จุลสารอ้อยหวาน ปีที่ 10 ฉบับที่ 2

Page 1


บทบรรณาธิการ

2

จุลสารอ้อยหวาน


GreenDAY

จุลสารอ้อยหวาน

3


ประวัติความส�ำคัญของอ้อย แหล่งก�ำเนิดดั้งเดิมของอ้อยอยู่ในนิวกีนี ซึ่งเป็นเกาะใหญ่ในมหาสุมทรแปซิฟิก มีหลักฐานยืนยันว่าชาวพื้นเมืองของเกาะนี้ปลูกอ้อยไว้ในสวนส�ำหรับเคี้ยวกินเล่นมา ตั้งแต่สมัยโบราญ นักพฤกษศาสตร์ในยุคหลังๆ ได้สันนิษฐานตรงกันว่า Saccharum officinarum L. นี้มีก�ำเนิดจากเกาะนิวกีนีอย่างแน่นอน และเชื่อว่าอ้อยพันธุ์ดั้งเดิมนี้เป็น อ้อยที่เรียกขานกันต่อมาว่า “อ้อยมีตระกูล” (noble canes) และนอกจากนั้น “อ้อยมีตระกูล” นี้ยังมีพืชในสกุลเดียวกัน คือ อ้อและแขม ในโลกนี้มีพืชสกุลเดียวกับอ้อยมากกว่า 7 ชนิด นักพฤกษศาสตร์ชาวอินเดียกล่าวว่าอ้อยอีกชนิดหนึ่งมีชื่อ ว่า S.barberi นั้นมีพื้นเพดั้งเดิมเกิดอยู่ในทางตอนเหนือของอินเดีย แล้วถูกน�ำไปปลูกในประเทศจีนในราว 250 ปี ก่อนพุทธกาล ภาษาสันสกฤตเรียกอ้อยว่า “Shakkara” ซึ่งพ้องหรือใกล้เคียงกับภาษาลาตินว่า Saccharum และ มีความหมายว่า “พืชใหม่จากทางตะวันออก” นั่นแสดงว่าแหล่งก�ำเนิดของอ้อยนั้นอยู่ทาง ทิศตะวันออกของอินเดีย ในราว ค.ศ.1853 มีนักวิทยาศาสตร์หลายคณะ ที่สนใจในแหล่งก�ำเนิดของอ้อยได้เดินทางไปแสวงหา ข้อเท็จจริงทีเ่ กาะนิวกีนี และได้พบหลักฐานทัง้ ด้านพฤกษศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์และภูมศิ าสตร์วา่ S.officinarum L. มี แหล่งก�ำเนิดที่เกาะนั้น

การแพร่พันธุ์ของอ้อยจากเกาะนิวกีนีนั้น เกิดจากการอพยพของคนในสมัยโบราณ สันนิษฐานว่าอ้อยกระจายออกจากนิวกีนีไป 3 ทาง คือ เริ่มแรกอ้อยถูกน�ำไปที่เกาะโซโลมอน เกาะนิวเฮบริติส และเกาะนิวคาลิโดเนีย ซึ่งอยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ ออสเตรเลียประมาณ 8,000 ปีก่อนคริสตกาล อีกทางหนึ่งอ้อยถูกน�ำไปทางทิศตะวันตก ไป สู่อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และในที่สุดไปสู่ด้านเหนือของอินเดียในราวประมาณ 6,000 ปีก่อนคริสตกาล ทางที่สามคาดว่าอ้อยถูกน�ำไปสู่เกาะทางทิศตะวันออกของหมู่ เกาะไซโลมอน ซึ่งได้แก่เกาะฟิจิ ตองกา ซามัว เกาะคุก หมู่เกาะมาร์คีซาส์ เกาะโซไซตี เกาะ อีสเตอร์ และฮาวาย รวมทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยในมหาสมุทรแปซิฟิก อเล็กซานเดอร์มหาราชได้น�ำอ้อยจากอินเดียไปสู่มาซีโดเนียในราว ค.ศ.218 ใน สมัยพุทธกาลอ้อยอาจถูกน�ำไปสู่เปอร์เซีย อราเบีย อียิปต์ หลังจากนั้นมาอ้อยก็ไปถึงสเปญ มาไดรา (Madeira) หมู่เกาะคานารีและเซาโตเม ทั้งนี้อาจเป็นไปโดยการจงใจดังเช่นในการ เดินทางไปอเมริกาครั้งที่ 2 ของโคลัมบัสในปี ค.ศ.1493 และภายหลังก็มีการน�ำไปอีกโดยนัก เผชิญโชคทางเรือในศตวรรษที่ 18 และ 19 นอกจากโคลัมบัสแล้วยังมีนักเดินเรือ ผู้อื่นอีกที่น�ำอ้อยไปแพร่หลาย โดยอาศัยประโยชน์ใช้เป็นอาหารในระหว่างเดินเรือได้ ในครึ่ง แรกของศตวรรษที่ 16 นักเดินเรือล่าเมืองขึ้นเป็นผู้น�ำอ้อยไปสู่แถบศูนย์สูตรโลก

4

จุลสารอ้อยหวาน


พันธุอ์ อ้ ยแนะน�ำ อ้อยในประเทศไทย

อ้อยเป็นพืชที่มีความส�ำคัญที่ช าวไทยน�ำมาใช้ในพิธี ต่างๆ มาแต่โบราณกาลไม่ว่างา นเทศกาลหรือพิธีมงคล ต่างๆ เช่น แต่งงาน โกนจุก ขึ ้นบ้านใหม่ หรือเทศน์ มหาชาติ สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คืออ้ อย ในงานหมั้นหรือ แต่งงานก็มีต้นอ้อยแห่มากับขบ วนขันหมาก และน�ำมา ผูกที่ประตูบ้านเจ้าสาว ในการไ หว้พระจันทร์ของชาวจีน ก็ใช้อ้อยประดับท�ำซุ้ม ในพิธ ีต่างๆ ที่ต้องมีมณฑปพิธี ตั้งราชวัติฉัตรธง ก็จะต้องประ ดับประดาด้วยอ้อย รวม ทั้งกล้วย มะพร้าวต่างๆ ด้วย ในต�ำรับยาแผนโบราณใช้อ้อยแ ดงมาต้มกับเครื่องยา อื่น ที่เรียกว่าอ้อยแดงก็เพราะ มีเปลือกสีแดงจนเกือบด�ำ บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่าอ้อยด�ำหร ืออ้อยขม เนื่องจากตา และเปลือกมีรสขม

พันธุ์ ขอนแก่น 3 ได้มาจากการผสมพันธุ์ระหว่าง อ้อยโคลน 85-2-352 (แม่) x เค 84-200 (พ่อ)

ลักษณะประจ�ำพันธุ์ ลักษณะพฤกษศาสตร์ ทรงกอตั้งตรง ล�ำขนาด ปานกลาง แตกกอปานกลาง (49ล�ำ/กอ) ปล้อง ทรงกระบอก สีเหลือง อมเขียว และเปลี่ยนเป็น สีส้มแดงเมื่อโดนแสง การเรียงตัวของปล้องเป็น แบบซิกแซก ตามีลักษณะกลมรี หูใบด้านนอก รูปใบหอกสั้น หูใบด้านในรูปใบหอกยาว คอใบ สีเขียวน�้ำตาลรูปชายธง ปลายใบโค้ง กาบใบอ้า ลอกง่าย สีเขียว ไม่มีขน

ลักษณะเด่น ผลผลิตเฉลี่ย 21.7 ตัน ต่อหน่วย ไร่ น�้ำหนักเฉลี่ย 1.85 กก. ต่อหน่วย ล�ำ ฤดูเก็บเกี่ยว ธันวาคม- เมษายน อายุการเก็บเกี่ยว 12 เดือน สภาพดิน ดินร่วนปนทราย สภาพพื้นที่ ปลูกได้ทั่วไปในเขตปลูกอ้อยใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จุลสารอ้อยหวาน

5


ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม

นโยบายอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม บริษัท น�้ำตาลครบุรี จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับผลิตน�้ำตาลทราย มีความมุ่งมันที่จะผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และให้ ความส�ำคัญด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการท�ำงาน และสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังและอย่างต่อเนื่อง โดยยึดถือการ ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นให้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนา ภายใต้ความ มุ่งมั่นดังต่อไปนี้

ปฏิบตั ติ ามกฎหมายด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และด้านสิง่ แวดล้อม อย่างเคร่งครัด ตลอดจนข้อก�ำหนด กฎระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจังและเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และด้านสิ่งแวดล้อม ให้กับพนักงานทุกคน ทุกระดับ รวมทั้งผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้มั่นใจว่าทุกคน มีความเข้าใจ และเกิดส�ำนึกในการปฏิบัติงานได้อย่างถูก ต้องและยั่งยืน มุ่งเน้นการป้องกันการเกิดมลพิษและป้องกันอันตรายจากการท�ำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดของเสียและ อันตรายจากฝุ่น เสียง รวมถึงการอนุรักษ์พลังงาน การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และการควบคุมอันตราย จาก กิจกรรมต่างๆ ของบริษัท เผยแพร่นโยบายและให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการท�ำงานและสิ่งแวดล้อม ต่อพนักงาน ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงสาธารณชน ตลอดจนให้ความร่วมมือด้วยดี สนับสนุนทรัพยากร การด�ำเนินการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเพียงพอ และเหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย รวมทั้งพิจารณาทบทวนผลการปฏิบัติให้มีการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การจัดการคุณภาพอากาศจากปล่องหม้อไอน�้ำ ด�ำเนินการติดตัง้ ระบบดักฝุน่ ประเภท สครับเบอร์แบบสเปรย์นำ�้ ทัง้ หมดจ�ำนวน 5 เตา

ผลตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องหม้อไอน�้ำ ได้ท�ำการตรวจวัด ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ช่วงเดือนมีนาคม (หน้าหีบ อ้อย) และครั้งที่ 2 ช่วงเดือนกรกฎาคม (หน้าละลายน�้ำตาล) ของทุกปี รายการที่ตรวจวัด ฝุ่นละออง (TSP ) ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx as NO2) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)

1 80.41 127.73 N.D*

หม้อไอน�้ำ (ชุดที่) 2 3 4 75.49 77.35 71.98 100.24 117.05 103.85 N.D* N.D* N.D*

5 82.09 78.61 N.D*

ค่ามาตรฐาน 320 มก./ลบม. 200 ppm 60 ppm

* Not Detected (N.D) หมายถึง ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ท�ำการตรวจวัดเมือ่ วันที่ 18 -19 มีนาคม 2556 โดย บริษทั เอ็นไวเเล็บ จ�ำกัด ผลการตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปล่อง ทัง้ หมดผ่านเกณฑ์ทก่ี ฎหมายก�ำหนด

เรื่องการจัดการคุณภาพอากาศยังไม่จบนะครับแต่เสียดายพื้นที่หมดเสียล่ะ... เอาไว้เล่าใหม่ฉบับหน้า

6

จุลสารอ้อยหวาน

หากมีข้อสงสัยเพิ่มเติม สามารถสอบถามมายังที่... แผนกสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 044-448017 ต่อ 209


องค์กรใดมีแต่ทุจริต

อนาคตวิกฤต อย่าคิดถึงผลกำ�ไร พบการทุจริต คอร์รัปชั่น

สามารถร้องเรียนได้โดยตรงที่ผู้อำ�นวยการโรงงาน หรือสายด่วน Call center 044-448338, 044-449020



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.