งานนำเสนอแนวคิด cultural landscape

Page 1

ภ ูมิวฒ ั นธรรม วลัยลักษณ์ ทรงศิริ

มูลนิ ธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์


คํา ว่ า “ภู มิ ท ั ศ น์ ว ั ฒ นธรรม” [Cultural landscape] หรื อนั ก วิ ช าการบางท่ า นใช้ว ่ า “ภู มิ ว ั ฒ นธรรม” นํา มาใช้เ พื่ อศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร์ ท อ้ งถิ่ น โบราณคดี แ ละมานุ ษยวิ ท ยาในประเทศไทยอย่ า งไม่ แพร่ ห ลายนั ก เพราะทางตะวั น ตกเองก็ เ พิ่ งเริ่ ม นํา มาใช้โ ดยมี นิ ยามทางวิ ช าการอย่ า งชั ด เจนใน ราวสองทศวรรษที่ ผ่ า นมา


ยอดเขาศักดิ์สิทธิ์ประจําเมืองแพร่ “ผาช้างแดนช้างด่าน” สู งกว่ายอดเขาทัง้ ปวง และอยู ่ เหนื อพระธาตุประจําเมือง พระธาตุชอ่ แฮ ทัง้ สองสิ่งคือภูมิทศั น์อนั ศักดิ์สิทธิ์ของคนใน ท้องถิ่นเมืองแพร่


เพราะมี ก ารใช้แ นวการศึ ก ษาแบบ “ภู มิ ศ าสตร์ว ัฒ นธรรม” [Cultural geography] เพื่ อศึ ก ษาลัก ษณะภู มิ ศ าสตร์ ของพื้ นที่ ในบริ บททางวัฒ นธรรมต่ า งๆ ซึ่ งอยู ่ ใ น สาขาวิ ช าภู มิ ศ าสตร์ ม ากกว่ า


การศึกษาที่ใช้คาํ ว่า ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม หรื อ Cultural landscape ในตะวันตก สรุ ปได้วา่ เริ่ มจากนักภูมศิ าสตร์และสถาปนิ กเมื่อต้น ศตวรรษที่ ๒๐ ต่อมามีการนําแนวคิดการศึกษาทางภูมศิ าสตร์ของ สํานักยุโรปถูกนํามาใช้ใหม่โดยสํานักอเมริ กนั ในช่วงทศวรรษที่ ๑๙๕๐ คําว่า Cultural landscape มักพบว่าใช้ Landscape โดดๆ และกลาย มาเป็นคําที่กล่าวถึงการตัง้ ถิ่นฐาน การตกแต่งภายในอาคาร การ เพาะปลูก ภาพของชนบท ซึ่งสัมพันธ์กบั การวางแผนภูมทิ ศั น์ สถาปั ตยกรรม


นั ก ภู มิ ศ าสตร์ ชื่ อ ออตโต ชลู เทอร์ ได้รั บ การยอมรั บ ว่ า เป็ น คนแรกที่ ใช้คาํ ว่ า “ภู มิ ท ั ศ น์ ว ั ฒ นธรรม” Cultural landscape อย่ า งเป็ นทางการในคํา ศั พ ท์ ท างวิ ช าการทางภู มิ ศ าสตร์ เ มื่ อ ราวต้น คริ สต์ ศ ตวรรษที่ ๒๐ ชี้ ให้ เ ห็ น รู ปแบบภู มิ ท ั ศ น์ ๒ แบบ ได้แ ก่ : “ภู มิ ทั ศ น์ ธ รรมชาติ ” หรื อภู มิ ท ั ศ น์ ท่ ี มี ม าก่ อ นที่ จะถู ก เปลี่ ยนแปลงโดยมนุ ษย์ และ “ภู มิ ทั ศ น์ ว ั ฒ นธรรม” หรื อภู มิ ทั ศ น์ ท่ ี เกิ ด จากวั ฒ นธรรมของมนุ ษย์ โดยพิ จ ารณาการ เปลี่ ยนแปลงของภู มิ ท ั ศ น์ ท ั้ ง สองประเภทนี้ ที่ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ระหว่ า งกิ จ กรรมของมนุ ษย์ แ ละที่ พั ก พิ ง ธรรมชาติ แ ละในเชิ ง ของจิ ต สํา นึ ก


แ ต่ ใ น ช่ ว ง ส อ ง ส า ม ปี ที่ ผ่ า น ม า “ ภู มิ ส ถ า ปั ต ย ์ ” [Landscape architect] ก ลั บ ป ร า ก ฏ เ ป็ น ที่ นิ ย ม ใ น แ ว ด ว ง ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ด ้า น ที ่ ต ้อ ง ศึ ก ษ า ป ร ะ ว ั ต ิ ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ สภาพแวดล้อ มอั น เป็ นรู ปลั ก ษณ์ ท างกายภาพที่ จั บ ต้อ งได้ ที่ เป็ น เช่ น นี้ เ พร า ะ เ มื อง ไท ยตื่ น ตั ว ใ นกิ จ ก ร รม ก า ร ข อขึ้ น ท ะ เบี ย น เ ป็ น มรดกโลกจาก UNESCO ซึ่ งมี บ ทกํา หนดพื้ นที่ ซึ่ งมี เ อกลั ก ษณ์ เด่ น พิ เ ศษ UNESCO อธิ บายว่ า ภู มิ ทั ศ น์ ว ั ฒ นธรรม คื อพื้ นที่ ที่ ไ ด้รั บ ก า ร นิ ย า ม ไ ว้โ ด ย ก ร ร ม า ธิ ก า ร ม ร ด ก โ ล ก ว่ า เ ป็ น พื้ น ที่ เด่ น ทา งภู มิ ศา สต ร์ หรื อทรั พ ย์ สิ น ที่ เป็ นตั ว แทน ของธร รม ชา ติ และผลงานของมนุ ษย์ ท่ ี มี ล ั ก ษณะเด่ น เฉพาะ


ทศวรรษที่ ๑๙๙๐ จึ ง มี คาํ นิ ยามทางวิ ช าการที่ ชั ด เจน นั ก ประวั ติ ศ าสตร์ ท่ ี สนใจศึ ก ษาเรื่ อง วั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ าสตร์ และความสั ม พั น ธ์ ท าง สั ง คมได้ต ระหนั ก ว่ า สิ่ งเหล่ า นี้ คื อ หลั ก ฐานสํา คั ญ ในการอธิ บ ายกลุ ่ ม ทางสั ง คม ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง อํา นาจ และวั ฒ นธรรม ผ่ า นคํา อธิ บ ายความหมาย ของ “ภู มิ ท ั ศ น์ ว ั ฒ นธรรม”


กลุ ่ ม ที่ นํา มาใช้ม ากขึ้ นในเวลาต่ อ มาคื อ นั ก มานุ ษยวิ ท ยา นั ก สั ง คมวิ ท ยาและนั ก ทฤษฎี ท าง สั ง คม และปั จจุ บ ัน การใช้คาํ ว่ า Landscape หรื อ Scape ต่ า งๆ ถู กนํา ไปใช้ใ นความหมายที่ กว้า ง ขึ้ นๆ พร้ อ มๆ กับ การใช้ก ารศึ ก ษาเชิ ง พื้ นที่ แบบ นามธรรมที่ ปรั บ เปลี่ ยนมาใช้คาํ ว่ า Space และ Place ในยุ ค หลั ง สมั ย ใหม่


โดยพื้ นฐานของการศึ ก ษาลั ก ษณะนี้ คื อ การ พิ จ ารณาองค์ป ระกอบซึ่ งเป็ นเครื อข่ า ย ความสั ม พั น ธ์ อ ัน ซั บ ซ้อ นของพื้ นที่ ทางภู มิ ศ าสตร์ ท่ ี รวมเอาวั ฒ นธรรมและทรั พ ยากรธรรมชาติ ไ ว้ ด้ว ยกัน สิ่ งที่ เกิ ด ขึ้ นนั้ น ถื อ เป็ นมรดกร่ ว มของชุ ม ชน และผู ค้ นในสั ง คมจนมี ค วามสํา นึ กของพื้ นที่ หรื อ ท้อ งถิ่ น [Sense of places]


ผลจากการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ด ั ง กล่ า ว จะช่ ว ยให้ บุ คคล ชุ ม ชนจนถึ ง รั ฐ หรื อประเทศชาติ เ ข้า ใจ ตนเอง จากการศึ ก ษาทั้ ง พื้ นที่ เศรษฐกิ จ นิ เวศวิ ท ยา สั ง คม การเมื อ ง ความรู ้ สึ กนึ กคิ ด ความเชื่ อ ซึ่ งเป็ นการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง มนุ ษย์ก ับ โลกหรื อสิ่ งแวดล้อ ม มนุ ษย์ก ับ ความเชื่ อ และมนุ ษย์ก ับ มนุ ษย์ด ้ว ยกัน เอง


“ภู มิ ว ัฒ นธรรม” [Cultural landscape] ใน ทัศ นะของ อาจารย์ศ รี ศ ัก ร วัล ลิ โ ภดม ที่ ประมวลวิ ธี ก ารศึ ก ษาท้อ งถิ่ นในมุ ม มองทาง โบราณคดี แ ละมานุ ษยวิ ท ยาที่ เน้ น กระบวนการ ทางสั ง คม


โดยกล่ า วว่ า นอกเหนื อจากความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง “คน” กั บ “พื้ นที่ ” แล้ว ยัง นํา ไปสู ่ เ รื่ องของ “นิ เวศวั ฒ นธรรม” [Cultural ecology] ที่ หมายถึ ง การศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสั ง คมและ สภาพแวดล้อ มตามธรรมชาติ รู ปแบบของชี วิ ต และ ระบบนิ เวศน์ ท่ ี สนั บ สนุ นการดํา เนิ นชี วิ ต


เมื่ อสร้ า งบ้า นเมื อ งจนเกิ ด เป็ น “ท้อ งถิ่ น” อัน ประกอบด้ว ยชุ ม ชนหลายๆ ชุ ม ชนรวมกัน มี ความหลากหลายทางชาติ พ ัน ธุ ์ ภาษา ศาสนา แต่ ท างกลับ กัน ก็ มี สาํ นึ กในท้อ งถิ่ นร่ ว มกัน ไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ องกฎ กติ ก า ข้อ บัง คับ ความเชื่ อ ตํา นาน ประเพณี พิ ธี ก รรมต่ า งๆ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.