APA Reference

Page 1

วิ จั ย Research

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

วิจัยคือการแสวงหาคาตอบ ของปัญหาอย่างถูกต้อง น่าเชื่อถือ ตามหลักวิชาการ


การเขียนอ้างอิงในรูปแบบ APA Reference American Psychological Association

การเขียนอ้างอิง เป็นจรรยาบรรณของนักเขียนที่ควรมี เพื่อ เป็นการให้เกียรติและรับรู้สิทธิของเจ้าของผลงานที่ ถูกนามาอ้าง การเขี ย นอ้ า งอิ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง ตามรู ป แบบการเขี ย นตามแบบ American Psychological Association (APA) ซึ่งเป็นแบบที่ เป็ น มาตรฐานและนิ ย มใช้ กั น มากที่ สุ ด โดยก าหนดใช้ ในการท า วิทยานิพนธ์ การเขียนเอกสารวิชาการ การเขียนรายงานการวิจัย โครงงาน และเอกสารวิ ช าการอื่ น ๆ โดยได้ รวบรวมและ เรี ย บเรี ย งล าดั บเนื้อ หาออกเป็ น 2 ส่ วน ได้แก่ การอ้ า งอิ ง แบบ แทรกในเนื้อหา เฉพาะรูปแบบระบบนาม-ปี และการเขียนรายการ อ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่ม

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com


การเขียนอ้างอิงในรูปแบบ APA

American Psychological Association

การเขียนอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

1. เน้นข้อความ ข้อมูลอยู่ท้ายข้อความ รูปแบบ : (ชื่อผู้แต่ง, ปี) ตัวอย่าง ........................ (กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์, 2563) 2. เน้นผู้แต่ง ข้อมูลอยู่หน้าข้อความ รูปแบบ : ชื่อผู้แต่ง (ปี) ตั ว อย่ า ง วราณี ชั ย แสน และ นภาพร ก้ อ นมณี (2564) กล่าวไว้ว่า................................. 3. เน้นผู้แต่งและปี รูปแบบ : เขียนทั้งหมดในเนื้อความ ตั ว อย่ า ง ในปี 2565 กิ ต ติ์ ก าญจน์ ปฏิ พั น ธ์ ได้ ศึ ก ษา นวัตกรรมดิจิทัล พบว่า....................


การเขียนอ้างอิงในรูปแบบ APA

American Psychological Association

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

วศินี ศุภพมิล (2558) กล่าวว่าการทดสอบการยอมรับ (acceptance test) หรือการทดสอบระดับความ พอใจของผู้บริโภคสามารถทาได้หลายรูปแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะผู้บริโภคแต่โดยส่วนใหญ่แล้วการ จัดการรูปแบบทดสอบพร้อมกับสเกลกาหนดระดับความชอบเช่น สเกลความพอใจ (hedonic scale) สเกล รอยยิ้ม (smiley scale) สเกลพอดี (just about right scale) โดยการใช้สเกลความพอใจ (hedonic scaling) เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุดซึ่งรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า degree of liking scale การใช้สเกลแบบฮีโด นิกนั้น จะอยู่บ นหลักการที่ว่ า ความชอบของผู้ บริ โภคนั้ น สามารถถูก จั ด จ าแนกได้ โดยค่ าของการตอบสนอง (ความชอบและไม่ชอบ) ทีเ่ กิดขึ้นสามารถใช้สเกลแบบฮีโดนิก 9 จุด (9 –point hedonic scales) ได้ง่ายมากและ การแปลผลก็กระทา ได้ง่ายได้รับการยอมรับ ในการประเมินอาหารเครื่องดื่มและผลิตภณั ฑ์อื่นๆ ที่ไม่ใช่อาหาร อย่างแพร่หลาย สเกลแบบฮีโดนิกมีสเกลทั้งแบบตัวเลข(numerical hedonic scale) และแบบตัวหนังสือ (verbal hedonic scale) ซึ่งมีหลายระดับ เช่น 3 จุด 5 จุด 7 จุด และ 9 จุด ในขณะที่ ธงชัย สุวรรณสิชณน์ (2555) กล่าวไว้ว่าการทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์ประกอบไปด้วยขั้นตอนการพัฒนาความรู้สึกของมนุษย์ วิธีการทดสอบการยอมรับหรือการทดสอบผู้บริโภคการประยุกต์ใช้การทดสอบการยอมรับ และลักษณะของผู้ ทดสอบสาหรับการทดสอบการยอมรับ สอดคล้องกับ อัมพร แซ่เอียว (2563) ที่กล่าวไว้ว่าการทดสอบการยอมรับ......


การเขียนอ้างอิงในรูปแบบ APA

American Psychological Association

การเขียนอ้างอิงแบบไว้ท้ายเอกสาร

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

การเขียนชื่อผู้แต่ง ไม่ ต้ อ งลงค าน าหน้ า นามต าแหน่ ง ทางวิ ช าการ คาเรียกทางวิชาชีพ วุฒิการศึกษาและตาแหน่งยศต่าง ๆ (ยกเว้น มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์) ผู้เขียน 1 คน ผู้แต่ง1./

ผู้เขียน 3 คน ผู้แต่ง1,/ผู้แต่ง2,/และผู้แต่ง3.//(ปีพิมพ์).//ชื่อเรื่อง//(พิมพ์ครั้งที่).//สถานที่

ผู้เขียนมากกว่า 7 คน ผู้แต่ง1,/ผู้แต่ง2,/ผู้แต่ง3,/ผู้แต่ง4,/ผู้แต่ง5,/ผู้แต่ง6,...ผู้แต่งคนสุดท้าย.


การเขียนอ้างอิงในรูปแบบ APA

American Psychological Association

การเขียนอ้างอิงแบบไว้ท้ายเอกสาร 1. หนังสือ กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

ผู้แต่ง 1.//(ปีพิมพ์).//ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่).//สถานที่พิมพ์:/ สานักพิมพ์.

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2564). นวัตกรรมดิจิทัล. ขอนแก่น: สานักพิมพ์คลังนานาวิทยา. นภาพร ก้อนมณี และ วราณี ชัยแสน. (2563). คุกกี้แมงสะดิ้ง. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.


การเขียนอ้างอิงในรูปแบบ APA

American Psychological Association

การเขียนอ้างอิงแบบไว้ท้ายเอกสาร 2. อินเทอร์เน็ต กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

ผู้แต่ง.//(ปี).//ชื่อเอกสาร.//สืบค้นจาก หรือ Retrieved from http://www.xxxxxx.xxx กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2564). นวัตกรรมดิจิทัล. สืบค้นจาก http://www.konsangsan.com/DigitalInnovation.pdf

นภาพร ก้อนมณี และจีรภา หิรัญภิงคา. (2564). สะดิ้งเช็ค. สืบค้นจาก http://www.thaiinvention.net/detail.php?p=cHJvam VjdF9pZD01NzAyNyZjZmdfaWQ9MzUmY29tcGV0X2lkPTE=


ตัวอย่างการเขียนอ้างอิง

การเขียนอ้างอิงในรูปแบบ APA

American Psychological Association

การทดสอบการยอมรับ กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

วศินี ศุภพมิล (2558) กล่าวว่าการทดสอบการยอมรับ (acceptance test) หรือการทดสอบระดับความ พอใจของผู้บริโภคสามารถทาได้หลายรูปแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะผู้บริโภคแต่โดยส่วนใหญ่แล้วการ จัดการรูปแบบทดสอบพร้อมกับสเกลกาหนดระดับความชอบเช่น สเกลความพอใจ (hedonic scale) สเกล รอยยิ้ม (smiley scale) สเกลพอดี (just about right scale) โดยการใช้สเกลความพอใจ (hedonic scaling) เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุดซึ่งรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า degree of liking scale การใช้สเกลแบบฮีโด นิกนั้น จะอยู่บ นหลักการที่ว่ า ความชอบของผู้ บริ โภคนั้ น สามารถถูก จั ด จ าแนกได้ โดยค่ าของการตอบสนอง (ความชอบและไม่ชอบ) ทีเ่ กิดขึ้นสามารถใช้สเกลแบบฮีโดนิก 9 จุด (9 –point hedonic scales) ได้ง่ายมากและ การแปลผลก็กระทา ได้ง่ายได้รับการยอมรับ ในการประเมินอาหารเครื่องดื่มและผลิตภณั ฑ์อื่นๆ ที่ไม่ใช่อาหาร อย่างแพร่หลาย สเกลแบบฮีโดนิกมีสเกลทั้งแบบตัวเลข(numerical hedonic scale) และแบบตัวหนังสือ (verbal hedonic scale) ซึ่งมีหลายระดับ เช่น 3 จุด 5 จุด 7 จุด และ 9 จุด ในขณะที่ ธงชัย สุวรรณสิชณน์ (2555) กล่าวไว้ว่าการทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์ประกอบไปด้วยขั้นตอนการพัฒนาความรู้สึกของมนุษย์ วิธีการทดสอบการยอมรับหรือการทดสอบผู้บริโภคการประยุกต์ใช้การทดสอบการยอมรับ และลักษณะของผู้ ทดสอบสาหรับการทดสอบการยอมรับ สอดคล้องกับ อัมพร แซ่เอียว (2563) ที่กล่าวไว้ว่าการทดสอบการยอมรับ......

การเขียนอ้างอิงท้ายเอกสาร วศินี ศุภพมิล. (2558). การทดสอบการยอมรับ. สืบค้นจาก http://cmuir.cmu.ac.th/bitstream/6653943832/39664/3/FULL.pdf ธงชัย สุวรรณสิชณน์. 2555. เทคนิคการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสและการวิเคราะห์. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.


การทาวิจัยอย่างง่าย

Easy Research

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ www.konsangsan.com

Unit 5 สรุปและอภิปรายผล

Unit 1 สภาพปัญหา/วัตถุประสงค์

Unit 2

ความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ในการวิจัย

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

สภาพปัญหา/ ความสาคัญของปัญหา

เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง Review ให้ตรงกับ หัวข้อที่ศึกษา

Unit 4 ผลการวิจัย/ผลการทดลอง

Unit 3 วิธีดาเนินการวิจัย/ทดลอง ขั้นตอนวิธีดาเนินการวิจัย หรือการทดลอง มีกระบวนการที่น่าเชื่อถือ ตรงกับวัตถุประสงค์

ผลการวิจัยหรือ ผลการทดลอง ตอบวัตถุประสงค์ อย่างครบถ้วน สมบูรณ์

สรุป อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ การอภิปรายผลควรจะ เชื่อมโยงกับบทที่ 2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.