ก้าวใหม่ของห้องสมุด

Page 1

การประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2554 และประชุมวิชาการเรือ่ ง “ก้าวใหม่ของห้องสมุด” วันที่ 28-30 มีนาคม 2555 ณ โรงแรมอะเดรียติด พาเลซ

สรุปและเรียบเรียงโดย นางสาวอภิรดี เกล็ดมณี


การประชุมวิชาการเรื่อง “ก้าวใหม่ของห้องสมุด” (Libraries on the Move) มี วัตถุประสงค์ 4 ประการ ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เข้าประชุมทราบถึงพัฒนาการใหม่ ๆ ที่เกี่ยวกับห้องสมุด 2. เพื่อให้ผู้เข้าประชุมทราบถึงบทบาทของตนต่อพัฒนาการใหม่ ห้องสมุด 3. เพื่อให้ผู้เข้าประชุมเตรียมความพร้อมต่อพัฒนาการใหม่ ๆ ของห้องสมุด 4. เพื่อให้ผู้เข้าประชุมนาพัฒนาการใหม่ ๆ ไปใช้ในการพัฒนาและปรับปรุง งานห้องสมุดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้รับบริการและประเทศชาติ การประชุมมีประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจโดยสรุปมาดังนี้ 1. การบรรยายเรื่อง บทบาทของบรรณารักษ์และห้องสมุดในการพัฒนาคน สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) โดย นายจิระพันธ์ กัลลประวิทย์ (ผู้อานวยการส านัก ยุท ธศาสตร์แ ละการวางแผนพัฒ นาทางสังคม ส านัก งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ) ประเด็ น ส าคั ญ 5 ประการได้ แ ก่ คื อ 1. สถานการณ์ ด้ า นการพั ฒ นาคน 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3.ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 4. การแปลงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สู่ การปฏิบัติ 5. บรรณารักษ์และห้องสมุดในการพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นสุดท้ายเรือ่ ง “บรรณารักษ์และห้องสมุดในการพัฒนา คนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ” บรรณารักษ์และห้องสมุดเป็นกลไกสาคัญในการ ขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯไปสู่การปฏิบัติ และมีส่วนสาคัญในการพัฒนาคนสู่การการ เรี ย นรู้ ซึ่งบรรณารัก ษ์ ต้องเป็ น นัก จั ด การ เป็ นต้ น ว่า การสรรหากิ จกรรม ส่ งเสริ ม การอ่า น หรอืก ระตุ้ น ให้นั ก ศึ ก ษาและประชาคมเกิ ด การแลกเปลี่ ย น เรียนรู้ สามารถบูรณาการข้อมูลและปรับห้องสมุดให้มีรูปแบบที่เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมได้ นอกจากนั้นบรรณารักษ์จอ้งเป็นผู้เชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูล ห้องสมุดในทุกระดับ/ประเภท เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้บริการ


2. การบรรยายเรือ่ ง กรุงเทพมหานคร “เมืองหนังสือโลก ปี 2556” (World Book Capital 2013) โดย นายสมศักดิ์ จันทรวัฒนา (อดีตผูอ้ านวยการสานัก วัฒนธรรม กีฬา และการท่องเทีย่ ว กรุงเทพมหานคร) กรุ ง เทพมหานครและภาคกี ก ารส่ ง เสริ ม การอ่ า นมี เ จตนารมร์ ที่ จ ะสร้ า ง วัฒนธรรมการอ่านอย่างยั่งยืนของคนกรุงเทพมหานคร โดยร่วมมือกันผลักดัน ให้เกิดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อให้กรุงเทพมหานครเป็น “มหานครแห่งการ อ่าน” และเสนอชื่อเข้าแข่งขันเป็นเมืองหนังสือโลกในหี 2556 และได้รับคัดเลือก เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2554 ให้เป็นเมืองลาดับที่ 13 ที่ได้รับคัดเลือกเป็นเมือง หนังสือโลกปี 2556 ด้วยเหตุผลที่ว่า “กรุงเทพมหานคร มีความสุ่งมั่นที่จะนาผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในวงการหนังสือทุกส่วนรวมถึงภาคส่วนอื่น ๆ เข้ามาร่วมมือกัน พัฒนาการอ่าน โดยได้นาเสนอแผนโครงการที่มีความหลากหลาย มุ่งเน้นชุมชน และแสดงออกถึงการมีพันธะสัญญาในระดับสูงที่จะสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ พัฒนาการอ่านและหนังสืออย่างจริงจัง” 3. การอภิปรายเรือ่ ง แนวปฏิบตั ท ิ ี่ดใี นการจัดกิจกรรมและส่งเสริมการอ่านเชิงรุก โดย ดร. ถนอมวงศ์ ล้ายอดมรรคผล (อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) และ นายวรพันธ์ โลกิตสถาพร (นายกสมาคมผูจ้ ดั พิมพ์และผูจ้ าหน่ายหนังสือ แห่งประเทศไทย และกรรมการผูจ้ ัดการบริษท ั สถาพรบุค๊ ส์ จากัด ) การอ่านเป็นกิจกรรมที่ได้รับความสนใจน้อยลง เพราะมีการเบียดบังเวลาจาก กิจกรรมอื่น ๆ เช่นการเล่นอินเทอร์เน็ต การคุยโทรศัพท์ การดูโทรทัศน์ แต่ การอ่านเป็นอักวัฒนธรรมหนึง่ ที่สาคัญที่เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ได้เป็นอย่าง ดี โรงเรียนต้องเร่งดาเนินกิจกรรมเพืส่ ่งเสริมการอ่าน และปลูกฝังนิสัยรักการ อ่านให้แก่นักเรียนตั้งแต่ยังเยาว์วัย โดยมีการยกตัวอย่างกิจกรรมเพือ่ ส่งเริมการ มีส่วนร่วมเช่น การแสดงบทบาทสมมติจากนิทานต่าง ๆ การอ่านเล่าเรือ่ ง การเล่า นิทาน การวาดภาพจากวรรณดีหรือนิทานที่รปะทับใจ เป็นต้น นอกจากนั้นยัง ต่องมีวิถป ี ฏิบัติเพื่อส่งเสริมการอ่าน ได้แก่ สร้างสภาพแวดล้อมการอ่านที่ดี จัดทา โครงการส่งเสริมการอ่านตลอดชีวิต สาหรับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มอย่าง หลากหลาย สร้างกิจกรรมด้านการอ่าน โดยใช้ประโยชน์จากช่องทางการสื่อสาร ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีที่โจมตีวัฒนธรรมการอ่านอย่งรวดเร็วและ รุนแรงได้แก่ E-reader ทั้งหลาย เช่น iPad จะทาอย่างไรที่จะใช้ประโยชน์จาก ความทันสมัยแหล่านี้ดงึ วัฒนธรรมการอ่านกลับมา


4. การเตรียมบรรณารักษ์และห้องสมุดเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย ดร. สมเกียรติ อ่อนวิมล (ผู้อานวยการสถานีโทรทัศน์ Money Channel ของ Family Know-How Co. Ltd. และประธานกรรมการบริหารบริษท ั ไทยวิทศั น์ จากัด ) อาเซียนเป็นเรื่องที่มีความสาคัญสาหรับประเทศและพลเมืองไทย เพราเป็ฯ ความสาคัญในการดาเนินชีวิตของทุกคนทั้งในปัจจุบันและอนาคต หากเราไม่มี ความพร้อมจะอยู่ในสภาวะผู้ตามที่ไม่มีขีดความสามารถในการแข่งขันกับอีก 9 ประเทศในอาเซียน และในปี 2558 หรือในปี 2015 จะเป็นปีที่เกิดกระชาคมอาเซียน 3 ประชาคม เรียกรวมกันว่า “ประชาคมอาเซียน” ประเทศไทยไม่มีทางเลือก นอกจากจะต้องยอมรับและเร่งพัฒนาศักยภาพในด้านที่ขาด ทั้งด้านเศรษฐกิจ ภาษา วัฒนธรรม รวมทั้งการเมืองและความมั่นคงในประเทศ เพื่อให้เป็นผู้นาใน ภาคภูมิภาคอาเซียนหรืออย่างน้อยมีความทัดเทียมได้อย่างภาคภูมิ

5. การบรรยายเรือ่ ง การใช้งานลิขสิทธิส์ าหรับบรรณารักษ์หอ้ งสมุด โดย นางสาว เขมะศิริ นิชชากร (หัวหน้าส่วนส่งเสริมงานลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา) กฏหมายลิขสิทธิ์เป็นสิง่ สนับสนุนการสร้างสรรค์องค์ความรู้และศิลปะวิทยาการ หลากหลาย ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศและงานลิขสิทธิ์ที่เป็น ประโยชน์ ตอบแทนการลงแรงปัญญา เวลา และทุนแก่ผู้สร้างสรรค์ ลักษณะสิ่งที่เป็นงานลิขสิทธิ์ เช่น หนังสือ ตารา บทความ และงานวิชาการอื่นๆ นิยาย เรื่องสั้น งานเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพประกอบ แผนที่ โครงสร้างหรือรูปทรงสามมิติ ทานอง เนื้อร้องของเพลง สิ่งบันทึกเสียง โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ เป็นต้น


ส่วนลักษณะของสิ่งที่ไม่ใช่ “งานลิขสิทธิ์” เช่น ความติด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ หลักการ ทฤษฎี แนวความคิด การค้นพบ ข่าว คาพิพากษา คาแปล เป็นต้น การละเมิดลิขสิทธิ์มรหลากหลายรูปแบบซึง่ บางครั้งเป็นสิง่ ที่ไม่คาดคิดหรอืไม่ทราบ ว่าการกระทานั้นเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น 1. การใช้ลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รบ ั อนุญาต : ทาซ้า - รวมบทความจากแหล่งต่าง ๆ เป็นเล่มเดียว - คัดลอกข้อความจากบทสรุปของงานวิจัยซึ่งเป็น สาระสาคัญมาเป็นส่วน หนึ่งในผลงานวิจัยของตน - ถ่ายเอกสารจานวนมากแจกจ่ายในชั้นเรียน - Copy แผ่นเกมส์โดยไม่ได้อนุญาต - ฯลฯ 2. การใช้ลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาต : ดัดแปลง - แปลหนังสือเพื่อจัดพิมพ์เผยแพร่ - รวบรวมเรียบเรียงผลงานของนักเขียนดัง - แจกจ่ายหรือขายสาเนาเอกสารที่ทาขึ้นโดยละเมิด - อัพโหลดข้อมูลงานไว้บนเว็บไซต์ - ฉายภาพยนตร์สารคดีความรู้ในห้องสมุด - ให้เช่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิ่งบันทึกเสียง - ฯลฯ

ที่มา การประชุมใหญ่สามัญประจาปี ๒๕๕๔ และประชามวิชาการเรื่อง “ก้าวใหม่ของ ห้องสมุด” (Libraries on the Move) วันที่ 28-30 มีนาคม 2555 ณ โรงแรมอะเดรียติด พาเลซ กรุงเทพมหานคร.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.