การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 26

Page 1

“การประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร เรื่อง การดาเนิน กิจกรรมบนระบบเครือข่ ายสารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา ครัง้ ที่ 26” WUNCA 26th มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

อภิรดี เกล็ดมณี นักบรรณสารสนเทศ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี


เมื่อวันที่ 22-25 มกราคม 2556 มีโอกาสได้ เข้ าร่ วมสัมมนาในงาน “การประชุมเชิง ปฏิ บัติ ก าร เรื่ อ ง การด าเนิ น กิ จ กรรมบนระบบเครื อ ข่ า ยสารสนเทศเพื่ อ พัฒ นา การศึกษา ครัง้ ที่ 26" (WUNCA 26th) ซึ่งจัดขึ ้น ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตเฉลิมพระเกี ยรติ จังหวัด สกลนคร เพื่ อประชาสัมพันธ์ ระบบห้ องสมุด อัตโนมัติ KMUTT-LM และยังได้ ร่วมฟั งการบรรยายหลายเรื่ องซึ่งเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ของห้ องสมุดค่ะ ก่อนอื่นคงต้ องขอเล่าประวัติคร่ าวๆ ของโครงการนี ้ก่อนว่าคืออะไร เป็ นมาอย่างไรค่ะ ประวัตคิ วามเป็ นมาของ WUNCA ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้ ด าเนิ น กการโครงการเครื อ ข่ า ย สารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (Inter-university Network : Uninet) โดยเป็ นการ เชื่อมโยงเครื อข่ายความเร็ วสูงระหว่างมหาวิทยาลัย /สถาบันและสถาบันการศึกษา ต่างๆภายในประเทศเพื่อเป็ นการกระจายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ภมู ิภาคและชุมชน เป็ นการแบ่งปั นทรัพยากรทางการศึกษาร่ วมกันและได้ ดาเนินกิจกรรมทางการศึกษา ทั ้งทางด้ านการเรี ยนการสอนและการวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง กับเทคโนโลยีสารสนเทศร่ วมกัน ระหว่างมหาวิทยาลัย /สถาบันการศึกษาต่างๆ รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่าง สมาชิกที่เชื่อมต่ออยู่บนเครื อข่ายดังกล่าวการประชุมเชิงปฏิบตั ิการ ด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศของสมาชิ ก เครื อ ข่ า ยสารสนเทศเพื่ อ การพัฒ นาการศึ ก ษาเป็ นการ แลกเปลี่ยนข้ อมูลประสบการณในการดูแลระบบและบริ หารจัดการเคลือข่ายที่จะต้ อง ใช้ งานร่ วมกัน ซึ่งนอกจากการได้ แลกเปลี่ยนเทคโนโลยีเครื อข่ายใหม่ๆ รวมทัง้ การ รวมกลุ่มกับเพื่อนสมาชิกเพื่อทาการศึกษาและวิจัยและการประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศในการสนับสนุนการศึกษาและยังเป็ นการพัฒนาศักยภาพ


ดังนัน้ เพื่ อ การพัฒ นาศัก ยภาพของบุค ลาการที่ เ ป็ นสมาชิ ก ในเครื อ ข่ ายฯ ให้ มี ประสิทธิ ภาพและเกิดประโยชน์ สูงสุด สานักงานบริ หารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ พัฒ นาการศึก ษาร่ ว มกับ สถานบริ ก ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศ มหาวิ ท ยาลัย และ สถาบันการศึกษาต่างๆ ที่เป็ นสมาชิกของเครื อข่าย UniNet จึงเห็นสมควรจัดให้ มีการ ด าเนิ น การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บัติ ก ารเรื่ อ ง "การด าเนิ น กิ จ กรรมบนระบบเครื อ ข่ า ย สารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาหรื อที่ร้ ูจกั กันในนามงาน WUNCA" ซึ่งจะจัดขึ ้นเป็ น ประจาปี ละสองครั ง้ เป็ นประจาทุก ปี (สานักงานบริ หารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ อ พัฒนาการศึกษา, 2556) ตลอด 3 วันของงานมีกิจกรรมการสัมมนาและ Workshop หลายเรื่ องที่น่าสนใจ เลยขออนุญาตนาบางเรื่ องมาเล่าสูก่ นั ฟั งค่ะ

การจัดการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนสู่ประชาคมอาเซียน : พิธีเปิ ด การประชุ ม โดย รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล (ผู้ ตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ ) ในช่วงแรกของการบรรยายท่านได้ พดู ถึงประวัติและกรอบแนวคิดการเริ่มต้ นของ ประเทศต่างๆ ในอาเซียน ต่อมาจึงยังมายังประเด็นที่สาคัญคือ “ปั จจัยที่กระทบต่อ การศึกษาไทย” ซึง่ แบ่งเป็ น 2 ปั จจัยหลักคือปั จจัยภายใน และปั จจัยภายนอก ปั จจัยภายใน : การขยายตัว และการแข่งขัน ปั จจัยภายในทั ้งสองตัวนั ้นมีความน่าสนใจเนื่องจากหากสังเกตสถิติของการ ขยายตัวของประชากรเริ่ มลดลงประชากรในวัยเด็กหรื อวัยเรี ยนนั ้นในปี 2549 คิด เป็ นร้ อยละ 24.65 แต่เมื่อคาดการ์ ณไปถึงปี 2563 เหลือเพียงร้ อยละ 17.95 และ สถิติการเพิ่มจานวนของประชากรในวัยสูงอายุเพิ่มขึ ้นจนน่าตกใจ ดังนั ้นการลดลง ของประชากรในวัยเด็ก ทาอย่างไรจึงจะท าให้ ประชากรมีคุณ ภาพเพื่อ เข้ าสู่การ แข่งขันกับสมาชิกในประเทศอาเซียนด้ วย



ปั จจัยภายนอก : การเชื่อมโยงของภูมภิ าค และแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลง ปั จจัยภายนอกด้ านการเชื่อมโยงของภูมิภาคนั ้นยังมีประเด็นย่อยแตกออกไป อีก 2ประเด็นคือ การเปิ ดการค้ าเสรี และ การบูรณาการเป็ นประชาคมอาเซียน ซึ่ง ส่งผลกระทบในด้ านอาชีพและที่อยู่อาศัยในอนาคตเช่นกัน ตัวอย่างเช่น การเปิ ดเสรี การค้ าบริ การด้ านการศึกษา อาจมีหลักสูตรออนไลน์ ที่เกิดขึ ้นมากมาย ปั ญหาที่ ตามมาคือการไม่ยอมรับวิทยะฐานะของหลักสูตรทางไกลเหล่านั ้นและเป็ นอุปสรรค ในการสมัครเข้ าทางานตามหน่วยงานหรื อสถาบันต่าง ๆ เป็ นต้ น



แนวโน้ มและทิศทางเทคโนโลยีเครื อข่ าย 2013 : การบรรยายพิเศษ โดย รศ. สุ ร ศั ก ดิ์ ส ง ว น พ ง ษ์ ร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ฝ่ า ย เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การบรรยายนี ้กล่าวถึงเทคโนโลยีหลายตัวคาดว่าเป็ นที่นิยมในปี 2013 นี ้ ได้ แก่


Cloud Computing ประเด็นนี ้มีการพูดถึงกันมาประมาณ 2ปี และยังคงเป็ นสิ่ง ที่ ทุ ก คนให้ ความสนใจเนื่ อ งจากผู้ ใช้ สารถระบุ ค วามต้ องการไปยั ง ระบบปฏิบตั ิการ (Software) ของ ระบบCloud Computing หลังจากนั ้นระบบ จะจัดบริการให้ ตรงกับความต้ องการที่ผ้ ใู ช้ ระบุมาโดยที่ผ้ ใู ช้ ไม่จาเป็ นต้ องทราบ ว่าการประมวลผลเบื ้องหลังเป็ นอย่างไรบ้ าง BIG Dtata คือชุดข้ อ มูลที่ มีขนาดเกินกว่าความสามารถของเครื่ องมือ ซอฟต์แวร์ ฐานข้ อมูลทัว่ ไปที่จบั ภาพ, จัดเก็บ, จัดการและวิเคราะห์ได้ จึงต้ องหา ระบบหรื อแอพลิเคชั่นเพื่อจัดการข้ อมูลที่มีอยู่มหาศาลได้ ซึ่งเป็ นโอกาสทาง ธุรกิจที่จะสร้ างมูลค่าอย่างมหาศาล


SDN/OpenFlow เป็ นช่องทางใหม่ที่จะเชื่อมเน็ตเวิร์กกับแอพลิเคชัน่ เข้ าด้ วยกัน เพื่อจะสามารถควบคุมโปรแกรมได้ ทัง้ เน็ตเวิร์กให้ ได้ ตามความต้ องการของ ผู้ใช้ งาน ระบบการสื่อสารที่มีการเชื่ อมต่อเป็ นครั ง้ คราวจะหมดไป เป็ นการ เชื่อมต่อตลอดเวลาแทน IPv6 หรื อ (Internet Protocol version 6) เป็ นการปรับปรุงความยาวของ IP address จาก 32 เป็ น 128 เพื่ อรองรั บการขยายตัว ของอินเทอร์ เน็ต และ ป้องกันการขาดแคลนของตาแหน่งเครื อข่าย 100G Ethernet เป็ นอุปกรณ์เพื่อความเร็ วเพื่อรองรับการขยายตัวของแบนด์ วิช ที่ให้ ความเร็วได้ ถึง 100Gbps


ระบบห้ องสมุดจินดามณี โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระบบห้ องสมุดจินดามณีเป็ นระบบห้ องสมุดแบบเปิ ดเผยรหัสของไทย ที่พัฒนา ต่อยอดมาจากระบบ Koha ซึ่งเป็ นซอฟต์แวร์ ห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิ ดเผยรหัส ระบบแรกของโลก พัฒนาขึน้ โดยกลุ่มนักคอมพิวเตอร์ และบรรณารักษ์ จากหลาย ประเทศทั่วโลก จุดเด่นที่น่าสนใจของ Koha คือมีฟังก์ ชั่นการทางานโมดูลต่างๆ เทียบเท่ากับระบบห้ องสมุดอัตโนมัติเชิงพาณิชย์ สามารถปรับแต่งระบบและพัฒนา ฟั ง ก์ ชั่น การท างานเพิ่ ม เติ ม ให้ สอดคล้ อ งกับ ความต้ อ งการของแต่ ล ะห้ อ งสมุด นอกจากนีย้ ังสามารถรองรั บการทางานของห้ องสมุดที่มีขนาดเล็กจนถึงห้ องสมุด ขนาดใหญ่ได้ Koha จึงเป็ นทางเลือกที่เหมาะสมสาหรับห้ องสมุดที่ต้องการประหยัด งบประมาณในการจัดซื ้อระบบและต้ องการพึง่ พาตนเองทางเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลัย เกษตรศาสตร์ โดยศู น ย์ ค วามรู้ ด้ านการเกษตร (Agriculture Knowledge Centre) สานักหอสมุด และ หน่วยปฏิบตั ิการวิจยั เชี่ยวชาญเฉพาะการ ประมวลผลภาษาธรรมชาติ แ ละเทคโนโลยี สารสนเทศอัจ ฉริ ย ะ (NAiST-Lab) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ ร่วมกันศึกษาและทดสอบ ประยุกต์ ซอฟต์ แวร์ ห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิ ดเผยรหัส Koha เวอร์ ชั่นที่ 2 เพื่ อ น าไปใช้ ส าหรั บ การบริ ห ารจัด การงานของห้ อ งสมุด ศูน ย์ ค วามรู้ ด้ า นการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั ้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็ นต้ นมา จนสามารถพัฒนาต่อ ยอดเป็ นระบบ “จินดามณี ” เพื่อใช้ เป็ นระบบห้ องสมุดเปิ ดเผยรหัสต้ นแบบสาหรับ ห้ องสมุดในประเทศไทย ระบบจินดามณีได้ รับการแก้ ปัญหาข้ อบกพร่ องและพัฒนา ให้ สามารถใช้ งานกับภาษาไทย โดยได้ รับทุนสนับสนุนการวิจยั จากสถาบันวิจยั และ พัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


จากการใช้ ง านระบบจิ น ดามณี เพื่ อ บริ ห ารจัด การและให้ บ ริ ก ารทรั พ ยากร สารสนเทศของห้ องสมุด ศูน ย์ ค วามรู้ ด้ านการเกษตร พบว่ า ระบบห้ องสมุด มี ประสิท ธิ ภาพและสามารถใช้ งานได้ จ ริ ง ดังนัน้ ในปี พ.ศ. 2553 ส านัก หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ เริ่ มโครงการห้ องสมุดจินดามณี เพื่อการพึ่งพา ตนเองทางเทคโนโลยี โดยมีวตั ถุประสงค์ที่จะขยายผลการศึกษาและพัฒนาต่อยอด ระบบ Koha เวอร์ ชนั่ 3 เพื่อนามาใช้ ในการบริ หารจัดการและให้ บริ การทรัพยากร สารสนเทศ ประเภทหนังสือทัว่ ไปไม่เน้ นวิชาการ ในห้ อง Eco library และมีแผนงาน ศึกษาพัฒนาระบบจินดามณี ให้ เป็ นระบบสารองของระบบห้ องสมุดเชิงพาณิชย์ที่ ใช้ อยู่ในปั จจุบนั เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการใช้ งานเป็ นระบบทดแทนได้ ในอนาคต (สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2555)


ระบบห้ องสมุดจินดามณี รองรับการทางานของห้ องสมุดขนาดเล็กและขนาด ใหญ่ได้ จัดเก็บข้ อมูลโดยใช้ รูปแบบ MARC21 และ UNIMARC สถานะใน ปั จ จุบันมีระเบีย นบรรณานุก รม 13,988 Bib จ านวนตัวเล่ม 18,217 item สมาชิกในระบบจานวน 90,153 คน มีจานวนการยืม 24,286 รายการ (ข้ อมูล เ ดื อ น พ .ย . 2 5 5 5 ) ส า มา ร ถ ศึ ก ษา ข้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ มได้ จ า ก เ ว็ บไซ ต์ http://jindamanee.lib.ku.ac.th/jindamanee/


นอกจากนั ้นยังมีห้องสมุดหลายแห่งที่ใช้ ระบบ KOHA ในการดาเนินงาน หรื อ นาไปพัฒนาต่อยอดใช้ งาน เช่น สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส Thai PBS กรมชลประทาน เป็ นต้ น

ทีมพัฒนายังมีแผนการดาเนินงานในอนาคตที่จะทดลองติดตั ้งและทดสอบ ระบบห้ องสมุดสารองบน Cloud และจะพัฒนาโมดูลเพิ่มเติม เช่น Acquistion , Serial Control, Advance Circulation , Advance Catalog, Report & Statistic


ทางด้ านบรรยากาศในงานยังคึกคักเต็มไปด้ วยผู้คนและร้ านที่มาออกบูธมากมายคง เล่าไม่หมดแน่ ขอจัดรูปให้ ชมแบบประมวลภาพบรรยากาศแล้ วกันค่ะ




เป็ นอย่างไรบ้ างคะกับการบรรยายดี ๆ ที่นามาเล่าสูก่ นั ฟั งอาจจะมีตกหล่นไปบ้ างคง ต้ องกล่าวคาว่าขออภัย หากท่านใดสนใจสามารถเข้ าไปศึกษาข้ อมูลเพื่อเติมจากเว็บไซต์ http://www.wunca.uni.net.th/wunca26/ หรื อ ดาวน์โหลดเอกสารการบรรยาหัวข้ อต่างๆได้ จากเว็บไซต์ http://www.wunca.uni.net.th/wunca/documentsystem/wunca26/ วันนี ้คงต้ องขออนุญาตลาไปก่อน ส่วนครัง้ ต่อไปหากมีบทความหรื อกิจกรรมดีอีกจะ รี บนามาเล่าสูก่ นั ฟั งค่ะ......ขอบคุณที่ติดตามอ่าน และขออภัยหากมีจดุ ใดที่บกพร่อง..... สวัสดีค่ะ ที่มา

สานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา, 2556, ประวัตคิ วาม เป็ นมาของ Wunca [online], Available: http://www.wunca.uni.net.th/wunca_portal/reason.php สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2555, ระบบจินดามณี เพื่อการพึ่งพา ตนเองทางเทคโนโลยี, [online], Available: http://jindamanee.lib.ku.ac.th/jindamanee/ [6 กุมภาพันธ์ 2556].


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.