลเสี้ยน บาน สมปอย อำเภอพุทธบาท และบานหนองโดน อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี l

ตัวอำเภอบานหมอ อำเภอบานหมอ, บานหนองโดน ตำบลหนองโดน อำเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี

l l l l l l l l

บานโปรงนอย บานโคกลำพาน บานปาหวาย ตำบลลำทราย / บานขุนนวน บานดงนอย บานกกโก บานหวยเปยม ตำบลl กกโก / บานโคกกระเทียม ตำบลโคกกระเทียม บานดอนมะกัก บานไผขวาง ตำบลเขาพระงาม / บานน้ำจั้น ตำบลเขา l สามยอด อำเภอเมือง, บานน้ำจั้น บานไผใหญ บานโปรง ตำบลไผใหญ / บานหนองเกวียนหัก บานลาด บานสระตาแวว l ตำบลพุคา / บานสายหวยแกว ตำบลสายหวยแกว / บานหนองเมือง บานหวยกรวด ตำบลหนองเมือง / บานหนองเตา l บานหนองเลา บานโคกสุข บานสระตาแวง ตำบลหนองเตา / บานดงพลับ ตำบลดงพลับ อำเภอบานหมี่, บานถลุงเหล็ก l ตำบลถลุงเหล็ก บานพรหมทินเหนือ บานพรหมทินใต ตำบลหลุมขาว / บานสระพานนาค บานสระพานจันทร บานสระl พานขาว ตำบลหวยโปง / บานวังจั่น บานโคกพรหม ตำบลหลุมขาว / บานหวยโปง ตำบลหวยโปง บานหวยวัวตาย l ตำบลวังขอนขวาง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

114


บานคอกกระบือ (คอกควาย) บานทุงทะเลทราย ตำบลสรอยทอง / บานจันเสน ตำบลจันเสน บานโคกกระดี ตำบลตาคลี อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค เริ่มแรกอยูแถบวัดสาธุการาม บานสิงห ตำบลโพงพางเสือ อำเภอบางระจัน, วัดมวง วัดโพธิ์ศรี ตำบลอินทร บานไผดำ ตำบลทองเอน อำเภออินทรบุรี (อพยพมาจากอำเภอบางระจัน) วัดทาอิฐ เกาะแกว วัดตุมหู บาง โฉมศรี ตำบลชีน้ำราย อำเภอทางาม จังหวัดสิงหบุรี ลาวโซง หรือ ไทดำ หรือ ผูไท เปนกลุมที่อยูในเขตเมืองแถงหรือเดียนเบียนฟูในเวียดนาม ใกลชิดกับกลุมบานเมืองที่อยูในพื้นที่ ซึ่งเรียกวาสิบสองจุไทหรือสิบสองเจาไท (ไทดำ ๘ เมือง, ไทขาว ๔ เมือง) บริเวณนี้มีทั้งกลุมไทดำและไทขาวโดยสังเกตจากเครื่อง แตงกายและภาษาพูด เปน “เมืองสามฝายฟา” เพราะขึ้นกับทั้งหลวงพระบาง-เวียงจันทน จีน และเวียดนามในชวงเวลาตางๆ ดัง นั้น ลักษณะทางวัฒนธรรมจึงมีทั้งวัฒนธรรมแบบไต-ลาว จีน และเวียดนามดวย ไทดำเขามายังหัวเมืองชั้นในหลายครั้งตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑ ระหวาง พ.ศ.๒๓๗๖–๒๓๗๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ทำศึก กับเวียดนามเมื่อชนะจึงกวาดตอนลาวพวนและลาวทรงดำมายังกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๓๗๙, พ.ศ.๒๓๘๑ และ พ.ศ.๒๔๘๒ อุปราช เมืองหลวงพระบางยกทัพไปตีเมืองไทดำแลวกวาดตอนสงมาบรรณาการอีก จนครั้งสุดทายเมื่อสมัยปราบฮอในรัชกาลที่ ๕ ถิ่นฐานดั้งเดิมของไทดำในหัวเมืองชั้นใน คือ ที่เมืองเพชรบุรีหลังจากนั้นจึงแยกออกไปอยู ณ ที่อื่นๆ เชน อำเภอทายาง อำเภอ บานลาด จังหวัดเพชรบุรี อำเภอบางแพ อำเภอปากทอ อำเภอดำเนินสะดวก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร อำเภอกำแพงแสน อำเภอเมือง อำเภอดอนตูม อำเภอสามพราน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม อำเภอ สองพี่นอง อำเภอบางปลามา อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอดานมะขามเตี้ย อำเภอพนมทวน อำเภอบอพลอย จังหวัด กาญจนบุรี บานสะพานยี่หนเวียงคอย บานวังตะโก บานหนองพลับ บานทุงเฟอ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เขากระจิว บานแมประจันต บานทาโล อำเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี บานหวยของ บานหนองโสน บานกรวย อำเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี บานหวยทาชาง บานหนองเข บานหนองปรง บานหนองจิก บานทับคาง บานดอนทราย บานเขายอย บาน หนองชุมพล บานหนองประดู บานหนองกระพอ บานหนองซอ บานหัวเขาจีน อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี บานตลาดดอนควาย อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี (อพยพมาจากอำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี) บานดอนคลัง บานบัวงาม และบานโคกตับเปด อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี บานดอนคา อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี บานเขาภูทอง อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

115


บานบางกุง, บานบางหมัน อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี บานคลองพิศมัย ตำบลบางไทรปา บานดอนขมิ้น บานหัวทรายไทย บานหัวทรายลาว ตำบลดอนตูม บาน เกาะแรด ตำบลบางปลา บานหนองปรง บานปลายคลองบานเลน บานไผหูชาง ตำบลไผหูชาง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม บานลำเจียก บานตากแดด บานหนองอีแบน ตำบลตลาดจินดา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม บานหัวถนน ตำบลดอนพุทรา บานแหลมกะเจา ตำบลสามงาม อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม บานสระแกราย บานดอนขนาด ตำบลดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม

บานดอนทราย ตำบลสระกระเทียม อำเภอเมือง

บานยาง ตำบลทุงกระพังโหม บานหนองขวาง ตำบลทุงขวาง บานหาง บานชาวไร ตำบลกระดิบ บานไผดอย บานไผสงคราม บานไผโทน ตำบลสระสี่มุม บานดอนทอง บานดอนมะกอก บานบอน้ำจืด ตำบลดอนขอย บานสระ บานหัวชุกบัว บานหนองหมู บานหนองกระเทียม บานไรใหม บานหนองพงนก ตำบลสระพัฒนา บานกำแพงแสน ตำบลทุงบัว อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม (อพยพมาจากบานหนองปรง อำเภอ เขายอย จังหวัดเพชรบุรี) บานกลาง ตำบลหนองสองหอง ตำบลโรงเข ตำบลยกกระบัตร อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร บานดอนมะนาว ตำบลบางเลน, บานลาดมะนาว อำเภอสองพี่นอง, บานดอนโก ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอบางปลามา, ตำบลดอนมะเกลือ, ตำบลสระยายโสม, ตำบลหนองโอง, ตำบลคณฑี, ตำบลบานดอน อำเภออูทอง จังหวัด สุพรรณบุรี บานแหลมทอง ตำบลกลอนโด อำเภอดานมะขามเตี้ย, อำเภอพนมทวน, อำเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดพิจิตร ไทยวน อพยพมาจากบานหวยไผ อำเภอเมือง มาอยูที่บานหนองกะเหรี่ยง ซึ่งเดิมกะเหรี่ยงเคยอยูเมื่อยายมาจากบานเกา กะเหรี่ยง แตไดเปลี่ยนเปน บานหนองนกกระเรียน จากนั้นก็เคลื่อนยายไปอยูบานราง(ดอก)อาว บานราง(ดอก)บัว ทุงกวางและ ชัฏใหญ บางกลุมแยกไปทางตะวันตกจนถึงบานนาขุนแสนบานทาเคย ไท-ยวน ยังคงรักษาวัฒนธรรมการทอผาซิ่นตีนจกโดยมี ศูนยรวมการผลิตอยูที่วัดรางบัว จังหวัดราชบุรี

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

116


ภาคผนวกที่ ๓ ตารางเปรียบเทียบภาษา ภาษาไทยกลาง กำไร กางเกง กระชาย(หัวกระชาย) กิ้งกา กดทับ กอไฟ แกวง เกวียน กะลา กระจก โกหก

ลาวแงว กองแขน โซง การซาย กะปอม เต็ง ดังไฟ แกง กะแทะ กะโปะ กระจก ขี้ตั๊วะ

ตนกระทือ เกลือ ขางบน ขนมจีน ขอหนอย ขนุน ใคร คางคก คิดถึง ครั้งเดียว ควันไฟพวยพุง คนโต/คนหัวป คนจน คุณ ตัวเรา จริง จริงหรือ โจงกะเบน

กระทือ เกลือ เทิง ขาวปุน ขอแด หมากมี้ ไผ คันคาก คิดฮอด บาดเดียว ควนกุมขึ้น คนใหย คุนทุกข/คนยาก โต/เจา โตเฮา แทแท แทบ โจงกะเบน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

พวน กองแขน โซง กระซาย กิ้งโกน เทิน/เต็ง ดังไฟ ไกว กะแทะ กะโปะ กระจก ขี้ตั๊วะ

ลาวเวียง กองแขน โซง กระซาย ปอม กดทับ ดังไฟ ไกว เกวียน กระบวย แวน ขี้ตั๊วะ

กระทือ เกลือ เทิง

อีทือ เกลือ เทิง

ขอแด มามี้ เผอ คางคะ คิดฮอด ที่เดียว ควันขึ้นพูน ลูกผูใหย คนหยะ คนจน เจา ขอย แทแท แทนี่แหละ หางกะเบน

ขอแด บักมี้ ผูได ขี้คางคก คิดฮอด เถื่อเดียว ควันควัย คนหัวป คนยาก โดเฮา แหมน แทบ ผูเหน็บเตี่ยว

อิสาน กองแขน โซง ขิงซาย กะปอม กด ดังไฟ แกง กะแทะ/เกียน กะโปะ แหวน ขี้ตั๊วะ เกลือ/เกีย คั่งเทิง เขาปุน ขอแหน หมักมี้ ไผ คันคาก คิดฮอด เถื่อเดียว ควนไปขึ้น คนใหย คนยาก/คนตน/คนทุกข ผูนั่น ขอย แหมน แหมนบ นุงปากะเตี่ยว

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

117


ภาษาไทยกลาง จิ้งจก จมูก ภาษาไทย ไฟฉาย ฉิ่ง ฉัน ชวย ชาง ชอน ดู/มอง ดวงอาทิตย เด็กผูชาย ตนขา ตุกแก แตงโม พอของแม แมของแม ตัวเรา ตู บน ที่นอน ทาน ทำอะไร ที่ไหน ทะลึ่ง ทันทีทันใด ทำงาน แทจริง ทัพพี นอยหนา น้ำพริก นาน นองสาวแม บาน ใบแมงลัก

ลาวแงว จักกกะเจี๊ยม ดัง ลาวแงว ไฟฟา สิ่ง เฮา/ขอย ซอย ซาง ซอน เบิ่ง ตะเว็น บักแดง/บักแอ ขาโต กับแก หมากโม พอใหย/โจะ แมใหย/โจะ โตเฮา ตู เทิง บอนนอน/ผาเสื่อ เพิ่น เฮ็ดอิหยัง ที่ได ขึ้นหนา โลด เฮ็ดงาน แทแท สารภี หมากเขียบ แจว ดน สาว เฮือน ใบอีตู

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

พวน

ลาวเวียง จักเจี๊ยม ฮูดัง ลาวเวียง ไฟฟา สิ่ง ขอย ซอย ซาง ซอน เบิ่ง ตะเว็น ไอหำ กกขา กับแก บักโม พอโซน แมโซน โตเฮา ซัวะ เทิง บอนนอน เพิ่น เฮ็ดหยัง ที่ได ดื้อ โลด เฮ็ดงาน แมนบ กะจอง บักเขียบ แจว เหิง แมเฒา เฮียน ใบอิตู

จีเจี้ยม ฮูดัง พวน ไฟฟาสาย สิ่ง ขอย ซอย ซาง บวง เบิ่ง ตะเง็น บะนั้น ขาตูน กับแก มะโม พอใหญ แมใหย ขอย สั้ว เทิง เสื่อ เพิ่น/เจา เอ็ดพิเลอ อยูกะเลอ/ไปกะเลอ ซื้นลื้น เคียวไปเคียวมา เอ็ดงาน เอ็ดแท สารพี หมากเขียบ แจว นาน นา เฮือน อีตู

อิสาน ขี้เกี้ยม ดัง อิสาน ไฟฟา สิ่ง ขอย ซอย ซาง บวง แนมเบิ่ง ตะเว็น บักหำ ขาโอง ขี้แก หมักโม พอใหย แมใหญ โตเฮา ตู เทิง ผาเสื่อ เพิ่น เฮ็ดหยัง บอนได ดื้อ โลด เฮ็ดงาน แมนแทแท บักเสียบ ปน ดน สาน/นา เฮือน ผักอิตู

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

118


ภาษาไทยกลาง ไปจนถึง ไปทางโนน ไทย ผูใหญ ผาถุง ผาสะไบ ผาขาวมา ผาเช็ดหนา ผาปูที่นอน ฝรั่ง(ผล) ฟกทอง พระจันทร พบ พี่ชาย เพื่อน วันนี้ พรุงนี้ พี่เขย พอทวด ฟน มะละกอ มะเขือเทศ แมงปอง มะเขือ ไมรู ยาย รองเทา รองเทาผาใบ ริม รัก รุง ราง รอน รดราด

ลาวแงว ไปจนฮอด ไปทางพูน ลาวแงว คนใหญ ผาซิ่น ผาเบี่ยงบาย ผาขาวมา ผาตะเกียบ ผาหลบบอน หมากสีดา หมากอึ พระจันทร เจอ อาย หมู มื้อนี้ มื้ออื่น พี่อาย ชวด แคว หมากหุง หมากเดน แมงงอด บักเขือ บอู/ จักแลว แมหยาย/โจะ/ แมโซน/แมคุณ เกิ๊บ เกิ๊บโบก ฮิม ฮัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮดฮาด

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

พวน ไปฮอด กูน พวน ผูเหยอ ผาซิ่น ผาพาดโตง ผากะถง ผาเช็ดหนา ผานอน หมากโอย ฟก เกิ้งกาง เจอ อาย เสี่ยว มื้อนี้ มื้อหนา อายเขย ชวด แฮว หมากหุง มะเดน แมงงอด หมากเขือ บฮู

ลาวเวียง ไปจนฮอด ไปทางพูน ลาวเวียง ผูเฒา ผาหนุง ผาแทบ ผาอีโผ ผาเซ็ดหนา ผาปูนอน บักสีดา บักอึ พระจันทร พบ อาย เสี่ยว มื้อนี่ มื้ออื่น อายเขย พอตู เคี้ยว บักหุง หมากเดน แมงงอด มะเขีย บอู แมหยาย

เกิ๊บ เกิ๊บ เซิง ฮัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮวด

เกี๊บ เกิ๊บผาใบ ฮิม มัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮดใส

อิสาน ไปฮอด ไปพูน อิสาน ตนใหย ซิ่น ผาเบี่ยง แพร ผาปูบอน บักสีดา บักอึ อีเกิ้ง/เดือน พอ อาย เสี่ยว มื้อนี้ มื้ออื่น อาย พอตู แคว บักหุง บักโตน แมงงอด หมักเขือ บฮู แมโซน เกบ ฮิม ฮัก ฮุง ฮาง ฮอน ฮด

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

119


ภาษาไทยกลาง เรือ รอยดาง ไทย เรียก รีบ ราว ลนไฟ วางทับไวขางบน หัวใจ หนาตาง หลุม หมอบ เหมือนกัน

ลาวแงว เฮือ ฮอยแปว ลาวแงว เอิ้น ฟาว ฮาว ขางไฟ วางยองทางเทิง หัวใจ หนาตาง ขุม หมูบ คือกัน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

พวน

ลาวเวียง

เฮือ ดาง พวน ฮอง เคียวไปกะเลอ ฮาว เหลาะไฟ วางเทิง หัวเจอ ปองเอี้ยม หลุม กมลง คือกัน

เฮือ ดาง ลาวเวียง เอิ้น ฟาว ฮาว ขางไฟ หัวใจ หนาตาง หลุม หมอบ คือกัน

อิสาน เฮือ ฮอย อิสาน เอิ้น ฟาว ฮาว ลนไฟ วางเต็ง หัวใจ หนาตาง ขุม หมูบ คือกัน

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

120


ภาคผนวกที่ ๔ การศึกษาเฉพาะชุมชนลาวแงวบานหนองเมืองและลาวแงวบานน้ำจั้น รุจิรา เชาวธรรม สมปอง บุญเติร

การศึกษาเฉพาะชุมชนลาวแงวบานหนองเมือง บานหนองเมือง ตำบลหนองเมือง อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอบานหมี่ สามารถ เดินทางเขาหมูบานไดตามทางถนนคันคลองชลประทานสายบานหมี่-ตาคลี จากอำเภอบานหมี่ มาประมาณ ๑๐ กิโลเมตรแยกขวา มือ ขามสะพาน จะเห็นที่พักสายตรวจอยูบริเวณเชิงสะพานทางเขาหมูบาน จากนั้นจะเปนสวนสมขนาดใหญตั้งอยูทางเขาหมูบาน ชาวบานหนองเมืองสวนใหญประกอบอาชีพการทำนา และการทำไรนา สวนผสม ทางเขาหมูบานเปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก กอนถึงหมูบานจะพบที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลหนองเมือง และตรงกันขามเปนโรงเรียนวัดหนองเมือง และมีวัดหนอง เมืองตั้งอยูกลางหมูบาน ในหมูบานมีสถานอานามัยประจำตำบล

สภาพภูมิศาสตร หมูบานหนองเมืองตั้งอยูบริเวณหนองน้ำ เดิมมีปาลอมรอบรวมอยูดวยกันหลายหมูบานบริเวณที่ตั้งบานหนองเมืองมีพื้นที่ ๖๑.๒๙ ตารางกิโลเมตร พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม มีการทำนา และทำไรสวน มีพื้นที่ใกลเคียง ดังตอไปนี้ l

ทิศเหนือl

ติดตอกับตำบลหนองกระเบียนและตำบลชอนมวง อำเภอโคกสำโรง

l ทิศใตติดตอกับตำบลบานกลวย ตำบลบานทราย และตำบลหินปก อำเภอบานหมี่ l

ทิศตะวันออกl ติดตอกับตำบลดอนดึง อำเภอโคกสำโรง

l

ทิศตะวันตกl

ติดตอกับตำบลสายหวยแกว อำเภอบานหมี่

ภูมิอากาศของหมูบานอยูในเขตรอนชื้นสลับกับแหงแลงอยางเห็นชัดเจน ในชวงฤดูฝนจึงมีความชื้น สวนใหญฝนจะตกในเดือน ๗-๘ นอกจากนี้ยังมีฝนที่เกิดจากการพาความรอนในชวงเดือนเมษายน และพฤษภาคม ชวงนี้จึงเกิดพายุฝนฟาคะนอง ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือ หนองน้ำ ลำรางที่เกิดจากธรรมชาติสามารถใชเดินทางเรือไดในยามน้ำหลาก มีปาไผและสัตวน้ำ กุง หอย ปู ปลา อยูตามหนองน้ำธรรมชาติ และที่ไหลบาเมื่อฝนตก จากสภาพภูมิศาสตรของหมูบานหนองเมือง เห็นวามีลักษณะเหมาะสมในการตั้งถิ่นฐานเปนทำเลดีและเปนที่ดอน82 มีพื้นที่เหมาะ ในการเพาะปลูกและยังอุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ อันเปนสิ่งจำเปนในการดำรงชีวิต จึงไดชักชวนญาติพี่นองมาตั้งบานเรือน 82

นายราช มีเครือ ลาวแงวบานหนองเมือง

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

121


ประวัติและเรื่องเลาของหมูบานหนองเมือง ชุมชนบานหนองเมืองจากการสอบถามพบวาบานหนองเมืองตั้งเปนบานเรือนมาตั้งแตพ.ศ.๒๔๒๕ กอนชุมชนลาวจะเขามาอยูบานหนองเมืองนั้น พบวาบริเวณนี้เคยเปนชุมชนมากอนซึ่งมีหลักฐานปรากฏคือ เปนวัดเกามีซากอิฐ ปรักหักพังหลงเหลือยู อีกทั้งสภาพภูมิประเทศยังเปนปาที่ราบลุมน้ำทวมในฤดูฝนจึงเรียกวาบานหนองเมืง มีผเู ลาวาบานหนอง เมืองมีชื่อนี้เพราะมีเจาเมืองมาตายที่นี่ จึงเรียกบานหนองเมือง83 พอบอกวามาจากเวียงจันทนหนีขาศึกมา ไปอยูนครพนม ยายไปบานชองแค อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค แลวยายมาบาน หวยกรวด แลวยายมาบานหนองเมือง 84 ทั้งสองบานพูดลาว มีพระเปนผูนำในหมูบาน คนลาวจะทำนา มีการคาขายกับคนจีน เจกจะมาตีราคาขาว คนที่มีฐานะในหมูบานนามสกุล เหลืองทอง สุขสด (เดิมแซอึ้งและแซโล) คนจีนในบานหนองเมืองจะอยูรวม กับคนลาวมีการแตงงานกันระหวางคนลาว คนจีน ทำใหมีการชวยเหลือเกื้อกูลกัน คนลาวเดี๋ยวนี้จะสงลูกหลานใหเรียนหนังสือมากขึ้น ที่เห็นไดชัดคนอายุราว ๔๐ ปขึ้นไปในหมูบานจะไปเรียนในระดับมัธยมที่ โรงเรียนบานหมี่วิทยาและประสบผลสำเร็จในหนาที่การงานก็มาก แตสวนใหญจะไปทำงานที่อื่นอยูกรุงเทพฯก็มาก การแตงงานของคนลาวในสมัยกอน มีการทำพาขวัญ ทำที่บานเจาสาว ตั้งพาขวัญ มีบายศรีปากชาม เวลาทำมีเงินคาครูคาย หมอ หมากพลู ตั้งไวที่หัวนอนสามคืน จึงริ้อทิ้ง ตาปู เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประจำหมูบาน เชื่อวาเมื่อมีการเลี้ยงจะทำใหแคลวคลาด อยูเย็นเปนสุข เลี้ยงตาปูผูเฒาพาทำพาเลี้ยง บานหนองเมืองมีศาลตาปู เวลาทรงเปนเจาพอสนั่นl

ประชากรและการตั้งถิ่นฐาน บานหนองเมืองเปนหมูบานเมื่อราว พ.ศ.๒๔๒๕ โดยมีกลุมคนเขามาอาศัยอยูหลายกลุมดวยกัน กลุมคนที่เคลื่อนยายมาบาน หนองเมืองรุนแรกมีดังนี้ กลุมกำนันชม แพรสี เปนคนไผขวาง ผานมาจะไปลาสัตว ที่ชองแคเห็นวาบานนี้มีทำเลดี เปนที่ดอน จึงชักชวนญาติพี่นองมาตั้ง บานเรือน กลุมแมเฒาลิ้ม ยายมาจากบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดลพบุรี กลุมหนองบัวขาว ยายมาจากหนองบัวขาว จังหวัดลพบุรี เกิดบานหนองเมือง พอใหญอยูบานไผขวาง ลพบุรี แลวยายไปอยูบานชองแค แลวมาที่เขาพระงาม ตอนยายมาบานหนองเมืองมี คนอยูแลวประกอบดวยตระกูลมีเครือ วงศจันนา เมืองคำ85

83

สัมภาษณนายราช มีเครือ

84

อาจารยกนกวรรณ นาสิงห. ๒๖ เมษายน ๒๕๔๑.

85

นายราช มีเครือ. อายุ ๘๗. ๑๑ เมษายน ๒๕๔

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

122


ทั้ง ๓ กลุมเปนกลุมคอนใหญที่เขามาในระยะแรก แตมีตระกูล มีเครือ ยายมาจากบานไผขวาง จังหวัดลพบุรีแลวยายไปที่บาน ชองแคมาที่เขาพระงาม และมาตั้งถิ่นฐานที่บานหนองเมือง ตระกูลแพรสี ตระกูลวงศจันนา ตระกูลเมืองคำ อพยพตามมาภาย หลัง การเมืองการปกครอง บานหนองเมืองตั้งเปนหมูบานเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๕ มีกำนันชม แพรสี เปนกำนันคนแรกของบานหนองเมือง ปจจุบันมีกำนันคนที่ ๑๐ คือ นายนัฏฐพงษ เหลืองทอง ตำบลหนองเมืองมีหมูบานในเขตการปกครอง ทั้งหมด ๗ หมู ประกอบดวย l

หมู ๑ บานหวยกรวด บานนาจาน

l

หมู ๒ บานหนองเมือง

l

หมู ๓ บานหนองเมือง

l

หมู ๔ บานบานหนองแก

l

หมู ๕ บานสระมะเกลือ บานน้ำบา

l

หมู ๖ บานหนองเมือง

l

หมู ๗ บานหนองกระเบียน

ปจจุบันมีบานเรือนจำนวน ๑,๒๒๕ ครอบครัว มีประชากรจำนวน ๔,๖๑๖ คน ตำบลบานหนองเมือง มีสถานศึกษา อยู ๓ แหง คือโรงเรียนวัดน้ำบา โรงเรียนวัดหนองแก โรงเรียนวัดหวยกรวด และโรงเรียนวัดหนองเมือง เดิมบุตรหลานของชาวบานหนองเมือง สวนใหญรับการศึกษาในภาคบังคับเทานั้น เนื่องจากการเดินมาเรียนตอในระดับ มัธยมศึกษาในเขตอำเภอบานหมี่ คอนขางลำบาก คือถนนไมสะดวก ปจจุบัน ผูปกครองใหความสำคัญของการศึกษามากขึ้นสง บุตรหลานเขามาเรียนในระดับมัธยมศึกษาที่อำเภอบานหมี่ อีกทั้งกรรมการศึกษาโรงเรียนวัดหนองเมืองรวมกันขยายการเรียน การสอนจากประถมจาก ๖ เปน ๙ ป การพัฒนาการทางการศึกษามีสวนทำใหแนวคิดของคนรุนใหมไดรับการศึกษาสูงมีอาชีพรับราชการหรือเดินทางไปทำงานที่ กรุงเทพฯ ตางประเทศ สวนบางคนมีปญหาทางดานการศึกษาอาจจะออกมาหางานทำในสวนสมที่มีการจางแบบรายวัน ชาวบาน สนใจในเรื่องวัตถุมากขึ้น บางครอบครัวอาจขายที่ดินอันเปนมรดกที่ไดจากพอแม หรือบรรพบุรุษ ขายไป แลวนำเงินมาซื้อรถ หรือเครื่องใชในครัวเรือน เปนการมองที่แคบไป เมื่อหมดเงินหมดนา ก็ตองหันมารับจางตอไป

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

123


วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจของหมูบานหนองเมือง สภาพสังคมวัฒนธรรมโดยทั่วไปของบานหนองเมือง มีอพยพเขามารวมกันเปนกลุม ตอมามีการสรางวัด โดยคนในพื้นที่นี้ พรอมใจกันประกอบพิธีกรรมทางศาสนา มีการสรางวัดอยูรายรอบหมูบานประกอบดวย วัดหนองเมือง วัดหนองบัวขาว วัดหวย กรวด วัดนาจาน วัดน้ำบา วัดสระมะเกลือ วัดหนองแก การทำเกษตรกรรมในอดีต อาชีพหลักของชาวบานคือการทำนา เลี้ยง วัว ควาย เมื่อกอนยังไมมีคลองชลประทาน น้ำมักจะทวม เวลาทำนาก็จะปลูกขาวพันธเจ็กเชย ขาวเหลืองนางาม ขาวขาวตาแหง ปจจุบันทำนาป นาปลัง ขาวที่ตนเตี้ยๆ ขาวคต เปนพันธขาว หนัก บานนี้เคยน้ำทวมอยูสองปตองซื้อขาวกิน เวลาทำนา ทำนาดำ พอ พ.ศ.๒๕๐๑ มีการขุดคลองชลประทานชาวนาจะทำนา หวาน อาชีพสวนใหญประกอบอาชีพทำนา อาศัยน้ำจากธรรมชาติ มีการปลูกขาวพันธุเจ็กเชย ขาวเหลืองนางาม ขาวขาวตาแหง ตอมา เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๐๐ มีการขุดคลองชลประทาน พันธุขาวที่ปลูกคือพันธุ ขาวนาปลัง เปนขาวตนเตี้ย มีการทำนามากกวาหนึ่ง ครั้ง ปจจุบันมีการทำสวนสมขนาดใหญรอบๆ หมูบาน มีการปลูกสวนปา เสนทางการคาขาวของบานหนองเมือง เมื่อมีการเก็บเกี่ยวชาวบานสวนใหญจะเก็บขาวเปลือกไวเดิมทำนาเพื่อเก็บไวกิน ตอมาทำ เพื่อการคา หากไดราคาดี86 จึงจะนำขาวออกมาขาย มีนายหนามาติดตอซื้อขาว แลวแตจะตกลงกันเรื่องการขนสง การซื้อขายแลว แตความพอใจ อาจมีนำขาวมาขายถึงตลาดทาโขลงหนาน้ำมีเรือมาซื้อขาว ใสเรือมาดบรรทุกไดครั้งละ หนึ่งถึง สองเกวียน ไปตาม คลองธรรมชาติ ในหนาแลงมีการใชเสนทางติดตอคาขายกับชาวอำเภอบานหมี่ โดยใชเกวียนมีลอลากดวยวัว สองตัวเทียม เกวียนไว ลาวแงวเรียก เกวียนวา “กระแทะ” ที่อำเภอบานหมี่โรง สีสองแหงคือ แถววัดปฐมพานิช และโรงสี บริเวณโรงเรียน บานหมี่วิทยาเปนโรงสีของคนจีน ราคาขาวผูซื้อมักจะตั้งราคาเอง หากเราพอใจ ก็ขาย ถาราคามันนอยไปก็ไมขาย การสีขาว ชาว บานหนองเมืองมักจะไปสีขาวที่โรงสีไทยดำรง มีการสีขาวและรับซื้อขาว สวนการสีขาวเปลือก ๑๐๐ ถังจะไดขาวสารประมาณ ๔๒ ถังโดยรำและปลายหักใหโรงสีไปเปนคาจาง สวนการซื้อของใชในครัวเรือน มักจะเดินทางเทาและหาบของของกลับบาน การถือครองที่ดินสมันกอน มีการหักรางถางพง หรือมีการซื้อขาย ในระยะแรกเริ่มจากที่นาราคาไรละ ๔๐๐-๕๐๐ บาท หรือขยับ เปนไรละหนึ่งพันบาท รองลงมามีการทอผาเปนอาชีพเสริม จึงแตเดิมการทอผาของลาวแงว เพียงเพื่อทอไวใชในครัวเรือน เปนผาขาวมา ผาที่ใชตัดเย็บ มิไดทอผามัดหมี่เหมือนกับชาวพวนที่บานหมี่ การสาธารณสุข สมัยกอนมีหมอยาของหมูบาน คือ นายลา ทองแผน นายอรุณ สัจจยานนท มีหมอตำแย คือแมศรีวิไล เมรุทอง

86

สัมภาษณนายราช มีเครือ

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

124


ปจจุบันมีสถานีอนามัยประจำตำบลบานหนองเมือง เดิมมีคลองธรรมชาติใชเปนที่สัญจร สวนทางบกใชกระแทะ คือ เกวียนมีลอ ลากดวยวัวสองตัว ปจจุบันมีรถประจำทางวิ่งระหวางหมูบานกับอำเภอใกลเคียง การศึกษามีโรงเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน ๓ โรงคือ โรงเรียนวัดน้ำบา โรงเรียนวัดหนองแก โรงเรียนวัดหวยกรวดโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาคือโรงเรียนวัดหนองเมือง ศาสนาและประเพณี ชาวบานนับถือศาสนาพุทธมีประเพณีตางๆที่สืบทอดกันมาจนถึงปจจุบันมี งานบุญเขาพรรษา กลางเดือน๘ บุญออกพรรษา กลาง เดือน ๑๑ มีการทำบุญตักบาตรเทโว มีการจุดพลุและปลอยโคม ไตหางประทีปสมัยกอนมีการจุดบั้งไฟ ทำบุญกลางบาน เดือน๖ เลี้ยงตาปู วันอังคารขางขึ้นเดือน ๖ งานลอยกระทง ซึ่งมีสระน้ำอยูทางทิศตะวันออกของวัด และวันสงกรานต การสัญจร เดินทางเมื่อกอนเดินกันไปถาหนาน้ำก็พายเรือกันไป เคยไปทางบานมหาสอน ไปไหวพระวัดไลยมีทางคนเดิน เหยียบ ยางตามคันนา ไปทางบางโพ บางพึ่ง ผานตลาดทาโขลง ริมแมน้ำมีโรงสี หนาน้ำมีเรือมาดมาซื้อขาว บรรทุกไดครั้งละ หนึ่งเกวียน ครึ่ง ถึงสองเกวียน การขาย ขาว ไปขายที่บานหมี่ ไปตามคลองธรรมชาติ มีโรงสีกลาง อยูสองสามโรง แถววัดปฐมพานิช ๑ หนา โรงเรียนบานหมี่วิทยา๑ เปนโรงสีของเจก ราคาขาวผูซื้อมักตั้งราคาเอง หากเราพอใจก็ขาย ถาราคานอยไปหรือถูกไปก็ไมขาย มี นายหนาของโรงสีมาซื้อมีการตกลงกันเรื่องขนถาย ระหวางผูซื้อกับผูขาย คนจีนบานหนองเมืองจะมีอาชีพหลักคือการคาขาว ระหวางบานหนองเมือง หนองมวงกรุงเทพฯ การคาขายเมื่อกอนมีเรือกระแชง ถาน้ำแหงมีทางดินใชกระแทะ คือเปนเกวียนมีลอ ลากดวยวัวสองตัว เวลาสีขาวก็ที่โรงสีไทยดำรงเขารับซื้อขาว แลวสีขาวดวย บางที่ก็สีในหมูบาน ถาขาเปลือก ๑๐๐ ถังสีแลวได ขาวสาร ๔๒ ถัง โรงสีจะไดปลายรำ เปนคาจาง ของซื้อของกินชาวบานก็จะมาซื้อที่บานหมี่ เดินหาบของกันมาก การครอบครองที่ดิน เมื่อกอนก็ซื้อ เฮาเกิดบทันตอนที่เขา ถากถางกัน ทันซื้อไรละสี่รอยถึงพันบาท ลุงราชเลาวาบานนี้ชื่อหนองเมือง เพราะวาเจาเมืองมาตายที่นี่ จึงเรียกวาบานหนองเมือง

ความเชื่อและพิธีกรรม ^๑. ศาลตาปูบานหนองเมือง มีการเลี้ยงตาปู ศาลตาปูบานหนองเมืองมี ๒ แหง ปู ยาตา 87 ยายพาเฮ็ด พาเลี้ยง โดยจะเลี้ยงในวังอังคาร ขางขึ้น เดือน ๖ มี ของเลี้ยงคือ ขนมบัวลอย ขนมตม เหลา ในวันดังกลาวจะมีคนทรงเปนตัวแทนตาปู คอยเชื่อมระหวางชาวบานกับตาปู มีการ โตตอบ ถามขอของใจโดยผานคนทรง ซึ่งทำหนาที่ทำนายอากาศ ฝนฟา การขอความคุมครอง ในปจจุบัน เวลามีการเลี้ยงตาปู มี การฝากเลี้ยงโดยเรี่ยไรเงินไปทำบุญ อีกทั้งการเรียกตาปู ก็เปลี่ยนมาเปนเจาพอ ชาวบานบอกวาตาปู ชื่อเจาพอสนั่น มาจาก เวียงจันทน ปจจุบันมีคนมารวมกิจกรรมนอย แตเดิมไมมีการฟอนรำ เพิ่งมาเพิ่ม ไมรูวานำธรรมเนียมใดมา

87

สัมภาษณนางสุนีย สอนเครือ. บานหนองเมือง.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

125


ในยามปกติมีการบะบน ตอตาปู เชนการเดินทาง ขอใหเดินทางโดยสะดวก การกลับมาถึงบานโดยปลอดภัย การเสี่ยงทายการ ทำนา การรองขอความคุมครอง หากสิ่งที่ตนไดบนไวสำเร็จหรือสมประสงค ก็มีการนำสิ่งของ เชน ไก หรือหมู ขนมตมแดง ตม ขาว เหลา ที่บนไวมาแก นำของบนใสถาด จุดธูปบอกกลาว คะเนวาธูปหมดดอก จึงนำของนั้นไวที่ศาลหรือจะนำกลับบานก็ได การแตงงาน คนลาวสมัยกอน มีการไหวผี คงจะทำกันเปนบางบาน เมื่อมีการแตงงาน 88มีการทำพาขวัญ ทำที่บานเจาสาว ตั้งพา ขวัญ มีครู /หมอครู มาตั้งมีบายศรีปากชาม และวางเงินไวดวย วางไวที่หัวนอน ตั้งไวสามคืน จุดประสงคเพื่อเปนบอกผีบานผี เรือน จากนั้น จึงนำไปไวที่สมควรนอกบาน ปจจุบันไมมีแลว มีการโกนผมไฟ การไวผมแกละ หากบานใดมี ลูกแฝด แลวลูกเลี้ยงยาก ก็จะปนตุกตาไวผมจุก ผมแกละ หรือทรงอื่นๆใหเด็ก เลือกเชื่อวาเด็กจะเลี้ยงงายและไมเจ็บปวย การไวผม จุก แกละ พอเด็กอายุ ประมาณ ๗-๘ ปจึงมีการโกนผม การโกนผมไฟ ทำ กันเองในครอบครัว ไมตองนิมนตพระมาบาน เอาคนเฒาคนแกตัดผมกอน เคยเห็นเขาสรางวัดหนองเมือง มีโบสถเกาฝาดวยไม มีเมรุ การกอสราง จางชางมาทำทั้งหมด ประเพณี มีบุญเขาพรรษา เดือน ๘ สารทลาวกลางเดือน ๑๐ ทำบุญกลางบานกลางเดือน ๖ ทำเปนกลุม ไตหางประทีป ตะกอนมีบั้งไฟจุดพลุ ปลอยโคมเวลาออก พรรษา บานนี้มีลอยกระทง ตรงสระน้ำทิศตะวันออกของวัด เฮ็ดเองลอยเอง กรรมการวัดจัดเอง วันสงกรานตก็เวลามีงานมี สอยดาว เมื่อกอนเวลาแตงงานเขามีไหวผี แตไมไดทำทุกบาน ไมรูวาเขาทำอยางไร ศาลตาปูบานหนองเมืองมี ๒ แหง เดี๋ยวนี้เวลาเลี้ยงกลางเดือน ๖ มีเจาพอสนั่น ของเลี้ยงมีขนมหวาน เปนขนมบัวลอย ขนมตม ตอนหลังมีคนทรง ทำนายอากาศ น้ำฝน ขอความคุมครอง เหลามีการฝากเลี้ยงโดยเรี่ยไรไมตองไปเลี้ยงเอง เงินไปทำบุญ เขาก็ จะไปซื้อหมู ไก ทำขนมเลี้ยงตาปู แทนเรา ที่เปลี่ยนเปนแบบนี้เพราะคนมัวยุง อยูกับการทำไรทำนา อยางเฮาเห็นเขามีฟอนรำ มี กลองยาว รอเขาทรง ทำไมเหมือนเมื่อกอน คนไปเลี้ยงตาปูนอยกวาเกา เมื่อกอนไมมีฟอน ไมมีรำเพงมาเพิ่มกันที่หลัง ไมรูวานำ ธรรมเนียมนี้มาจากไหน ศาลตาปูอยูประจำหมูบาน เพิ่นเปนเจาบานเวลาไปไหนมาไหนตองบอก ตองกลาว บางทีไปบนเรื่องการ เดินทาง การกลับมาบาน กรณีที่เดินทางไปหลายๆวัน เมื่อสมประสงคแลว มีการแกบน l พิธีกรรมเดิมแตกอน มีการไวผมแกละ ถามีลูกแฝด เลี้ยงยาก ลูกฮองไมหยุด บสบายบอย คนเฒาคนแก ก็จะทำตุกตา แลวทำ ทรง ผมจุก ผมแกละ ผมโกะ เสียงทายใหเด็กนอยจับ อยางแมใหญ (ภรรยาลุงราช เปนลูกแฝด)ก็เคยไวผมจุกมากอน ในหมูบานมีหมอตำแย หากเขาทำคลอดใหลูกออกรอดปลอดภัย บานนั้นตองมาสมมามีเงินคาครูคาย หมากพลู 89 อาชีพหลักของชาวบานเขาทำนา ทำนาดำ สวนขาวคต เปนขาวพันธุหนัก เมื่อกอนน้ำทวม ชาวนาจะปลูกขาวเจกเชย ขาวเหลืองนา งาม ขาวขาวตาแหง เลี้ยง วัว ควาย เมื่อกอนยังไมมีคลองชลประทาน เพิ่งมาขุดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑ ชาวนาจะทำนาหวาน เดี๋ยวนี้

88

สัมภาษณนางกนกวรรณ นาสิงห

89

นายราช มีเครือ อายุ ๘๗, ๑๑ เมษายน ๒๕๔๑

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

126


ชาวบานทำนาปลัง เปนขาวตนเตี้ยๆ บานนี้เคยนำทวมอยูสองป ตองซื้อขาวกิน สวนอาหาร มีขาว ปลา หมูไก คือสวนประกอบ ในการปรุงอาหาร แกงเลียง แกงสม น้ำพริก เมื่อกอนใกลๆบานหนองเมือง สามารถลาเกงกวาง มากิน90

การศึกษาเฉพาะชุมชนลาวแงวบานน้ำจั้น บานน้ำจั้นตั้งอยูบริเวณ หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี อยูทางเหนือสุดของบานหมี่ ติดกับตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค เปนหมูบานขนาดปานกลาง ตั้งอยูที่ราบลุมหางจากแมน้ำเจาพระยาประมาณ ๑๗ กิโลเมตร มี พื้นที่อาศัยอยูประมาณ ๒๐๐ ไร ปจจุบันพื้นที่โดยรอบถูกถากถางเปนไรนาแทบทั้งสิ้น มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่และหมูบานใกลเคียง ดังนี้ l

ทิศเหนือll

ติดกับบานคลอง ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค

l

ทิศตะวันออกl

ติดกับบานหนองนางาม ตำบลไผใหญ อำเภอบาน จังหวัดลพบุรี

l

ทิศใตl l

ติดกับบานลำ ตำบลโพธิ์ชัย อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

l

ทิศตะวันตกl

ติดกับ บานดงมัน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค

การเดินทางมีหลายเสนทาง ๑. หากนั่งรถยนตจากอำเภอบานหมี่ตามถนนสายคันคลองชลประทาน บานหมี่–ตาคลี ประมาณ ๒๔ กิโลเมตร แยกซายมือเขา มาผานบานจันเสน ไปอีกประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร จะถึงบานน้ำจั้น ๒. หรือเดินทางมาโดยรถไฟ สายเหนือ จากสถานีบานหมี่มาประมาณ ๑๗ กิโลเมตร มาลงที่สถานีรถไฟจันเสน และเดินทางจาก บานจันเสนไปอีกประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร ๓. หากเดินทางมาตามถนนสายเอเชีย กรุงเทพฯ- นครสวรรค แยกจากสายเอเชีย เขาตากฟามาประมาณ ๓๐๐กิโลเมตร จะเห็น ทางแยกมาบานจันเสน ประมาณ ๘ กิโลเมตร บานบานจันเสนและผานวัดจันเสนออกไปบานน้ำจั้น ๒.๕ กิโลเมตร ทางเขาหมูบานผานคลองชลประทานขนาดเล็กมีซุมประตูวัดอยูดานหนา หากตามคลองชลประทานไปทางซายมือประมาณ ๑๐๐ เมตรจะพบโรงเรียนบานน้ำจั้น ผานซุมประตูไปตามทางประมาณ ๓๐๐ เมตร จะเห็นสถานีอานามัย ศูนยทอผาของแมบานวัดน้ำ จั้น ภายในบริเวณวัดน้ำจั้นมีสิ่งกอสรางดังนี้ตอไปนี้คือ มีอุโบสถสรางเสร็จเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งสรางแทนหลังเดิมที่เปน ไมหลังคาสังกะสีติดกับโบสถมีสระน้ำเกาแก มีศาลาวัด มีหอระฆัง หอฉัน ฌาปณกิจสถานและกุฏิพระสงฆ อนุสรณสถานของ อดีตเจาอาวาสวัด ในพื้นที่ใกลเคียงกับวัด มีศาลตาปูอยูทิศตะวันออก 90

นายราชมีเครือ อายุ ๘๗ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๑

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

127


ในหมูบานมีตูโทรศัพทสาธารณะ ๒ ตู และที่รานคาหนาวัดน้ำจั้นมีบริการโทรศัพทที่สามารถประกาศเรียกทางหอกระจายเสียง ตามตัวมารับโทรศัพทได ในหมูบานมีรานคาจำนวน ๕ ราน ที่จำหนายของใชนับตั้งแตอาหารแหง อาหารสด เครื่องดื่มทุกชนิด ของใชเบ็ดเตล็ด ตลอดจนยาฆาวัชพืช ปุย น้ำมัน บานน้ำจั้นเปนที่ตั้งของตำบลไผใหญ มีที่ทำการตำบล ไผใหญ ปจจุบันมีหมูบานในเขตรับรับผิดชอบ จำนวน ๖ หมูบาน l

หมู ๑ บานหัวบึง ชาวบานสวนใหญ เปนชาวพวน

l

หมู ๒ บานไผใหญ มีชาวลาว และชาวไทยอยูบนกัน

l

หมู ๓ บานโปรง มีลาวแงวมากกวา ชาวไทย

l

หมู ๔ บานน้ำจั้น มีลาวแงวมากกวากลุมใดๆในหมูบาน

l

หมู ๕ บานหนองนางาม มีคนไทยอาศัยอยูมาก l

หมู ๖ บานหนองกวาง มีชาวไทยแถบแมน้ำเจาพระยามาอาศัยอยูมาก

ปจจุบันบานน้ำจั้นมีประชากรทั้งสิ้น ๖๔๒ คน เปนชาย ๓๒๐ คน หญิง ๓๒๒ คน มีบานเรือนจำนวน ๑๕๒ หลังคา วัด ๑ แหง โรงเรียน ๑ แหง สถานที่ของกลุมสตรีทอผาบานน้ำจั้น ๑ แหง สถานีอนามัย ๑ แหง ปจจุบันมีนายอำไพ อะโหสี เปนกำนัน

ลักษณะภูมิประเทศ บานน้ำจั้น ตั้งอยูในระหวางที่ราบลุมแมน้ำเจาพระยาและรอยตอที่ราบสูงลอนลูกคลื่น บานน้ำจั้นอยูหางบานโคกจันเสนเมือง โบราณประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของชาวบาน คือ สัตวน้ำจำพวกปลา กุง หอย สวนปาละเมาะเดิม เปนไมหนามระกำ ปจจุบันมีไมไผอยูจำนวนมาก และพวกตนมะขาม ตนมะขามเทศ บานน้ำจั้นเปนที่ดอน และชาวบานมักเรียกนาแตกตางกันไป เชน นาดอน คือนาอยูในที่ดอน นาหนองมะใน คือมีนาอยูรอบหนอง น้ำนี้ นาหนองชะโด ซึ่งแตเดิมเปนหนองน้ำใหญ มีปลาชุกชุม ทำใหคนในถิ่นอื่นมาจับปลากันที่นี่ และลำรางน้ำนี้เปนทางน้ำไหลมา สูสระหลวงที่บานคลอง จันเสนและไหลลงสูคูน้ำเมืองโบราณจันเสน มีพื้นที่เปนที่ดอน เดิมทางดานทิศใตของหมูบาน เปนปาละเมาะ ชาวบานสามารถหาอาหารปามารับประทาน มีสัตว เชน กระตาย มีเห็ด มีการนำไมมาทำเปนฟน ถาน ใชในครัวเรือน ปจจุบันสภาพปาหมดไปแลว และมีการ จับจอง และถือครองที่ดินหมดทั้ง สิ้นที่ตั้งของหมูบานเปนที่โคกเล็กนอย ลักษณะของดิน เปนดินเหนียวสีดำ มีการใชน้ำจากน้ำบาดาล คอนขางขาดแคลนในเดือน ๔-๕ ในหมูบานมีบอน้ำใหญ และเปนตาน้ำอยูแหงเดียว มีการขุดโดยแรงงานของชาวบาน แลวใชไมแสมขัดปองกันดินไมใหพัง ทลาย ทำอยูสองครั้ง ตอมาภายหลังมีการใชวงซีเมนตแทน และในป พ.ศ.๒๕๓๖ เริ่มมีการทำน้ำประปาประจำหมูบาน โดยแจก จายใหใชไดทุกครัวเรือนมีการบริหารงานในรูปของประปาหมูบาน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

128


ประวัติศาสตรของชุมชน เอกสารการตั้งวัดน้ำจั้นระบุวา บานน้ำจั้นเปนหมูบานมาตั้งแตป พ.ศ.๒๔๓๗ มีชนชาวลาว โดยเฉพาะลาวแงวอยูเปนจำนวนมาก กลุมคนที่เขามาอาศัยในบานน้ำจั้นระยะแรก คือ นายปรีชา เชื้อมุข พอแมเกิดที่บานหนองโดน อำเภอบานหมอ จังหวัดสระบุรี แลวยายไปอยูบานแคสูง ตำบลกกโก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แลวยายมาบานน้ำจั้น บรรพบุรุษเลาวา ตอนยายมาเห็นมีน้ำใส จึงตั้งชื่อบานวาบานน้ำจั้น91 สวนนางซอน สมทรง เลาวาเฒาออนบอกวาอพยพมาเพราะที่เดิมมีสงครามเวลามาก็เตรียมขาวคั่ว ขาวตอก มาอยูบานโคกเสลา ในจังหวัดสระบุรีกอน แลวถึงยายมาอยูบานน้ำจั้น ตอนนั้นมีบานเรือนอยู ๓๐ ครัวเรือน92 นางวันดี เชาวธรรม เลาวาตายายยายมาจากบานน้ำจั้น อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี สวนปูยายายมาจากบานหนองเมือง อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี ตอนยายมามีบานเรือนอยูแลวมากันหลายกลุมเขาก็เปนบานใหญ พื้นที่ตั้งหมูบานเปนที่ดอนน้ำไมทวม ที่ ตั้งบานมีบอน้ำหลวงอยูในหมูบาน จะเปนตาน้ำมีน้ำใชตลอดป เดิมที่วัดมีบอน้ำอีกแหงหนึ่งมีน้ำไหลตลอดป มีมากจนเปนสระน้ำ ขนาดใหญ มีกอบัวขึ้นมากมาย ปจจุบันไดถมไปครึ่งหนึ่ง เหลืออยูทางตะวันออกของอุโบสถ93 การสรางบานของลาวบานน้ำจั้น ถาคนมีฐานะจะเปนบานทรงไทยเชนบานพอสุด มุยแกว พออน มุยแกว (ปจจุบัน ๒ หลังนี้ไดรื้น ถอน ถวายวัดแลว) บานพอไสว นาคแยม หรือเปนทรงปนหยา ในบานหนึ่งหลังจะมีสวนประกอบ คือ หองเก็บของสำคัญที่ใช เปนที่นอนของลูกสาว (กรณีที่มีลูกสาว )เรียกวาในเฮือน (ในเรือน) ในครัว เพิง (หองกวางโลง) นอกชาน ที่ไมมีหลังคา อาจจะเปน ที่อาบน้ำของเด็กและคนแก ตอกับบันได สวนบานเรือนโดยทั่วไปจะเปนทรงประยุกต หรือรูปทรงสมัยใหม ที่เล็กกะทัดรัด คนเกาของบานน้ำจั้น ที่รูจัก คือ เฒาตุม กับแมใหญจำปา มุยแกว เฒานาค นาคแยม ชาวบานน้ำจั้นประกอบดวย คนไทย คนลาว คนจีน คนลาวอีสาน และลาวแงว คนไทยที่มาอยูบานน้ำจั้นกลุมแรกคือ กลุมบัวตั๋า กลาวคือนายบุญธรรม จำปาแดง สมัยเปนหนุมไดไปเที่ยวบานโพธิชัยซึ่งการ เดินทางสมัยนั้นลำบากมากถึงหนาน้ำ น้ำทวมจะตองไปทางเรือ หนาแลงก็เดินเทาหรือไปทางกระแทะ ไปไดเมียแลวพากลับมา อยูบานน้ำจั้น เมื่อมาเห็นทำเลดีก็กลับไปชวนญาติพี่นองมาตั้งหลักฐานที่น้ำจั้น ผูหญิงก็มาแตงงานกับผูชายลาวแงว สวนผูชายก็ แตงกับสาวแงว ลูกหลานที่มีก็พูดลาวแตก็พูดไดทั้งลาวและไทย การดำรงชีวิตก็อยูในกลุมลาว สวนนายถนอม บัวตั๋า เกิดที่บานโพธิ์ชัย มาโตที่บานน้ำจั้น และไดแตงงานกับนางจันที มุยแกว และตอมาไดเปนผูใหญบาน

91

นายปรีชา เชื้อมุข บานน้ำจั้น หมู ๔ ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

92

นางซอน สมทรง บานน้ำจั้น หมู ๔ บานน้ำจั้น ตำบลไผใหญ อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี

93

นางวันดี เชาวธรรม ๒๙๘/๑ หมู ๑ ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

129


คนจีน ชื่อ เจกจุน แซตั้ง เกิดที่เมืองจีน แตงงานกับนางสัมฤทธิ์ ชาวบานจันเสน แลวยายมาอยูบานน้ำจั้น จะตั้งบานเรือนอยู เปนกลุมของตนเองแตก็อยูที่บานน้ำจั้น ลูกก็พูดลาว เขาสังคมลาว แตก็ยังนับถือประเพณีแบบจีนอยู คนพวน นายเงิน ไปไดเมียคนพวนที่บานหมี่ แลวมาอยูที่บานน้ำจั้น เมื่อมีลูกจะสงใหลูกเรียนหนังสือ จะไมใหลูกทำนา หรือสง ลูกไปอยูบานตายายที่ บานหมี่ คนลาวอีสาน สวนมากจะเปนผูชายมาแตงงานกับสาวแงว คนอีสานจะขยันทำมาหากินเปนคนซื่อสัตยจะมีที่นามากและจะมีลูก มาก แตเมื่อมีการแบงนาใหลูกจะแบงใหเทากันจากที่มีมากก็เหลือนอย จึงดูเหมือนวามีที่ทางนอย ตระกูล เชื้อมุข ยายมาจากบานหนองโดน อำเภอบานหมอ จังหวัดสระบุรี ตระกูลมุยแกว ยายมาจากบานหนองเมือง อำเภอ บานหมี่ จังหวัดลพบุรี ตระกูลเผาหล มาจากบานน้ำจั้น อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ตระกูลนาคแยม มาจากบานดาบโกงธนู อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ตระกูลหนูแสง มาจากบานโคกเสลา จังหวัดสระบุรี ตระกูลหวางผา มาจากบานหนองโดน จังหวัด สระบุรี ตระกูลคำกอน ตระกูลจำปาแดงมาจากบานดงพลับ บานแคสูง อำเภอบานหมี่ ตระกูลอะโหสี มาจากจังหวัด มหาสารคาม ลุงมวนเปนลาวผูใหญที่มีบุคลิกนานับถือ มีนิสัยใจคอซื่อตรง มีความขยันขันแข็งมาโดยตลอด คณะของเราคิดวาคุณลุงอายุ เพียง ๖๕ - ๖๖ ป แตคุณลุงอายุถึง ๗๘ ป ยังไมมีทีทาวาจะแกงายๆ เลย พวกเราไดสัมภาษณถึงการยายถิ่นฐานของทานๆ ไดเลาใหฟงวา บรรพบุรุษของทานไดยายมาประมาณ ๙๐ - ๙๕ ปแลว เมื่อมาก็จับจองที่นากันและเมื่อมีลูกก็แบงปนใหลูกๆ กันไป ตัวคุณลุงเองเกิดในป พ.ศ. ๒๔๖๖ พออายุได ๗ ขวบ ก็ไปเปนลูกศิษยวัด ก็เรียนหนังสือไปดวย คุณลุงเรียน โรงเรียนราษฎร เรียกวาโรงเรียนสอนจาง คาบำรุงปละ ๓ บาท ผูสอนคือ อาจารยพัฒน ซึ่งบวชเปนพระ พอลุงอายุได ๑๗ ป หลวงก็มาตั้งโรงเรียน ครูใหญชื่อ เพ็ญศรี โรงเรียนในสมัยกอนก็ใชศาลาวัดเปนโรงเรียนสอนนักเรียน สำหรับลุงมวน เมื่อครั้งอยูวัดไดเปนลูกศิษยพระอาจารยสิงห ซึ่งเปนเจาอาวาสวัดน้ำจั้น ซึ่งมาจากทางภาคตะวันออกเฉียง เหนือ อายุประมาณ ๔๐ ปกวาๆ จำไมไดแนนักวากวาเทาไร ตัวลุงมวนมีหนาที่ชงน้ำชาใหเจาอาวาส คอยรับปนโตเมื่อเจา อาวาสบิณฑบาตรกลับมาตอนเชา และคอยรับใชเรื่องเล็กๆ นอยๆ เนื่องจากกลางวันตองไปโรงเรียน ลุงเรียนอยูจนจบ ป.๖ ก็หยุดเรียน สาเหตุที่พวกน้ำจั้นยากจนลงเพราะชาวบานที่มีนา ๔๐-๕๐ ไร เมื่อมีลูกมากก็แบงใหคนละเทาๆ กัน เหลือประมาณคนละ ๕-๑๐ ไร เมื่อทำนาก็ไดขาวนอย ในขณะเดียวกันชาวบานก็มีลูกหลานที่ตองสงเขาโรงเรียน เงินทองก็ตองใชมาก เมื่อมีนานอย รายไดก็ตองนอย ก็จำเปนตองไปกูเงินและกูดวยวิธีขายฝาก และเมื่อปใดนาลมหรือไมมีผลผลิตก็ตองถูกยึดที่ดินไป ยิ่งทำให ขาดรายได สภาพชีวิตก็ย่ำแยลงกวาเดิม ไดแตรับจางไปวันหนึ่งๆ ลุงมวนเลาวายิ่งปจจุบันมียาบาเขามาในหมูบาน บางบานก็คายาบาก็มีแตลุงไมกลาใหขอมูลหรือขอเสนอแนะใดๆ เพราะเกรงวา อันตรายจะมาถึงตัวทาน

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

130


วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจของบานน้ำจั้น บางคนเลาวา94 เกิดมาก็เห็นเปนบานน้ำจั้นที่นาสวนมากจะเปนของคนพวน แตคนคนพวนไดไดอาศัยอยูบานน้ำจั้น คนพวนจะ มาปลูกบานชั่วคราวเพื่อมาจับจองถากถางเมื่อไดที่ตองการแลวก็กลับไป เชนเดียวกับคนไทยแมน้ำ เชนบานหางน้ำ บานโพธิ์ชัย แตก็มีที่ลาวแงวไดจับจองที่ดินไวเอง บางคนจับจองที่ไมทันก็ขอซื้อที่นากับคนพวนและคนไทยในราคาถูก มีบางครั้งที่ขอซื้อที่นา ไวแลวผูขายยังไมมีการถากถางผูซื้อตองถากถางเอง ระบบเศรษฐกิจของบานน้ำจั้นเดิมเปนเกษตรแบบยังชีพ ทำนาเพื่อใชในครัวเรือน เมื่อมีมากเหลือใชจากครัวเรือนก็จำหนาย ให กับพอคา ทั้งที่มาซื้อดวยตนเอง หรือเปนนายหนามาติดตอซื้อขาย ตามแตราคาที่จะตกลงกัน ตามความพอใจของผูซื้อและผูขาย แตเดิมนั้นผลไม และอาหารประเภทพืชผักตองมาซื้อที่ตลาดจันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี หรือเดินทางไปซื้อที่ตลาด บานหมี่ จังหวัดลพบุรี อีกทั้งหากมีขาวของภายในครัวเรือน ก็นำมาแลกเปลี่ยนกัน บางก็แบงกันกิน เสนทางการคาขาย เชน การนำขาวใหกับโรงสี หรือการนำขาวเปลือกไปสีเปนขาวสาร ชาวบานน้ำจั้น จะนำขาสารไปสีที่โรงสีบาน บางกะเพียง โรงสีบานสานหวยแกว ซึ่งอยูอำเภอบานหมี่และโรงสีที่ตลาดจันเสน อำเภอตาคลี การดำรงชีวิตแบบดั้งเดิมไดเปลี่ยนไปเนื่องจากมีการตัดคลองชลประทานการทำนาแบบปละครั้ง เปลี่ยนเปนการทำนามากกวา ๑ ครั้งแลวแตน้ำจะอำนวยใหทำนา เมื่อ มีการเรงจำนวนผลผลิตทำใหมีการนำสารเคมี และปุยเคมี เขามา รวมถึงการนำเทคโนโลยี มาใชอยางไมคำนึงถึงผลกระทบตามตามมา อีกทั้งการใชยาเพิ่มกำลัง จนถึงสารเสพยติด การทำนาในสมัยกอนจะตองทำเมื่อถึงฤดูฝน ขณะทำนาชาวจะใชลอบ ไซไปดักปลา ตามทุงนา เพื่อนำมาเปนอาหาร ที่เหลือก็ทำ ปลารา ปลาเกลือ ตามคลองที่ใกลนา หรือใกลกับหมูบาน ก็มีการยกโตง ยกยอ ลงขาย ทอดแห ชวงที่ฝนตกใหม ชาวนาก็จะออก ไปจับกบ เพื่อนำมาเปนอาหาร หากมีมากก็จะขายกันในหมูบาน สวนตามคันนา ชาวนาก็จะปลูกถั่วฝกยาว ถั่วพู พริก ตะไคร นา แตละแปลงจะขุดสระ เพื่อ เก็บน้ำไวดื่ม ไวใช สมัยกอนยังไมมีการใชสารเคมี นอกจากนี้เปนที่อยูของปลา กอนนั้นมีการใชแรง คนเกี่ยวขาวตองเก็บน้ำไวใช รวมถึงการนำน้ำมาทำลานขาว ตามขอบสระมีการปลูกพืชยืนตน เชน มะมวง กลวย งิ้ว ขี้เหล็ก ตน แค พืชไมเลี้อย ฟกทอง แตงกวา เมื่อหมดหนา ทางชลประทานจะปลอยน้ำมา ชาวนาจะมีการบำรุงดินโดยปลูกพืชหมุนเวียน โดยการหวานงา ปลูกถั่วเหลือง หรือ ถั่วดิน(ถั่งลิสง) ลงในนาของตน เดิมชาวนาจะไมเผาฟาง มีการนำมูลสัตวไปหวานในนาดวย บานชาวนาทุกบานจะตองมีวัว ควายไวในการทำนา ขนขาว หรือนำของไปขายตางหมูบานโดยการเทียมกระแทะ มูลสัตวเรา สามารถนำมาเปนปุยได เมื่อมีเทคโนโลยีใหมๆ เชน มีรถไถนา ตอมามีรถควายเหล็ก รถตอก วัว ควายชาวนาก็ไมใช ก็มีการขาย วัว ควาย เพื่อนำเงินไปซื้อรถ บางบานก็ไมขายก็เพราะสงสารสัตว ใชงานมานานแลวสมควรที่สัตวเหลานี้จะไดพักผอนบางบางคน ก็รูถึงบุญคุณของสัตวเหลานี้ก็เลี้ยงไวสวนมากจะมีกันบานละตัวสองตัว แตก็มีบางบานที่หาซื้อวัวควายมาเลี้ยงเปนอาชีพ ซึ่งที่ บานน้ำจั้นมีนายราญเปนคนไทยแมน้ำที่อพยพมาตั้งรกรากอยูที่น้ำจั้น มีอาชีพเลี้ยงควายมาแตแรก

94

นางวันดี เชาวธรรม อายุ ๖๖ ป, ๑๐ เมษายน ๒๕๔๒

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

131


การขายขาวเปลือกของคนบานน้ำจั้น จะมีเจ็กมาหาซื้อ ชาวนาในสมัยนั้นมักจะเก็บขาวไวในยุง หากจะขายจะมีการตวงขาว โดย ใชถัง (เรียกวา สัด ซึ่งเทากับ ๑๘ ทะนาน) ผูมาซื้อจะมีกระแทะมาขนเอง ขณะตวงขาวจะมีหมายนับจำนวน คือมีการใชไมติ้ว การซื้อขาย ตามแตจะตกลงกันระหวางผูซื้อและผูขาย หากพอใจ โรงสี แตเดิมเปนของครูสด เพิ่นมาสอนอยูบานน้ำจั้น ชาวบาน จะหาบขาวมาสี ทางเดินสมัยกอนลำบาก พอมาตอนหลังครูสดขายโรงสีใหกำนันละมัย จำปาแดง การทำมาหากิน ใชจอบเสียม ยังไมมีเครื่องทุนแรงอื่น ในการทำนา ตามปา จะมีเผือก มัน หนอไม เพราะมีปาไผ พูดถึงสมัยกอน ๑. มีทำหนอไม แลวหาบไปขายที่บานหมี่ใสปบไปหรือทำเปนพวง ๆ ละ ๕ มัด เอายานางไปพรอม หาบไตหมอนรถไฟไป ๒. ขาวเปลือกก็เคยหาบไปขายตอนนั้นขายถังละ สองสลึง (ปาซอนอายุ ๑๓ ป) ขนมทอด เชน ซาละเปาทอดก็ ๖ หนวย ๕ สตางค ๓. เวาถึงโจรขโมย เวลามันมามีดาบมา ตะกอนเวลามันจะมาปลน จะปกสลากไวหนาบานนั้น เรารูก็จะเตรียมหนี โจรไมไดของ มันก็ขึ้นเฮือนเปลา ตางกับเดี๋ยวนี้ มันเอาตาย เวลาขายเอาสตางคใสไวในกระบุงเอาผักเอาหญามาปกไว บางบานเอาฝงดินไว เคยใชเหรียญ ๑๐ สตางค ๕๐ สตางค การแลกเปลี่ยนเงิน สมัยกอนจะตองเอาเงินไปขึ้นที่อำเภอ เมื่อมีลิเกขอทานมาเลนขอ ขาวสาร อาหาร ปลาแหง ลิเกแตงตัวสวย เฒาตุม สรางศาลาวัดศาลานั้นมีกลองหนัง สีออกขาวๆ เวลามีคนตาย ก็มัดตราสัง ยามเผาผี ทำกองฟอน ทำบุญคลายสมัยนี้ นอกนั้นมีการเลี้ยงไก เลี้ยงเปดเพื่อกินไข และเพื่อบริโภคเปนอาหาร ภายในครัวเรือนแตพอมีมากก็นำมาแลกเปลี่ยนกับอยาง อื่น หรือบางครั้งก็ขายเปนรายไดของครอบครัว บางคนที่มีฝมือในการจักสานก็ทำกระบุง ตะกรา กระจาด กระดง ตะแกง ลอบ ไซ เผือก ทั้งใชในครัวเรือนและขาย บางคนที่มี ฝมือในการเย็บที่นอน หมอนหก จะไปซื้อผามาจากตลาดบานหมี่สวนนุนที่ใชก็จะไปเก็บมาจากตนงิ้วที่ขึ้นตามทุงนา หรือตาม ขอบสระ นำมายัดเปนที่นอน หมอน ในระยะแรก ที่มีการปรับเปลี่ยนการทำนาจากทำเพื่อยังชีพใชในครัวเรือน ที่นากอนจะมีการถือวา ชาวบานจะทำการจับจอง หรือ จางวานถากถางไว ตอมาทางการจะมอบ สค. ๑ นส.๓ และออกโฉนดใหตามลำดับ บางตระกูลมีนามากถึง ๓๐๐ ไร ปจจุบัน การทำนาของชาวบานน้ำจั้นมีคาใชจายในการทำนามากขึ้น ทั้งคาแรง คาปุย คาน้ำมัน รวมถึงการซื้อเครื่องจักร เชนรถไถเดินตาม เครื่องวิดน้ำ ทำใหไมเงินทุนใช จึงตองมากูยืมเงินจากนายทุนในตลาดจันเสน จนบางครั้งยืมไปยืมมา จนตนทบดอก ดอกทบตน ทำใหที่นาหลุดไปอยูในมือของนายทุนชาวจีนในตลาดจันเสน ปจจุบันชาวลาวบานน้ำจั้นมีที่นาในครอบครองนอยมาก บางก็หลุด จำนอง หรือจำหนายไปในราคาที่ถูกเพราะถูกกดดันจากนายทุนไมไหว จากการสำรวจลา95 สุดมีชาวนาในบานน้ำจั้นมีผูถือครอง ที่ดิน มากกวา ๒๐ ไร ประมาณ ๒๐ ราย ปจจุบัน ป ๔๑ ชาวบานมีการทอผา (ปจจุบันผืนละ ๑๕๐ บาท) 95

สัมภาษณนายอำไพ อะโหสี กำนันตำบลไผใหญ

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

132


การสูญเสียที่ดินทำกิน ลุงมวนมีลูก ๕ คน ลูกสาว ๔ คน ลูกชาย ๑ คน รับราชการทหารเปนจาอากาศเอกอยูที่กรุงเทพสวนลูกสาวทั้ง ๔ คน แตงงานไป มีหลักฐานฐานะมั่นคงไมมีอะไรใหหวงใจ ปจจุบันลุงมวนมีที่นา ๔๐ ไร ซึ่งตั้งแตเดิมมีเพียง ๖ ไร ๒ งาน รวมทั้งภรรยาลุง ดวย นอกจากทำนา ลุงมวนก็ขายน้ำแข็งและน้ำขวดที่บาน เก็บหอมรอมริบไว พอมีเงินมากขึ้นก็ไปซื้อนาเพิ่ม เมื่อขาดเงินบางก็ ไปกูเจกสื่อกับยายเกียว คนอื่นที่มีฐานะในตลาดน้ำจั้น พวกเราสงสัยจึงถามลุงมวนวา นายทุนใหกูเงินมีคนเดียวหรือ ลุงมวน เลาวามีหลายคน แตที่ลุงไปกูเจกสื่อก็เพราะวา เจกสื่อเปนคนซื่อสัตย ไมเอาเปรียบชาวลาวหรือคนจน โดยใหกูรอยละ ๑ บาท ตอเดือน และมีการทำสัญญากันอยางถูกตองตามกฎหมายที่อำเภอ ซึ่งไมเหมือนกับคนอื่นที่ไปกูผูอื่นและบางครั้งก็กูแบบขาย ฝาก คือ กูเงินแลวเอานาไปขายฝากไว ถา ๓ ปไมมีเงินมาใหครบ นานั้นก็ตองตกเปนของนายทุน ซึ่งลุงมวนบอกวาชาวบาน น้ำจั้นปจจุบันหลายๆ บานที่ถูกยึดนาไปหมด จนตองมามีอาชีพรับจางไปวันหนึ่งๆ ซึ่งแตเดิมชาวบานน้ำจั้นจะเปนที่เลื่องลือวามี ความร่ำรวย พวกโจรชอบมาปลน เพราะจะไดเงินมาก96

สุขภาพอนามัย สุขภาพอนามัย ของชาวบานน้ำจั้น เดิมในหมูบานมี ผูทำการรักษาโรคตางๆ คือ หมองู เปนคนจีน ชาวบานเรียกวา เจกหลี แซ ตั้ง อีกคนหนึ่งชื่อนายหวั่น พุมเกตุ หมอผี เปนคนภาคอิสาน มาอยูที่บานบานน้ำจั้น ชาวบานเรียกวา หมอลำซอง ? หมอตำแย มีนางจันที ไมทราบนามสกุล และนางแอ พุมเกตุ หมอยาที่รักษาโรค โดยใชสมุนไพร คือนายเงิน ทองโท และอาจารยภัตรซึ่งอพยพมาจากภาคอีสาน ทานยังเปนปราชญของบานน้ำจั้น มีความรูเกี่ยวกับยารักษาโรค เปนมัคทายกผูนำใน การปฏิบัติธรรมและเปนผูนำการทำขาวยาคูสืบมาจนถึงทุกวันนี้ ปจจุบันทานเสียชีวิตแลว ปจจุบันที่บานน้ำจั้นมีสถานีอนามัยประจำตำบล มีเจาหนาที่สาธารณสุขมาทำการใหความรูและการรักษาโรคแกชาวบานอยางใกล ชิด กลาวโดยสรุป ลาวแงวบานหนองเมืองจะอยูในชุมชนดั้งเดิม หมูบานอยูติดตอกันเปนกลุมบานใหญ หลายหมูบาน สวนลาวแงว บานน้ำจั้นจะเปนกลุมที่อพยพโยกยายมาจากหมูบานลาวแงวเดิม แลวมารวมกับกลุมคนไทยแมน้ำ ลาวพวน คนจีน เปนหมูบาน ที่ผสมผสานคนหลายกลุม แตมีคนเชื้อสายลาวแงวมากกวากลุมอื่น สำเนียงและวิธีพูดของลาวแงวบานหนองเมืองจะชากวา ความเชื่อคอนขางซับซอนการนับถือตาปูก็เปลี่ยนมาเปนการนับถือเจาพอ เรียกชื่อวาเจาพอสนั่น

96ลุงมวน

หนูแสง, ๗๔ หมู ๔ ตำบลน้ำจั้น อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี, ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๔.

ม ู ล น ิ ธ ิ เ ล ็ ก - ป ร ะ ไ พ ว ิ ร ิ ย ะ พ ั น ธ ุ !์

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและกลุ่มชาติพันธุ์ลาวแง้ว ใ น พ ื ้ น ท ี ่ ล พ บ ุ ร ี น ค ร ส ว ร ร ค ์ แ ล ะ ส ิ ง ห ์ บ ุ ร ี

133


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.