test

Page 1

จัดทําโดย ฝายวิชาการ ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด สํานักงานเลขที่ 199 หมู 2 ถ.นครอินทร ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 โทรศัพท 0 2496 1199 โทรสาร 0 2496 1177, 0 2496 1188 Email : info@fsct.com Http://www.fsct.com


คํานํา สหกรณออมทรัพยจัดตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมผลประโยชนทางเศรษฐกิจ และสังคมของบรรดาสมาชิกโดย วิธีชวยตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน และตามหลักการสหกรณสากล 7 ประการ การดําเนินกิจการของสหกรณนั้น ตองยึดแนวทางการปฏิบัติตามหลักการสหกรณสากล มิเชนนั้น แลวการสหกรณจะถูกบิดเบือน และเปลี่ยนแปลงไปเปนรูปแบบอื่น หลักการสหกรณสากลที่สําคัญขอหนึ่ง ในจํานวน 7 ประการก็คือ หลักการที่ 5 การศึกษา การฝกอบรมและขอมูลขาวสารความวา “สหกรณพึงให การศึกษาและการฝกอบรม” แกมวลสมาชิก ตัวแทนสมาชิก ผูจัดการ และเจาหนาที่ เพื่อใหบุคคลเหลานั้น สามารถมี ส วนช วยพั ฒนาสหกรณ ของตนได อยางมี ประสิ ทธิ ผลรวมถึงการให ข าวสารแก สาธารณชน โดยเฉพาะอยางยิ่งแก เยาวชนและบรรดาผูนําทางความคิดในเรื่ องคุ ณลักษณะและคุณประโยชน ของ สหกรณได หลั ก การนี้ กํ า หนดขึ้ น เพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลงทางการศึ ก ษาของโลกที่ แ บ ง การศึกษาออกเปน 3 ระบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย - การศึกษาในระบบ สวนมากเรียนในสถาบันการศึกษา 1 ป ขึ้นไปมีหลักสูตรการศึกษา และ เมื่อเรียนสําเร็จแลวก็จะไดรับประกาศนียบัตร หรือ ปริญญาบัตร - การศึ ก ษานอกระบบ มั ก จะจั ด ในระยะเวลาสั้ น ๆ เฉพาะเรื่ อ งและเฉพาะกลุ ม เน น กระบวนการฝ ก อบรมด ว ยเทคนิ ควิธีก ารตา งๆ เช น การประชุม กลุ ม การอภิ ปราย การสัม มนาเชิ ง ปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน - การศึกษาตามอัธยาศัย เปนเรื่องของการใหขอมูลขาวสารที่ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวย ตนเองจากสื่อตางๆ เชน อินเตอรเน็ต โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ แผนพับ เปนตน โดยไมจําเปนตอง ศึกษาในชั้นเรียน การที่ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด (ชสอ.) จัดทําหลักสูตรวิชาชีพ (เฉพาะ กลุ ม เป า หมายที่ เ ป น เจ า หน า ที่ ทุ ก ตํ า แหน ง ) และหลั ก สู ต รเฉพาะทาง (เฉพาะกลุ ม เป า หมายที่ เ ป น คณะกรรมการทุกคณะ) เพื่อเสริมความรู ทักษะ และทัศนคติ เปนการจัดการศึกษานอกระบบ ดวย หลักสูตรตางๆ และเปนการศึกษาตามอัธยาศัยดวยการผลิตสื่อการเรียนรูดวยตนเองดวย CD-ROM การกําหนดหลักสูตร และเอกสารประกอบการฝกอบรมที่ ชสอ. ผลิตขึ้นนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใช ประกอบการฝกอบรม และสําหรับผูที่ไมสะดวกในการเดินทางไปเขารับการฝกอบรม สามารถนําไป ศึกษาดวยตนเองพรอมสื่อ e-Training และเปนที่คาดหวังวาเอกสารประกอบชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเขา รับการฝกอบรม (Participants) และผูอํานวยการฝกอบรม (Facilitators) ในการใชเปนเครื่องมือจัดฝกอบรมให เกิดประโยชนไดอยางแทจริง ทั้งนี้ คูมือคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ไดรับการตรวจสอบเอกสารจากคณาจารย คณะเศรษฐศาสตร สาขาวิชาเศรษฐศาสตรสหกรณ มหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดเชียงใหมแลว ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด ฝายวิชาการ ผลิต มีนาคม พ.ศ. 2548 ปรับปรุง มีนาคม พ.ศ. 2550


สารบัญ หนา คาบวิชาที่ 1 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะหและการประยุกตใช 1. ความหมายและความสําคัญของ “สหกรณ” (Cooperatives) 2. การวิเคราะหปรัชญาสหกรณ 3. การวิเคราะหอุดมการณสหกรณ 4. การวิเคราะหหลักการสหกรณ 5. การวิเคราะหวิธีการสหกรณ 6. ปญหาของสหกรณออมทรัพย และแนวทางแกไขโดยประยุกตปรัชญา และอุดมการณสหกรณ คาบวิชาที่ 2 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ 1. ความจําเปน ที่มา และโครงสรางคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ 2. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ 3. หนาที่ของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธตามขอบังคับ 4. แนวทางและปญหาการประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพย คาบวิชาที่ 3 การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ 1. การจัดการศึกษาสําหรับผูใหญ 2. การผลิตสื่อเพื่อการศึกษาและฝกอบรม คาบวิชาที่ 4 องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการ จัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 1. องคความรูเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย 2. แนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ 3. การติดตามและการวัดผลการจัดฝกอบรม 4. แผนการฝกอบรม 3 ชั่วโมง

1 1 2 7 8 23 37 45 45 47 49 54 61 61 71 77 77 86 89 90


คาบวิชาที่ 5 การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 1. บทนํา 2. องคประกอบที่สําคัญของการประชุมคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ 3. ความหมายของการประชุม 4. ขั้นตอนการดําเนินการประชุม ภาคผนวก

หนา 93 93 94 94 95 105


ปรั ช ญาสหกรณ อุ ด มการณ หลั ก การ และวิ ธี ก ารสหกรณ : การวิ เ คราะห และการประยุกตใช “สหกรณ (Cooperative)” ตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 หมายความวาคณะบุคคลซึ่ง รวมกันดําเนินกิจการเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมโดยชวยตนเอง ชวยเหลือซึ่งกันและกัน และจด ทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ ในขณะเดียวกันในการประชุมเชิงวิชาการของกรมสงเสริมสหกรณ เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2544 เพื่อใหคําจํากัดความของคําวา สหกรณ คุณคาของสหกรณอุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ และวิธีการ สหกรณ (กรมสงเสริมสหกรณ, 2544) ไดสรุปความหมายของคําตางๆ ไวดังนี้ [ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับแถลงการณวาดวยเอกลักษณของการสหกรณ (Statement on Cooperative Identity) ซึ่งจะขยายความใหละเอียดในที่มาของหลักการสหกรณขอที่ 7 ในรายละเอียดตอไป] 1. ความหมายและความสําคัญของ “สหกรณ (Cooperatives)” สหกรณคือ “องคการของบรรดาบุคคล ซึ่งรวมกลุมกันโดยความสมัครใจในการดําเนินวิสาหกิจที่พวก เขาเปนเจาของรวมกัน และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย เพื่อสนองความตองการอันจําเปนและความหวัง รวมกันทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม” ซึ่งเปนการแปลความจากคํานิยามของสหกรณสากลที่กําหนดขึ้น โดย International Cooperative Alliance (ICA) ความวา “A co-operative is an autonomous association of persons united voluntarily to meet their common economics, social and cultural needs and aspirations through a jointly owned and democratically controlled enterprise - ความหมายของ “คุณคาของสหกรณ (Cooperative Values)” สหกรณ อยู บนพื้ นฐานแห งคุ ณค าของการช วยตนเอง ความรั บผิ ดชอบต อตนเอง ความเป น ประชาธิปไตย ความเสมอภาค ความเที่ยงธรรม และความเปนเอกภาพรับผิดชอบตอสังคม และความเอื้อ อาทรตอผูอื่น โดยสืบทอดประเพณีปฏิบัติของผูริเริ่มการสหกรณ” - ความหมายของ “อุดมการณสหกรณ (Cooperative Ideology)” อุดมการณสหกรณ คือ “ความเชื่อรวมกันที่วาการชวยตนเอง และการชวยเหลือซึ่งกันและกัน ตาม หลักการสหกรณ จะนําไปสูการกินดี อยูดี มีความเปนธรรมและสันติสุขในสังคม” - ความหมายของ “หลักการสหกรณ (Cooperative Principles)” หลักการสหกรณ คือ “แนวทางที่สหกรณยึดถือปฏิบัติเพื่อใหคุณคาของสหกรณเกิดผลเปนรูปธรรม”


2

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

- ความหมายของ “วิธีการสหกรณ (Cooperative Practices)” วิธีการสหกรณ คือ “การนําหลักการสหกรณ มาใชในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อประโยชนของมวลสมาชิก โดยไมละเลยหลักการบริหารธุรกิจ” จากความหมายของคําทั้ง 5 คํา ขางตนจะเห็นไดวาไมมีการพูดถึงคําวา “ปรัชญาสหกรณ” เลย ดังนั้นจึงมีคําถามวา “ปรัชญาสหกรณคืออะไร?” เปนสิ่งเดียวกันกับอุดมการณสหกรณหรือไม? 2. การวิเคราะหปรัชญาสหกรณ ปรัชญา ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง วิชาที่วาดวย หลักแหงความรูและความจริง หรือศิลปะการคิดอยางมีเหตุผล ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษวา Philosophy โดยคํา นี้มาจากภาษากรีกวา Pholosophia ซึ่งแปลวา Love of Wisdom (ความรักในปญญา) ดังนั้น ปรัชญาจึงเปน ตนกําเนิดของศาสตรทั้งปวง และเปนกุญแจไขสูความรูศาสตรอื่นๆ ปรัชญาตะวันตก และปรัชญา ตะวันออกจะมีแนวคิดที่แตกตางกัน แตปจจุบันสวนใหญจะเปนปรัชญารวมสมัย ฉะนั้นปรัชญาก็คือ แนวคิดที่จะแปลงไปสูหลักการและกระบวนการปฏิบัติ ( พิสิฎฐ โคตรสุโพธิ์, 2548 ) โดยแนวคิดนั้น เปนสิ่งที่สูงที่สุดที่เราตองการ เชน ปรัชญาของแผนพัฒนาประเทศ หมายถึง การกําหนดไววาจะทําอะไร ใหคนทั้งประเทศ จะนําประเทศไปในทิศทางใด จะกําหนดโดยเนนความเจริญเติบโตทางวัตถุหรือจะเนนการ พัฒนาคน และพัฒนาจิตใจ (สุเมธ ตันติเวชกุล, 2547) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงอธิบายความหมายของปรัชญาไววา “...โดยมากปรัชญานั้นก็เปน ความเชื่อของบุคคลแตละคนวา โลกนี้มาอยางไร และจะไปอยางไร จะมีความสุขสุดยอดอยางไร...” (สํานัก ราชเลขาธิการ, 2513) ดังนั้น การสรางวิธีการตางๆ บนความเชื่อแบบปรัชญาจึงเปนวิธีการที่จะไปสู ความสุขสุดยอดในระดับตางๆ นั่นเอง ฉะนั้นปรัชญาในการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จึงเปนแนวคิดที่แปลงไปสู หลักการและกระบวนการปฏิบัติ โดยแปลงมาจาก “พระราชปณิธาน” ที่พระราชทานเปนปฐมบรม ราชโองการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 ความวา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” ซึ่ง พระราชปณิธานนี้ บอกถึงกลยุทธในการทรงงานวา จะครองแผนดิน โดยใชธรรมะ และใหความเปน ธรรมกับทุกฝาย และบอกถึงเปาหมายสูงสุดที่มีพระประสงคดวย คือ เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชน ชาวสยาม นั่ น คื อ ทุ ก คนที่ อ ยู ภ ายใต พ ระบารมี ใ นแผ น ดิ น สยาม ไม ว า จะเป น ชาวไทย ชาว ตางประเทศ ชาวเขา หรืออื่นๆ ตองไดรับประโยชน (มองในแงเศรษฐกิจ คือ อยูดีกินดี) และไดรับ ความสุขดวย (มองในแงสังคมและจิตใจ) เมื่อมีพระราชปณิธาน “จึงแปลงไปสูปรัชญาการทรงงาน” โดยพระองคทรงคิดคน ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไข ตลอดจนนําไปสูการทดลองและปรับใชจริงในโครงการพัฒนาตางๆ อยางไดผล ดังปรากฏตาม แผนภูมิที่ 1


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

3

ปรัชญาการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ระดับปรัชญา

เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม

ระดับกลยุทธ ปกครองโดยธรรม

ทศพิธราชธรรม

จักรวรรดิวัตร

ระดับพฤติกรรม

ราชสังคหวัตถุ ๔

พัฒนาโดยวิธกี ารใหม

พละ ๕ ของ พระมหากษัตริย

รูรัก สามัคคี

ขาดทุนเปนการได กําไรของเรา

พอเพียง

เปนกลาง

รูดานลึก และรูดา นกวาง

ประสานงาน ประสานประโยชน

พออยู พอกิน กินดี อยูดี

ระดับความสําเร็จ

การพัฒนาที่ยั่งยืน

แผนภูมิที่ 1 : ปรัชญาการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่มา : สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2544 ในตางประเทศองคกรตางๆ มักจะกําหนดปรัชญาการทํางานไวเบื้องหลังของแผนงานเสมอ (สุเมธ ตันติเวชกุล, 2547) สําหรับประเทศไทยในยุคปจจุบันก็มีการกําหนดปรัชญาขององคกรไวเชนเดียวกัน ดังจะ เห็นไดจาก ปรัชญาของมหาวิทยาลัยแมโจ ซึ่งอยูเบื้องหลังแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยที่กําหนดไววา “มุงมั่น พัฒนาบัณฑิต สูความเปนผูอุดมดวยปญญา อดทน สูงาน เปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อความ เจริญรุงเรืองวัฒนาของสังคมไทยที่มีการเกษตรเปนรากฐาน” โดยปรัชญานี้ เปนการกําหนดเปาหมายสูงสุดที่ มหาวิทยาลัยแมโจตองการเอาไว และบอกกลยุทธในการทํางาน รวมทั้งประโยชนที่หวังวาจะมีตอสังคม โดยสวนรวมดวย เมื่อแปลงปรัชญานี้ไปสูการปฏิบัติจึงมีวิสัยทัศน (VISION) รองรับ และมีพันธกิจ หรือ ภารกิจ (MISSION) เปนวิธีปฏิบัติกําหนดเอาไว รวมทั้งกําหนดเปาหมายกลยุทธดานตางๆ ไวอยางชัดเจน เพื่อจะไดบรรลุปรัชญาของมหาวิทยาลัย


4

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ใน“สหกรณ” ยังไมมีการกําหนดปรัชญาสหกรณไวชัดเจนนัก แตมีการกําหนดวิสัยทัศน(VISION) และพันธกิจ (MISSION) ของหนวยงานเอาไว ดังนั้นคนสวนใหญจึงเขาใจวา ปรัชญาสหกรณ (Co-operative Philosophy) กับอุดมการณ (Co-operative Ideology) เปนสิ่งเดียวกัน ผูเขียนจึงประสงคจะวิเคราะหใหเห็นวา ปรัชญาสหกรณ ควรเปนอยางไร โดยนําคําวา “ปรัชญา” ซึ่ง หมายถึง ความคิดหรือความเชื่ออยางมีเหตุมีผล มารวมกับคําวา “สหกรณ” ซึ่งหมายถึง การกระทํารวมกัน หรือทํางานรวมกัน (กรมสงเสริมสหกรณ 2545) ฉะนั้น “ปรัชญาสหกรณ” โดยความหมายของคํา จึงควร หมายถึง “ความคิดหรือความเชื่ออยางมีเหตุมีผลรวมกันของสมาชิกสหกรณ” และเมื่อนําความคิดและ ความเชื่อนี้แปลงมาสูจุดมุงหมายและประโยชนที่คนใน ขบวนการสหกรณจะไดรับ คําวา “ปรัชญา สหกรณ” ที่หนวยงานที่เกี่ยวของกับการสหกรณควรจะกําหนดไว คือ “มุงมั่นทําธุรกิจแบบสหกรณ เพื่อทําใหสมาชิกทุกคนมีความ กินดี อยูดี มีความยุติธรรมและสันติสุขในสังคม” เพื่ อให เกิ ด ความเข าใจชั ดเจนในความเกี่ ยวเนื่ องและสั มพั นธ กั นของคํ าว า ปรั ชญาสหกรณ อุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ และวิธีการสหกรณ ผูเขียนขออธิบายความหมายของคําดังกลาว ดังนี้ ปรัชญาสหกรณ = แนวคิดหรือความเชื่อที่สหกรณตองแปลงไปสูหลักการและกระบวนการปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมายที่สหกรณจะตองทําใหไดเพราะมีประโยชนของคนสวนใหญเปนที่ตั้ง นั่นคือ จุดหมาย ปลายทางที่สหกรณจะตองเดินไปใหถึงนั่นเอง อุดมการณสหกรณ = ภาพที่สหกรณอยากจะเห็นวาจะทําอยางไรจึงจะไปสูจุดมุงหมายได หลักการสหกรณ = แนวทางปฏิบัติเพื่อใหภาพที่อยากเห็นนั้นเปนจริง จะไดบรรลุจุดมุงหมายที่วางไว วิธีการสหกรณ = การนําหลักการสหกรณไปปฏิบัติจริงในสหกรณแตละประเภท โดยมีศีลธรรม จริยธรรม กํากับการปฏิบัติ และแสดงใหเห็นความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกันของคําดังกลาว ดังภาพที่ 1


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

5

ปรัชญาสหกรณ คือ มุงมั่นทําธุรกิจแบบ สหกรณเพื่อทําใหสมาชิกทุกคน มีความ กินดี อยูดี มีความยุติธรรม และสันติสขุ ในสังคม อุดมการณสหกรณ คือ การชวยตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการสหกรณ

หลักการสหกรณ คือ หลักการที่กําหนดขึ้น เพื่อใหสหกรณทั่วโลกถือปฏิบัติ (7 ขอ) วิธีการสหกรณ คือ การนําหลักการสหกรณ 7 ขอ ไปปฏิบัติในสหกรณแตละประเภท (7 ประเภท) ภายใตอุดมการณสหกรณ ซึ่งมีวิธีการแตกตางกันไป โดยผานกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ขอตกลง สัญญา ฯลฯ ของแตละสหกรณ และใชศีลธรรม จริยธรรมกํากับการปฏิบัติ

ผลของการปฏิบัติที่ประสบผลสําเร็จ ภาพที่ 1 ความสัมพันธของปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ จากภาพที่ 1 จะเห็นวา “ปรัชญาสหกรณ” เปนการกําหนดจุดมุงหมายสูงสุดของสหกรณที่จะ นําพาสมาชิกไปใหถึงจุดหมายนั้น โดยมีประโยชนที่สมาชิกจะไดรับเปนผลตอบแทน “อุดมการณสหกรณ” เปนการบอกถึงภาพที่สหกรณจะตองเดินไปสูจุดมุงหมายไดดวยการชวย ตนเองกอนแลวชวยเหลือซึ่งกันและกันในหมูสมาชิกตามหลักการสหกรณ “หลั กการสหกรณ ” เป นแนวทางปฏิ บั ติ เพื่ อให อุ ดมการณ สหกรณ เป นจริ งและสามารถไปสู จุดหมายสูงสุดไดโดยกําหนดหลักการขึ้นมาเพื่อถือปฏิบัติใหเหมือนกันในสหกรณทุกประเภททั่วโลก ( 7 ขอ ) “วิธีการสหกรณ” เปนการนําหลักการสหกรณ (7 ขอ) ไปปฏิบัติจริงในสหกรณแตละประเภท ภายใตอุดมการณสหกรณ ซึ่งมีวิธีการแตกตางกันไป โดยผานกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ขอตกลง สัญญา ฯลฯ ของแตละสหกรณ และใชศีลธรรม จริยธรรม กํากับการปฏิบัติทุกขั้นตอน เมื่อปฏิบัติไดสําเร็จยอมจะทําให บรรลุจุดมุงหมายที่กําหนดไวตามปรัชญาสหกรณได


6

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ดังนั้นสหกรณออมทรัพยในประเทศไทยแตละแหงจึงสามารถกําหนดปรัชญาสหกรณใหแตกตาง หรือคลายกันก็ได แตทั้งนี้ตองไมขัดกับปรัชญา อุดมการณ และหลักการสหกรณสากล สวนวิธีการของสหกรณแตละสหกรณ วิสัยทัศน (Vision) และพันธกิจ (Mission) ยอมแตกตาง กันได เชน สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จํากัด วิสัยทัศน “เปนสหกรณออมทรัพยชั้นนํา เลิศล้ําสวัสดิการ ดําเนินงานโปรงใส คูใจประชาคม ม.ก.” ภารกิจ ให บริ การส งเสริ มการออม การให เงิ นกู และการจั ดสวั สดิ การแก สมาชิ ก และประชาคม ม.ก. ตลอดจนดูแลและจัดการสินทรัพย เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุด การสรางระบบเพื่อการดําเนินงานที่มี ประสิทธิภาพเปนที่เชื่อถือและไววางใจ การนําเทคโนโลยีมาใชในลักษณะของ อี - โคออป เพื่อขยายบริการ อยางทั่วถึง การสรางจิตวิญญาณสหกรณ ในบุคคลทุกฝายควบคูกับการประชาสัมพันธ เพื่อใหเขามามีสวน รวมในการพัฒนาสหกรณ เพื่อการบรรลุเปาหมายในการเปนคูใจประชาคม ม.ก. สหกรณออมทรัพยสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน จํากัด วิสัยทัศน “สมาชิกมั่งคั่ง สหกรณมั่นคง บริหารโปรงใส บริการประทับใจ ใสใจสิ่งแวดลอม พรอมมุงพัฒนา” พันธกิจ 1. สงเสริมการออมและเพิ่มรายไดใหสมาชิก 2. ลดภาระหนี้สูญหรือ หนี้สงสัยจะสูญ 3. ปรับปรุงกฎระเบียบใหทันสมัยและครอบคลุม 4. พัฒนาการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ 5. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย 6. พัฒนาระบบการใหบริการอยางมีคุณภาพ สหกรณออมทรัพยครูกระบี่ จํากัด วิสัยทัศน “สหกรณออมทรัพยครูกระบี่ จํากัด เปนศูนยกลางทางการเงินที่มีความมั่นคง มุงสงเสริมคุณภาพ ชีวิตสมาชิก และครอบครัวใหการศึกษาอบรมและเผยแพรขอมูลขาวสารแกสมาชิก จัดสวัสดิการชวยเหลือ สมาชิกและสังคม ประสานงานและใหความรวมมือพัฒนาเครือขายสหกรณ โดยระบบการบริหาร พัฒนา ระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ”


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

7

พันธกิจ 1. ดํารงและพัฒนาความมั่นคงทางการเงินของสหกรณอยางตอเนื่อง 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกและครอบครัวใหดีขึ้นและมีความสุขในการดํารงชีพ 3. จัดการศึกษาอบรมใหแกสมาชิก และการใหความชวยเหลือชุมชนและสังคม 4. สรางความรวมมือระหวางสหกรณและองคกรที่เกี่ยวของ 5. พัฒนาการใหบริการและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 3. การวิเคราะหอุดมการณสหกรณ จากภาพที่ 1 จะเห็นวาปรัชญาสหกรณเปนความปรารถนาสุดยอดของสหกรณที่จะนําพาสมาชิก ไปใหถึงความปรารถนานั้น และอุดมการณสหกรณเปนการชวยตนเองและชวยเหลือซึ่งกันและกันของ สมาชิกสหกรณ เพื่อใหความปรารถนาสมหวัง โดยนําหลักศีลธรรม และ จริยธรรมมาใชประกอบการใช หลักการสหกรณสากลทั้ง 7 ขอ ดังกลาว ในการชวยตนเองของสมาชิก อาจจะตอง ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย อดทน มีวินัย การชวยตนเอง และการชวยเหลือซึ่งกันและกัน ความสํานึกในการเปนเจาของ ความมีน้ําใจ สหกรณ (Co-op Spirit) การมีสวนรวม (Participation) ในกิจการตาง ๆ และในการทําธุรกิจกับสหกรณ อาจจะแบงเปน 2 ดาน คือ 1) เสียสละ เชน เงินทอง / ทรัพยสิน เวลา, แรงงาน, ความรู และ 2) แบงปน เชน ผลได / สวนเกิน (กําไร) และแบงปน น้ําใจ ความหวงใยอาทรกัน ในประเทศไทยที่คนสวนใหญนับถือพุทธศาสนา จึงมักจะนําหลักศีลธรรมมาประกอบการอธิบายวา การชวยตนเอง ตองนําหลักศีลธรรมหลายอยางมาใช เชน อิทธิบาท 4 ประกอบดวย : ฉันทะ : ความพอใจ ในการเปนสมาชิก วิริยะ : ความเพียรพยายามทําธุรกิจกับสหกรณและปฏิบัติตามกฎระเบียบของสหกรณ จิตตะ : ความมุงมั่นจงรักภักดีตอสหกรณ และ วิมังสา : ความมีสติปญญาใครครวญ ไตรตรอง ในการประชุมใหญ และเสนอความคิด เห็นตอการดําเนินงานของสหกรณ หลักธรรมของการชวยตนเอง อีกหลักธรรมหนึ่งคือ ทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน หมายถึง ประโยชนที่จะหาไดในชาตินี้ ประกอบดวย : อุฎฐานสัมปทา (อุ) คือ มีความอุตสาหะ ขยันหมั่นเพียรประกอบอาชีพ อารักขสัมปทา (อา) คือ การรักษาทรัพยที่หามาได เชน เก็บออม ฝากสหกรณ กัลยาณมิตตา (กะ) คือ การคบเพื่อนที่ดี ก็จะนําไปสูสิ่งดีๆ สมชีวิตตา (สะ) คือ การรูจักทํามาหากิน เลี้ยงชีพดวยความรูจักประมาณตนมีความ พอเพียง


8

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักธรรมที่นํามาใชกับการชวยเหลือซึ่งกันและกัน อาจจะใช สังคหวัตถุ 4 คือ ทาน คือ การใหโดยไมหวังสิ่งตอบแทน เปนการแบงปนกัน ปยวาจา คือ การพูดจาอยางสรางสรรค พูดในสิ่งที่ดีที่จะเกิดประโยชนกับสหกรณ อัตถจริยา คือ การบําเพ็ญประโยชนเกื้อกูลกัน เชน การค้ําประกันเงินกูรวมกัน การชวยเหลือกันในกิจการของสหกรณ เปนตน สมานัตตา คือ การวางตนเสมอตนเสมอปลาย เขารวมประชุมทุกครั้งที่สหกรณจัด ประชุม สาราณียธรรม 6 ซึ่งเปนธรรมแหงการสรางความรวมมือกัน สามัคคีกัน ดังนี้ เมตตากายกรรม คือ การชวยเหลือกัน เชน การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจ การรวมมือ ระหวางสหกรณ และความเอื้ออาทรตอชุมชน เมตตาวจีกรรม คือ การบอกแจงแนะนําตักเตือนกัน เชน การเขารวมประชุม การให การศึกษา ฝกอบรมและขอมูลขาวสาร เมตตามโนกรรม คือ การคิดดวยความเมตตา เชน คิดแกไขปญหาใหกลุมสมาชิก คิดที่ จะมีสวนรวมในทางเศรษฐกิจกับสหกรณ คิดที่จะรวมมือระหวาง สหกรณ และคิดที่จะเอื้ออาทรตอชุมชน สาธารณโภคี คือ การแบงลาภโดยชอบธรรม เฉลี่ยเจือจานใหไดมีสวนรวมเทากัน เชน การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจของสมาชิก และการจัดสรรเงิน สวนเกิน (กําไร) สีลสามัญญตา คือ การประพฤติสุจริตกับผูอื่น ไมเปนที่นารังเกียจของหมูคณะ เชน การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย การปกครองตนเอง และเปนอิสระ ความมีวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับเสมอกัน ทิฎฐิสามัญญตา คือ มีความเห็นชอบรวมกับเพื่อนรวมหมูคณะ เชน เห็นชอบใน หลักการ วิธีการสหกรณ และมีความจงรักภักดีตอสหกรณ เปนตน 4. การวิเคราะหหลักการสหกรณ เปนที่ทราบกันดีวา International Co-operative Alliance (ICA) ไดกําหนด หลักการสหกรณสากล ครั้งลาสุด (ค.ศ. 1996) ไว 7 ขอ คือ 1. หลักการเปดรับสมาชิกทั่วไป และดวยความสมัครใจ 2. หลักการควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย 3. หลักการมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก 4. หลักการปกครองตนเองและความเปนอิสระ 5. หลักการใหการศึกษา การฝกอบรม และขอมูลขาวสาร 6. หลักการการรวมมือระหวางสหกรณ 7. หลักการความเอื้ออาทรตอชุมชน


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

9

กอนที่จะกลาวรายละเอียดในหลักการสหกรณสากลแตละขอ ผูเขียนขอกลาวถึงหลักการสหกรณ สากลเดิม (ค.ศ. 1966) และหลักการสหกรณของรอชเดล เพื่อจะไดเปนแนวทางในการวิเคราะหเปรียบเทียบ การเปลี่ ยนแปลงของหลั กการสหกรณ สากลกั บการเปลี่ ยนแปลงทางเศรษฐกิ จ สั งคม การเมื อง และ สิ่งแวดลอมของโลกได อยางไรก็ตาม จะตองไมลืมวาสหกรณที่ถูกตองตามกฎหมายเกิดขึ้นในยุโรปเปนแหงแรก (ค.ศ. 1840 - 1849) สหกรณในสมัยนั้นมีอยู 5 ประเภทคือ สหกรณผูบริโภค ซึ่งมีรากฐานมาจากสมาคมของผูนําอันเที่ยงธรรมแหงเมืองรอชเดล สหกรณเครดิต ที่เกิดขึ้นใน เยอรมนี สหกรณการเกษตร ที่เกิดขึ้นในประเทศเดนมารค และเยอรมนี สหกรณคนงาน ที่มีรากฐานในประเทศฝรั่งเศส และ สหกรณบริการ ที่มีรากฐานในประเทศอุตสาหกรรมแถบยุโรป เชนสหกรณเคหสถาน สหกรณบริการดานสุขภาพ เปนตน สหกรณ ทุ กประเภทที่ กล าวถึ งต างก็ มี หลั กการปฏิ บั ติ ของตนเอง แต เมื่ อมี การก อตั้ งองค การ สัมพันธภาพสหกรณระหวางประเทศ : International Cooperative Alliance (ICA) ในป ค.ศ. 1895 สหกรณทุก ประเภททั่วโลกตองปฏิบัติตามหลักการสหกรณสากล และหลักการสหกรณสากลก็มีการปรับเปลี่ยนเพื่อให สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอม ในยุคสมัยนั้นๆ เสมอ เชน ในป ค.ศ. 1937 ไดมีการทบทวนหลักการสหกรณสากลเปนครั้งแรกและครั้งที่ 2 ในป ค.ศ. 1966 สวนครั้งที่ 3 คือ ในป ค.ศ. 1995 สาเหตุที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและเพิ่มเติมหลักการสหกรณสากล จะวิเคราะหใหเห็น ในแตละ ขอโดยการเปรียบเทียบหลักการสหกรณสากลเดิม (1966) กับหลักการสหกรณสากลในปจจุบัน (1996) ตอไป หลักการสหกรณ Rochdale ของ G.J. Holy Oake ดํารง ปนประณต (2541) ไดสรุปวา หลักการสหกรณรอชเดล เปนหลักการที่นํามาใชกอนหลักการ สหกรณสากล ซึ่งเดิมมีทั้งหมด 14 ขอ คือ 1. เปดรับสมาชิกทั่วไป (Open membership) 2. ออกเสียงหนึ่งคนหนึ่งเสียง (One man one vote) 3. การคาดวยเงินสด (Cash trading) 4. การใหการศึกษาแกสมาชิก (Membership education) 5. ความเปนกลางทางการเมืองและศาสนา (Political and religious neutrality) 6. ไมเสี่ยงภัยที่ผิดปกติ (No unusual risk assumption) 7. จํากัดเงินปนผลแกทุนเรือนหุน (Limited interest on stock) 8. การขายสินคาราคาตลาด (Goods sold at regular retail price) 9. จํากัดจํานวนหุนที่สมาชิกถือ (Limitation on the member of share owned) 10. การแบงสวนเกินตามสวนแหงธุรกิจ (Net margins distributed according to patronage)


10

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

11. สมาชิกเปนผูเลือกกรรมการดําเนินการ เพื่อการบริหารกิจการของสหกรณ (That the management should be in hand of officers and committee elected periodically) 12. การบัญชีจะตองถูกตองและงบดุลจะตองแสดงตอสมาชิกโดยสม่ําเสมอ (That frequent statement and balance sheets should be presented to members) 13. จําหนายสินคาที่ดี บริสุทธิ์ และไมปลอมปนแกสมาชิก (That only the purest provisions procurable should be supplied to member) 14. น้ําหนักที่ชั่ง ตวง วัด ใหแกสมาชิกจะตองถูกตองและเปนธรรม (That full weight and measure should be given) ตอมามีการปรับเปลี่ยนโดยการตัดออก 7 ขอ คือ ขอ 6, 8, 9, 11, 12, 13 และ 14 เพราะ เห็นวาบาง ขอเปนเรื่องที่ปฏิบัติเปนปกติวิสัยของสหกรณอยูแลว และบางขอเปนขอบังคับของสหกรณจึงไมจําเปนตอง นํามาเขียนเปนหลักการสหกรณ ดังนั้นจึงเหลือหลักการสหกรณรอชเดล ที่เปนที่ยอมรับ และถือปฏิบัติ ทั้งหมด 7 ขอ คือ 1. เปดรับสมาชิกทั่วไป (Open membership) 2. สมาชิกคนหนึ่งออกเสียงไดหนึ่งเสียง (One man one vote) 3. จายเงินปนผลตามสวนแหงการซื้อของสมาชิก (Patronage refund on the basic of purchase) 4. จายดอกเบี้ยตามหุนในอัตราที่จํากัด (Limited interest on share capital) 5. เปนกลางในลัทธิ ศาสนา และการเมือง (Political and religious neutrality) 6. ขายสินคาดวยเงินสด (Cash trading) 7. ใหการศึกษาทางการสหกรณ (Education in Co-operative) หลักการสหกรณสากลเดิม (ค.ศ. 1966) ตอมา ICA ไดรับรองหลักการสหกรณสากล 6 ขอ เมื่อคราวประชุมสมัชชาครั้ง 23 ในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย โดยปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อให เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนี้ 1. การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยใจสมัคร (Open and Voluntary membership) 2. การควบคุมแบบประชาธิปไตย (Democratic Control) 3. การจํากัดดอกเบี้ยเงินทุน (Limited interest on capital) 4. การจัดสรรเงินสวนเกินอยางเที่ยงธรรม (Equitable distribution of surplus) 5. การศึกษาทางสหกรณ (Co - operative education) 6. ความรวมมือระหวางสหกรณ (Co - operation Among Co - operatives) หลักการสหกรณสากลปจจุบัน (ค.ศ. 1996) เมื่ อโลกยุ คใหมมีการเปลี่ ยนแปลงทางดานสิ ทธิ มนุ ษยชน ด านการคาเสรี ดานเทคโนโลยี ด าน เศรษฐกิ จของประเทศในภู มิภาคที่ แตกต างกั น และด านสิ่ งแวดล อม หลั กการสหกรณ สากลก็ ต องมี การ ปรับเปลี่ยนใหทันตอเหตุการณของโลกดวย ดังนั้น ICA จึงไดมีการประชุม ครั้งที่ 31 ที่เมืองแมนเชสเตอร ประเทศอังกฤษ ในเดือน กันยายน 1995 (2538) และถือใชหลักการสหกรณสากลปจจุบันในป ค.ศ. 1996 ดังนี้


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

11

1. การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยความสมัครใจ (Voluntary and open membership) 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย (Democratic member Control) 3. การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก (Member economic participation) 4. การปกครองตนเอง และความเปนอิสระ (Autonomy and Independence) 5. การศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสาร (Education, Training and Information) 6. การรวมมือระหวางสหกรณ (Co - operation Among Cooperatives) 7. ความเอื้ออาทรตอชุมชน (Concern for Community) เพื่อใหการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลง ของสถานการณโลกชัดเจนยิ่งขึ้น จึงขอนําหลักการสหกรณ สากลเดิม (1966) กับหลักการสหกรณสากลปจจุบัน (1996) มาเปรียบเทียบกันขอตอขอ ดังนี้

เปรียบเทียบหลักการสหกรณสากลเดิม 6 ขอ และ หลักการสหกรณสากลใหม 7 ขอ หลักการสหกรณสากลเดิม 1. Open and voluntary membership Membership of a co-operatives society shall be voluntary and available without artificial, restriction or any social political racial or religious discrimination to all persons, who can make use of its services and are willing to accept the responsibilities of membership 1. การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยใจสมัคร สมาชิกภาพของสหกรณใหเปนไปโดยความ สมัครใจ และเปดโอกาสใหทุกคนที่สามารถใช ประโยชนในบริการของ สหกรณและเต็มใจ ยอมรับความรับผิดชอบของสมาชิกภาพเขาเปน สมาชิกได โดยปราศจากขอจํากัดแบบเคลือบ แฝง หรือความลําเอียงทางสังคม การเมือง เชื้อ ชาติหรือศาสนา

หลักการสหกรณสากลใหม 1. Voluntary and open membership Co-operatives are voluntary organization, open to all persons able to use their services and willing to accept the responsibilities of membership, without gender, social, racial, political or religious discrimination. 1. การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยความ สมัครใจ สหกรณ เป นองค การแห งความสมั ครใจที่ เปดรับบุคคลทั้งหลายที่สามารถใชบริการของ สหกรณและเต็มใจรับผิดชอบในฐานะสมาชิกเขา เป นสมาชิ กโดยปราศจากการกี ดกั นทางเพศ สังคม เชื้อชาติ การเมืองหรือศาสนา


12

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณเดิม 2. Democratic Control Cooperative societies are democratic organizations their affairs shall be administered by persons elected or appointed in a manner agree by the members and account able to them members of voting [one member one vote] and participation in decisions affecting their societies. In other than primary societies the administration shall be conducted on a democratic basis in a suitable form. 2. การควบคุมแบบประชาธิปไตย สหกรณ เ ป น องค ก ารประชาธิ ป ไตย กิจการของสหกรณจะตองบริ หารโดยบุคคลที่ ไดรับเลือกหรือแตงตั้งตามวิธีที่สมาชิกไดตกลง กัน และจะรับผิดชอบตอสมาชิก สหกรณขั้น ปฐมมี สิ ท ธิ เ ท า เที ย มกั น ในการออกเสี ย ง (สมาชิกหนึ่งคนหนึ่งเสียง) และการมีสวนในการ ตัดสิ นใจที่มีผลกระทบตอสหกรณของตน ใน สหกรณ อื่ น นอกจากสหกรณ ขั้ น ปฐมการ บริหารงานใหยึดหลักประชาธิปไตยในรูปแบบที่ เหมาะสม

หลักการสหกรณสากลใหม 2. Democratic member control Co-operatives are democratic organization controlled by their member, who actively participate in setting their policies and making decisions. Men and women serving as elected representatives are accountable to the membership. In primary co-operatives members have equal rights [one member one vote] and co-operatives at other levels are also organized in a democratic manner. 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลัก ประชาธิปไตย สหกรณเปนองคการประชาธิปไตย ที่ ควบคุมโดยมวลสมาชิกผูมีสวนรวมอยางแข็งขัน ในการกําหนดนโยบายและการตัดสินใจ บุรุษ และสตรี ผู ที่ ไ ด รั บเลื อ กให เ ป นผู แทนสมาชิ ก ตองรับผิดชอบตอมวลสมาชิก ในสหกรณขั้น ปฐม สมาชิกมีสิทธิในการออกเสียงเทาเทียม กัน (สมาชิกหนึ่งคนหนึ่งเสียง) สําหรับสหกรณ ในระดั บอื่ น ให ดํ าเนิ นไปตามแนวทาง ประชาธิปไตยเชนเดียวกัน


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

หลักการสหกรณเดิม หลักการสหกรณสากลใหม 3. Limited interest on capital 3. Member economic participation Share capital shall only receive a strictly Member contribute equitably to, and democratically limited of interest, if any. control, the capital of their co-operative. At least part of that capital is usually the common property to the co-operative. They usually receive limited compensation, if any for capital subscribed as a condition of membership. Members allocated surpluses for any or all, of the following purposes; developing their cooperative, possibly by setting up reserves, part of which of least would be indivisible; benefiting members in proportion to their transactions with the co-operative; and supporting other activities approved by the membership. 3. การจํากัดดอกเบี้ยเงินทุน 3. การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก ทุนเรือนหุนใหไดรับดอกเบี้ยในอัตราจํากัด สมาชิ กสหกรณ พึ งมี ความเที่ ยงธรรมในการ อยางเขมงวด ถามีการจายดอกเบี้ย “ให” และควบคุมการ “ใช” เงินทุนในสหกรณตาม แนวทางประชาธิปไตย ทุนของสหกรณอยางนอย สวนหนึ่งตองเปนทรัพยสินสวนรวมของสหกรณ สมาชิ กจะได รั บผลตอบแทนสํ าหรั บเงิ นทุ นตาม เงื่อนไขแหงสมาชิกภาพในอัตราที่จํากัด (ถามี) มวลสมาชิกเปนผูจัดสรรผลประโยชนสวนเกินเพื่อ จุ ดมุ งหมายประการใดประการหนึ่ งหรื อทั้ งหมด ดังตอไปนี้ คือ  เพื่อการพัฒนาสหกรณของตน  โดยจัดใหเปนทุนสํารองของสหกรณ ซึ่งสวน หนึ่งแหงทุนนี้ตองไมนํามาแบงปนกัน  เพื่อประโยชนแกสมาชิกตามสวนของ ปริมาณธุรกิจที่ทํากับสหกรณ  เพื่อสนับสนุนกิจกรรมอื่นใดที่มวลสมาชิก เห็นชอบ

13


14

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณเดิม 4. Equitable distribution of surplus The economic results, arising out of the operations of a societies belong to the members of that society and shall be distributed in such manner as would in void one member gaining at the expense of others.

4. การจัดสรรเงินสวนเกินอยางเที่ยงธรรม ผลทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการดําเนินงาน ของสหกรณ ก็เปนของสมาชิกสหกรณนั้นและ จะตองจัดสรรโดยวิธีที่พึงหลีกเลี่ยงไมใหสมาชิก คนใดไดเปรียบสมาชิกอื่น ทั้งนี้อาจทําไดโดย การตั ดสิ นใจของสมาชิ กดั งต อไปนี้ จั ดไว เพื่ อ พั ฒ นากิ จการของสหกรณ จั ด ไว เ พื่ อบริ การ สวนรวม หรือจายใหสมาชิกตามสวนที่ทําธุรกิจ กับสหกรณ

หลักการสหกรณสากลใหม 4. Autonomy and independence Co-operatives are autonomous, self-help organizations controlled by their members. If they enter into agreements with other organizations, including governments, or raise capital from external sources, they do so on terms that ensure democratic control by their members and maintain their cooperative autonomy. 4. หลักการปกครองตนเองและความเปน อิสระ สหกรณเปนองคการอิสระ และพึ่งพาตนเอง โดยการควบคุมของสมาชิก ในกรณีที่สหกรณ จําตองมีขอตกลง หรือผูกพันกับองคการอื่นๆ รวมถึงองคการของรัฐ หรือตองแสวงหาทุนจาก แหล ง ภายนอก สหกรณ ต อ งกระทํ า ภายใต เงื่อนไขอันเปนที่มั่นใจไดวา มวลสมาชิกจะยัง คงไว ซึ่ ง อํ า นาจในการควบคุ ม ตามแนวทาง ประชาธิ ปไตย และยังคงดํารงความเปนอิสระ ของสหกรณ


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

หลักการสหกรณเดิม 5. Co-operative education All co-operative societies shall make provision for the education of their member, officers and employees and of the general public in the principle and technique of cooperation both economic and democratic.

หลักการสหกรณสากลใหม 5. Education, Training and Information Co-operatives provide education and training for their members, elected representatives, managers and employee, so they can contribute effectively to the development of their cooperatives. They also inform the general public, particularly young the general and opinion leaders, about the nature and benefits of co-operation. 5. การศึกษาทางสหกรณ 5. การศึกษา การฝกอบรม และขอมูล ขาวสาร สหกรณทั้งปวงจะตองจัดใหมีการศึกษาแก สหกรณพึงใหการศึกษา และการฝกอบรม สมาชิก เจาหนาที่ และพนักงาน สหกรณ และ แกมวลสมาชิก ตัวแทน สมาชิก ผูจัดการ และ ประชาชนทั่วไป ในหลักและเทคนิคของสหกรณ พนักงาน เพื่อบุคคลเหลานั้นสามารถมีสวนชวย ทั้งดานเศรษฐกิจ และประชาธิปไตย พั ฒนาสหกรณ ของตนได อย างมี ประสิ ทธิ ผ ล รวมถึงการใหขาวสารแก สาธารณชนโดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง แก เ ยาวชน และบรรดาผู นํ า ทาง ความคิดในเรื่องคุณลักษณะและคุณประโยชน ของ สหกรณได

15


16

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณเดิม 6. Co-operation Among Co-operatives All co-operative organization in order to best serve the interest of their members and their communities shall actively co-operate in every practical way with other co-operatives at local national and international levels having as their aim the achievement of unity of action by co-operators through out the word. 6. การรวมมือระหวางสหกรณ เพื่ออํานวยประโยชนแกสมาชิกและชุมชน อย างดี ที่สุ ดสหกรณ ทั้งปวงจะต องร วมมื อกั น อยางกระตือรือรนในทุกๆ ดานที่ปฏิบัติไดกับ สหกรณอื่นๆ ในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และ ระหวางประเทศ ที่มีจุดมุงหมายบรรลุถึง เอกภาพแหงการปฏิบัติของนักสหกรณทั่วโลก

หลักการสหกรณสากลใหม 6. Co-operation Among Co-operatives Co-operatives serve their members most effectively and strengthen the co-operative movement by working together through local, national, regional, and international structures.

6. การรวมมือระหวางสหกรณ สหกรณ สามารถให บริ การแก สมาชิ กได อยางมีประสิทธิผลสูงสุด และเสริมสรางความ เข มแข็ งให แก ขบวนการสหกรณ ได โดยการ ประสานความร ว มมื อ กั น ในระดั บ ท อ งถิ่ น ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ 7. Concern for Community Co-operatives work for the sustainable development of their communities through policies approved by their members. 7. ความเอื้ออาทรตอชุมชน สหกรณพึงดําเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืนของชุมชนตามนโยบายที่มวลสมาชิกให ความเห็นชอบ


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

17

หลักการสหกรณสากลปจจุบันทั้ง 7 ขอ ถือไดวาเปนหลักการของการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน ซึ่ง ผูเขียนขอแบงเปน 3 ชวงของการนําไปปฏิบัติ ดังภาพที่ 2

เริ่ม หลักขอที่ 1 เปดรับสมาชิกทั่วไปและโดย ใจสมัคร

บํารุงรักษา หลักขอที่ 3 การมีสวนรวมทาง เศรษฐกิจของสมาชิก หลักขอที่ 4 การปกครองตนเอง และความเปนอิสระ

หลักขอที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิก ตามหลักประชาธิปไตย

พัฒนาใหยั่งยืน หลักขอที่ 5 การใหการศึกษา ฝกอบรม และขาวสารขอมูล หลักขอที่ 6 การรวมมือระหวางสหกรณ หลักขอที่ 7 ความเอื้ออาทรตอชุมชน

ภาพที่ 2 หลักการสหกรณ 7 ขอ : หลักการของการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน


18

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

วิเคราะหหลักการสหกรณ การเปลี่ยนแปลงและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของหลักการ สหกรณสากล หลักการสหกรณขอที่ 1 การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยความสมัครใจ ในหลักการสหกรณขอนี้ เนื้อหาสวนใหญคลายกับหลักการสหกรณเดิมแตเพิ่มคําวา ปราศจากการ กีดกันทางเพศ ที่เปนเชนนี้เพราะสังคมโลกไดมีการพูดถึงสิทธิมนุษยชนมากขึ้น สตรีเรียกรองสิทธิความ เทาเทียมกับบุรุษ และในอดีตผูที่เปนสมาชิกสหกรณมักจะเปนบุรุษซึ่งเปนหัวหนาครอบครัว เมื่อหัวหนา ครอบครัวไมอยู (เสียชีวิต, ไปทํางานตางประเทศ หรือติดภารกิจอื่น) คนในครอบครัวก็ไมสามารถกอนิติ กรรมสัญญาใดๆ กับสหกรณได จึงทําใหเปนปญหาในทางปฏิบัติ ดังนั้นเพื่อใหปญหานี้คลี่คลายไป จึงมีการ เพิ่ม “การไมกีดกันทางเพศ” เขาไปในหลักการสหกรณขอที่ 1 ดังนั้นหลักการสหกรณขอที่ 1 นี้ จึงเปนการเนนใหเห็นวา การเปดรับสมาชิกสหกรณเปนการรับ บุคคลที่มีความสมัครใจที่จะใชบริการของสหกรณ และเต็มใจรับผิดชอบในฐานะสมาชิก ซึ่งจะไมมีการกีดกัน ไมวาบุคคลนั้นจะเปนเพศหญิงหรือเพศชาย ไมวาจะอยูในสังคมตางกัน เชน จะรวยหรือจนหรือคนละ วรรณะก็เปนสมาชิกสหกรณได จะตางเชื้อชาติหรือนับถือศาสนาที่ตางกัน ความเห็นทางการเมืองที่ตางกันก็ เปนสมาชิกสหกรณได หลักการสหกรณขอที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย สืบเนื่องมาจากหลักการสหกรณขอที่ 1 เมื่อใหโอกาสบุรุษและสตรีเขามาเปนสมาชิกสหกรณไดแลว ก็ใหโอกาส ทั้งบุรุษและสตรีมีสิทธิไดรับเลือกใหเปนผูแทนสมาชิก (เปนคณะกรรมการ) ในสหกรณขั้นปฐม ซึ่ ง ทํ าหน าที่ กํ าหนดนโยบายและตั ดสิ นใจในกิ จการสหกรณ แทนสมาชิ ก ส วนสหกรณ ร ะดั บอื่ นก็ ให ดําเนินการไปตามแนวประชาธิปไตยดวยเชนกัน ดังนั้นหลักการสหกรณขอที่ 2 จึงเปนการเนนใหเห็นวา ตองมีการใชหลักประชาธิปไตยในการ ดําเนินงานของสหกรณ เพราะเมื่อมีการรับสมัครสมาชิกตามขอที่ 1 แลว จะตองมีการประชุมเพื่อใหสมาชิก ไดใชสิทธิออกเสียง (ตามหลักประชาธิปไตย) ในการคัดเลือกคณะกรรมการ หรือผูแทนของสมาชิกมาดําเนิน ธุรกิจของสหกรณ โดยสมาชิกทุกคนจะมีสิทธิในการออกเสียงเทาเทียมกัน คือ หนึ่งคนหนึ่งเสียง (one man one vote) และยังมีสิทธิและหนาที่ในการกําหนดนโยบายการดําเนินงานของสหกรณในที่ประชุมใหญ รวม ตัดสินใจในการกําหนดแผนงานในสหกรณขั้นปฐม นอกจากนั้นสมาชิกก็สามารถใชสิทธิเลือกผูแทนของตน ไปประชุมเพื่อออกเสียงแทนได โดยบุรุษและสตรีมีสิทธิ์ไดรับเลือกเปนผูแทนสมาชิกไดเทาเทียมกัน สวน สหกรณระดับอื่นก็ใหดําเนินการไปตามแนวประชาธิปไตยดวยเชนกัน หลักการสหกรณขอที่ 3 การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก หลักการสหกรณขอนี้เปนการรวมหลักการสหกรณสากลเดิมขอ 3 และขอ 4 เขาดวยกันเพราะเห็นวา เปนเรื่องเกี่ยวของกับเงินเหมือนกัน และเพิ่มเติมการจัดสรรเงินสวนเกิน คือ เพื่อเปนทุนสํารองตามกฎหมาย ซึ่งสมาชิกตองไมนํามาแบงปนกัน และจัดสรรเพื่อสนับสนุนกิจกรรมอื่นใดที่มวลสมาชิกเห็นชอบ ซึ่งการ เพิ่มเติมสวนนี้เปนการเปดโอกาสใหการใชจายเงินสวนเกินสามารถสนับสนุน หลักการสหกรณขอ 7 ดวย


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

19

ดังนั้นหลักการสหกรณขอที่ 3 จึงเปนการชี้ใหเห็นวา เมื่อรับสมาชิกเขามาแลว (ตามหลักขอที่ 1) มีการคัดเลือกคณะกรรมการดําเนินการแลว (ตามหลักการสหกรณขอที่ 2) สหกรณจะอยูเฉยๆ ไมไดตองมี การดําเนินธุรกิจ (แยกตามประเภทของสหกรณ) เพราะสมาชิกสหกรณเปนทั้งเจาของสหกรณและเปน ผูใชบริการจากสหกรณ เปนผูควบคุมสหกรณดวย ในฐานะที่เปนเจาของสหกรณตองเปน “ผูให” อยางเที่ยง ธรรม คือ ตองถือหุนเปนการลงทุนในธุรกิจของตน โดยมูลคาหุนของแตละสหกรณอาจจะไมเทากัน โดยมีทั้ง หุนเมื่อแรกเขา หุนระหวางการเปนสมาชิก และหุนเพิ่มขณะใดขณะหนึ่งที่สมาชิกตองการ ถือวาเปนการรวม ทุนภายในของสหกรณโดยสมาชิกเอง เชน ในสหกรณทุกประเภท สมาชิกทุกคนตองถือหุนเมื่อแรกเขา และ “ให” การลงทุนในสหกรณแตกตางกันในสหกรณแตละประเภทขึ้นอยูกับขอบังคับและระเบียบของสหกรณ นั้นๆ เชน สหกรณออมทรัพย อาจจะกําหนดไววาสมาชิกแตละคนตองจายเงินคาหุนขั้นต่ําแตละเดือนใน ระหวางการเปนสมาชิกตามอัตราเงินเดือนที่แตกตางกันของแตละคนก็ได สหกรณการเกษตร อาจจะกําหนดไววาสมาชิกแตละคนตองถือหุนเพิ่มตามสวนแหงเงินกูแตละครั้ง สหกรณการเกษตรรูปพิเศษ เชน สหกรณการเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดิน อาจจะกําหนดไววา สมาชิก แตละคนตองถือหุนเพิ่มตามสวนแหงเงินกูแตละครั้ง และตามสวนแหงที่ดินที่ถือครอง เปนตน เมื่อลงทุนในสหกรณเปนทุนภายในแลว สมาชิกก็มีหนาที่ที่จะตองมีสวนรวมในการดําเนินธุรกิจ เชน มาซื้อ - ขาย สินคากับสหกรณ มาฝากเงิน - กูเงินกับสหกรณ มาใชบริการที่สหกรณจัดไวให เมื่อสิ้นป การบัญชีก็จะมีการสรุปผลกําไร / ขาดทุนจากการดําเนินธุรกิจ โดยผานที่ประชุมใหญของสมาชิก หาก สหกรณมีกําไรหรือสวนเกินจากการดําเนินธุรกิจก็จะตองนํามาจัดสรรใหเกิดความเที่ยงธรรมตามแนว ประชาธิปไตย โดยเงินสวนเกินนั้นอยางนอยตองควบคุมการ “ใช” โดยจัดสรรใหเกิดประโยชน ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาสหกรณของตน หมายความวา ตองพัฒนาทั้งวัตถุ (อาคาร สํานักงาน วัสดุ อุปกรณ ฯลฯ) และพั ฒนาคนในสหกรณ (ให ความรู และโอกาสในการศึ กษา อบรม สั มมนา ฯลฯ แก สมาชิ ก คณะกรรมการ ผูจัดการ เจาหนาที่สหกรณ ฯลฯ) 2. จัดใหเปนทุนสํารองตามกฎหมาย ซึ่งทุนสวนนี้จะนํามาแบงปนกันไมได (ในกรณีของประเทศ ไทย เงินสวนหนึ่งจะจัดสรรเปนเงินบํารุงสันนิบาตสหกรณดวย) 3. เพื่อประโยชนแกสมาชิกตามสวนของปริมาณธุรกิจที่ทํากับสหกรณ หมายถึง 3.1 จายปนผลใหสมาชิกตามสวนของหุนที่มีอยูในสหกรณ 3.2 จายเฉลี่ยคืนใหสมาชิกตามสวนของปริมาณธุรกิจที่ทํากับสหกรณ เชน ตามสวนแหง ดอกเบี้ยเงินกู / เงินฝาก / ปริมาณการซื้อ / ปริมาณการขาย / ปริมาณการใชบริการ เปนตน 4. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมอื่นใดที่มวลสมาชิกเห็นชอบ เชน การดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม ของ สหกรณ การชวยเหลือสมาชิกและชุมชนของสหกรณ เปนตน


20

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณขอที่ 4 การปกครองตนเองและความเปนอิสระ หลั กการสหกรณ ขอนี้ ไมมี ในหลั กการสหกรณ สากลเดิ มเป นการเพิ่ มเติ มใหม ทั้งหมด ทั้ งนี้ สื บ เนื่องมาจากตลาดการคาของโลกไดเปลี่ยนแปลงเปนการคาแบบเสรี การลดการอุดหนุนสินคาเกษตรของ รัฐบาลหลายประเทศ การทบทวนกฎเกณฑทางการเงิน การอุตสาหกรรม และการเมือง ทําใหสหกรณทั่วโลก ตองเผชิญหนากับธุรกิจขามชาติ ที่มีความไดเปรียบทั้งทางดานเงินทุนและสิทธิทางกฎหมาย ประกอบกับ สหกรณตองทําธุรกิจกับเอกชน และกูยืมเงินจากแหลงทุนภายนอกมากขึ้น จึงจําเปนตองกําหนดหลักการ สหกรณขอนี้เอาไว เพื่อปองกันไมใหเกิดการครอบงําทางการเมือง ครอบงําการดําเนินงาน และครอบงําทาง การเงินจากผูที่สหกรณตองไปเกี่ยวของดวย หลักการสหกรณขอที่ 5 การศึกษา การฝกอบรม และขอมูลขาวสาร หลั กการสหกรณขอนี้ไดเพิ่มเติมคํ าวา การฝ กอบรม และข อมูลข าวสารเขามา ทั้ งนี้ เพื่ อให สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาของโลกที่แบงการศึกษาออกเปน 3 ระบบ คือ การศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนั้นหลักการสหกรณสากลขอ 5 จึงกําหนดใหสหกรณพึงใหการศึกษา (เปนการศึกษาในระบบ ซึ่งสวนมากเรียนในสถาบันการศึกษา 1 ปขึ้นไป มีหลักสูตรการศึกษา และเมื่อเรียนสําเร็จก็ไดรับ ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร ปริญญาบัตร ฯลฯ เพื่อแสดงการจบการศึกษา) การฝกอบรม (เปนการศึกษานอก ระบบ ซึ่งมักจะจัดในระยะเวลาสั้นๆ เฉพาะเรื่อง และเฉพาะกลุม) และขอมูลขาวสาร (เปนการศึกษาตาม อัธยาศัย ที่ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองจากสื่อตางๆ เชน อินเตอรเน็ต โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ แผนพับ ฯลฯ โดยไมจําเปนตองศึกษาในชั้นเรียน) ในหลักการสหกรณขอนี้ยังไดเพิ่มเติมวา ผูที่ควรจะตองไดรับการศึกษา ฝกอบรม และรับขอมูล ขา วสาร คือ สมาชิ ก ตัวแทนสมาชิก ผู จัดการสหกรณ พนักงาน เยาวชน และบรรดาผูนํ าทางด าน ความคิด (ผูนําชุมชน ผูนําทางศาสนา ฯลฯ) ทั้งนี้เพื่อเปนการปูพื้นฐานความเขาใจ ในขบวนการสหกรณ ใหกับเยาวชน และเปนการใหความรูที่ถูกตองแกผูนําดานความคิด และผูที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนใน การขยายความรูความเขาใจเกี่ยวกับการสหกรณอยางกวางขวาง หลักการสหกรณขอที่ 6 ความรวมมือระหวางสหกรณ ในหลักการสหกรณขอนี้ ไดเพิ่มเติมความรวมมือระหวางสหกรณใน “ระดับภูมิภาค” เขามา ทั้งนี้ เพราะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ยุโรป กลุมลาตินอเมริกาบางสวน และ แอฟริกา ทําใหเกิดความแตกตางในโอกาสของการเติบโตในขบวนการสหกรณ ดังนั้นจึงจําเปนตอง กําหนด ความรวมมือระหวางสหกรณในระดับภูมิภาคเพิ่มมาจากระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับ นานาชาติ เอาไวดวย


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

21

ในหลักการสหกรณขอ 6 นี้ เปนการชี้ใหเห็นวาสหกรณทุกประเภทสามารถรวมมือกันในทางธุรกิจ ได โดยอาจจะรวมมือทั้งในแนวดิ่ง (แนวตั้ง) และแนวนอนก็ได เชน ซื้อ - ขาย - แลก - เปลี่ยน สินคาระหวาง กัน กู/ยืม เงินระหวางกัน หรือรวมมือดานขอมูลขาวสาร เปนตน ดังแผนภูมิที่ 2 ความรวมมือในแนวดิ่ง คือ ความรวมมือตางระดับ ดังนี้ ระดับนานาชาติ ..........................สหกรณทั่วโลก ระดับภูมิภาค ..........................สหกรณภูมิภาคเอเชีย, ภูมิภาคยุโรป ฯลฯ ระดับชาติ

..........................ชุมนุมสหกรณ

ระดับทองถิ่น .........................สหกรณในจังหวัด ความรวมมือในแนวนอน คือ ความรวมมือในระดับเดียวกัน ดังนี้ สหกรณบริการ สหกรณการเกษตร สหกรณรานคา สหกรณออมทรัพย

สหกรณออมทรัพย สหกรณนิคม สหกรณประมง สหกรณเครดิตยูเนี่ยน

แผนภูมิที่ 2 : ความรวมมือระหวางสหกรณ


22

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักการสหกรณขอที่ 7 ความเอื้ออาทรตอชุมชน หลักการสหกรณขอนี้กําหนดขึ้นมาใหม เนื่องจากเกิดปญหาทางดานสิ่งแวดลอมทั่วโลก ดังนั้นที่ ประชุมสหประชาชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development : UNCED) ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1992 จึงได อนุมัติแผนปฏิบัติการที่ 21 (Agenda 21) เพื่อเปนแนวทางใหประเทศตางๆ ในโลก นําไปปรับใชตามลําดับ ความสําคัญกอนหลัง เพื่อใหสอดคลองกับปญหาและความจําเปนของแตละทองถิ่น แนวทางการดําเนินงาน ตางๆ ตามที่ระบุไวในแผนปฏิบัติการ 21 ไดกําหนดไวสําหรับใชในปจจุบัน ไปจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 21 ดังนั้น ในสวนของสหกรณ องคการสัมพันธภาพสหกรณระหวางประเทศ (ICA) จึงไดประชุมรับเอา แผนปฏิบัติการที่ 21 มาปรับใชในขบวนการสหกรณ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ตอมาได ประกาศแถลงการณวาดวยเอกลักษณของการสหกรณ (Statement on Cooperative Identity) ในเดือน กันยายน ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) ซึ่งมีผลมาจากการประชุมสมัชชาครั้งที่ 31 ที่เมืองแมนเชสเตอร ประเทศ อังกฤษ และในแถลงการณดังกลาวไดกลาวถึงสหกรณ 3 ประเด็น คือ คํานิยาม คานิยม และหลักการ สหกรณ ซึ่งในหลักการสหกรณสากลครั้งนี้ไดเพิ่มเติม “ความเอื้ออาทรตอชุมชน” เขามาเปนหลักการขอที่ 7 และถือปฏิบัติตั้งแต ค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539) เปนตนมา โดยหลักการสหกรณขอนี้ไดกําหนดวิธีปฏิบัติใน สหกรณแตละประเภทไวใน Co-operative Agenda 21 ซึ่งกําหนดใหสมาชิกสหกรณในสหกรณทุกประเภท มีการเรียนรูและดําเนินการในดานการพัฒนาที่ยั่งยืน และอนุรักษสิ่งแวดลอม โดยแบงออกเปน 9 สวน (หรือสหกรณ 9 ประเภททั่วโลก) คือ (ICA, 1996) สวนที่ 1 ภาคการเกษตร (Agricultural Sector) สวนที่ 2 ภาครานคา (Consumer Sector) สวนที่ 3 ภาคการประมง (Fisheries Sector) สวนที่ 4 ภาคการเคหะสถาน (Housing Sector) สวนที่ 5 ภาคอุตสาหกรรม/หัตถกรรม (Industrial / Handicraft Sector) สวนที่ 6 ภาคการทองเที่ยว (Tourism Sector) สวนที่ 7 ภาคการพลังงาน (Energy Sector) สวนที่ 8 ภาคการเงิน/เครดิต (Financial Sector) สวนที่ 9 ภาคการศึกษา การสื่อสาร และการเอาใจใสดูแลสาธารณะ (Education, Communication and Public Awareness) ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะในภาคการเงิน / เครดิต (Financial Sector) ซึ่ง ICA ไดอธิบายเหตุผลที่ สหกรณตองเอื้ออาทรตอชุมชนไววา “สมาชิก ICA ประมาณรอยละ 33 เปนสมาชิกที่อยูในสหกรณ การเงิน (financial co-operatives) ไมวาจะเปน ธนาคารสหกรณ (co-operative banks) สหกรณออม ทรัพย (savings and credit co-operatives) สหกรณประกันภัย (insurance co-operatives) และอื่นๆ ดังนั้นเครื่องสงเสริมทางเศรษฐกิจที่จะนําไปสูการดูแลสิ่งแวดลอมอยางไดผล โดยผานทางดาน การเงิ น สหกรณ จ ะต อ งสามารถทํ า ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงในทั ศ นคติ แ ละนโยบายการใช จายเงินได”


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

23

ฉะนั้น จึงไดมีการกําหนดวัตถุประสงคในการดําเนินงาน (Objectives) ไววา “สหกรณออม ทรัพย ตองมีการสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยในดานสิ่งแวดลอมและการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใชกลไกดาน การเงิน” พรอมทั้งกําหนดวิธีการดําเนินการ (Methods) ไว 2 ขอ คือ 1. นําเอานโยบายสิ่งแวดลอมมาใชในสหกรณโดยยึดหลักธรรมะ 2. สงเสริมและกอใหเกิดนวัตกรรมดานการเงินใหม เพื่อจะไดนําไปสงเสริมในดานสิ่งแวดลอมและ การพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งหลักการสหกรณขอ 7 นี้ คนในวงการสหกรณยังนําไปใชไมครบถวน และไมถูกตองนักเพราะ ส ว นใหญ เ ข า ใจว าเป นการเอื้ ออาทรต อชุ มชนในแง ของการช ว ยเหลื อสมาชิ ก การบริ จาค เช น ให ทุนการศึกษา บริจาคสรางถนน วัด โตะ เกาอี้ บริจาคชวยเหลือผูประสบภัยธรรมชาติ และอื่นๆ ดังนั้นปญหาของผูที่เกี่ยวของกับสหกรณ ก็คือจะนําหลักการสหกรณ ทั้ง 7 ขอ ไปใชปฏิบัติจริงได อยางไร คําตอบคือ นําไปใชโดยผาน “วิธีการสหกรณ” ซึ่งจะไดกลาวตอไป 5. การวิเคราะหวิธีการสหกรณ วิธีการสหกรณ คือ “การนําหลักการสหกรณมาใชในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อประโยชนของมวลสมาชิก โดยไมละเลยหลักการบริหารธุรกิจ” ดังนั้น เมื่อสหกรณในประเทศไทยแบงออกเปน 6 ประเภท จึงมีการนําหลักการสหกรณมาใชในทาง ปฏิบัติแตกตางกันในแตละประเภท เชน การจัดตั้ง การระดมทุน การบริหารงาน การดําเนินธุรกิจ การ สงเสริมประโยชนทางเศรษฐกิจของสมาชิก และการเอื้ออาทรตอชุมชน โดยกําหนดวิธีปฏิบัติไวในกฎหมาย หรือ พ.ร.บ.ขอบังคับ ระเบียบขอตกลงและสัญญาของสหกรณ ยกตัวอยางเชน สหกรณประเภทสหกรณ ออมทรัพย


คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

24

สหกรณออมทรัพย คณะผูจัดตั้งตั้งแต 10 คนขึ้นไป เพื่อทํากิจกรรมรวมกันทางดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม ชวยตนเอง

ชวยเหลือซึ่งกันและกัน

- ขยัน - ประหยัด - ซื่อสัตย - อดทน - มีวินัย

เสียสละ - เงิน / ทรัพยสิน - เวลา - แรงงาน - ความรู

ใหกูเงิน (สินเชื่อ)

- ผลได (กําไร) - น้ําใจ (ความ หวงใยอาทร)

กิจกรรมดานสังคมและสิ่งแวดลอม

กิจกรรมดานเศรษฐกิจ

รับฝากเงิน

แบงปน

ใหบริการ

กีฬาเพื่อสุขอนามัย

จริยธรรม

สิ่งแวดลอม

สวัสดิการสังคม


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

25

กิจกรรมดานเศรษฐกิจ

รับฝากเงิน - ประเภทออมทรัพย - ประเภทประจํา

สินเชื่อ

ใหบริการ

- เงินกูเพื่อเหตุฉุกเฉิน - เงินกูสามัญ - เงินกูพิเศษ

- ชําระคาโทรศัพท - ชําระคาน้ํา / คาไฟฟา ฯลฯ

กิจกรรมทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม

กีฬาเพื่อสุขอนามัยและ หางไกลยาเสพติด - สนับสนุนอุปกรณกีฬา แกเยาวชน - สรางกิจกรรมออก กําลังกายรวมกันของ สมาชิกสหกรณ

จริยธรรม - ปลูกฝงจิตสํานึกดาน ศึกษาศีลธรรม จริยธรรม ใหแกเยาวชนและผูนํา ดานความคิด สมาชิก ผูแทนสมาชิก คณะกรรมการ พนักงาน ผูจัดการและผูตรวจสอบ กิจการสหกรณ

สิ่งแวดลอม - ปลูกฝงจิตสํานึก ดานสิ่งแวดลอม เชน การประหยัดพลังงาน, ทรัพยากร การนําของ เหลือกลับมาใชใหม

สวัสดิการสังคม - ทุนการศึกษาใหแกบุตร ของสมาชิก - ทุนการศึกษา (เพิ่มวุฒิ) แกพนักงานสหกรณ ผูจัดการสหกรณ - ทุนฝกอบรม / ศึกษาดู งานเกี่ยวกับสหกรณ ใหแกสมาชิก / ผูแทน สมาชิก คณะกรรมการ พนักงาน ผูจัดการและผู ตรวจสอบกิจการสหกรณ - ทุนสงเคราะหศพสมาชิก - ทุนสาธารณะประโยชน อื่นๆ - ทุนฝกอบรมอาชีพเพื่อ เสริมรายไดใหแกสมาชิก ฯลฯ


26

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

โดยมีโครงสรางการจัดองคการของสหกรณ ดังภาพที่ 3 สมาชิก

สมาชิก

ที่ประชุมใหญ

สมาชิก

ผูตรวจสอบกิจการ เลือกตั้ง

คณะกรรมการดําเนินการ จัดจาง ผูจัดการ

รองผูจัดการ

ผูชวยผูจัดการ

การเงิน

บัญชี

ผูชวยผูจัดการ

สินเชื่อ

ประชาสัมพันธ สวัสดิการ สิ่งแวดลอม จริยธรรม

ภาพที่ 3 โครงสรางการจัดองคการของสหกรณออมทรัพย

กีฬา


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

27

จากตัวอยางที่ยกมาคราวๆ จะเห็นไดวา “วิธีการสหกรณ” เปนการนําหลักการสหกรณทั้ง 7 ขอ มา ปฏิบัติ โดยผานตามขั้นตอนการดําเนินงานตามอุดมการณสหกรณ และไปตามโครงสรางการจัดองคกรของ แตละสหกรณ ทั้งนี้โดยผานกฎหมายหรือพ.ร.บ. ขอบังคับ ระเบียบ ขอตกลง และสัญญา ฯลฯ ของแตละ สหกรณ โดยมีศีลธรรม จริยธรรม กํากับการปฏิบัติ เมื่อวิเคราะหเจาะลึกโดยแบงเปนหมวดหมู จะพบวา “วิธีการสหกรณ” คือ การนําหลักการสหกรณ มาใชโดยแบงเปน 3 ขั้นตอน คือ (3 กลุม) 1. ขั้นเริ่มดําเนินการ โดยใชหลักการสหกรณขอ 1, 2 และ 5 2. ขั้นบํารุงรักษา โดยใชหลักการสหกรณขอ 3, 4 3. ขั้นพัฒนาใหยั่งยืน โดยใชหลักการสหกรณขอ 5, 6 และ 7 โดยทั้ง 3 ขั้นตอนนี้มีเครื่องมือที่นํามาใชกํากับการปฏิบัติ 3 ดาน คือ (3 มุม) 1. ดานกฎหมายและขอบังคับ เชน พ.ร.บ.สหกรณ, ขอบังคับ, ระเบียบ เปนตน 2. ด านเศรษฐกิ จ เช น การทํ าธุ รกิ จร วมกั นเพื่ อช วยตนเอง และช วยเหลื อซึ่ งกั นและกั นเมื่ อมี สวนเกินจากการทําธุรกิจก็นํามาจัดสรรคืนสมาชิกอยางเหมาะสม หรือถาทําผิดกฎ ระเบียบ ขอตกลง ก็มี การปรับหรือฟองรองเรียกคาเสียหายได 3. ดานสังคม เชน มีจิตสํานึกในการรวมกิจกรรมของสหกรณ รูจักใชสิทธิและหนาที่ของตน บน ความเปนประชาธิปไตยในการดําเนินธุรกิจสหกรณและมีจิตสํานึกในการดูแลสังคม และสิ่งแวดลอม โดยมี ศีลธรรมและจริยธรรมกํากับ จะเห็นไดวา การดําเนินงานทั้ง 3 กลุม (3 ขั้นตอน) มี 3 มุม (3 ดาน) เขามาเกี่ยวของเสมอ จะขาด กลุมใดกลุมหนึ่งหรือมุมใดมุมหนึ่งไปไมได ดังนี้


28

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

วิเคราะหวิธกี ารสหกรณ หลักการ สหกรณ ที่ใช ขั้นที่ 1 เริ่มดําเนินการ / จัดตั้ง ขอ 1,2,5 สหกรณ * อาจจะเริ่มจากหลักการสหกรณ ขอที่ 5 ขอ 5 คือ มีการใหขอมูลขาวสาร เ กี่ ย ว กั บ “ส ห ก ร ณ ” กั บ ผู ที่ ต องการจะเป น สมาชิ กสหกรณ ก อ น เพื่ อ เขาจะได มี ค วามรู เบื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ สหกรณ เช น อาจจะมีการประชุม แจกแผนพับ ออกข าวในวิ ทยุ โทรทั ศน หรื อ วิทยุชุมชน เปนตน การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

* เมื่อเขาเข าใจพอสมควร ก็ ขอที่ 1 สามารถสมัครเข ามาเป นสมาชิ ก โดยรวมกลุมคนที่มีความตองการ ตรงกัน ซึ่งบุคคลที่รวมกลุมกันนี้ ตองเปนบุคคลธรรมดา และบรรลุ นิ ติ ภ าวะ ซึ่ ง บุ ค คลแต ล ะคนที่ สมัครเขามาเปนสมาชิก และเต็ม ใจรับผิดชอบในสหกรณนี้ จะไมถูก กีดกัน ไมวาบุคคลนั้นจะเปนเพศ ชายหรือเพศหญิง จะอยูในสังคม ต างกัน หรื อจะตางเชื้ อชาติ ต าง ศาสนาก็ เป นสมาชิ กสหกรณ ได หรื อ แ ม แต มี ความเห็ น ทา ง การเมื องที่ ต างกั นก็ เป นสมาชิ ก สหกรณ ไ ด เ ช น เดี ยวกั น ตาม หลักการสหกรณขอที่ 1

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

* การใชเครื่องมือกํากับการปฏิบัติ ทั้ง 3 ดานนี้อาจจะใชพรอมๆ กันใน แต ละขั้ นตอนการดํ าเนิ นงานหรื อ อาจจะใช ด านใดด านหนึ่ ง ในขณะ หนึ่งก็ได เชน ในขั้นเริ่มดําเนินการ :

อุดมการณสหกรณ

* การช ว ยตนเองและ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ตามอุดมการณสหกรณ โดยมากมักจะนํามาใช ในลักษณะของศีลธรรม และจริยธรรมกํากับการ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การ สหกรณ

* ใชดานกฎหมายและขอบังคับ * มี วิ นั ย และใช อิ ท ธิ - การจั ดตั้ ง : เป นไปตามพ.ร.บ. บาท 4 สหกรณ - คุณสมบัติของสมาชิก : เปนไป ตามขอบังคับ


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

หลักการ เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ สหกรณ มี 3 ดาน ที่ใช * เมื่ อ สมั ค รเข า มาเป น สมาชิ ก ขอที่ 2 * ใชดานสังคม สหกรณก็จะมีสิทธิ และหนาที่ ดังนี้ - มีจิตสํานึกในการเลือกคนดีเขามา สิทธิ - เขารวมประชุมแสดงความ เป น กรรมการไม ใ ช เ ล นพรรคเล น คิดเห็น พวกเพื่อเขามาแสวงหาผลประโยชน - ออกเสี ยงเลื อกตั้ งกรรมการ ในสหกรณ และมีสิทธิไดรับเลือกเปนกรรมการ - มี จิ ต สํ า นึ ก ในการเป น สมาชิ ก ที่ จะต องเข าร วมประชุ ม โดยเฉพาะ ใ น ที่ ป ร ะ ชุ ม ใ ห ญ ( ต าม ห ลั ก อยางยิ่งการประชุมเพื่อใชสิทธิและ ประชาธิปไตย) หนาที่ของตนในทางที่เหมาะสม - เลือกผูแทนของตนไปประชุม เพื่อออกเสียงแทน โดยสตรีมีสิทธิ ไดรับเลือกเทาเทียมกับบุรุษ * ใชดานเศรษฐกิจ - สอบถามการดําเนินงาน ขอดู - ลงทุนในสหกรณ เชน ถือหุน ฝาก เอกสารและรายงานประชุ ม ของ เงิ น เพื่ อ แสดงความเป น เจ า ของ สหกรณได ธุรกิจ (สหกรณ) หนาที่ - เข ารวมประชุ มทุ กๆครั้ ง - กู ยื ม เงิ น ใช บ ริ ก ารอื่ น ๆ ของ โดยเฉพาะอยางยิ่งการประชุมใหญ สห กร ณ เ พื่ อแสดงความเป น ของสหกรณ ผูใชบริการของสหกรณ - ทํ า ธุ ร กิ จ กั บ สหกรณ ทั้ ง ใน - จัดสรรเงินสวนเกินคืนสมาชิก เพื่อ ฐ า น ะ เ ป น เ จ า ข อ ง แ ล ะ เ ป น แสดงความเปนธุรกิจแบบสหกรณ ผูใชบริการ นั่นคือ ตองมีการลงทุน (ถือหุน/ฝากเงิน) และใชบริการของ สหกรณ (กูเงินและใชบริการอื่นๆ) เมื่ อ มี ส ว นเกิ น ก็ นํ า มาพิ จ ารณา จัดสรรคืนสมาชิก สิทธิและหนาที่ - กําหนดนโยบาย และแผนการดําเนินงานของสหกรณ ในที่ประชุมใหญ * ดั งนั้ นเมื่ อสมาชิ กรู สิ ทธิ หน าที่ ของตน และคณะกรรมการจัดตั้งได ยื่ น ข อ จั ด ตั้ ง ส ห ก ร ณ ต อ น า ย ทะเบียนสหกรณจนไดรับอนุมัติให จัดตั้งได สมาชิกทุกคนตองใชสิทธิ และหนาที่ของตนใหสมบูรณ การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

29

อุดมการณสหกรณ * ใชอิทธิบาท 4 ในการ ชวยตนเอง

* ใช สั ง คหวั ต ถุ 4 ใน การช ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกัน


30

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 2 ขั้นบํารุงรักษา

หลักการ สหกรณ ที่ใช ขอ 3,4

* ดั งได กล าวในช วงวิ เคราะห ขอที่ 3 หลั ก การสหกรณ แ ล ว ว า เมื่ อ รั บ สมาชิกสหกรณเขามา (ตามหลักการ ขอที่ 1) มีการคัดเลือกคณะกรรมการ ดําเนินการแลว (ตามหลักการขอที่ 2) สหกรณ จะอยู เ ฉยๆ โดยไม ทํ า ธุ รกิ จไม ได เพราะสมาชิ กสหกรณ เป น ทั้ ง เจ า ของสหกรณ แ ละเป น ผู ใ ช บ ริ ก ารจากสหกรณ เป น ผู ควบคุมสหกรณดวย ดังนั้นในฐานะ เจ าของสหกรณ จะต องเป นผู “ให ” อย างเที่ ยงธรรม คื อ ต องลงทุ นใน ธุ ร กิ จ ของตนโดยการถื อ หุ น ใน สหกรณ ซึ่ งจะมี ทั้ งหุ นเมื่ อแรกเข า หุนระหวางการเปนสมาชิก และถือ หุนเพิ่มตามที่ตองการ นอกจากนั้น ต องมี ส วนร วมในการดํ าเนิ นธุ รกิ จ คื อ ร วมวางแผน และกํ าหนด นโยบายในการดําเนินงาน ในฐานะผู ให บริ การของสหกรณ สมาชิกตองมาใชบริการของสหกรณ เชน มาซื้อ - ขายสินคากับสหกรณ มาฝากเงิน - กูเงินกับสหกรณ มาใช บริการอื่นที่สหกรณ จัดไวบริการ ในฐานะเจาของสหกรณ สมาชิกจะ ทําหนาที่ควบคุมการ “ใช” จายเงิน และการจั ด สรรเงิ น ส ว นเกิ น ของ สหกรณใหเกิดความเที่ยงธรรม โดย ใหเปนไปตาม หลักการสหกรณขอ 3

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

* ใชดานเศรษฐกิจ - ลงทุนในหุนของสหกรณ - ฝากเงิน (ออมเงิน) - กูเงิน - จัดสรรเงินสวนเกิน (กําไร)

อุดมการณสหกรณ

* ใช สั ง คหวั ต ถุ 4 ใน การชวยตนเอง และใช สาราณียธรรม 6 ในการ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน * มี หิ ริ โอตั ป ปะ คื อ ความเกรงกลั ว และ ละอายต อ บาปจนไม * ใชดานสังคม ก ล า ทุ จ ริ ต ห รื อ - ไมเลนพรรคเลนพวก - ไมจัดสรรประโยชนใหตัวเองจน ประพฤติมิชอบในการ ลื ม นึ ก ถึ ง ความพอดี พอประมาณ ร ว ม ทํ า ธุ ร กิ จ กั บ และมี เหตุ มี ผล (นั่ นคื อ ความ สหกรณ ทั้ งในฐานะ ส ม า ชิ ก แ ล ะ ฐ า น ะ พอเพียง) คณะกรรมการ


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน ในกรณี ที่ ส หกรณ จั ด สรรเงิ น ส วนเกิ น นอกเหนื อจากหลั กการ สหกรณแตเปนไปตามขอบังคับและ พ.ร.บ.สหกรณ เชน การกําหนดเงิน โบนัส คณะกรรมการและเจาหนาที่ ฯลฯ ซึ่งมีสหกรณออมทรัพยหลาย สหกรณ ได จั ดสรรเงิ นส วนเกิ น ไว ดังนี้ 1. จัดสรรใหเปนไปตามหลักการ สหกรณ ตามกฎหมายและขอบังคับ สหกรณ เชน - ทุนสํารองตามกฎหมาย - เงินบํารุงสันนิบาตสหกรณ 2. จัดสรรใหสมาชิกตามหลักการ สหกรณ ในรู ปของเงิ นป นผลและ เงินเฉลี่ยคืน เชน - เงินปนผลตามหุนที่ชําระแลว - เงินเฉลี่ยคืนตามอัตราสวนของ ธุรกิจที่สมาชิกกระทํากับสหกรณ 3. จัดสรรใหสมาชิก ตามหลักการ สหกรณ เพื่ อพั ฒนาสหกรณ ในรู ป ทุน สวัสดิการ และสาธารณประโยชน เชน - ทุนรักษาระดับเงินปนผล - ทุนสะสมเพื่อขยายกิจการ - ทุนสงเสริมการศึกษา - ทุ นส งเสริ มสวั สดิ การของ สมาชิก - ทุนสาธารณประโยชน 4. จั ดสรรให กรรมการและ เจาหนาที่ของสหกรณในรูปของเงิน โบนัส

หลักการ สหกรณ ที่ใช

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน * ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - การ “ให ” คื อการลงทุ นใน สหกรณ หรื อทํ าธุ รกิ จกั บสหกรณ และการ “ใช ” คื อ การจั ด สรรเงิ น ส ว นเกิ น ของสหกรณ ต อ งเป น ไป ตาม หลั ก การสหกรณ กฎหมาย ขอบังคับ และระเบียบของสหกรณ - การผิดสัญญาหรือผิดขอตกลงที่ ทําไวกับสหกรณก็อาจจะตองมีการ ปรับ การดําเนินคดีตามกฎหมาย

31

อุดมการณสหกรณ


32

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

หลักการ สหกรณ ที่ใช

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

ในการจั ด สรรเงิ น ส ว นเกิ น นี้ สหกรณอาจจะตองเพิ่มในเรื่องทุน สนับสนุนดานกีฬา, จริยธรรมและ ด านสิ่ งแวดล อ มให ชั ด เจน โดยมี กิจกรรมรองรับเพื่อใหสอดคลองกับ หลักการสหกรณขอที่ 7 * ในการทํ า ธุ ร กิ จ ของสหกรณ ขอที่ 4 อาจจะต องมี การพึ่ งพาหน วยงาน ของรั ฐบาล หรื อมี การไปกู ยื มเงิ น จากสหกรณอื่น / สถาบันการเงินอื่น หรือใหสถาบันการเงินอื่นกูยืม หรือ ไปร ว มลงทุ น / ร ว มทํ า ธุ ร กิ จ กั บ เอกชน คณะกรรมการต อ งให สมาชิ กมี ส วนร วมในการตั ดสิ นใจ ไม ใชใช อํานาจของคณะกรรมการ หรื อ ผู จั ด การไปดํ า เนิ น การ โดย สมาชิกมิไดเห็นชอบดวย เมื่อเขาไป เกี่ยวของพึ่งพารัฐบาลหรือเกี่ยวของ ด านธุ รกิ จกั บคู สั ญญาแล วก็ ไม ได หมายความวา สหกรณตองตกเปน เบี้ ย ล า งภายใต ก ารควบคุ ม ของ รัฐบาลหรือของคูสัญญา คูสัญญาจะ ใช สิ ทธิ ควบคุ ม / ครอบงํ ากิ จการ สหกรณไมได สหกรณจะตองยังคง ความเป นอิ สระในการบริ หารงาน ภายใต อํ า นาจการควบคุ ม ของ สมาชิกตามแนวทางประชาธิปไตย

* ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - ทําสัญญา, ขอตกลงในทางธุรกิจ หรือขอความชวยเหลือจากรัฐบาล ให เป นไปตามกฎหมาย ข อบั งคั บ และ ระเบียบ * ใชดานสังคม - สมาชิ กใช วิ จารณญาณในการ พิจารณาขอความชวยเหลือ หรือทํา สัญญาขอตกลงกับองคการของรัฐ หรือเอกชน วาสหกรณจะเสียเปรียบ หรือเปนแหลงแสวงหาผลประโยชน ของผูที่เขามาเกี่ยวของหรือไม หรือ เป น ความมั ก ง า ย เห็ น แก ไ ด ข อง สหกรณ ไ หม ให พิ จ ารณาความ พอเพียง ความพอประมาณ ความมี เหตุ มี ผลในการดํ าเนิ น ธุ ร กิ จด ว ย ทั้งนี้ตองใชความรูคูคุณธรรมในการ ดําเนินธุรกิจแตละดานดวย

* ใชการชวยเหลือซึ่งกัน และกั น เป น หลั ก และ พยายามใชคุณธรรมใน การทําธุรกิจ สมาชิก / คณะกรรมการ / ผู จั ดการ / เจ าหน าที่ สหกรณ ต องมี แนวคิ ด ในการรั ก และภั กดี ต อ สหกรณ ไม สร างภาระ ผู กพั นกั บองค การของ รั ฐ ห รื อ เ อ ก ช น อื่ น สถาบั นการเงินอื่นเพื่ อ ประโยชน ข องตั ว เอง หรือกลุมของตัวเอง


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 3 พัฒนาใหยั่งยืน

หลักการ สหกรณ ที่ใช ขอ 5,6,7

* การศึกษา ฝกอบรมและขอมูล ขอที่ 5 ข า วสาร เป น ส ว นสํ า คั ญ ในการ พัฒนาคน โดยเฉพาะอยางยิ่งคนที่ อยู ในขบวนการสหกรณ ไม ว าจะ เ ป น ส ม า ชิ ก ตั ว แ ท น ส ม า ชิ ก ผู จั ดการ เจ าหน าที่ เยาวชน และ บรรดาผูนําทางดานความคิด (ผูนํา ทางสั ง คม ผู นํ าทางศาสนา ฯลฯ) ควรจะตองมีความรู ความเขาใจใน ปรัชญา อุดมการณ หลักการ และ วิ ธี ก ารสหกรณ รวมทั้ ง มี ค วามรู ความเขาใจในการดําเนินธุรกิจ เฉพาะดาน ดังนั้น สหกรณจึงควร ใหมีการพัฒนาคนในสหกรณ เชน - ใหทุนสนับสนุนการศึกษาตอแก เจาหนาที่ ผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ ของสหกรณ ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก โดยมีขอผูกพันวา เมื่อ เรียนสําเร็ จแลว ตองทํางานใหกับ สหกรณตอไป เปนตน - ใหทุนฝกอบรม / สัมมนา / ดูงาน สํ าหรั บสมาชิ กสหกรณ เจ าหน าที่ ผู จั ดการ ผู ช วยผู จั ดการ เยาวชน และบรรดาผูนําทางดานความคิด - จัดทําขอมูลขาวสารที่จําเปนของ สหกรณ ในรูปของหนังสือ เอกสาร เทป Website VCD DVD และผาน สื่อต างๆ เช น วิ ทยุ โทรทั ศน หนังสือพิมพ รวมทั้ง

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

33

อุดมการณสหกรณ

* ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - กรณีใหทุนการศึกษา : ตองทํา สัญญา, ขอตกลงตามกฎหมาย

* ใชดานสังคม - เ ป น กา ร ปลู กฝ ง จิ ต สํ า นึ ก เกี่ยวกับสหกรณใหแกผูที่เกี่ยวของ เพื่อกลุมคนเหลานี้จะไดตระหนักถึง การดําเนินธุรกิจแบบสหกรณอยาง เขาใจชัดแจง

* ใ ช อิ ท ธิ บ า ท 4 แ ล ะ ทิ ฎ ฐ ธั ม มิ กั ต ถ ประโยชน ใ นการช ว ย ตนเอง


34

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

หลักการ สหกรณ ที่ใช

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ

สงโดยตรงใหบุคคลและหนวยงานที่ เกี่ยวของเพื่อเปนการขยายความรู ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ สหกรณ ใ ห กวางขวางในหมูคนที่เกี่ยวของ

- ป ลู ก ฝ ง ค ว า ม รู เ กี่ ย ว กั บ * ใชสังคหวัตถุ 4 และสา สิ่งแวดลอม เชน การใชทรัพยากร ราณี ย ธรรม 6 ในการ การใชพลังงานอยางประหยัด การ ชวยเหลือ ซึ่งกันและกัน นําของเหลือใชกลับมาใชใหม, การ ใช จายเงินใหคุมค า เพื่ อไมใหเกิ ด ป ญ ห า ใ น ค ร อ บ ค รั ว ( เ พ ร า ะ ครอบครั ว และคนล อมรอบตั วเรา เป น สิ่ ง แวดล อ มด ว ย เมื่ อ เกิ ด ผล กระทบจากปญหาหนึ่งตอคนหนึ่งจะ สงผลใหกระทบตอคนอื่นๆได และ จะนํามาซึ่งปญหาสังคมตอไป)

* ความรวมมือระหวางสหกรณ ขอที่ 6 -เมื่ อ สหกรณ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ตาม หลักการ ข อ 3 และ 4 แล ว ธุ รกิ จ อาจจะเติบโตจึงตองการขยายธุรกิจ แตลําพังสหกรณของตนเองอาจจะมี ปริมาณธุ รกิ จไม เพี ยงพอ / หรือมี เงินลนระบบ จึงตองมีการเชื่อมโยง ธุ ร กิ จกั บ สหกรณ อื่ น ทั้ ง ในระดั บ เดียวกันหรือตางระดับกันก็ได เชน ป บั ญชี 2547 สหกรณ ออมทรั พย ข า ราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร จํ า กั ด ให ส หกรณ อ อมทรั พ ย ค รู บุ รี รั ม ย สุ ริ น ทร อุ บ ลราชธานี ขอนแก น พะเยา อุ ดรธานี กระบี่ และกรมสามัญศึกษาจังหวัดเลย กู ส หกรณ ละ 20 – 150 ล านบาท รวม 740 ลานบาท (รายงานกิจการ ประจําป, 2547)

* ใชดานกฎหมายและขอบังคับ - การกู ยื มเงิ น การฝากเงิ น ระหว า งสหกรณ จ ะต อ งมี สั ญ ญา, หลักฐานการรับฝาก, การชําระคืน แ ล ะ ต อ ง อ ยู ภ า ย ใ ต ร ะ เ บี ย บ ขอบังคับ และกฎหมาย * ใชดานเศรษฐกิจ - ในกรณีเชื่อมโยงธุรกิจระหวาง สหกรณ

* ใชการชวยเหลือซึ่งกัน และกันในดานเงิน และ ความรู บนพื้ นฐานของ ความเสี ย สละและการ แบงปน


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

หลักการ สหกรณ ที่ใช

และนํ า เงิ น ไปฝากสหกรณ อื่ น อี ก เกื อ บ 200 ล า น (รายงานกิ จ การ ประจําป, 2547) - นอกจากรวมมือโดยฝากเงินและ กูยืมเงินระหวางสหกรณแลว อาจจะ ร ว มมื อ ทางด า นวิ ช าการได เช น สหกรณ อ อมทรั พ ย ร ะดั บ ท อ งถิ่ น อาจจะขอความร ว มมื อ จากชุ ม นุ ม สหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํ า กั ด ในการจั ด อบรมให ส มาชิ ก สหกรณ / คณะกรรมการ /เจาหนาที่ ฯลฯ ถื อ เป นการร วมมื อ ต า งระดั บ (รวมมือในแนวดิ่ง)ระหวางสหกรณ - หรื อ อาจจะมี ก ารแลกเปลี่ ย น ขอมูลขาวสารดานการเงินและภาวะ ดอกเบี้ ยระหว า งสหกรณ หรื อ สถาบันการเงินอื่น ขอที่ 7 * เอื้ออาทรตอชุมชน - เพี ยงข อความสั้ นๆ ในหลั กการ สหกรณขอ 7 ที่วา สหกรณพึงดําเนิน กิ จกรรมเพื่ อการพั ฒนาที่ ยั่ งยื นของ ชุ มชนตามนโยบายที่ มวลสมาชิ กให ความเห็นชอบ และมีการขยายความ ตอใน Co-operative Agenda 21 วา สหกรณ ทุ ก ประเภทต อ งมี ก าร เรียนรูและดําเนินการในดานการ พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น แ ล ะ อ นุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม โดยกํ า หนดไว ว า สหกรณออมทรัพยตองใชกลยุทธ ด า น ก า ร เ งิ น ใ ห เ กิ ด ก า ร เปลี่ ยนแปลงทั ศนคติ ของคนใน การดูแลสิ่งแวดลอม

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

35

อุดมการณสหกรณ

* ใชดานสังคม - ในกรณี ช วยเหลื อ เกื้ อ กู ลด า น วิชาการและขอมูลขาวสารระหวาง สหกรณและสถาบันอื่นที่เกี่ยวของ เพื่ อให ความรู แก คนในขบวนการ สหกรณ และเพื่ อประโยชน ในการ บริหารงาน

* ใชดานสังคม - สร า งจิ ต สํ า นึ ก ในการอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม โดยการอบรมเชิ ง ปฏิบัติการ

* ช วยตนเองโดยสร าง นิสัยประหยัด * ชวยเหลือซึ่งกันและกัน โดยช วยกั นดู แลและ รั ก ษ า ท รั พ ย า ก ร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


36

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน ดังนั้น การนําหลักการสหกรณขอ นี้ไปใชในสหกรณออมทรัพย นาจะ เปนการใหความรูในดานสิ่งแวดลอม แกผูที่เกี่ยวของ โดยวิธีการฝกอบรม เชิงปฏิบัติการและสรางจิตสํานึกใน การประหยั ดพลั ง งาน การใช ทรั พ ยากรอย า งประหยั ด และจั ด สภาพแวดลอมในสํานักงาน / ในบาน ใหเปนไปตามวิธีการจัดการอนามัย สิ่งแวดลอม เชน - ความปลอดโปรงของสํานักงาน / บาน ที่เนนการประหยัดพลังงาน - จัดถังขยะโดยแยกประเภทขยะ เปนขยะเปยก ขยะแหง ขยะเปนพิษ - แนะนํ า สมาชิ ก ที่ กู ยื ม เงิ น จาก สหกรณ ให ใช เงิ น อย างประหยั ด รู คุ ณ ค า ของเงิ น ส ง เสริ ม ให นํ า ของ เหลื อ ใช กลั บมาใช ใหม และใช เงิ น โดยประมาณการรายได เ ที ย บกั บ รายจ า ย สร า งนิ สั ย อุ ด รู รั่ ว ของ รายจายแทนที่จะหารายไดมาใสตุมที่ รั่วโดยการกูยืม เชน อุดรูรั่วจากการ พนั น จากค าโทรศั พท (ที่ ไร สาระ) จากการเที่ยวเตร จากการซื้อสิ่งของ เกิ นความจํ าเป น เช น กู เงิ นซื้ อ รถ ใหม (ทั้งๆ ที่คันเกายังใชได) เปนตน การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการนี้ อาจจะ เปนการใชเทคนิคการแบงกลุมเพื่อ คนหาปญหาการเปนหนี้ และหาแนว ทางแกไขปญหาโดยสมาชิกกลุมเอง เพื่อเขาจะไดนําไปใชในชีวิตจริงได

หลักการ สหกรณ ที่ใช

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

อุดมการณสหกรณ


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

การใชหลักการสหกรณมี 3 ขั้นตอน

หลักการ สหกรณ ที่ใช

เครื่องมือที่ใชกํากับการปฏิบัติ มี 3 ดาน

37

อุดมการณสหกรณ

- สรางกิจกรรม หรือฝกอบรมดาน การสร า งอาชี พ เสริ ม รายได / ลด ค า ใ ช จ า ย เ พื่ อ ล ด ป ญ ห า ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ส ม า ชิ ก ส ห ก ร ณ อั น เนื่องมาจากภาวะหนี้สิน อบรมสมาชิกเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิ จพอเพี ยง อบรมสมาชิ ก เกี่ ย วกั บ การจั ด ทํ า บั ญ ชี ครั ว เรื อ น และนํามาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

ดังนั้น จึงสรุปไดวา ขบวนการสหกรณจะประสบความสําเร็จได ตองอาศัยความชวยเหลือตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกันของกลุมคนที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูนําทางแนวคิด ตองเขาใจ ปรัชญา สหกรณ อุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ และวิธีการสหกรณที่ถูกตอง จึงจะสามารถถายทอดสูผูอื่น ไดอยางถูกตองแมนยํา และเขาใจไดงาย ผูปฏิบัติก็จะสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง และจะนําความ กินดี อยูดี มีความยุติธรรมและสันติสุขมาสูประชาชนไดอยางแทจริง 6. ปญหาของสหกรณออมทรัพย และแนวทางแกไขโดยประยุกตปรัชญา และอุดมการณสหกรณ จากการระดมความคิดของนักสหกรณประมาณ 140 คน เพื่อวิเคราะหปญหาในสหกรณออมทรัพย และหาแนวทางแกไข ในโครงการผลิตมหาบัณฑิตสาขาเศรษฐศาสตรสหกรณ สําหรับนักบริหารสหกรณ มหาวิ ท ยาลั ยแม โ จ ระหว า งป ก ารศึ ก ษา 2544 - 2547 ซึ่ ง ผู ที่ มี ส ว นร ว มในการเสนอความคิ ด เห็ น ประกอบดวย นักบริหารที่เปนทั้งสมาชิกสหกรณออมทรัพย คณะกรรมการสหกรณออมทรัพย ผูจัดการ / ผูชวยผูจัดการสหกรณออมทรัพย ประธานกรรมการสหกรณ / รองประธานกรรมการสหกรณออมทรัพย เจาหนาที่สหกรณออมทรัพย และผูที่เกี่ยวของกับสหกรณออมทรัพย จากกรมสงเสริมสหกรณ กรมตรวจ บัญชีสหกรณ สันนิบาตสหกรณ ชุมนุมสหกรณ (ออมทรัพย, การเกษตร, รานคา) ธ.ก.ส. ธนาคารออมสิน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย สํานักพระราชวัง กรมสื่อสารทหารอากาศ กรมทรัพยากรธรณี ฯลฯ ผลการวิเคราะหปญหาในสหกรณออมทรัพย และแนวทาง แกไข สามารถสรุปได 7 ดาน คือ 1. ดานบุคลากร 2. ดานการบริหารจัดการ 3. ดานความรวมมือระหวางสหกรณ 4. ดานการเงิน (ดานเศรษฐกิจ) 5. ดานสังคม 6. ดานการเมือง 7. ดานสิ่งแวดลอม ดังรายละเอียดตอไปนี้


38

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ปญหา

แนวทางแกไข

1. ดานบุคคล 1.1 สมาชิกสหกรณ * ขาดความรู ความเข าใจในปรั ชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ * ไมเขาใจในสิทธิและหนาที่ของตน เพราะไม เข า ใจกฎหมาย ข อ บั ง คั บ และระเบี ย บของ สหกรณ * ขาดการมีสวนรวมในการบริหาร คือ ไมเขา ร วมประชุ มใหญ เพื่ อร วมกํ าหนดนโยบายและ แผนงานของสหกรณ * ขาดความซื่อสัตยและไมปฏิบัติตามสัญญา รวมทั้งกดดันใหสหกรณแกไขระเบียบการถือหุน เพื่อจะไดถือหุนในอัตราที่ต่ําแตผอนสงเงินกูคืน ในจํานวนที่ต่ํา ระยะเวลาที่ยาวนานที่สุด

1. ดานบุคคล 1.1 สมาชิก * ใหการศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสาร ในเรื่องปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการ สหกรณแกสมาชิกอยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง โดยสหกรณ อาจจะดํ าเนินการเอง หรือรวมมื อ ทางวิ ชาการกั บชุ มนุ มสหกรณ ออมทรั พย แห ง ประเทศไทย จํากัด หรือสถาบันการศึกษาและ ผูเชี่ยวชาญดานสหกรณก็ได * ปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรม สิทธิ และหนาที่ ใหสมาชิ กมี ความสามัคคี ภั กดีและ ซื่อสัตยตอสหกรณ * สรางแรงจูงใจเพื่อใหสมาชิกเขามามีสวน ร ว มในการบริ ห ารงานของสหกรณ โดยการ ประชาสัมพันธหลากหลาย เชน ทํา Website ทํา Call Center เพื่อตอบปญหาหรือมีมุมพักผอน เช น หั ต ถเวช มุ ม อ า นหนั ง สื อ มุ ม เครื่ อ งดื่ ม สมุนไพรในการรักษาสุขภาพในสหกรณ และใน บริเวณที่มีการประชุมใหญ * ส งเสริ มการออม การสร างนิ สั ยประหยั ด โดยอาจจะทํ า workshop และสร างแรงจู งใจให รางวั ลแก ผู ที่สามารถทํ าได ภายใน 3 เดื อน 6 เดือน โดยมีกิจกรรมอยางตอเนื่อง ซึ่งจะเปนการ ลงทุนในระยะแรก เพื่อสงผลดีในระยะยาว 1.2 คณะกรรมการ * ใหการศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสารใน เรื่ องปรั ชญา อุ ดมการณ หลั กการ และวิ ธี การ สหกรณแกคณะกรรมการอยางสม่ําเสมอ และ ตอเนื่องโดยสหกรณอาจจะดําเนินการเอง หรือ รวมมือทางวิชาการกับชุมนุมสหกรณออมทรัพย แหงประเทศไทย จํากัด หรือสถาบันการศึกษา และผูเชี่ยวชาญดานสหกรณก็ได

* วินัยการออมมีนอย * ขาดการประมาณตน ไม มี แ ผนการใช จายเงินในชีวิต

1.2 คณะกรรมการ * ขาดความรู ความเข า ใจในปรั ช ญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ * ขาดความรูดานการบริหาร และไมเขาใจใน พระราชบั ญญั ติสหกรณ ข อบังคั บสหกรณและ ระเบียบสหกรณ


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ปญหา * ประพฤติตนไมเหมาะสม เชน - แสดงอภิสิทธิ์ เลนพรรคเลนพวก - ละเลยการปฏิบัติตามกฎเกณฑของสหกรณที่ กําหนดไว - ทุจริตและไมโปรงใส - ครอบงําความคิดของสมาชิกเพื่อใหเห็นดวย กับความคิดของตน

1.3 เจาหนาที่สหกรณ * ขาดความรู ความเขาใจในปรัชญา อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ * ขาดความรู ด านการบริ หาร และการดํ าเนิ น ธุรกิจ * ขาดความรับผิดชอบตอหนาที่ * ขาดความสามัคคี

1.4 ผูตรวจสอบกิจการ * ขาดความรู ความสามรถทางด า นการ ตรวจสอบกิจการ * ไมรูบทบาทหนาที่ของตนในฐานะผูตรวจสอบ กิจการ

39

แนวทางแกไข * ปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรม สิทธิ และหนาที่ ใหคณะกรรมการมี ความสามัคคี ภั กดี และซื่อสัตยตอสหกรณ * ฝกอบรมดานการบริหารงานสหกรณอยางมือ อาชีพแกคณะกรรมการ * สร า งกระบวนการเลื อ กตั้ ง คณะกรรมการ สหกรณ ใ หม ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยต อ งมี ก าร ทดสอบความรูเกี่ยวกับสหกรณกับผูสมัครกอน * ใหคณะกรรมการเขารับการอบรมในโรงเรียน ผูนําที่ จ. กาญจนบุรี และควรจะผานการเรียนรูตาม รอยพระยุคลบาทดวย 1.3 เจาหนาที่สหกรณ * ใหการศึกษา ฝกอบรม และขอมูลขาวสารใน เรื่ อ งปรั ช ญา อุ ด มการณ หลั ก การ และวิ ธี ก าร สหกรณแกเจาหนาที่สหกรณอยางสม่ําเสมอ และ ต อ เนื่ อ งโดยสหกรณ อ าจจะดํ า เนิ น การเอง หรื อ รวมมือทางวิชาการกับชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหง ประเทศไทย จํ า กั ด หรื อ สถาบั น การศึ ก ษาและ ผูเชี่ยวชาญดานสหกรณก็ได * ปลู กจิ ตสํานึกดานคุณธรรม จริ ยธรรม สิ ทธิ และหนาที่ ใหเจาหนาที่สหกรณมีความสามัคคี ภักดี และซื่อสัตยตอสหกรณ * ฝกอบรมดานการบริหารงานสหกรณอยางมือ อาชีพแกเจาหนาที่สหกรณ * สร า งกิ จ กรรมร ว มกั น ของเจ า หน า ที่ เช น กิจกรรมดานกีฬาเพื่อสุขภาพ ฯลฯ 1.4 ผูตรวจสอบกิจการ * ฝ กอบรมเรื่ องบทบาท หน าที่ และกฎหมาย เกี่ยวกับธุรกิจ กฎหมายสหกรณ (พ.ร.บ. สหกรณ) แกผูตรวจสอบกิจการ * กําหนดคุณสมบัติของผู ตรวจสอบกิ จการให ตรงกับหนาที่ที่จะตองดําเนินการ * ปลู กจิ ตสํานึกดานคุณธรรม จริ ยธรรม สิ ทธิ และหนาที่ ใหผูตรวจสอบกิจการ


40

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ปญหา 2. ดานการบริหารจัดการ * ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ * ขาดการวิ เ คราะห ส ภาพแวดล อ มภายในและ ภายนอกเพื่อนํามาปรับใชใหเหมาะสมกับสหกรณใน สถานการณปจจุบัน * ขาดการพัฒนาทักษะ ความรูและประสบการณที่ ทันสมัยของนักบริหารและผูปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง และอยางเปนระบบ * นํากําไรที่ไดจากการทําธุรกิจกับบุคคลภายนอกมา แบ งป นกั นเอง ซึ่ งที่ จริ งจะต องนํ าไปใช ในกิ จการ สาธารณประโยชน

แนวทางแกไข 2. ดานการบริหารจัดการ * จัดทําแผนงานโครงการที่ชัดเจนและระยะยาว * รวบรวมข อมู ลธุ รกิ จให เป นระบบเพื่ อใช ในการ ตัดสินใจของผูบริหาร และกําหนดใหมีการติดตาม ประเมินผลอยางชัดเจน * กํ า หนดทิ ศ ทางการพั ฒ นาสหกรณ ที่ ชั ด เจน ตอเนื่องและเปนระบบ รวมทั้งใหความรู ฝกอบรม และขอมูลขาวสารดานบริ หารจัดการ การติ ดตาม ประเมิ น ผลแก บุ ค ลากรด า นสหกรณ (กรรมการ เจาหนาที่ และผูตรวจสอบกิจการ) * กํ าหนดในข อบั งคั บให นํ ากํ าไรที่ ได จากการทํ า ธุ ร กิ จ กั บ บุ ค คลภายนอกไปใช เ พื่ อ สาธารณ ประโยชน และดานอนุรักษสิ่งแวดลอม

3. ดานความรวมมือระหวางสหกรณ * การเชื่อมโยงระหวางสหกรณยังไมเขมแข็ง * ไมมีศูนยกลางพัฒนาบุคลากรสหกรณออมทรัพย อย า งเป น ระบบ เพื่ อ สร า งแนวคิ ด ทิ ศ ทาง และ มาตรฐานการดํ าเนิ นงานสหกรณ ออมทรั พย ให มี ประสิทธิภาพ

3. ดานความรวมมือระหวางสหกรณ * ควรมีการจัดทํากิจกรรมรวมกันระหวางสหกรณ ออมทรัพยดวยกัน และกับสหกรณประเภทอื่น เพื่อ สร า งความสั ม พั น ธ อั น ดี ร ะหว า งสหกรณ โดยมี ชุมนุมสหกรณออมทรั พยแหงประเทศไทย จํากั ด เปนผูดําเนินการ * จัดประชุม workshop เพื่อหาแนวทางเชื่อมโยง เครือขายสหกรณที่เขมแข็งและมีประสิทธิภาพ * จั ดให มี การประกั นภั ยเพื่ อลดความเสี่ ยง กรณี สหกรณ อ อมทรั พ ย ป ล อ ยเงิ น กู ใ ห กั บ สหกรณ การเกษตรซึ่งมีความเสี่ยงสูง * ประชาสั ม พั น ธ เพื่ อ สร า งภาพลั ก ษณ ที่ ดี ใ ห สหกรณออมทรัพย และสรางความรูความเขาใจใน ดานความรวมมือระหวางสหกรณใหผูที่เกี่ยวของ


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

ปญหา 4. ดานการเงิน (ดานเศรษฐกิจ) * ป ญ หาเงิ น ขาด คื อ ทุ น ดํ า เนิ น งานไม เ พี ย ง พอที่จะตอบสนองความตองการของสมาชิกซึ่ ง มักจะเกิดกับสหกรณออมทรัพยขนาดเล็ก

* ปญหาเงินลนระบบหรือเงินเหลือ ซึ่งมักจะเกิด กับสหกรณออมทรัพยขนาดใหญ

* ไมมีสถาบันการเงินกลางของขบวนการสหกรณ ออมทรัพยที่แทจริง ที่จะเปนหนวยงานสนับสนุน สงเสริม ชวยเหลือ กับดูแล และคุมครองเมื่อเกิด ปญหาสภาพคลองทางการเงิน หรือเกิดปญหา การบริหารการเงินอยางปจจุบันทันดวน

แนวทางแกไข 4. ดานการเงิน (ดานเศรษฐกิจ) * - ระดมทุ น โดยให ส มาชิ ก ถื อ หุ น เพิ่ ม หรื อ กําหนดใหปนผล และเงินเฉลี่ยคืนเปนหุนแทน เงิน - จั ด สั ป ดาห อ อมทรั พ ย ประชาสั ม พั น ธ ใ ห สมาชิกฝากเงินเพิ่ม โดยการสรางแรงจูงใจ และ ใหความรูในการประหยัดแกสมาชิก - สร างนิ สัยการออมโดยอาจขอความรวมมื อ จากสมาชิ ก ออมทุ ก เดื อ น โดยตั ด จ า ยจาก เงินเดือน เชนเดียวกับเงินคาหุน - กูเงินจากสหกรณออมทรัพยที่มีเงินลนระบบ โดยพิจารณาความพอดี พอประมาณ และความมี เหตุมีผลในการกูดวย * - จํากัดวงเงินฝากของสมาชิกแตละคน - ใชเกณฑกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมีสวนตาง กับอัตราตลาดนอยที่สุด - แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางสหกรณเพื่อ ปลอยสินเชื่อใหสหกรณอื่น - ขยายสิ น เชื่ อ ในรู ป แบบต า งๆที่ เ ป น การ สงเสริมรายได และที่ไมเปนการขัดตอศีลธรรม อันดี หรือเปนการสรางความฟุมเฟอยใหสมาชิก โดยกําหนดอัตราดอกเบี้ยที่ต่ํากวาปกติ * จัดตั้งธนาคารสหกรณเพื่อเปนสถาบันการเงิน การเงินกลางในการสนับสนุน สงเสริม ชวยเหลือ กํ ากั บดู แลและคุ มครองสหกรณ เมื่ อสหกรณ มี ปญหาสภาพคลองทางการเงิน

41


42

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ปญหา

แนวทางแกไข

5. ดานสังคม * สมาชิกนําเงินกูไปใชผิดวัตถุประสงคทําใหเกิด ภาระหนี้สิน และมีปญหาครอบครัวตามมา สงผล ใหเกิดปญหาการทะเลาะเบาะแวง การหยาราง เด็กขาดความอบอุน กอใหเกิดปญหาสังคมตางๆ ตามมาอีกมากมาย

5. ดานสังคม * สร า งระบบการตรวจสอบการใช เ งิ น กู ข อง สมาชิก และถาสมาชิกใชเงินกูผิดวัตถุประสงค ตองมีระบบการลงโทษ เชน ไมใหกูในคราวถัดไป หรือลดวงเงินกูลง เปนตน * สรางจิตสํานึกในดานการประหยัด และความ พอเพี ยงโดยให ความรู เรื่ องเศรษฐกิ จพอเพี ยง และการปรั บ ใช ใ นสหกรณ อ อมทรั พ ย ใ ห แ ก สมาชิกเพื่อสรางศรัทธาและความเชื่อมั่น 6. ดานการเมือง * สร า งความรู ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ ปรั ช ญา อุดมการณ หลักการ และวิธีสหกรณใหสมาชิกได เข า ใจ เพื่ อ จะได ใ ช วิ จ ารณญาณในการเลื อ ก ประธานกรรมการสหกรณ

6. ดานการเมือง * ปญหาการเลือกตั้งประธานกรรมการสหกรณที่ มี ก ารเมื อ งเข า มาแทรกแซง เพราะประธาน กรรมการสหกรณ ส ว นใหญ เ ป น บุ ค คลของ นั กการเมื องทั้ งระดั บท องถิ่ นและนั กการเมื อง ระดับชาติ 7. ดานสิ่งแวดลอม * การพิจารณาใหสินเชื่อแกสมาชิก ปจจุบันไมได คํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น ต อ ชุ ม ชนและ สิ่งแวดลอม

7. ดานสิ่งแวดลอม * ไม ปล อยสิ นเชื่ อให แก สมาชิ กที่ นํ าเงิ นไปใช ในทางที่ผิดตอศีลธรรม เชน นําไปสรางรายได โดยผลิตสุราพื้นบาน ฯลฯ หรือไมปลอยสินเชื่อ ใหสมาชิกที่มีรายไดไมพอกับรายจาย เพราะจะ ทําใหเกิดปญหาในครอบครัวสมาชิกในระยะยาว ซึ่งจะสงผลใหเกิดปญหาสังคมไดดวย


ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะห และการประยุกตใช

43

ขอเสนอแนะจากการระดมความคิด ปจจุบันสหกรณออมทรัพย ตองมีการทบทวนภาพลักษณที่มีตอสายตาของสังคมภายนอก เพราะ สหกรณมุงหวังแตจะนํากําไรมาแบงปนเปนหลัก การดําเนินการของสหกรณออมทรัพย ไมเปนไปตาม ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ วิธีการของสหกรณที่แทจริง การที่จะทําใหสหกรณออมทรัพย ซึ่งถือ วาเปนสหกรณประเภทหนึ่งมีประสิทธิภาพและเปนไปตามปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการและวิธีการ สหกรณนั้นตองกลับไปดูจุดมุงหมายการจัดตั้งสหกรณออมทรัพยวามีวัตถุประสงคอยางไร ซึ่งสามารถแยก ได ดังนี้ 1. สหกรณออมทรัพยมีความมุงหมายสําคัญ 2 ประการ คือ (1) สงเสริมใหสมาชิกมีนิสัยประหยัดและออมทรัพย โดยชวยใหสามารถสงวนรายไดสวนหนึ่งของ ตนไวในทางมั่นคงและไดรับผลประโยชนตามสมควร (2) จัดใหมีเงินกูสําหรับสมาชิกตามขอกําหนดอันสมควร ทั้งนี้ถือวาความมุงหมายในเรื่องการ สงเสริมการออมทรัพยและการประหยัดมีความสําคัญอันดับแรก สวนความมุงหมายในการกูเงินเปนลําดับ รอง สําหรับการใหเงินกูนั้นสหกรณจะตองพิจารณาอยางถี่ถวนวาสมาชิกผูขอกูมีความจําเปนหรือจะไดรับ ผลประโยชนจริงๆ เทานั้น 2. การรับสมาชิก หลักสําคัญยิ่งประการหนึ่งคือ นโยบายการรับสมาชิกใหมีจํานวนมากที่สุด เทาที่จะมากได สหกรณออมทรัพยไมควรเปนองคการเฉพาะของคนบางกลุมบางพวกเทานั้น แตควรเปน องคกรที่สามารถรับและชวยเหลือคนจํานวนมากภายในวงสัมพันธเดียวกัน รวมทั้งตองพิจารณาถึงวาบุคคล ที่จะสมัครเขาเปนสมาชิกมีความตั้งใจและบริสุทธิ์ใจที่จะไดรับความชวยเหลือจากสหกรณออมทรัพยหรือไม ประกอบดวย 3. การออมทรัพย สหกรณออมทรัพยจะตองใหบริการที่สําคัญที่สุดแกสมาชิกในการชวยใหเขา สามารถออมเงินไดเพราะเงินออมเปนเรื่องความปลอดภัยของตนเองและครอบครัว โดยเนนใหสมาชิกออม เงินอยางสม่ําเสมอ เพราะหากมีความจําเปนเกิดขึ้นจะไดนําเงินที่ออมไวใชไดทันที ไมตองเดือดรอนไปเปน หนี้ การออมทรัพยอาจเปนในรูปหุนก็ได แตตองจํากัดการถือหุนขั้นสูงไวดวย เพื่อไมใหมีสมาชิกคนหนึ่ง หรือเพียงไมกี่คนมีเงินออมในสหกรณมากเกินไป จนอาจกอใหเกิดผลกระทบตอความมั่นคงของสหกรณได หากสมาชิกนั้นๆ ลาออกหรือถอนหุนออกจากสหกรณ 4. ความเปนเจาของ สมาชิกทุกคนซึ่งสงเงินสะสมเพื่อถือหุนในสหกรณออมทรัพยใด ถือวาเปน เจาของสหกรณออมทรัพยนั้นดวย มีสวนเปนเจาของรวมกัน ดังนั้นผูถือหุนในสหกรณออมทรัพยมีความ รับผิดชอบจํากัดเพียงไมเกินจํานวนคาหุนที่ยังสงใชไมครบมูลคาหุนที่ตนถือเทานั้น และสมาชิกคนหนึ่งมี หนึ่งเสียงในการลงคะแนน โดยไมคํานึงวาเขาถือหุนอยูในสหกรณเปนจํานวนเทาใด 5. การให เงิ นกู สหกรณ ออมทรั พย ให เงิ นกู แก สมาชิ กตามความจํ าเป นหรื อมี ประโยชน และ ความสามารถในการชําระหนี้ของเขา ไมใชเปนการใหเงินกูเพื่อสหกรณจะไดรับดอกเบี้ยมากที่สุดเทาที่จะ มากไดจากสมาชิก ดังนั้นสหกรณควรพิจารณาการใหเงินกูอยางรอบคอบ สหกรณออมทรัพยไมควรใหเงินกู แกสมาชิกที่เห็นไดชัดเจนวาผูกูไมสามารถชําระคืนได รวมทั้งสมาชิกตองมีความซื่อสัตยและตองรักษาขอ ผูกพันในการชําระหนี้ใหเปนไปตามสัญญาเงินกู สหกรณจะตองหาวิธีที่ดีที่สุดในการใหเงินกู ซึ่งจะทําให สมาชิกผูกูไดรับประโยชนมากที่สุด และสามารถชําระคืนเงินกูใหแกสหกรณไดตรงเวลา


44

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

6. ดอกเบี้ยเงินกู สหกรณออมทรัพยเรียกเก็บดอกเบี้ยเงินกูจากสมาชิกเพื่อเปนคาใชจายตางๆ เชน เปนเงินสะสม เปนทุนสํารอง และจายเปนเงินปนผล โดยอัตราดอกเบี้ยเงินกูที่สหกรณเรียกเก็บจะตอง ไมสูงกวาอัตราขั้นสูงที่กฎหมายหรือกฎระเบียบซึ่งทางราชการกําหนด และตามปกติจะตองต่ํากวาอัตรา ดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินหรือเอกชนอื่นเรียกเก็บ สหกรณตองกําหนดนโยบายดอกเบี้ย เงินกูใหเปนประโยชนแกมวลสมาชิกใหมากที่สุด รวมทั้งถามีทุนสํารองเพียงพอแกการสรางความมั่นคง ใหแกสหกรณ สหกรณอาจลดดอกเบี้ยเงินกูใหต่ําลงไดอีก โดยพยายามลดคาใชจายการบริหารลง หรือเพิ่ม จํานวนสมาชิกขึ้นเพื่อทําใหคาใชจายเฉลี่ยตอหัวสมาชิกต่ําลง สหกรณอาจลดอัตราดอกเบี้ยสําหรับเงินกูที่มี วัตถุประสงคเฉพาะบางประเภทใหต่ํากวาสําหรับเงินกูปกติ เชนกูพิเศษเพื่อซื้อหรือกอสรางบานที่อยูอาศัย ของตนเองและครอบครัว หรือเงินกูสามัญที่ใชหุนของตนเองเปนหลักประกันเต็มจํานวน รวมทั้งสหกรณยัง อาจลดดอกเบี้ยใหแกสมาชิกในระหวางปก็ได และสิ่งแรกที่สหกรณออมทรัพยควรหวงใยคือ ทํารายไดให เพียงพอแกการบริการแกสมาชิกอยางดีที่สุดเทาที่ทําไดโดยคํานึงถึงความพอเพียง พอประมาณและมีเหตุมี ผลเปนหลัก 7. เงินปนผลตามหุน สหกรณเปนองคการธุรกิจที่มีวัตถุประสงคในการอํานวยการบริการทางธุรกิจ ใหสมาชิกตามอุดมการณสหกรณ คือ ชวยตนเอง และการชวยเหลือซึ่งกันและกัน กําไรที่เกิดขึ้นจากธุรกิจ ของสหกรณนั้นเรียกวา “รายไดสุทธิ” หรือ “สวนเกินสุทธิ” ซึ่งสวนหนึ่งหรือสวนใหญสหกรณจะจายคืนใหแก สมาชิกในรูปเงินเฉลี่ยคืน ตามสวนของปริมาณธุรกิจที่เขาไดทํากับสหกรณในระหวางป ฉะนั้นสหกรณทุก ประเภทจึงยึดหลักตามอัตราเงินปนผลตามหุนที่จะจายใหแกสมาชิกไวตามปกติไมเกินอัตราดอกเบี้ยเงิน ฝาก โดยถือวาเปนคาตอบแทนสําหรับทุน (หุน) ที่สมาชิกไดลงทุนไวในสหกรณ แตในทางปฏิบัติสหกรณ ออมทรัพยไมควรจายเงินปนผลใหอัตราสูงสุดตามที่กฎหมายอนุญาตเสมอไป แตควรคํานึงถึงการจัดสรร กําไรสุทธิเพื่อประโยชนอยางอื่นตามหลักการสหกรณ เชน การจัดสรรเปนทุนสํารองเพื่อการพัฒนาหรือ ขยายกิจการของสหกรณตอไป อันเปนการสรางความมั่นคงใหแกสหกรณ รวมทั้งจายเพื่อสนับสนุนกิจกรรม ตางๆ อันเปนประโยชนแกชุมชนและสิ่งแวดลอม เปนตน 8. การดําเนินงาน สหกรณจะตองดําเนินงานตามหลักธุรกิจใหเกิดการประหยัดมากที่สุดเทาที่จะ ทําได และการดําเนินงานตองอาศัยคณะกรรมการทํางาน โดยการอาสาสมัครที่มีจิตใจมุงการบริการ มีความ ซื่อสัตย และเหนือสิ่งอื่นใด ทั้งกรรมการ สมาชิกและเจาหนาที่ของสหกรณตองมีความรูความเขาใจใน ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณโดยถูกตองและชัดเจน ถาสหกรณออมทรัพยดําเนินกิจการตามจุดมุงหมายการตั้งสหกรณออมทรัพยดังกลาวขางตน ก็จะ เปนสหกรณออมทรัพยที่สามารถชวยเหลือสมาชิกทั้งในดานการออมเงินและชวยเหลือดานเงินกู กรณีที่ สมาชิกมีความจําเปนจะตองใชเงิน และสวนสําคัญที่สุด บุคลากรของสหกรณจะตองมีความรู ความเขาใจใน ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณโดยถูกตอง รวมทั้งตองมีการพัฒนาบุคลากรของ สหกรณอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง เพื่อจะทําใหสหกรณสามารถนําสมาชิกไปสูความ กินดี อยูดี มีความ ยุติธรรมและสันติสุขไดในที่สุด


บทบาท หน า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการศึ ก ษาและ ประชาสั ม พั น ธ 1. ความจําเปน ที่มา และโครงสรางคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนองคกรหนึ่งในโครงสรางของฝายบริหาร ที่มีสวน สําคัญในการรักษาภาพลักษณและคุณคาของสหกรณออมทรัพยใหดํารงอยูอยางยั่งยืน 1) ความจําเปนที่สหกรณออมทรัพยตองมีคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ก. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนกลไกในการประชาสัมพันธงานสหกรณ ข. การจัดการศึกษาตามหลักการสหกรณสากลขอที่ 5 จะเกิดผลและมีความยั่งยืน ก็โดยการ ปฏิบัติของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ค. แบงเบาภารกิจของคณะกรรมการดําเนินการ 2) ที่มาของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จากบทบั ญ ญั ติ ข องพระราชบั ญ ญั ติ ส หกรณ พ.ศ. 2542 มาตรา 51 ที่ บั ญ ญั ติ ว า “ให คณะกรรมการดําเนินการสหกรณเปนผูดําเนินกิจการและเปนผูแทนสหกรณในกิจการอันเกี่ยวกับ บุคคลภายนอก เพื่อการนี้คณะกรรมการดําเนินการสหกรณจะมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคน หรือผูจัดการทําการแทนก็ได” จากบทบัญญัติของมาตรา 51 กําหนดใหคณะกรรมการดําเนินการของสหกรณเปนผูดําเนินกิจการ ของสหกรณ และสามารถมอบหมายใหกรรมการหรือผูจัดการทําการแทนได เนื่องจากกรรมการดําเนินการ ของสหกรณซึ่งกฎหมายกําหนดใหมีไดทั้งหมดไมเกิน 15 คน ซึ่งตองมีหนาที่ในการดําเนินงานของ สหกรณ แตทุกคนตางมีงานในตําแหนงหนาที่ในหนวยงานตนสังกัด โอกาสที่กรรมการทั้ง 15 คน จะ มารวมกันตัดสินใจในการบริหารงานรวมกันทุกเรื่องจึงเปนไปไดยาก และประสบการณความรูความสามารถ ของกรรมการแตละคนมีความแตกตางกัน กฎหมายจึงเปดโอกาสใหคณะกรรมการดําเนินการมอบอํานาจให กรรมการคนใดคนหนึ่งหรือหลายคน มีอํานาจกระทําการแทนคณะกรรมการดําเนินการได ดวยเหตุนี้เอง ขอบังคั บของสหกรณจึงกํ าหนดให คณะกรรมการดําเนิ นการมี อํานาจในการแตงตั้งคณะกรรมการหรื อ คณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อประโยชนในการดําเนินกิจการสหกรณ คณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ ก็เปนคณะกรรมการคณะหนึ่งที่คณะกรรมการดําเนินการตั้งขึ้น


46

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

3) จํานวนกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จะมีจํานวนเทาใดไมมีขอกําหนดชัดเจนเอาไวเปนบรรทัด ฐาน แตอยูในดุลพินิจของสหกรณวาชอบที่จะใหมีกี่คน โดยมากแลวสหกรณที่มีคณะกรรมการดําเนินการ ต่ํ า กว า 15 คน มั ก จะมี ค ณะกรรมการศึ ก ษาและประชาสั ม พั น ธ เ พี ย ง 3 คน และสหกรณ ที่ มี คณะกรรมการดําเนินการ 15 คน มักจะมีคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 5 คน แตหลักการขอ นี้ยอมไมถือเปนบรรทัดฐานตายตัววาจะตองใชปฏิบัติ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของแตละสหกรณเปน สําคัญ 1) โครงสรางและองคประกอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ มาจากการแตงตั้งของคณะกรรมการดําเนินการ ดังนั้น โครงสรางของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จึงมีการจัดผังองคกร ดังนี้ ประธาน เลขานุการ กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

องคประกอบ 1. ประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 2. เลขานุการ 3. กรรมการ 5) วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการดําเนินการ ดังนั้นจึง อยูไดเทากับกําหนดเวลาของคณะกรรมการดําเนินการ กลาวคือ เมื่อคณะกรรมการดําเนินการชุดที่แตงตั้ง คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธสิ้นสุดลง ก็มีผลใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธสิ้นสุดลง ดวย ขอสําคัญที่จะตองไมละเวนในการปฏิบัติก็คือ ก. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธที่หมดวาระลงจะตองสงมอบงานใหคณะกรรมการศึกษา และประชาสัมพันธชุดใหม ข. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธที่หมดวาระลงจะตองสรุปขอมูลและงานที่คั่งคาง รวม ตลอดถึ ง ป ญหาและอุ ป สรรค ข อสั งเกตอั น เป นประโยชน ต อการพิ จารณาของสหกรณ ส งมอบให แก คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธชุดใหมที่เขารับหนาที่แทน


บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

47

6) ความสั มพั น ธ ร ะหว างคณะกรรมการศึ กษาและประชาสั มพั นธ กั บคณะกรรมการ ดําเนินการและฝายจัดการ เนื่องจากคณะกรรมการดําเนินการเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จึงตอง รับผิดชอบการปฏิบัติการใดๆ ตอคณะกรรมการดําเนินการ ดังนั้นขอวินิจฉัยทั้งปวงของคณะกรรมการ ศึกษาและประชาสัมพันธ ที่เปนมติของที่ประชุมตองเสนอคณะกรรมการดําเนินการ ในการประชุมคราว ถัดไปทราบเกี่ยวกับมติที่กระทําไปในขอบเขตอํานาจของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ หรือเสนอ คณะกรรมการดําเนินการพิจารณา ในเรื่องที่นอกเหนืออํานาจของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในสวนความสัมพันธกับฝายจัดการนั้น คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธจะดําเนินงานใน การจัดการศึกษา หรือจัดประชาสัมพันธตองอาศัยขอมูลตางๆ ที่มีอยูในสหกรณ ก็ตองไดรับความรวมมือ การอํานวยความสะดวกจากฝายจัดการ รวมทั้งการจัดการงานประจําตางๆ ที่จะตองทําหนาที่เปนสื่อ ประสานงานระหว า งคณะกรรมการกั บ สมาชิ ก และในกรณี ก ารประชุ ม คณะกรรมการศึ ก ษาและ ประชาสัมพันธเสร็จสิ้นลง เลขานุการ จะตองรับแจงมติที่ประชุมใหฝายจัดการ (ผูจัดการ) ทราบเพื่อให เกิดผลการปฏิบัติงานทันที นอกจากนั้นเลขานุการยังจะตองรวมมือกับผูจัดการดําเนินงานของการประชุม ประจําเดือนและรวมมือกับผูจัดการเสนอรายงานตางๆ ใหแกที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการไดครบถวน 2. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 1) ความหมายของคําวา บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบ 1.1) บทบาท หมายถึง ลักษณะการแสดงออกใหปรากฏตอสาธารณชน เปนที่ประจักษชัดเพื่อ แสดงวาตนนั้นคือใคร ถาเปนกรรมการมีปฏิบัติการในขอบเขตอยางไร สมาชิกจะมาพึ่งพาอาศัยอยางไร จะชวยสมาชิกอยางไร จะทําหรือกําลังทําหรือไดทําอะไรบางตอสหกรณ จะผลักดันสหกรณไปในทิศทางใด โดยวิธีใด ฯลฯ 1.2) หนาที่ หมายถึง ภารกิจที่ “ตองปฏิบัติ” โดยทั่วไปมักเขาใจไปวา หนาที่นั้นเปนแตเพียง ภารกิจที่ตองปฏิบัติ และบัญญัติไวเปนกติกาเทานั้น แตความเปนจริงแลวความหมายของคําวาหนาที่นั้น กินขอบเขตไปไกลและกวางขวางกวานั้น เพราะนอกจากจะหมายถึง ภารกิจทางนิตินัยที่บัญญัติไวใน ขอบังคับ ระเบียบ หรือกฎหมายแลว ก็ยังหมายรวมถึงภารกิจทั้งมวลที่ควรจะตองปฏิบัติในครรลองของ ขนบธรรมเนียม พิธีปฏิบัติ จารีตทางสังคม หรือภารกิจอื่นใดที่นาจะปฏิบัติไปไดในขอบเขตที่ไมขัดตอ ระเบียบ ขอบังคับ หรือกฎหมาย 1.3) ความรับผิดชอบ หมายถึง ภาระทางใจของผูปฏิบัติการที่จะตองดําเนินการไปใหภารกิจ เสร็จสิ้นสมบูรณ เปนคุณประโยชนตอสมาชิก และสหกรณใหเจริญกาวหนา เปนภาระของการคิดคน ทํา โดยปรากฏออกมาในรู ปของนโยบาย แผนงาน การตั ดสินใจ การสร างงาน การประสานงาน การ อํานวยการ เปนตน ความรับผิดชอบนี้หมายรวมถึง ความกลาหาญในการที่จะยอมรับผลเสีย หรือความ ผิ ดพลาดจากการบริ หารงานของตน หรื อของหมู คณะตนที่ ได จั ดทํ าไปแล วด วย นอกจากนี้ ความ รับผิดชอบยังหมายรวมถึง ผลกระทบของปฏิบัติการทั้งปวง อันสงผลขางเคียงตองาน หรือบุคคล หรือ สถาบันทั้งของตนและของบุคคลอื่นอีกดวย สิ่งที่จะตองทําใจใหไดก็คือ เมื่อบุคคลหนึ่งทํางานจะตองมี


48

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ผลงานและความรับผิดชอบเกิดขึ้นคูกันเสมอ อยาปดความรับผิดชอบของตนไปสูแหลงอื่น เพราะถึงปดไป ไดก็เพียงชั่วคราวหาไดรอดพนไปอยางถาวรไม คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ 1. บทบาท - แสดงตัวใหสมาชิกไดทราบวามีใครบางที่เปนคณะกรรมการ และจะติดตอกับ คณะกรรมการไดอยางไร - ประสานงานกับหนวยงานอื่นในนามของสหกรณ - คิดคนหาวิธีการในการพัฒนาสังคมรวมกับหนวยงานอื่น - ใกลชิดกับสมาชิกเพื่ออํานวยความสะดวก และชวยเหลือสมาชิกที่มีความ เดือดรอน - รักษาเผยแพรเกียรติคุณของสหกรณ - เสริมสรางสัมพันธภาพระหวางสมาชิกและสหกรณ - ชี้ชวนและดําเนินการใหการเงินระดับสมาชิกใหอยูในระบบที่ดี ชักจูงสมาชิก ใหมารวมกิจกรรมทางการเงินที่เปนระบบระเบียบถูกตองตามกฎหมาย 2. หนาที่ - ประชาสัมพันธใหสมาชิกและบุคคลทั่วไปเขาใจเชื่อมั่นและศรัทธาตอระบบสหกรณ - ระดมความคิด มีสวนรวมในการชวยแกไขปรับปรุงการปฏิบัติงานของสหกรณ - พัฒนาบุคคลในสหกรณออมทรัพยทุกระดับใหทรงคุณคา ทรงประสิทธิภาพแก สหกรณ เพื่อความกาวหนาของสหกรณ - สนับสนุนใหมีแรงจูงใจในการเขารวมขบวนการสหกรณ เขาใจหลักการสหกรณ หวงแหนสหกรณในฐานะเปนเจาของสหกรณ - สังเกตและศึกษาการบริหารงานของสหกรณอื่น วิทยาการใหมๆ ที่อาจจะนํามา เปนประโยชนตอการบริหารสหกรณ - ติดตามความเคลื่อนไหวของสถานการณตางๆ ตลอดจนสภาพการณทั่วไปอันมี สวนที่จะกระทบตอสหกรณ 3. ความรับผิดชอบ - ตองใชทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรวัตถุอยางประหยัดใหไดประโยชนมากที่สุด - ใชอํานาจหนาที่เฉพาะในสวนที่เปนคุณคาตอสหกรณ - ซื่อสัตย สุจริต ซื่อตรงตอภารกิจที่ไดรับมอบหมาย - ยึดมั่นในหลักการของสหกรณในการปฏิบัติงาน โดยไมนําเรื่องสวนตัวตําแหนง หนาที่มาปะปนในงานของสหกรณ - ไมนําเรื่องครอบครัว ญาติมิตร มาสัมพันธกับผลประโยชนของสหกรณเคารพใน หลักเหตุผลและขอเท็จจริง - ไมเอารัดเอาเปรียบสมาชิก โดยอาศัยฐานจากสหกรณ


บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

49

- ประสานงานกับทุกฝาย เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกกิจการของสหกรณ ติดตอ กับบุคคลทุกบุคคล ที่จะนํามาเปนประโยชนตอสหกรณ - ตัดสินใจและรับผิดในกิจการทั้งปวง ที่ไดดําเนินไปแลวทุกกรณี - ยึดมั่นในมติของการทํางานเปนกลุม เปนหมู เปนคณะ เคารพหลักการและ เหตุผลของการประชุม - ยินดีและยอมรับในความเจริญกาวหนา หรือความลมเหลวลาหลังแหง กิจการสหกรณที่ตนเองเปนผูรับผิดชอบบริหารอยู - ใชหลักการประชามติเปนเครื่องยุติปญหาขอขัดแยง หรือที่ตกลงกันไมได - ยอมรับการตัดสินใจของสมาชิกเปนสําคัญ - ปฏิบัติงานโดยเห็นเปาหมายของสหกรณเปนหลักการสําคัญ - ทําตัวใหเปนแบบฉบับอันดีของสมาชิกทั้งในดานการปฏิบัติงาน และในแงของ การมีสวนรวมผลักดันใหสหกรณมีความเจริญกาวหนา 3. หนาที่ของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธตามขอบังคับ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ มีอํานาจหนาที่ดําเนินกิจการตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ มติ และคําสั่งของสหกรณรวมทั้ง 1. ใหความชวยเหลือทางวิชาการแกสมาชิก โดยใหการศึกษาและอบรมแกสมาชิกและผูที่สนใจให ทราบถึงเจตนารมณ หลักการสหกรณ วิธีการสหกรณและการบริหารงานของสหกรณ 2. ประชาสัมพันธเผยแพรขางสาร ความรูเกี่ยวกับลักษณะ ประโยชน รวมทั้งผลงานของสหกรณ ใหสมาชิกและบุคคลภายนอกรับทราบ 3. ดําเนินการในการหาผูสมัครเขาเปนสมาชิก 4. ใหการศึกษาอบรมและเผยแพรแกสมาชิกถึงวิธีการออมทรัพย และการใชจายเงินอยางรอบคอบ ตลอดจนวิชาการตาง ๆ อันจะเปนประโยชนตอการประกอบอาชีพ 5. ศึกษา และติดตามขาวความเคลื่อนไหวดานการดําเนินงานของสหกรณอื่น ทั้งในและนอก ประเทศ เพื่อนําตัวอยางที่ดีมาเสนอคณะกรรมการดําเนินการพิจารณานํามาบริการแกสมาชิกตามความ เหมาะสม


50

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ตัวอยาง การวิเคราะหงานในหนาทีข่ องคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ งาน

กลุมเปาหมาย

1. การชวยเหลือทาง วิชาการ

สมาชิกผูสนใจ

2. ประชาสัมพันธ

สมาชิก บุคคลทั่วไป

3. หาผูสมัครเปน สมาชิก

บุคคลในหนวยงาน

4. การศึกษาอบรม

สมาชิก กรรมการ เจาหนาที่

5. เปนผูเสนอแนะ การจัดบริการใหมๆ

สมาชิก

จุดมุงหมาย - พัฒนาความรู ความเขาใจ ในเรื่องหลักการสหกรณ วิธีการสหกรณ และการ บริหารงานสหกรณ - เพื่อสรางทัศนคติที่ดีใน ดานภาพพจนของ สหกรณออมทรัพย - เพื่อใหสหกรณออม ทรัพยเปนที่รูจักกัน อยางกวางขวาง - เพื่อขยายแนวความ คิดดานสหกรณให กวางขวาง - เพื่อสงเสริมใหบุคคล ไดใชสหกรณเปน เครื่องมือในการพัฒนา คุณภาพชีวิต - เพื่อใหความรูเกี่ยว กับวิธีการออมทรัพย - เพื่อใหความรูเกี่ยวกับ การใชจายเงินอยาง รอบคอบ - เพื่อใหความรูทางวิชาการ ที่เปนประโยชนตอการ ประกอบอาชีพ - เพื่อนําแบบอยาง ที่ดีมาจัดบริการ สวัสดิการตาง ๆ เพื่อ สนองความตองการ ของสมาชิก

วิธีการ - การใหการศึกษา - จดหมายขาว

- โปสเตอร - จดหมายขาว - ประชาสัมพันธทาง หนังสือพิมพ วิทยุ - สนับสนุนกิจการ สาธารณประโยชน สิ่งแวดลอม - ประชาสัมพันธ แผนพับ - ฝกอบรม

- ฝกอบรม - จดหมายขาว - การนําไปศึกษา ดูงาน

- ติดตามขาวความ เคลื่อนไหวของ สหกรณอื่นๆ - สอบถามความตอง การของสมาชิก - ประเมินผลการ จัดบริการของ สหกรณอยางสม่ําเสมอ


บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

51

ตัวอยาง การวางแผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในรอบ 1 ป ประจําป 25………. โครงการ / กิจกรรม 1. โครงการฝกอบรม ก. สมาชิกใหม ข. สมาชิกเกา ค. เจาหนาที่ใหม 2. โครงการสัมมนา และศึกษาดูงาน ก. กรรมการชุดใหม ข. เจาหนาที่ 3. โครงการฝกอบรม อาชีพเสริม 4. โครงการประชา สัมพันธ - สําหรับบุคคล ทั่วไป - สําหรับบุคลากร ในหนวยงาน 5. โครงการผลิตสื่อ และจดหมายขาว ราย 2 เดือน

ม.ค. ก.พ มี.ค.

เม.ย.

พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. หมายเหตุ

□ □

□ □

จัดเอง □

□ เขารวม ตามที่ ชสอ. จัด

□ □

จัดเอง

จัดเอง □ □ □

จัดเอง


52

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ตัวอยางการเขียนโครงการสัมมนาและศึกษาดูงาน สําหรับกรรมการและเจาหนาที่ …………………………………………………. หลักการและเหตุผล …………………………………………………………………………………………………… .…………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. วัตถุประสงค 1. ……………………………………………………………… 2. ……………………………………………………………… ประเด็น 1. ……………………………………………………………….. 2. ……………………………………………………………….. กลุมเปาหมาย …………………………………………………………………… สหกรณที่ศึกษาดูงาน …………………………………………………………………… ประเด็นดูงาน …………………………………………………………………… วัน เวลา …………………………………………………………………… ผูบริหารโครงการ …………………………………………………………………… งบประมาณ …………………………………………………………………… ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ……………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………..


บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ตัวอยาง ตารางกําหนดแผนการจัดอบรม / สัมมนา ชื่อโครงการ………………………………………………………………………………… วันที่จัด……………………………………………………………………………………… สถานที่……………………………………………………………………………………… รายการ 1. โครงการและกําหนดการ - รางโครงการ - ขออนุมัติจากคณะกรรมการ - จัดสงโครงการ 2. วิทยากร - กําหนดชื่อวิทยากร - การติดตอ / เชิญ - ประวัติวิทยากร - การชี้แจงวัตถุประสงคการจัด โครงการกับวิทยากร 3. วัสดุ / อุปกรณ - การจัดหา / ติดตั้ง - การจัดเก็บ - สื่อ - ปายชื่อ 4. เอกสารประกอบ - ติดตอ / จัดหาเอกสารประกอบ จากวิทยากร / แหลงวิชาการ ตางๆ - จัดพิมพ รูปเลม 5. อาหาร / เครื่องดื่ม - ติดตอ - ดูแลการจัดบริการ 6. สถานที่ - หองบรรยาย / ระบบไฟ / แสง / เสียง - หองพัก

ระยะเวลา (วัน)

ผูรับผิดชอบ

หมายเหตุ

53


54

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

4. แนวทางและปญหาการประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพย สหกรณออมทรัพยซึ่งเปนสถาบันการเงินสถาบันหนึ่ง เปนสถาบันที่มีความจําเปนตองจัดใหมี การประชาสัมพันธเชนเดียวกับสถาบันอื่นๆ เชนกัน ทั้งนี้ เพราะการสรางความเชื่อถือและภาพพจนที่ดี ตอมวลสมาชิกนั้นเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่ง ไมเชนนั้นจะเกิดความไมเขาใจและมีขอขัดแยงเกิดขึ้น ดังนั้น การจัดการประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพยจึงจําเปนและมีรูปแบบแตกตางกันไปตามสถานการณ พีระศักดิ์ บูรณะโสภณ. 2535. กลาววากระบวนการของการประชาสัมพันธงานสหกรณ 1. การวางแผนประชาสัมพันธ 2. การจัดหนวยงานประชาสัมพันธ 3. การกําหนดอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ 4. การดําเนินการประชาสัมพันธ 1. การวางแผนการประชาสัมพันธ เพื่อใหการประชาสัมพันธงานของสหกรณสําเร็จลุลวงไปดวยดี ขั้นตอนของการวางแผนการ ประชาสัมพันธจึงควรคํานึงถึงปจจัยสําคัญ 3 ประการตอไปนี้ คือ 1.1 การวางนโยบาย คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธจะตองกําหนดนโยบายในเรื่อง การประชาสัมพันธงานสหกรณใหชัดเจนวาจะสงเสริมสนับสนุนใหมีการประชาสัมพันธกวางขวางมาก นอยแคไหน เพียงใด และจะจัดสรรงบประมาณใหแกการประชาสัมพันธไดจํานวนเทาใดดวย ทั้งนี้ เพื่อเจาหนาที่ธุรการผูรับผิดชอบจะไดดําเนินการตามนโยบายไดอยางถูกตอง 1.2 การกําหนดวัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครอง สหกรณตองกําหนดวัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครองของการประชาสัมพันธงานสหกรณให เดนชัด ทั้งนี้เพื่อเจาหนาที่ธุรการผูรับผิดชอบจะไดเตรียมการจัดเครื่องมือที่ใชในการประชาสัมพันธได ตรงตามวัตถุประสงคเหลานี้


บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

55

ตั ว อย า งความสั ม พั น ธ ข องวั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก วั ต ถุ ป ระสงค ร องและเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการ ประชาสัมพันธงานสหกรณ เครื่องมือที่ใชใน วัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครอง การ หมายเหตุ ประชาสัมพันธ 1. เพื่ อ สร า งความ 1.1 เพื่อแจงใหสมาชิกทราบความ 1. แผนพับ 2. โปสเตอร นิยม เจริญกาวหนาของสหกรณ เชน 3. จดหมายขาว - นําเครื่องคอมพิวเตอรมาใช ความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ 4. วารสารภายใน สหกรณ ฯลฯ 1.2 เพื่อให ความรู ความเขาใจใน การขอรับบริการเบิกถอนเงินโดย 1. แผนพับ เดิ ร ตคอมพิ วเตอร บริ การ เงิ นกู 2. โปสเตอร 3. จดหมายขาว เปนตน 1.3 เพื่อใหความรู ความเขาใจ 1. การจัดสัมมนา ในระบบการเงินของสหกรณ 1.4 เพื่อโนมนาวใจใหเกิดทัศนคติ 2. สื่อบุคคล - เพื่ อให เครื่ องมื อ 3. แผนพับ ที่ดีตอสหกรณ - การเปนสมาชิกที่ดีของสหกรณ - การมอบสิ่งของหรือ ประชาสัมพันธเหลานี้ - สงเสริมการศึกษาของชาติ เงินแกสมาชิกผูประสบ มี ประสิ ทธิ ภาพยิ่ งขึ้ น ควรใช วารสารภายใน - ทํานุบํารุงและรักษาไวซึ่งศิลป สาธารณภัย วัฒนธรรมของชาติ - การจั ด การแข ง ขั น ของสหกรณดวย ฯลฯ กีฬาการกุศล - ให ทุ น วิ จั ย ในเรื่ อ ง 1.5 เพื่อใหความพอใจหรือความ - ใหทุนการศึกษา เกี่ยวของกับสหกรณ บันเทิง - จัด พานั กศึก ษาเข า - ใ ห ทุ น ส นั บ ส นุ น ชมกิจการ โครงการที่ เ กี่ ย วข อ ง - จัดกีฬาภายใน ฯลฯ - สนั บ สนุ น รายการ บั นเทิ งด วยการให โฆษณา


56

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

เครื่องมือที่ใชใน วัตถุประสงคหลัก วัตถุประสงครอง การ ประชาสัมพันธ 2 . เ พื่ อ รั ก ษ า ชื่ อ 2.1 เพื่อแจงใหสมาชิกทราบความ 1. แผนพับ เจริญกาวหนาของสหกรณ เชน 2. โปสเตอร เสียงที่ดี - นําเครื่องคอมพิวเตอรมาใช 3. จดหมายขาว ความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ 4. การจัดสัมมนา ฯลฯ 5. สื่อบุคคล 2.2 เพื่อให ความรู ความเขาใจใน การขอรับบริการเบิกถอนเงินโดย เดิ ร ต คอมพิ วเตอร บริ การเงิ นกู เปนตน 2.3 เพื่อใหความรู ความเขาใจใน ระบบการเงินของสหกรณ 2.4 เพื่อโนมนาวใจใหเกิดทัศนคติ ที่ดีตอสหกรณ - การเปนสมาชิกที่ดีของสหกรณ - สงเสริมการศึกษาของชาติ - ทํานุบํารุงและรักษาไวซึ่งศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ ฯลฯ 2.5 เพื่อใหความพอใจหรือความ บันเทิง

หมายเหตุ - ดํ าเนิ นการเผยแพร ขาวที่สมาชิกควรทราบ ควรมี ความรู ความ เขาใจและ จัดกิจกรรม ต า งๆ อย า งต อ เนื่ อ ง ตามความเหมาะสม โดยวัตถุประสงคหลัก แ ล ะ ร อ ง ยั ง ค ง เ ดิ ม เพี ยงแต ร ายละเอี ยด ของคนกระทํ า หรื อ กิ จ ก ร ร ม อ า จ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม สถานการณ แ ละเหตุ การณปจจุบัน


บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

วัตถุประสงคหลัก 3. เพื่อแกไขชื่อเสียง

เครื่องมือที่ใชในการ ประชาสัมพันธ 3.1 เพื่ อ ให ค วามรู ค วามเข า ใจที่ 1. หนังสือพิมพ , แทจริง นิตยสาร 2. สื่อบุคคล 3. วารสารสหกรณหรือ วารสารภายในหน ว ย งาน 4. จดหมายขาว ฯลฯ วัตถุประสงครอง

3.2 เพื่อโนมนาวใจใหเกิดทัศนคติ ที่ดี

4. เพื่อรับฟงความคิด 4.1 เพื่อแจงใหทราบและใหความ เห็นจากสมาชิก รูความเขาใจในการแสดงความ คิดเห็นกลับมายังสหกรณ 4.2 เพื่อสรางทัศนคติที่ดีเมื่อมีการ ติดตอกับสหกรณ ฯลฯ

57

หมายเหตุ

- จั ด ประชุ ม แถลงข า ว หรื อ จั ด ให สื่ อ มวลชน ชมเหตุ ก ารณ จ ริ ง ตาม ความเหมาะสมพร อ ม ทั้ ง มี แ ฟ ม เ อ ก ส า ร ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง แ จ ก แ ก สื่อมวลชน -สร า งความเข า ใจที่ ถู ก ต อ งแก ก รรมการ และเจ า หน า ที่ และใช สื่อบุคคล ชี้แจงสมาชิก เป น รายบุ ค คล หรื อ ก ลุ ม บุ ค ค ล ทั้ ง เ ป น ทางการและไม เ ป น ทางการ - อาจเปนบทสัมภาษณ ห รื อบ ทความ มี ร าย ละเอียดขอเท็จจริง - ชี้ แ จงรายละเอี ย ด ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ถึ ง ผู ที่ เกี่ยวของ หนังสือพิมพ, นิตยสาร - เห็นการแกไขปญหา ที่เกิดขึ้นอยางมี ประสิทธิภาพและการ ปองกันไมใหเกิดขึ้น 1. แผนพับ, โปสเตอร 2. โทรศัพท - สื่อบุคคล - โทรศัพท

- ร ะ บุ ส ถ า น ที่ แ ล ะ ห ม า ย เ ล ข โ ท ร ศั พ ท ติดตอใหชัดเจน


คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

58

1.3 การวางแผนการประชาสัมพันธ การวางแผนการประชาสัมพันธจะทําใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธสามารถมอง การณไกล และสามารถคาดการณวาในการดําเนินการประชาสัมพันธสหกรณนั้นจะมีปญหาอุปสรรค ใดบาง เพื่อที่จะไดเตรียมการแกไขไดทันเหตุการณ ตัวอยางที่ 1 แผนการประชาสัมพันธกําหนดกิจกรรมและระยะเวลาสําหรับการประชุมใหญของ สหกรณ เดือนเมษายน 2549 พ.ศ. 2549 หมายเหตุ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

รายการ

รายละเอียดกิจกรรม

1 2 3 4

การเผยแพรขาวสารการประชุม การจัดพิมพรายงานประจําป การจัดทําโปสเตอรนัดประชุม การบันทึกภาพในวันประชุม

ตัวอยางที่ 2 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานสหกรณ กิจกรรม

กลุมเปาหมาย

1. โปสเตอร ประชาชนทั่วไป

2. แผนพับ

3. วารสาร/ จุลสาร 4. สไลด, VDO

ลักษณะเนื้อหา ประโยชนและ บริการตางๆ ของ สหกรณ

วิธีใช/สถานที่

ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ งบประมาณ ดําเนินการ ปลาย มิ.ย. ภัสสร 5,000 ตน ก.ค.

สงใหสถาบัน การศึกษา หนวยราชการ และติดตาม สถานที่ตางๆ แจกใหสมาชิก/ ส.ค., ก.ย. ประชาชน

ประชาชน/สมาชิก วันออมแหงชาติ “การออมเพื่อเปน เศรษฐีเงินลาน” สมาชิก หลักการและวิธี แจกใหสมาชิก ดําเนินงานของ สหกรณ สมาชิก/ประชาชน การดําเนินงานของ จัดสัมมนา เจาหนาที่ที่เกี่ยวกับ ประชุม การบริการเงินกู, เงิน ฝาก

ศุภชัย

5,000

เม.ย.

พีระศักดิ์

5,000

เม.ย.

จินดา

10,000

หมายเหตุ

2. การจัดหนวยงานประชาสัมพันธ หนวยติดตอสอบถาม (Enquiry) เปนบริการยางหนึ่งของการประชาสัมพันธ เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกใหกับผูที่ตองการจะ ติดตอดวย ไมวาจะเปนหนวยงานราชการ หรือสหกรณ จะตองมีหนวยติดตอสอบถาม


บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

59

คุณสมบัติของเจาหนาที่ที่ใหบริการติดตอสอบถาม 1. สนใจและเอาใจใสดูแลสมาชิกผูมาติดตอ 2. มีอุปนิสัยใจคอดี ยิ้มแยมแจมใส วาจาไพเราะ สุภาพเรียบรอย 3. เปนผูฟงที่ดีไมโตเถียง 4. โอภาปราศรัยแกสมาชิกผูมาติดตอ 5. ใหเกียรติแกสมาชิกผูมาติดตอ 6. ใหความสําคัญตอความคิดเห็นของสมาชิกและผูมาติดตอในลักษณะถอยทีถอยอาศัยกัน 7. ควรขอโทษในสิ่งที่ตนผิดพลาด 8. ใชความแนบเนียนในการใหขอแนะนําแกสมาชิกผูมาติดตอ 9. ในบางครั้งอาจตองขอความเห็นจากสมาชิกผูมาติดตอ 10. ควรแตงกายใหสุภาพเรียบรอย 11. บริการดวยความเต็มใจแกสมาชิกผูมาติดตอ สํานักงานสหกรณ อาคารสถานที่ควรสะอาดเรียบรอยและเปนระเบียบ 1. ควรสะอาดเรียบรอยและเปนระเบียบ 2. การโตตอบทางโทรศัพทควรใชเสียงที่สุภาพและไพเราะ 3. ปายที่ทํางานควรมีลักษณะเดนของเห็นไดแตไกล 4. อาคารสถานที่ควรมีลักษณะเดนเปนสงาและประดับประดาใหสวยงาม 5. เจาหนาที่ทุกคนควรไดรับการฝกอบรมอยางดีเพื่อสามารถใหบริการแกสมาชิกผูมาติดตอได เปนอยางดีไมขาดตกบกพรอง ขั้นตอนของการตอนรับสมาชิกและผูมาติดตอ 1. ตองเขาใจในฐานะของสมาชิกและผูมาติดตอวามีหลายระดับดวยกัน ทั้งลักษณะทาทาง กิริยามารยาท การพูดจา ซึ่งแตละคนจะไมเหมือนกัน ดังนั้น เจาหนาที่สหกรณจะตองปฏิบัติตอ สมาชิกเหมือนกันทุกคน ไมมีการแบงชั้นวรรณะ จะตองใหการตอนรับดวยอัธยาศัยไมตรีที่ดี และแสดง มารยาทอันดีตามหนาที่ของตน 2. การตอนรับและบริการ เจาหนาที่สหกรณควรจะสอบถามวัตถุประสงคและความมุงหมาย ของการมาติดตอ ไมควรปลอยใหสมาชิกคอยนานจนเกินไป โดยแกลงทําเปนไมสนใจหรือไมเห็น ควร ใหการตอนรับทันทีที่เห็นดวยความเต็มใจอยางยิ่ง ถาหากสามารถใหคําแนะนําหรือสามารถอํานวย ความสะดวกใหแกสมาชิกไดยิ่งดี เพราะการใหบริการที่ดีนั้นยอมประทับใจสมาชิกผูที่มาติดตอและไดรับ การยกยองชมเชย 3. การลาจาก สวนมากแลวสมาชิกมักจะเปนผูกลาวคําลาหรือขอบคุณ เจาหนาที่ควรกลาวคํา ยินดีที่ไดมีโอกาสไดใหบริการแกสมาชิก 3. การกําหนดอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ งานประชาสัมพันธของสหกรณนั้นเปนงานที่จะตองกระทําอยางตอเนื่อง ดังนั้น จึงมีความ จําเปนที่จะตองกําหนดอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของเจาหนาที่ประชาสัมพันธใหชัดเจนแลวแจง ใหเจาหนาที่ทราบ เพื่อที่จะไดปฏิบัติการไดอยางถูกตอง


60

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ทั้ ง นี้ คณะกรรมการศึ ก ษาและประชาสั ม พั น ธ จะต อ งจั ด ให มี ก ารซั ก ซ อ มความเข า ใจกั บ เจาหนาที่ มีการติดตามผลสะทอนกลับจากสมาชิกและผูมาติดตอ โดยอาจจัดทําแบบสอบถามหรือ ติดตั้งตูแสดงความคิดเห็นก็ได 4. การดําเนินการประชาสัมพันธ การประชาสัมพันธของสหกรณ จําเปนตองใชเครื่องมือและสื่อตางๆ เพื่อเปนตัวนําขาวสาร รายละเอียดตางๆ ไปสูสมาชิกและประชาชนทั่วไป เพื่อใหมีความรูความเขาใจในกิจการสหกรณใหดี ยิ่งขึ้น อันจะนําไปสูความศรัทธาเชื่อถือในหมูสมาชิกและประชาชนทั่วๆ ไป เครื่องมือที่จะใชในการดําเนินการประชาสัมพันธมีหลายประการ คือ 1. คําพูด คําบรรยาย การอภิปราย 2. เอกสาร 3. รูปภาพ 4. การจัดทํารายการวิทยุและโทรทัศน 5. การจัดนิทรรศการแสดงผลงานตางๆ ปญหาในการจัดประชาสัมพันธในสหกรณออมทรัพย 1. ดานบุคลากร เจาหนาที่ที่มีความรู ความเขาใจในงานประชาสัมพันธมีนอย โอกาสที่จะเกิด ความผิดพลาดจึงมีมาก 2. ดานสถานที่ เนื่องจากสถานที่ทํางานของสหกรณไมกวางใหญเพียงพอ ดังนั้นการจัดหนวย ประชาสัมพันธจึงไมเอื้ออํานวยและไมสะดวกในการตอนรับสมาชิกเทาที่ควร 3. ดานนโยบายการประชาสัมพันธ คณะกรรมการไมสนใจตองานประชาสัมพันธ โดยคิดวาถึง ไมทําประชาสัมพันธ สมาชิกก็ไดใหความสนใจมากูยืมเงินกันเต็มที่จนไมสามารถบริการไดทันความ ตองการ 4. ด า นงบประมาณ การขออนุ มั ติ ง บประมาณต อ ที่ ป ระชุ ม ใหญ บ างครั้ ง สมาชิ ก ไม ใ ห ความสําคัญดานการจัดประชาสัมพันธเทาที่ควร


การจั ด การศึ ก ษา และการฝ ก อบรม ในสหกรณ 1. การจัดการศึกษาสําหรับผูใหญ บุคลากรของสหกรณออมทรัพย ไมวาจะเปนสมาชิก กรรมการ ผูตรวจสอบกิจการ เจาหนาที่ สหกรณ ลวนแตบรรลุนิติภาวะแลวทั้งสิ้น ซึ่งถือวาเปนผูใหญแลว สามารถตัดสินใจในการกระทําได แลวตามวิจารณญาณของตนเอง ซึ่งกระบวนการสหกรณจะตองหลอหลอมใหบุคลากรสหกรณเหลานี้ เขาใจในเรื่อง การสหกรณ คือ ปรัชญา และอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ อันเปนรากฐาน ของสหกรณ และตองเขาใจการดําเนินธุรกิจของสหกรณ โดยการพัฒนาในทุกดาน ดังนั้น เราตองเขาใจคําวา การศึกษา การฝกอบรม และการพัฒนาบุคคลดังตอไปนี้ การฝกอบรม คือ “การถายทอดความรูเพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชํานาญ ความสามารถและ ทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อชวยใหการปฏิบัติงานและภาระหนาที่ตางๆ ในปจจุบันและอนาคตเปนไป อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น และไมวาการฝกอบรมจะมีขึ้นที่ใดก็ตามวัตถุประสงคก็คือ เปนการเพิ่มขีด ความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปของ…” 1 เราอาจจะมองการฝกอบรมในเชิงของกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันสืบเนื่องมาจาก เรียนรู การฝกอบรมจึงหมายถึง “กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางมีระบบเพื่อใหบุคคลมี ความรู ความเขาใจ มีความสามารถที่จําเปนและมีทัศนคติที่ดีสําหรับการปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่ง ของ……” 2 และ การฝกอบรม คือ “กระบวนการในอันที่จะทําใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และความชํานาญในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว 3 จะเห็นไดว า ความหมายของการฝกอบรมมีมากมาย ขึ้ นอยู กับวาจะพิจารณาจากแนวคิ ด (Approach) ใดที่เกี่ยวกับการฝกอบรม ทั้งนี้ มีแนวคิดและทฤษฎีตางๆ ที่เกี่ยวกับการฝกอบรม ดังตอไปนี้ การฝกอบรมกับการศึกษาและการพัฒนาบุคคล ทั้งการศึกษา การพัฒนาบุคคล และการฝกอบรมลวนแตมีลักษณะที่สําคัญๆ คลายคลึงกันและ เกี่ยวของกันจนดูเหมือนจะแยกออกจากกันไดยาก แตความเขาใจถึงความแตกตางระหวางทั้งสามเรื่อง ดังกลาว จะชวยทําใหสามารถเขาใจถึงลักษณะของกระบวนการฝกอบรม ตลอดจนบทบาทและหนาที่ ของผูรับผิดชอบจัดการฝกอบรมเพิ่มมากขึ้น


62

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การศึกษา เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางมีระบบ เพื่อใหบุคคลมีความรู ทักษะ ทัศนคติในเรื่องทั่วๆ ไป อยางกวางๆ โดยมุงเนนการสรางคนใหมีความสมบูรณเพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยู ในสังคมดวยดี และสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดเปนสําคัญ ถึงแมวาการศึกษายุคปจจุบันจะ เนนใหความสําคัญแกตัวผูเรียนเปนหลัก (Student - Centered) ทั้งในดานของการจัดเนื้อหาการเรียนรู ระดับความยากงายและเทคนิควิธีการเรียนรู เพื่อใหตรงกับความสนใจ ความตองการ ระดับสติปญญา และความสามารถของผูเรียนก็ตาม การศึกษาโดยทั่วไปยังคงเปนการสนองความตองการของบุคคล ในการ เตรียมพรอมหรือสรางพื้นฐานในการเลือกอาชีพมากกวาการมุงเนนใหนําไปใชในการปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง นอกจากนั้น การศึกษาเปนเรื่องที่สามารถกระทําไดตลอดชีวิต (Lifelong Education) ไมจํากัดระยะเวลา อีกดวย สวนคําวา การพัฒนาบุคคล นั้น นักวิชาการดานการฝกอบรมบางทานเห็นวาเกือบจะเปน เรื่องเดียวกันกับการฝกอบรม โดยกลาววา การฝกอบรม เปนการเสริมสรางใหเกิดการเรียนรู สําหรับ บุ ค ลากรระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ ให ส ามารถทํ า งานอย า งใดอย า งหนึ่ ง ได ต ามจุ ด ประสงค เ ฉพาะอย า ง ในขณะที่การพัฒนาบุคคลนั้น มุงเสริมสรางใหเกิดการเรียนรูในเรื่องทั่วๆ ไป อยางกวางๆ จึงเปนการ ฝกอบรมสําหรับบุคลากรระดับบริหารเปนสวนใหญ ซึ่งในทางปฏิบัติแลวบุคลากรทั้งสองระดับก็ตองมีทั้ง การฝกอบรม และการพัฒนาบุคลากรรวมๆ กันไป เพียงแตวาจะเนนไปในทางใดเทานั้น 4 เดนพงษ พลละคร เห็นวาคําวา การพัฒนาบุคคล เปนคําที่มีความหมายกวางมากกลาวคือ กิจกรรมใดที่จะมีสวนทําใหบุคลากรมีความรู ทักษะ ประสบการณ และทัศนคติที่ดีขึ้นสามารถที่จะ ปฏิบัติหนาที่ที่ยากขึ้นและมีความรับผิดชอบที่สูงขึ้น ในองคการไดแลวเรียกวา เปนการพัฒนาบุคคล ทั้งนั้น ซึ่งหมายความรวมถึงการใหการศึกษาเพิ่มเติม การฝกอบรม การสอนงาน หรือการนิเทศงาน (Job Instruction) การสอนแนะ (Coaching) การใหคําปรึกษาหารือ (Counselling) การมอบหมาย หนาที่ใหทําเปนครั้งคราว (Job Assignment) การใหรักษาการแทน (Acting) การโยกยายสับเปลี่ยน หนาที่การงานเพื่อใหโอกาสศึกษางานที่แปลกใหมหรือการไดมีโอกาสศึกษาหาความรู และประสบการณ จากหนวยงานอื่น (Job Rotation) เปนตน 5 จากความหมายของการพัฒนาบุคคลดังกลาวขางตน ทําใหเขาใจไดทันทีวาการฝกอบรมเปน เพียงวิธีการหนึ่ง หรือสวนหนึ่งของการพัฒนาบุคคลเทานั้น เพราะการพัฒนาบุคคลเปนเรื่องซึ่ง มี จุดประสงคและแนวคิดกวางขวางกวาการฝกอบรม ดังที่มีผูนิยามวา การฝกอบรมคือ “การพัฒนา บุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ทักษะ ทัศนคติ ที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานจนกระทั่งเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานไปในทิศทางที่ตองการ” 6 นอกจากนั้น การฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคคลนั้น เปนเรื่องที่มีวัตถุประสงคเฉพาะเจาะจงเนนถึง การเพิ่มประสิทธิภาพของงาน ซึ่งตัวบุคคลนั้นปฏิบัติอยู หรือจะปฏิบัติตอไปในระยะยาว เนื้อหาของ เรื่องที่ฝกอบรมอาจเปนเรื่องที่ตรงกับความตองการของตัวบุคคลนั้นหรือไมก็ได แตจะเปนเรื่องที่มุงเนน ใหตรงกับงานที่กําลังปฏิบัติอยูหรือกําลังจะไดรับมอบหมายใหปฏิบัติ การฝกอบรม จะตองเปนเรื่องที่ จะตองมีกําหนดระยะเวลาเริ่มตน และสิ้นสุดลงอยางแนนอน โดยมีจุดประสงคใหเกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมซึ่งสามารถประเมินผลไดจากการปฏิบัติงานหรือผลงาน (Performance) หลังจากไดรับการ ฝกอบรมในขณะที่การศึกษาเปนเรื่องระยะยาว และอาจประเมินไมไดทันที


การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ

63

ตารางเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการศึกษา การพัฒนาบุคคล และ การฝกอบรม 7 หัวขอในการ เปรียบเทียบ 1. เปาหมาย

2. เนื้อหา

3. ตามความตองการ 4. ระยะเวลาที่ใช 5. วัย 6. ความเสี่ยง (ที่จะ บรรลุวัตถุประสงค) 7. การประเมินผล ดูจาก

การศึกษา - เลือกอาชีพ - ปรับตัวใหเขากับ สังคมและสภาพ แวดลอม - กวาง

- บุคคล - ยาวและสามารถทํา ไดเรื่อยๆ ไมสิ้นสุด - วัยเรียน - ปานกลาง - การปฏิบัติงานใน อนาคต

การพัฒนาบุคคล - เสริมสรางคุณภาพ และความกาวหนา ของบุคคล

การฝกอบรม - เพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน

- ตรงกับศักยภาพ และงานในอนาคต

- ตรงกับงานที่กําลัง ปฏิบัติหรือกําลังจะ ไดรับมอบหมายให ปฏิบัติ - หนวยงานและบุคคล - งาน - ใชเวลาตลอดอายุงาน - ใชระยะเวลาจํากัด - มองในระยะยาว - วัยทํางาน - วัยทํางาน - สูง - ต่ํา - เกือบจะทําการ ประเมินไมไดเพราะ มีตัวแปรจากสภาพ แวดลอมจํานวนมาก ยากแกการควบคุม

- จากพฤติกรรมใน การปฏิบัติงานใน หนาที่

เทาที่กลาวมาแลวทั้งหมดในสวนของการศึกษา การพัฒนาบุคคลและการฝกอบรม อาจสรุป ความแตกตางของทั้ง 3 คํา อยางสั้นๆ ไดดังนี้ 1. การศึกษา (Education) เนนที่ตัวบุคคล (Individual Oriented) 2. การฝกอบรม (Training) เนนถึงการทําใหสามารถทํางานที่ตองการได (Job Oriented) 3. การพัฒนา (Development) เนนที่องคการ (Organizational Oriented) เพื่อใหตรงกับ นโยบาย เปาหมาย ขององคการที่สังกัด


64

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

กระบวนการฝกอบรม กอนที่จะทําความเขาใจถึงแตละขั้นตอนของกระบวนการฝกอบรมในรายละเอียด เราอาจมอง กระบวนการฝกอบรม เพื่อพัฒนาบุคลากรอยางคราวๆ ไดดังนี้ แผนภูมิแสดงถึง “กระบวนการฝกอบรม”

การหาความจําเปน ในการฝกอบรม

การประเมินผล / ติดตามผลการฝกอบรม

การสรางหลักสูตร ฝกอบรม

การบริหารโครงการ ฝกอบรม

การกําหนดโครงการ ฝกอบรม

ความหมายของกระบวนการฝกอบรม กระบวนการฝกอบรม หมายถึง ”กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทําใหผูเขารับการ ฝกอบรม เกิดความรูความเขาใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชํานาญ ตลอดจนประสบการณในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว” 8 เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “กระบวนการฝกอบรม” , การฝกอบรมความรูพื้นฐานดานการ ฝกอบรม, สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน, สํานักงาน ก.พ., ธันวาคม 2532, หนา 1 ดั ง ที่ ร ะบุ ใ นแผนภู มิ ดั ง กล า วข า งต น กระบวนการฝ ก อบรมมี ขั้ น ตอนที่ สํ า คั ญ 5 ขั้ นตอนซึ่ ง ผูรับผิดชอบจัดโครงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรแตละโครงการควรจะตองดําเนินการในแตละขั้นตอน ครบถวนเพื่อใหเปนการฝกอบรมอยางเปนระบบ มีความสมบูรณ และเกิดผลสําเร็จตรงตามเปาหมายซึ่ง อาจใหความหมายและคําอธิบายยอๆ สําหรับแตละขั้นตอนของกระบวนการฝกอบรมไดดังนี้


การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ

65

1. การหาความจําเปนในการฝกอบรม หมายถึง การคนหาปญหาที่ เกิดขึ้นในองคกรหรือใน หนวยงาน วามีปญหาเรื่องใดบางที่จะสามารถแกไขใหหมดไปหรืออาจทําใหทุเลาลงไดดวยการฝกอบรม โดยรวมไปถึงการพยายามหาขอมูลดวยวา กลุมบุคลากรเปาหมายที่จะตองเขารับการอบรมเปนกลุมใด ตําแหนงงานอะไร มีจํานวนมากนอยเพียงใด ควรจะตองจัดโครงการฝกอบรมใหหรือเพียงแตสงไปเขารับ การอบรมภายนอกองคการเทานั้น มีภารกิจใดบางที่ควรจะตองแกไข ปรับปรุงดวยการฝกอบรม พฤติกรรม ประเภทใดบางที่ควรจะตองเปลี่ยนแปลงดานความรู ทักษะ ทัศนคติ หรือประสบการณ ทั้งนี้สภาพการณ ที่เปนปญหาและแสดงถึงความจําเปนในการฝกอบรมอาจมีทั้งที่ปรากฏชัดแจง และเปนสภาพการณที่ ซับซอนจําเปน ตองวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาเพื่อคนหาวิธีการที่ใชในการวิเคราะหหาความจําเปนใน การฝกอบรมมีหลายวิธี เชน การสํารวจ การสังเกตการณ การทดสอบ และการประชุม เปนตน 2. การสรางหลักสูตรฝกอบรม หมายถึง การนําเอาความจําเปนในการฝกอบรมซึ่งมีอยูชัดเจน แลววา มีปญหาใดบางที่จะสามารถแกไขไดดวยการฝกอบรม กลุมเปาหมายเปนใคร และพฤติกรรม การเรียนรูที่ตองการจะเปลี่ยนแปลงเปนดานใดนั้น มาวิเคราะหเพื่อกําหนดเปนหลักสูตร โดยอาจ ประกอบดวยวัตถุประสงคของหลักสูตรฝกอบรม หมวดวิชา หัวขอวิชา วัตถุประสงคของแตละหัวขอ วิชา เนื้อหาสาระหรือแนวการอบรม เทคนิคหรือวิธีการอบรม ระยะเวลา การเรียงลําดับหัวขอวิชาที่ ควรจะเปน ตลอดจนการกําหนดลักษณะของวิทยากรผูดําเนินการฝกอบรม ทั้งนี้ เพื่อจะทําใหผูเขา อบรมไดเกิดการเรียนรูอยางมีขั้นตอน และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจนทําใหสิ่งที่เปนปญหาไดรับ การแกไขลุลวงไปได หรืออาจทําใหผูเขารับการอบรมทํางานที่ไดรับมอบหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และเต็มใจยิ่งขึ้น 3. การกําหนดโครงการฝกอบรม คือ การวางแผนการดําเนินการฝกอบรมอยางเปนขั้นตอน ดวยการเขียนออกมาเปนลายลักษณอักษร ดังที่เรียกวา “โครงการฝกอบรม” เปนการระบุรายละเอียด ที่เกี่ยวของทั้งหมด ตั้งแตเหตุผลความเปนมาหรือความจําเปนในการฝกอบรมหลักสูตร หัวขอวิชา ตางๆ วิทยากร คุณสมบัติของผูที่จะเขารับการอบรม วันเวลา สถานที่อบรม ประมาณการคาใชจาย ตลอดจนรายละเอียดดานการบริหารและธุรการตางๆ ของการฝกอบรม ทั้งนี้เนื่องจากการฝกอบรม เปนกิจกรรมที่มีผูเกี่ยวของหลายฝาย นับตั้งแตผูที่จะเขารับการฝกอบรม ผูบังคับบัญชา ในหนวยงาน ตนสังกัดของผูเขารับการฝกอบรม วิทยากร และที่สําคัญคือ ผูบริหารซึ่งมีอํานาจอนุมัติโครงการและ คาใชจาย จําเปนจะตองเขาใจถึงรายละเอียดตางๆ ของการฝกอบรม โดยใชโครงการฝกอบรมที่เขียน ขึ้นเปนสื่อนั่นเอง 4. การบริหารโครงการฝกอบรม สําหรับขั้นตอนนี้ ในตําราการบริหารงานฝกอบรมบางเลม ระบุเปนขั้นของ “การดําเนินการฝกอบรม” แตเนื่องจากผูเขียนพิจารณาเห็นวา ถึงแมจะดูเหมือนวา การดํ า เนิ น การฝ ก อบรมเป น หั ว ใจสํ า คั ญ ของการจั ด การโครงการฝ ก อบรม หากแท จ ริ ง แล ว การ ดําเนินการฝกอบรมเปนเพียงสวนหนึ่งของการบริหารโครงการฝกอบรม เพราะการดําเนินการฝกอบรม ที่มีประสิทธิภาพและสามารถบรรลุวัตถุประสงคของโครงการไดนั้น นอกจากมาจากวิทยากรที่มีความรู ความสามารถ และหลักสูตรฝกอบรมที่เหมาะสมแลว ยังจําเปนตองอาศัยเจาหนาที่ผูรับผิดชอบจัดการ ฝกอบรม ซึ่งเขาใจหลักการบริหารงานฝกอบรม พอที่จะสามารถวางแผนและดําเนินงานธุรการทั้งหมด


66

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ในชวงทั้งกอน ระหวาง และหลังการอบรมไดอยางมีประสิทธิภาพอีกดวย จึงไดกําหนดขั้นตอนนี้เปน การบริหารโครงการฝกอบรม เพื่อใหครอบคลุมเนื้อหา ที่ผูจัดโครงการฝกอบรมควรทราบทั้งหมด สวนในการดําเนินการฝกอบรม เจาหนาที่ผูจัดโครงการอบรมจะตองมีบทบาทหลักที่จะชวย อํานวยความสะดวกใหกับวิทยากรในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแกผูเขาอบรม ทั้งในดานสถานที่ โสตทัศนูปกรณ วัสดุอุปกรณ ยานพาหนะ การเงิน ฯลฯ และในขณะเดียวกันยังตองดําเนินงานใน ฐานะผูอํานวยการโครงการ ทําหนาที่ควบคุมใหการฝกอบรมดําเนินไปตามกําหนดการ จัดใหมีกิจกรรม ละลายพฤติกรรมและกิจกรรมกลุมต างๆ ในระหวางผู เ ข าอบรม อัน จะช ว ยสรางบรรยากาศในการ ฝกอบรมใหเอื้ออํานวยตอการเรียนรูสําหรับผูเขาอบรมไดเปนอยางดี มิฉะนั้นอาจไมสามารถทําใหการ ฝกอบรมดําเนินไปตามที่ระบุไวในโครงการอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุประสิทธิผลเทาที่ควร 5. การประเมิ นและติดตามผลการฝกอบรม ในขั้ นตอนของการกํา หนดโครงการฝ กอบรม ผูรับผิดชอบจะตองคํานึงถึงการประเมินผลการฝกอบรมไวดวยวา จะดําเนินการประเมินผลดวยวิธีการ ใดบาง โดยใชเครื่องมืออะไร และจะดําเนินการติดตามผลการฝกอบรมหรือไม เมื่อใด ทั้งนี้เพราะเมื่อ การฝกอบรมเสร็จสิ้นลงแลว ผูรับผิดชอบโครงการควรจะตองทําการสรุปประเมินผลการฝกอบรมและ จัดทํารายงานเสนอใหคณะกรรมการไดพิจารณาถึงผลของการฝกอบรม สวนผูรับผิดชอบโครงการเองก็ จะต อ งนํ า เอาผลการประเมิ น โครงการฝ ก อบรมทั้ ง หมดมาเป น ข อ มู ลย อ นกลั บ หรื อ Feedback ใช พิจารณาประกอบในการจัดฝกอบรมหลักสูตรเชนเดียวกัน ในครั้ง/รุนถัดไปในขั้นตอนของการหาความ จําเปนในการฝกอบรมวา ควรจะตองมีการพัฒนาหรือปรับปรุง หลั กสูต รหรื อการดํ าเนิ นการในการ บริหารงานฝกอบรมอยางไรบาง เพื่อจะทําใหการฝกอบรมเกิดสัมฤทธิผลตรงตามวัตถุประสงคของ โครงการเพิ่มขึ้น ในการจัดฝกอบรมแตละโครงการนั้น ผูรับผิดชอบจัดการฝกอบรมจะสามารถตรวจสอบวาการ ดําเนินงานของตนเปนการฝกอบรมอยางมีระบบหรือไมไดดวยการตอบคําถามดังตอไปนี้ใหไดครบทุกขอคือ 1. ทําไมจึงตองจัดการฝกอบรม แนใจแลวใชหรือไมวาปญหาที่เกิดขึ้นนั้นจะแกไขไดดวยการ ฝกอบรม 2. ใครเปนกลุมบุคคลเปาหมายและใครเปนผูมีสวนเกี่ยวของบาง 3. จะฝกอบรมไปเพื่ออะไร พฤติกรรมอะไรบางที่ตองการจะใหเกิดการเปลี่ยนแปลง 4. จะฝกอบรมในเรื่องอะไรบาง หลักสูตรฝกอบรมจะเปนอยางไร 5. จะฝกอบรมอยางไร มีความพรอมในดานใดบาง 6. ฝกอบรมแลวไดผลหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงคของการฝกอบรมหรือไม ขอบเขตการศึกษาสําหรับผูใหญ ในการจัดโครงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรของสหกรณนั้น สหกรณจําเปนที่จะตองเขาใจถึง ลักษณะธรรมชาติในกระบวนการเรียนรูของผูใ หญเ ปนพื้นฐานเสี ยก อน จึง จะมีขอ มูลประกอบการ ตัดสินใจเลือกทางเลือกตางๆ ในการดําเนินการตามกระบวนการบริหารงานฝกอบรมไดอยางเหมาะสม และกอใหเกิดการเรียนรูและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเขาอบรมไดตรงกับวัตถุประสงคของการ ฝกอบรมมากขึ้น


การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ

67

การฝกอบรมมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับการเรียนรู เนื่องจากการฝกอบรมเปนกระบวนการ หนึ่งซึ่งมุงกอใหเกิดการเรียนรู ซึ่งหมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่คอนขางถาวรอันเปน ผลสื บ เนื่ อ งมาจากการปฏิ บั ติ ที่ มี ก ารเน น ย้ํ า บ อ ยๆ 8 โดยที่ ผ ลของการเรี ย นรู อ าจไม ส ามารถ สังเกตเห็นไดโดยตรง แตอาจตรวจสอบไดจากผลของการกระทําหรือผลงานของผูเรียน นักจิตวิทยา ได ทํา การวิ จัยค นคว า เกี่ ยวกั บกระบวนการเรี ยนรู ไว ม ากมาย ล ว นแต เ ห็ น ว า การเรี ยนรู ของผูใ หญ แตกตางจากการเรียนรูของเด็ก เรื่องที่สําคัญเกี่ยวกับลักษณะธรรมชาติในการเรียนรูของผูใหญ อาจพอสรุปเปนขอๆ ไดดังนี้ 1. ผูใหญตองการรูเหตุผลในการเรียนรู และผูใหญจะเรียนรูตอเมื่อเขาตองการจะเรียน เนื่องจากผูใหญนั้นเขาใจตนเอง และรูวาตนเองมีความรับผิดชอบตอผลของการตัดสินใจของ ตนเองได กอนการเรียนรูผูใหญมักตองการจะรูวา เพราะเหตุใดหรือทําไมเขาจึงจําเปนที่จะตองเรียนรู เขาจะไดรับประโยชนอะไรจากการเรียนรู และจะสูญเสียประโยชนอะไรบางถาไมไดเรียนรูสิ่งเหลานั้น ผูใหญจึงมีความพรอมที่จะเรียนรูในสิ่งที่เขาตองการเรียนรูและพึงพอใจมากกวาจะใหผูอื่นมากําหนดให และมักมีแรงจูงใจในการเรียนรูจากภายในตนเองมากกวาแรงจูงใจภายนอก 2. ลักษณะการเรียนรูของผูใหญ ในกระบวนการเรียนรู ผูใหญตองการเปนอยางมากที่จะชี้นําตนเองมากกวาจะใหผูสอนมาชี้นํา หรือควบคุมเขา นั่นคือ ผูใหญอยากที่จะเรียนรูดวยตนเองมากกวา และดวยการเรียนรูมีลักษณะเปน การแนะแนวมากกวาการสอน ดังนั้น บทบาทของวิทยากรควรจะเปนการเขาไปมีสวนรวมกับผูเรียนใน กระบวนการคนหาความจริง หรือที่เรียกวาผูอํานวยความสะดวกในเรียนรู (Facilitator) มากกวาที่จะ เปนผูถายทอดความรูของตนไปยังผูเรียน นอกจากนั้นบทบาทของผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู ควรจะตองเปนผูสรางบรรยากาศในการเรียนรู ดวยการยอมรับฟงและยอมรับในการแสดงออก ทัศนคติ และความรู สึ ก นึ ก คิ ด เกี่ ย วกั บ เนื้ อ หาสาระของวิ ช าที่ เ รี ย นของผู เ รี ย น ช ว ยให ผู เ รี ย นได เ ข า ใจถึ ง จุดมุงหมายในการเรียนรูของแตละคน และของกลุม ทําหนาที่จัดหาและจัดการทรัพยากรในการเรียนรู หรืออาจเปนแหลงทรัพยากรเพื่อการเรียนรูที่ยืดหยุนเสียเอง 3. บทบาทของประสบการณของผูเรียน ประสบการณชีวิตมีผลกระทบตอการเรียนรูของผูใหญ ขอแตกตางในการเรียนรูที่สําคัญระหวาง ผูใหญกับเด็กอยางหนึ่งก็คือ ผูใหญมีประสบการณมากกวา ซึ่งอาจเปนไดทั้งขอดีและขอเสีย ทั้งนี้ เพราะวิธีการเรียนรูเบื้องตน ของผูใหญคือ การวิเคราะหและคนหาความจริงจากประสบการณ ซึ่ ง นั ก จิ ต วิ ท ยาบางคนเชื่ อ ว า หากเขารั บ รู ว า สิ่ ง ที่ เ ขาเรี ย นรู นั้ น มี ส ว นช ว ยรั ก ษา หรื อ เสริ ม สร า ง ประสบการณภายในตัวเขา ผูใหญก็จะเรียนรูไดมากขึ้น แตถาหากกิจกรรมใดหรือประสบการณใดจะทํา ให มีการเปลี่ ยนแปลงโครงสร างภายในของเขา ผู ใหญ ก็มีแ นวโน มที่ จ ะตอ ต านโดยการปฏิ เ สธหรื อ บิดเบือนกิจกรรมหรือประสบการณนั้นๆ นอกจากนั้น ประสบการณเปนสิ่งที่ทําใหผูใหญมีความแตกตางระหวางบุคคล เพราะยิ่งอายุ มากขึ้น ประสบการณของผูใหญยิ่งจะแตกตางมากยิ่งขึ้น ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับ ผูใหญ จึงควรจะคํานึงถึงทั้งในดานของความแตกตางระหวางบุคคลของผูใหญ และควรจะอาศัยขอดี ของการมีประสบการณของผูใหญ และทําใหประสบการณนั้นมีคุณคาโดยการใชเทคนิคฝกอบรมตางๆ


68

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ซึ่งเนนการเรียนรูโดยอาศัยประสบการณ (Experiential Techniques) ทําใหผูเรียนไดมีโอกาสผสมผสาน ความรูใหมกับประสบการณเดิมที่มีอยู ทําใหการเรียนรูที่ไดรับใหมนั้นมีความหมายเพิ่มเติมขึ้นอีก อาทิ เชน วิธีการอภิปรายกลุ ม กิจกรรมการแกปญหา กรณีศึกษา และเทคนิคการฝ กอบรมโดยอาศัย กระบวนการกลุมตางๆ 4. แนวโนมในการเรียนรูของผูใหญ โดยทั่วไปเด็กมีแนวโนมที่จะเรียนรูโดยอาศัยเนื้อหาวิชา และมองการเรียนรูในลักษณะของการ แสวงหาความรูจากเนื้อหาสาระของวิชาใดวิชาหนึ่งโดยตรง แตสําหรับผูใหญ การเรียนรูจะมุงไปที่ ชีวิตประจําวัน (Life-centered) หรือเนนที่งานหรือการแกปญหา (Task-centered) เสียมากกวา นั่น คือ ผูใหญจะยอมรับและสนใจกิจกรรมการเรียนรูของเขา หากเขาเชื่อและเห็นวา การเรียนรูนั้นๆ จะ ชวยใหเขาทํางานไดดีขึ้น หรือชวยแกปญหาในชีวิตประจําวันของเขา ดังนั้น การจัดหลักสูตรเพื่อการ เรียนการสอน ผูใหญจึงควรจะอาศัยสถานการณตาง ๆ รอบตัวของเขา และเปนการเพิ่มความรูความ เขาใจ ทักษะ ซึ่งมีสวนชวยในการแกปญหาในชีวิตจริงของเขาดวย 5. บรรยากาศในการเรียนรูของผูใหญ ผูใหญจะเรียนรูไดดีกวาในบรรยากาศที่มีการอํานวยความสะดวกตางๆ ทั้งทางกายภาพ เชน การจัดแสงสวาง และอุณหภูมิของหองใหพอเหมาะ มีการจัดที่นั่งที่เอื้อตอการมีปฏิสัมพันธระหวาง ผู ส อนกั บผู เ รี ยน หรื อ ระหวา งผู เ รี ย นด ว ยกัน ได ส ะดวก และมี บรรยากาศของการยอมรั บในความ แตกตางในทางความคิด และประสบการณที่แตกตางกันของแตละคน มีความเคารพซึ่งกันและกัน มี อิส รภาพ และการสนับสนุน ให มีการแสดงออกและมี ความเป นกันเอง มากกวาบั งคับด วยระเบี ยบ กฎเกณฑตางๆ ผูใหญก็จะปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดมากกวา ตรงกันขามหากผูใหญตกอยูใน สิ่งแวดลอมหรือสถานการณที่ขมขู เขาก็มักจะยืนหยัดไมยอมยืดหยุน หรือไมยอมปรับตนเองใหเขากับ สภาพแวดลอมนั้น แตถาหากเขารูสึกวาอยูในสภาพแวดลอมที่ปลอดภัย เขาจะยอมรับ และปรับตนเอง ใหเขากับประสบการณและสิ่งแวดลอมนั้นๆ ได จากลักษณะและธรรมชาติในการเรียนรูของผูใหญดังที่กลาวมาแลวขางตนมีผูสรุปถึงหลักสําคัญ ในการเรียนรูของผูใหญไวสั้นๆ ดังนี้คือ 1. ผูใหญจะเรียนเมื่อเขาตองการจะเรียน 2. ผูใหญจะเรียนเฉพาะสิ่งที่เขามีความรูสึกวามีความจําเปนจะตองเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่ง เรียนเพื่อนําไปปฏิบัติ 3. ผูใหญเรียนรูโดยการกระทําไดดีกวา การสอนผูใหญจึงควรใชวิธีการหลายๆ อยางรวมทั้งให ลงมือกระทําดวย 4. จุดศูนยกลางในการเรียนรูของผูใหญอยูที่ปญหา และปญหาเหลานั้นจะตองเปนจริง 5. ประสบการณมีผลกระทบกระเทือนตอการเรียนรูของผูใหญ ซึ่งอาจเปนไดทั้งคุณและโทษตอ การเรียนรู 6. ผูใหญจะเรียนรูไดอยางดียิ่งในบรรยากาศแวดลอมที่เปนกันเอง ไมใชรูสึกถูกบังคับโดย ระเบียบกฎเกณฑ


การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ

69

7. ผูใหญตองการการแนะแนวไมใชการสอน และตองการการวัดผลดวยตนเอง มากกวาการ ใหคะแนน เทคนิค / วิธีการจัดการศึกษาผูใหญ บทบาทที่สําคัญของผูสอน วิทยากร หรือผูอํานวยความสะดวก (Facilitators) ในการ เรี ย นรู ข องผู ใหญ ซึ่ งจํ า เป น ที่ ผู รั บผิ ด ชอบจั ด การฝ ก อบรมจะตอ งเข า ใจเทคนิ ค/วิ ธีก ารในการจั ด ฝกอบรมใหสอดคลองกันดวยนั้น อาจสรุปไดดังนี้ 1. ผูสอนจะตองยอมรับวาผูเรียนแตละคนมีคุณคา และจะตองเคารพในความรูสึกนึกคิดและ ความเห็น ตลอดจนประสบการณของเขาดวย 2. ผู ส อนควรพยายามทํ า ให ผู เ รี ย นตระหนั ก ด ว ยตั ว เองว า มี ค วามจํ า เป น ที่ เ ขาจะต อ งปรั บ พฤติกรรม (ทั้งดานความรู ความเขาใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอยางยิ่งดวยการ เรียนรูเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และอาจประสบปญหาอยางใดบาง อันเนื่องมาจากการขาดพฤติกรรมที่ มุงหวังดังกลาว 3. ควรจัดสิ่งแวดลอมทางกายภาพใหสะดวกสบาย (เชน ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสวาง การ ถายเทอากาศ ฯลฯ) รวมทั้งเอื้อตอการปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนดวยกันเองไดสะดวกอีกดวย (เชน ไมควรจัดใหมีการนั่งขางหนาขางหลังซึ่งกันและกัน) 4. ผูสอนจะตองแสวงหาวิธีการที่จะแสวงหาความสัมพันธอันดี ระหวางผูเรียนดวยกันเพื่อสราง ความรูสึกไวเนื้อเชื่อใจ และความชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยการยั่วยุหรือสนับสนุนใหมีกิจกรรม ที่ตองมีการใหความรวมมือรวมใจกันและกัน และในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแขงขัน และการใชวิจารณญาณตัดสินวาอะไรควรไมควรอีกดวย 5. หากเปนไปได ผูสอนควรเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในเรื่องดังตอไปนี้ 1) การพิ จารณากํ าหนดวัต ถุ ป ระสงคใ นการเรียนรู ตามความตองการของผูเ รี ยนโดย สอดคลองกับความตองการขององคกร ของผูสอน และของเนื้อหาวิชาดวย 2) การพิจารณาทางเลือกในการกําหนดกิจกรรมเพื่อการเรียนการสอน รวมทั้งการเลือก วัสดุอุปกรณ และวิธีการเรียนการสอน 3) การพิจารณากําหนดมาตรการหรือเกณฑการเรียนการสอนซึ่งเปนที่ยอมรับรวมกั น รวมทั้งรวมกันกําหนดเครื่องมือและวิธีการวัดผลความกาวหนาเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว ตั้งแตแรกดวย 6. ผูสอนจะตองชวยผูเรียนใหรูจักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนเองตามเกณฑที่ ไดกําหนดไวแลว การนําหลักการสหกรณขอที่ 5 มาใชในการจัดการศึกษา จากหลักการสหกรณขอที่ 5 เรื่อง การศึกษา การฝกอบรม และขาวสาร ซึ่งพอจะแยกออกเปน 2 ประเด็นคือ


70

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

1. การใหการศึกษาอบรมแกบรรดาสมาชิก ผูแทนจากการเลือกตั้งคือ คณะกรรมการ ดําเนินการ ผูตรวจสอบกิจการ ผูจัดการ และเจาหนาที่สหกรณ เพื่อใหบุคคลเหลานั้นมีสวน ชวยเหลือในการพัฒนาสหกรณใหเจริญกาวหนา การพัฒนาความเจริญกาวหนาของสหกรณ ตองพัฒนาในหลายมิติ แตมิติที่สําคัญที่สุดคือ การพัฒนาคุณภาพบุคลากรในขบวนการสหกรณใหมีความรู ความเขาใจในปรัชญาของสหกรณวา เปนองคกรที่เกิดขึ้นมาจากความตองการของสมาชิก เพื่อที่จะมาแกปญหาของสมาชิกเอง ในกรณีเปน สหกรณออมทรัพยนั้นสมาชิกรวมกลุมกันเพื่อจะแกไขปญหาทางการเงิน สรางวินัยในการออม และให ระบบการหมุนเวียนของเงินอยูในกลุมของสมาชิก ไมตองพึ่งพาการเงินจากสถาบันการเงินภายนอก มากนัก สรางเครือขายเชื่อมโยงกันเองระหวางสหกรณ นอกจากนั้นยังตองสรางความเขาใจและปลูกฝงใหบุคลากรของสหกรณทุกฝายรูซึ้งในเรื่องของ อุดมการณสหกรณ (การชวยตนเอง การชวยเหลือซึ่งกันและกัน) หลักการสหกรณและวิธีการสหกรณ รู ถึงเรื่องของบทบาท หนาที่ สิทธิ ภารกิจของบุคลากรสวนตางๆ ในขบวนการสหกรณ ซึ่งจะตอง ดําเนินการโดย คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เมื่อบุคลากรตางๆ ของสหกรณมีความรูความ เขาใจและพรอมรวมกันดําเนินงานกับสหกรณแลวจึงดําเนินงานใหเปนไปตามวัตถุประสงคของสหกรณ ไดอยางราบรื่น 2. การใหความรู ขาวสาร ในเรื่องลักษณะและประโยชนของสหกรณแกประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชนและผูนําทางความคิด การใหความรูเรื่อง การสหกรณแกบุคคลภายนอก และประชาชนทั่วไป เปนภารกิจสําคัญ ประการหนึ่ ง ของขบวนการสหกรณ เฉพาะที่ ส หกรณ ต า งๆ จะสามารถดํ า เนิ น การให เ ป น ไปตาม วั ต ถุป ระสงคไ ด นั้น จะตองประกอบด วยหลายสาเหตุ ประการหนึ่ งที่สํ าคั ญ คือ จํา นวนสมาชิ กที่ มี คุณภาพเขามาอยูรวมกันในขบวนการ การมีสมาชิกที่มีคุณภาพจะเปนการทําใหการชวยเหลือซึ่งกันและ กันพรอมกันทั้งในดานการรวมแรง กาย ใจ ความคิด ทรัพย การออม ทุนดําเนินงาน ดังนั้นจึงเปนหนาที่ ของสหกรณอีกเชนกันในการที่ตองมีขาวสาร ประชาสัมพันธแกบุคคลภายนอกใหทราบถึงความหมาย ของสหกรณ วัตถุประสงค การดําเนินงาน และประโยชนที่สมาชิกแตละคนจะไดรับ และประโยชนของ ชุมชนที่จะไดรับถาสามารถจะรวมตัวกันเปนเมืองสหกรณใหได ดังนั้นในหลักการของสหกรณขอที่ 5 จึงแบงหนาที่ของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ออกเปน 2 สวนตามกลุมเปาหมาย 1. บุคลากรสหกรณ 2. บุคคลภายนอก และประชาชนทั่วไป การจัดการศึกษาแก 2 กลุมเปาหมายนั้นจะตองกําหนดแนวคิดวา 1. องคความรูที่กลุมเปาหมายตองรูเปนพื้นฐาน 2. องคความรูที่กลุมเปาหมายรูในหนาที่ 3. องคความรูเสริมตามนโยบาย


การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ

71

กลุมเปาหมายที่เปนบุคลากรสหกรณนั้น ก็ตองแยกออกวาเปนสมาชิก/กรรมการ/ฝายจัดการ/ผู ตรวจสอบกิจการ ซึ่งแตละกลุมเปาหมายก็จะตองมีองคความรูในวิชาพื้นฐานเหมือนกันแตจะแตกตางกัน ในวิชาเฉพาะ - สวนกลุมเปาหมายที่เปนประชาชนทั่วไปและผูนําทางความคิดนั้นก็ตองแยกออกเปน 2 สวนคือ วิชาพื้นฐานของประชาชนและผูนําทางความคิดที่จะบอกถึงความหมายสหกรณ การรวมตัวกัน การ รวมมือกัน ประโยชนที่จะไดรับจากการเปนสมาชิกสหกรณ - สวนวิชาเฉพาะ ก็จะแยกไปเฉพาะที่เปนผูนําทางความคิดที่อาจจะตองบอกวิธีการในการ รวมตัวกัน การจัดตั้ง การจดทะเบียน การดําเนินงาน การแบงผลประโยชน 2. การผลิตสื่อเพื่อการศึกษาและฝกอบรม การผลิตขาวสารสหกรณ ในการผลิตขาวสารสหกรณ แลวสงไปยังบุคลากรสหกรณหรือประชาชนภายนอกใหรับรูขาวสาร วิชาการ การดํา เนินงานของสหกรณนั้น เราจะต องอาศัย “สื่อ ” ซึ่งหมายความถึง ตัว กลางหรือ พาหนะนําขาวสารขอความจากผูสงไปยังผูรับ ณ จุดหมายปลายทาง สื่อในการสื่อสาร คือ ชองทางหรือตัวกลางที่จะทําใหขาวสารผาน ชองทาง/ตัวกลางไปยังผูรับขาสาร สื่อการสอน เนนในเรื่องการเรียนการสอน สื่อโสตทัศน คือ สื่อที่เนนใหเกิดการเรียนรู ที่ไดจากการเห็นทางตา และไดยินทางหู สื่อมวลชน คือ สื่อที่สงถึงมวลชน ประชาชนเปนผูรับสาร ไดแก วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ สื่อการศึกษา เนนในเรื่องการศึกษา เชน สารคดี รายการตอบปญหา ทางวิทยุ โทรทัศน เอกสารเผยแพร ประเภทของสื่อ 1. หนังสือ และเอกสารสิ่งพิมพ นิตยสาร วารสาร ใบปลิว แผนพับ จุลสาร จดหมายขาว 2. แผนภูมิ โปสเตอร ภาพถาย 3. เครื่องฉายภาพขามศีรษะ 4. เครื่องฉายภาพทึบแสง 5. สไลดประกอบเสียง 6. หุนจําลอง 7. ตัวอยางจริง 8. กระดาษ 9. โทรทัศน / วงจรปด 10. โทรทัศน / วิทยุ 11. ภาพยนตร / วีดิโอ / เทปบันทึกเสียง


72

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

12. Power Point / Computer 13. สื่อผสม 14. การศึกษานอกสถานที่ 15. การแสดงสาธิต การเลือกใชสื่อ 1. วัตถุประสงค/จุดมุงหมายของแหลงขอมูลคือ สหกรณ ตองการใหผูรับขาวสาร มี พ ฤติ ก รรม เปนอยางไร 2. ลักษณะของผูไดรับขาวสาร - เพศ / อายุ - ฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ - พื้นความรู 3. ทักษะในการสื่อสารของสหกรณ 4. สถานที่และสิ่งอํานวยความสะดวก คือ สภาพแวดลอมในทองที่ที่เราจะไปใชสื่อ 5. จํานวนหรือขนาดของผูรับสาร เปนรายคน กลุม ชุมชน 6. งบประมาณ ตองเหมาะสม คุมคา และสามารถใชใหเกิดประโยชนสูงสุด สื่อที่ดีมีลักษณะดังนี้ 1. มีความเหมาะสมกับการใชงาน 2. งายตอการเขาใจ 3. ขอมูลถูกตอง 4. มีความเขาใจ นาสนใจ 5. ใชเฉพาะสิ่งที่จําเปน วิธีการใชสื่อ เมื่อตกลงวาจะใชสื่อประเภทใดแลวก็ถึงขั้นตอนการผลิตสื่อนั้นๆคือ 1. การวางแผน โดยการใชชนิดของสื่อ ประมาณขนาดผูรับสื่อ การดึงดูดความสนใจ 2. ขั้นเตรียมการ - เตรียมเจาหนาที่ - เตรียมสภาพแวดลอม - เตรียมกลุมเปาหมาย 3. การนําเสนอ - เรียงตามลําดับความสําคัญของเรื่อง - ใชเวลาที่เหมาะสม - การใหผูรับขาวสารมีสวนรวม - ความชัดเจนของสื่อ 4. การติดตามผล อาจตรวจสอบความเขาใจจากผลการดําเนินงานของสหกรณ การรวมมือของ สมาชิก การเขาเปนสมาชิกเพิ่ม เปนตน


การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ

73

การผลิตสื่อ 1. จุดมุงหมายในการผลิต 2. เตรียมเนื้อหา 3. วางโครงเรื่อง 4. การเขียนบท 5. ทําตารางแผนปฏิบัติการ 6. การเขียนคูมือการใชสื่อ 7. การทดลองใชสื่อ 8. การปรับปรุงหลังจากการทดลอง 9. ผลิตเปนจํานวนที่ตองการ การผลิตขาวสารสหกรณ ตองคํานึงวาขาวสารสหกรณประกอบดวยอะไรบางที่เปนสาระที่จะ นําไปบอกแกกลุมเปาหมาย เชน ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด บทความเกี่ยวกับสหกรณ อาชีพ อัตรา เงินกู อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก การประชุมใหญ ผลการประชุมคณะกรรมการ ความเคลื่อนไหวของอัตรา ดอกเบี้ย รายงานการตรวจสอบกิจการประจําเดือน สหกรณออมทรัพยที่ประสบความสําเร็จ ถามตอบ ปญหา ของสหกรณออมทรัพย ฯลฯ สื่อที่นํามาใชขึ้นอยูที่ความพรอม / เรื่อง / กลุมเปาหมาย / งบประมาณ / ผูรับสาร ซึ่งอาจจะเปน ใบปลิว โปสเตอร แผนวีซีดี รายการวิทยุโทรทัศน หรือสื่อตางๆ ที่เหมาะสมกับผูสงขาวสารคือ สหกรณ กับผูรับขาวสาร คือ สมาชิก กรรมการ ประชาชน ผูตรวจสอบกิจการ การผลิตคูมือสําหรับสมาชิก คูมือสําหรับสมาชิกสหกรณออมทรัพย ควรจะเปนประเภทสื่อสิ่งพิมพ ที่เปนสมุดเย็บเลมเลมเล็กๆ พกพางาย ใชคําพูดงาย อานแลวเขาใจ ไมสลับซับซอน มีรูปภาพประกอบพอสมควร สีสันสดใสนาอาน นาเก็บรักษา พิมพดวยกระดาษที่มีคุณภาพและที่สําคัญเนื้อหาตองพรอมใหความชัดเจนในทุกดานของการ เปนสมาชิกสหกรณออมทรัพย ในเรื่องของรูปเลม วิธีการพิมพคงจะศึกษาได ในที่นี้จะแนะนําในสวนของเนื้อหาวาคูมือของ สมาชิกสหกรณออมทรัพยควรจะมีเนื้อหาอะไรบาง เนื้อหาของคูมือสมาชิกสหกรณออมทรัพย ควรประกอบดวย 1. ความหมายของสหกรณออมทรัพย 2. ทําไมจึงตองมีสหกรณออมทรัพย 3. ประโยชนของสหกรณออมทรัพยตอสมาชิก และชุมชน 4. ปรัชญาสหกรณและอุดมการณสหกรณ หลักการของสหกรณ วิธีการของสหกรณออมทรัพย 5. สิทธิของสมาชิกสหกรณออมทรัพย 6. หนาที่ของสมาชิกสหกรณออมทรัพย 7. โครงสรางของสหกรณออมทรัพย 8. จะเปนสมาชิกสหกรณออมทรัพยไดอยางไร


74

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

โดยเขียนรายละเอียดในแตละเรื่องพอใหเขาใจ หากสมัครเขาเปนสมาชิกแลว ควรจะแจกคูมือใน การเปนสมาชิกเฉพาะดานคือ 1. การประชุมใหญ 2. การจัดสรรกําไรสุทธิ 3. การรับบริการจากสหกรณ สุดทายควรจะมีลักษณะของจดหมายขาว ติดตอกันระหวางสหกรณกับสมาชิก เพื่อใหรูสึกวา สหกรณและสมาชิกคือสิ่งเดียวกัน บอกใหทราบถึงการดําเนินงาน โครงการใหมๆ มติคณะกรรมการ อัตรา ดอกเบี้ยเงินกู เงินฝาก และเรื่องที่สําคัญอื่นๆ การผลิตคูมือสําหรับกรรมการ (ใหม) คูมือสําหรับกรรมการ (ใหม) ควรจะเปนสื่อสิ่งพิมพ เลมเล็ก เชนเดียวกับคูมือสมาชิกเพื่อให กรรมการใชเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ ในการดําเนินงาน โดยมีเนื้อหานาสนใจ นาอาน นาเก็บ รักษา และมีคุณคาในการมีไวครอบครอง คูมือของกรรมการ (ใหม) ควรมี 3 ระดับคือ 1. กรรมการใหม ควรรูในเรื่ององคความรู พื้นฐานของสมาชิก 2. กรรมการใหม ควรรูในเรื่องบทบาท หนาที่ของคณะกรรมการดําเนินการ 3. กรรมการใหม ควรรูในเรื่อง เฉพาะดาน - ขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนด - การบริหารจัดการธุรกิจสหกรณ - บทบาทหนาที่ของกรรมการ อํานาจหนาที่ เงินกู ศึกษาและประชาสัมพันธ และเรื่อง อื่นๆ เกี่ยวกับการบริหารจัดการในสหกรณ


การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ

แผนการสอน กระบวนการจัดการศึกษาและฝกอบรม เวลา 00.00-0.30 น. 30 นาที

0.30-1.00 น. 30 นาที

1.00 -1.30 น. 30 นาที

เนื้อหา ขอบเขตการศึกษาสําหรับผูใหญ ความหมายของคําวา การฝ ก อบรม หมายถึ ง การถ า ยทอดเพื่ อ เพิ่มพูนทักษะ ความชํานาญ ความรู ความเขาใจ และทัศนคติ การศึกษา กระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรมอยางมี ระบบเนนเรื่องทั่วไปอยางกวางๆ การพั ฒนาบุ คคล ส งเสริ ม ให เกิ ดการเรี ยนรู ทักษะ ประสบการณ และทั ศนคติท่ี สามารถจะ ปฏิบัติหนาที่ไดดีขึ้น กระบวนการฝกอบรม มี 5 ขั้นตอน 1. การหาความจําเปน 2. การสรางหลักสูตร 3. การกําหนดโครงการ 4. การบริหารโครงการ 5. การประเมินและติดตามผล ขอบเขตการเรียนรูสําหรับผูใหญ ลักษณะธรรมชาติในการเรียนรูของผูใหญ 1. ผูใหญตองการเหตุผลในการเรียนรู 2. ลักษณะการเรียนรูผูใหญ คือ ตองการเรียนรู ของตนเอง 3. บทบาทของประสบการณของผูเรียน 4. แนวโนมในการเรียนรูของผูใหญ 5. บรรยากาศในการเรียนรูของผูใหญ เทคนิค / วิธีการจัดการศึกษาผูใหญ 1. ผูสอนตองยอมรับวาผูเรียนแตละคนมีคุณคา 2. ผูสอนตองพยายามทําใหผูเรียนตระหนักวาเขา มีความจําเปนจะตองเปลี่ยนพฤติกรรม 3. ควรจัดสิ่งแวดลอมใหสะดวกสบาย 4. ผูสอนตองมีความสัมพันธอันดีกับผูเรียน 5. ผูสอนควรเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวม - การกําหนดวัตถุประสงค - เลือกกิจกรรม - เกณฑมาตรฐานการเรียนการสอน

เทคนิค / วิธีการ บรรยายประกอบ คําอธิบาย

สื่อ Power Point

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

75


76

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

เวลา

0.30-2.00 น. 30 นาที

2.00 - 2.30 น. 30 นาที 2.30 - 3.00 น. 30 นาที

เนื้อหา 6. ผูสอนจะตองชวยผูเรียนใหรูจักพัฒนา ขั้นตอน การผลิตสื่อเพื่อการศึกษาและฝกอบรม หลักสหกรณขอ 5 เรื่อง การศึกษา การฝกอบรม และขาวสาร แบงออกเปน 2 ประเด็นคือ 1. ใหการศึกษาอบรมแกบุคลากรสหกรณ 2. ใหการศึกษาอบรมแกประชาชนภายนอก และผูนําทางความคิด ประเภทของสื่ อ หนั งสื อ แผนภู มิ โอเวอร เฮด สไลด หุ น จํ า ลอง กระดาน โทรทั ศ น Power Point ศึกษาดูงาน การแสดงสาธิต การเลื อ กใช สื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ลั ก ษณะผู รั บ ขาวสาร ทักษะการสื่อสารงบประมาณ สื่ อ ที่ ดี มี ค วามเหมาะสม เข า ใจง า ย ข อ มู ล ถูกตอง เขาใจ ใชเฉพาะสื่อจําเปน วิ ธี ก ารใช สื่ อ วางแผน เตรี ย มการ นํ า เสนอ ติดตามผล การผลิตสื่อ วัตถุประสงค เตรียมเนื้อหาวางโครง เรื่อง คูมือการใชสื่อ ทดลองใชปรับปรุง การผลิตขาวสารสหกรณ จัดเตรียมเนื้อหา เลือก สื่อที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมายของสหกรณ การผลิตคูมือสําหรับสมาชิก - องคความรูในคูมือสมาชิก - องคความรู ในจดหมายขาว การผลิตคูมือสําหรับกรรมการ (ใหม) ควรมี 3 ระดับ 1. องคความรู ในคูมือสมาชิก 2. องคความรู บทบาท หนาที่กรรมการ ดําเนินการ 3. องคความรู เฉพาะดาน

เทคนิค / วิธีการ

สื่อ

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point

บรรยายประกอบ คําอธิบาย

Power Point


องค ค วามรู เ บื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ สหกรณ อ อมทรั พ ย และแนวทางการจัดฝกอบรมแก บุคลากรสหกรณ 1. องคความรูเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย ในฐานะที่คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนตัวแทนสหกรณในการถายทอดพฤติกรรม ของบุคลากรสหกรณ ออมทรั พย (คณะกรรมการ ผู ตรวจสอบกิจการ เจาหนาที่ และสมาชิ ก) ที่พึ ง ประสงค เพื่อสรางคุณภาพใหแกสหกรณออมทรัพย คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จึงตองศึกษาถึงองคความรูเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย ใหรูแจง เห็นจริง จึงจะสามารถถายทอดหรือสื่อสารใหแกบุคลากรสหกรณออมทรัพยไดเขาใจ โดยเฉพาะ อยางยิ่งองคความรูในสหกรณออมทรัพยมีมากมาย แตอยางนอยคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตองมีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยกอน ซึ่งในขั้นตนในหลักสูตรนี้ ไดเรียบเรียงไวทั้งหมด 23 ฐานความรู เมื่อคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ มีองคความรูดังกลาวที่ชัดเจนแลว ก็สามารถ นําไปเปนแนวทางในการจัดกระบวนการฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณได องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยประกอบดวย 1) ปรัชญาและอุดมการณสหกรณ มนุษยแสดงความคิดของตนเองโดยทางวาจา การพูด และการกระทํากิจกรรมใดๆ บอยๆ เรียกวา “นิสัย” ซึ่งมีรากฐานจากแนวคิดของแตละคน นิสัยของกลุมคนตางๆ ที่มีลักษณะเหมือนๆ กัน รวมกันเปน “คานิยม” ของกลุมนั้นๆ ซึ่งจะมี รากฐานทางแนวคิดของแตละคนเปนไปในแนวเดียวกันเมื่อรวมคานิยมของกลุมชนเขาดวยกันเรียกวา “อุดมการณ” อุดมการณ คือ แนวคิด ความเชื่อของกลุมคน ซึ่งแนวคิดและความเชื่อนั้นมีแบบแผน มีที่มา มีตน กําเนิด มีความเปนไป มีเหตุผลและมีบทสรุปตามความเชื่อนั้นๆ และมีความเปนธรรมในสังคม อุดมการณสหกรณ คือ ความเชื่อรวมกันที่วา การชวยตนเอง และการชวยเหลือซึ่งกันและกัน จะ นําไปสูสังคมแหงการกินดี อยูดี มีสันติสุข และมีความเปนธรรมในสังคม การชวยตนเอง คือการชวยตนเองอยางเต็มที่ และสมศักดิ์ศรีในความเปนมนุษยโดย ขยัน คือ ทําทุกสิ่งดวยตนเอง และเกิดความภาคภูมิใจ ประหยัด คือ การรูจักใชจายอยางมีเหตุผล พัฒนาตน คือ การเพิ่มคุณคาใหกับตนเอง หลีกพนอบาย คือ การไมหลงเขาไปติดบวงแหงความหายนะ


78

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

การชวยเหลือซึ่งกันและกัน คือ การรวมพลังกันในการรวมกันทํางานใหผลสําเร็จโดย - เสียสละเพื่อสวนรวม คือ การทํางานเพื่อสวนรวมโดยเสียสละเรื่องสวนตัวบาง - รวมมือกันพัฒนา คือ รวมแรงรวมใจเพื่อกอใหเกิดประโยชนแกสวนรวม - ซื่อตรงตอกติกา คือ รวมมือปฏิบัติตามกฎเกณฑเมื่อความสงบสุขของสังคม - มีเมตตารักใคร คือ ความรัก ความสมานฉันท ความสามัคคี ในสังคม 2) หลักการสหกรณ คือ แนวทางที่สหกรณยึดถือปฏิบัติ เพื่อใหคุณคาของสหกรณเกิดผลเปนรูปธรรม หลักการ สหกรณสากลมี 7 ประการคือ หลักการที่ 1 การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยความสมัครใจ สหกรณเปนองคการแหงความสมัครใจที่เปดรับบุคคลทั้งหลายที่สามารถใชบริการของสหกรณและ เต็ มใจรั บผิ ด ชอบในฐานะสมาชิ กเข าเป นสมาชิ กโดยปราศจากการกี ดกั นทางเพศ สั งคม เชื้ อชาติ การเมือง หรือศาสนา หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย สหกรณเป นองค การประชาธิ ปไตยที่ ควบคุ มโดยมวลสมาชิ กผู มีส วนร วมอย างแข็ งขั นในการ กําหนดนโยบายและการตัดสินใจ บุรุษและสตรีผูที่ไดรับเลือกใหเปนผูแทนสมาชิกตองรับผิดชอบตอมวล สมาชิก ในสหกรณขั้นปฐมสมาชิกมีสิทธิในการออกเสียงเทาเทียมกัน (สมาชิกหนึ่งคนหนึ่งเสียง) สําหรับ สหกรณในระดับอื่นใหดําเนินอื่นใหดําเนินไปตามแนวทางประชาธิปไตยดวยกัน หลักการที่ 3 การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก สมาชิกสหกรณพึงมีความเที่ยงธรรมในการ “ให” และควบคุมการ “ใช” เงินทุนในสหกรณตาม แนวทางประชาธิปไตย ทุนของสหกรณอยางนอยสวนหนึ่งตองเปนทรัพยสินสวนรวมของสหกรณ สมาชิก จะไดรับผลตอบแทนสําหรับเงินทุนตามเงื่อนไขแหงสมาชิกภาพในอัตราที่จํากัด (ถามี) มวลสมาชิกเปนผู จัดสรรผลประโยชนสวนเกินเพื่อจุดมุงหมายประการใดประการหนึ่งหรือทั้งหมดดังตอไปนี้ คือ - เพื่อการพัฒนาสหกรณของตน - โดยจัดใหเปนทุนของสหกรณ ซึ่งสวนหนึ่งแหงทุนนี้ตองไมนาํ มาแบงปนกัน - เพื่อประโยชนแกสมาชิกตามสวนของปริมาณธุรกิจที่ทํากับสหกรณ - เพื่อสนับสนุนกิจกรรมอื่นใดที่มวลสมาชิกเห็นชอบ หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเปนอิสระ สหกรณเปนองคการอิสระและพึ่งพาตนเองโดยการควบคุมของสมาชิกในกรณีที่สหกรณจําตองมี ขอตกลงหรื อผูกพันกั บองคการอื่ นๆ รวมถึ งองค การของรัฐ หรื อตองแสวงหาทุ นจากแหลงภายนอก สหกรณตองกระทําภายใตเงื่อนไขอันเปนที่มั่นใจไดวามวลสมาชิกจะยังคงไวซึ่งอํานาจในการควบคุมตาม แนวทางประชาธิปไตยและยังคงดํารงความเปนอิสระของสหกรณ หลักการที่ 5 การศึกษา การฝกอบรมและขาวสาร สหกรณพึงใหการศึกษาและการฝกอบรมแกมวลสมาชิก ตัวแทนสมาชิก ผูจัดการ และพนักงาน เพื่อบุคคลเหลานั้นสามารถมีสวนชวยพัฒนาสหกรณของตนไดยางมีประสิทธิผล รวมถึงการใหขาวสารแก สาธารณชนโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง แก เ ยาวชนและบรรดาผู นํ า ทางความคิ ด ในเรื่ อ งคุ ณ ลั ก ษณะและ คุณประโยชนของสหกรณได


องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

79

หลักการที่ 6 การรวมมือระหวางสหกรณ สหกรณสามารถใหบริการแกสมาชิกไดอยางมีประสิทธิผลสูงสุดและเสริมสรางความเขมแข็งใหแก ขบวนการสหกรณได โดยการประสานความรวมมือกันในระดับทองถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และ ระดับนานาชาติ หลักการที่ 7 ความเอื้ออาทรตอชุมชน สหกรณพึงดําเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนตามนโยบายที่มวลสมาชิกใหความ เห็นชอบ 3) วิธีการปฏิบัติของสหกรณออมทรัพย คือการนําหลักการของสหกรณมาประยุกตใชในการดําเนินงานทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อ ประโยชนของมวลหมูสมาชิก และชุมชน โดยไมละเลยหลักการธุรกิจที่ดี วิธีการสหกรณปฏิบัติไดโดย 1. การรวมแรง กาย รวมแรงกายทํากิจกรรมเพื่อสวนรวมของสหกรณ ความคิด รวมคิด รวมตัดสินใจ รวมใหความเห็นแกสหกรณ ทรัพย รวมลงทุน รวมฝากเงิน รวมถือหุนในสหกรณ 2. การรวมใจ ซื่อสัตย มีความซื่อสัตยตอตนเอง และตอสหกรณ เสียสละ เสียสละผลประโยชนสวนตัวเองบาง เพื่อผลประโยชนสวนรวม สามัคคี รวมมือกันสรางความสามัคคี เพื่อสรางพลังในทุกดาน มีวินัย ปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ขอกําหนด เพื่อสราง ระเบียบวินัยในสหกรณ 4) พระราชบัญญัติสหกรณ พระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 23 เมษายน 2542 มีผล บังคับใชวันที่ 24 เมษายน 2542 พระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ.2542 คือกฎหมายที่ตราขึ้นมาเพื่อดูแลการสหกรณในประเทศทั้งระบบ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมของบรรดามวลสมาชิก โดยการชวย ตนเองและการชวยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการสหกรณ พระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 ประกอบดวย 10 หมวด (133 มาตรา) และหนึ่งบทเฉพาะกาล (5 มาตรา) รวม 138 มาตรา หมวดที่ 1 บททั่วไป หมวดที่ 2 การกํากับและสงเสริมสหกรณ หมวดที่ 3 สหกรณ หมวดที่ 4 การชําระบัญชี หมวดที่ 5 การควบสหกรณเขาดวยกัน หมวดที่ 6 การแยกสหกรณ


80

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หมวดที่ 7 ชุมนุมสหกรณ หมวดที่ 8 สันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทย หมวดที่ 9 กลุมเกษตรกร หมวดที่ 10 บทกําหนดโทษ และบทเฉพาะกาล 5) ขอบังคับสหกรณออมทรัพย คือสิ่งที่สมาชิกตกลงรวมกันถือใชเปนขอปฏิบัติ ซึ่งจะตองมีขอตอไปนี้ 1. ชื่อสหกรณออมทรัพยตองมีคําวา “จํากัด” ตอทาย 2. เปนประเภทสหกรณออมทรัพย 3. มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหสมาชิกรูจักการออมทรัพยและกูยืมเมื่อเกิดความ จําเปนหรือหรือ เพื่อกอใหเกิดประโยชนงอกเงย 4. ที่ตั้งของสํานักงานสหกรณ 5. หุน มูลคาของหุน การชําระคาหุน 6. ขอกําหนดเกี่ยวกับการดําเนินงาน การบัญชี การเงินของสหกรณ 7. คุณสมบัติของสมาชิก วิธีรับสมาชิก การขาดจากสมาชิกภาพ 8. ขอกําหนดเกี่ยวกับการประชุมใหญ 9. การเลื อกตั้ ง การดํ ารงตํ าแหน ง การพ นจากตํ าแหน ง และการประชุ มของคณะกรรมการ ดําเนินการของสหกรณ 10. การแตงตั้ง การดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง การกําหนดอํานาจ หนาที่ และความ รับผิดชอบของผูจัดการ 6) วัตถุประสงคของสหกรณออมทรัพย สหกรณ ออมทรั พย มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริ มผลประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมของบรรดา สมาชิกโดยวิธีชวยตนเองและชวยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการสหกรณ 7) ทุนดําเนินงาน คือเงินที่สหกรณใชในการดําเนินงาน ทุนดําเนินงานแบงออกเปน 2 สวนใหญคือ - ทุนภายนอกสหกรณ - ทุนภายในสหกรณ ทุนภายนอกสหกรณ จากสหกรณอื่นๆ หรือชุมนุมสหกรณที่มาฝาก / ใหเงินกู - สถาบันการเงิน ธนาคารตางๆ ที่สหกรณกูเงิน - ผูบริจาคให ทุนภายในสหกรณ จาก - สมาชิกถือหุน - สมาชิกฝาก / สมาชิกสมทบฝาก - ทุนสํารองของสหกรณ - ทุนตางๆ ในสหกรณ


องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

81

8) การออกหุน สหกรณออกหุนไดโดยไมจํากัดจํานวนหุน หุนแตละหุนมีมูลคาเทากัน สมาชิกแตละคนจะตองถือ หุนอยางนอยหนึ่งหุน แตตองไมเกินหนึ่งในหาของหุนที่ชําระแลวทั้งหมดของสหกรณ ซึ่งในการชําระคาหุน สมาชิกจะนําคาหุนหักกลบลบหนี้กับสหกรณไมได สมาชิกมีความรับผิดชอบเพียงไมเกินจํานวนเงินคาหุน ที่ยังถือใชไมครบมูลคาหุนที่ตนถือ และในระหวางที่สมาชิกภาพของสมาชิกสหกรณไมสิ้นสุดลง เจาหนี้ ของสมาชิกใชสิทธิเรียกรองในคาหุนของสมาชิกผูนั้นไมได เพื่อสรางความมั่นคงใหสมาชิกและสหกรณ สหกรณจึงกําหนดใหสมาชิกถือหุนคือ 1. ถือหุนเมื่อแรกเขา 2. ถือหุนเปนรายเดือนอยางนอยตามอัตราที่สหกรณกําหนด 3. เมื่อสมาชิกมีคาหุนถึงระดับที่ขอบังคับกําหนดแลวอาจจะไมตองถือหุนเพิ่มก็ได สมาชิกจะถอน หุนคืนได เมื่อไดลาออกจากสหกรณ และชําระหนี้สินหมดสิ้นแลว การถือหุนเพิ่ม สวนใหญมาจากสมาชิกซึ่งถือวาเปนเจาของสหกรณ เปนผูระดมทุน สมาชิกจะ ระดมหุนใหแกสหกรณทําได 2 วิธีใหญๆ คือ ก) แสดงความจํานงขอถือหุนเพิ่มประจําเดือน ข) แสดงความจํานงขอถือหุนเปนครั้งๆ ตามความสามารถ 9) การฝากเงิน เปนการสรางนิสัยการออมทรัพยแกสมาชิก ในสหกรณจะมีอัตราดอกเบี้ยแตละประเภทเงินฝากไว ใหสมาชิกเลือกใชบริการ เมื่อสมาชิกปฏิบัติตามกฎเกณฑนั้นๆ สมาชิกก็จะรับผลประโยชนคือ ดอกเบี้ย เงินฝากตามอัตราที่สหกรณประกาศใหทราบสหกรณก็จะไดรับประโยชนจากการนําเงินนั้นไปใชในธุรกิจเพื่อ ชวยเหลือทางการเงินแกสมาชิกผูมีความจําเปนในการกูเงิน สมาชิกจะถอนเงินฝากทุกประเภทไดตลอดเวลา แตจะไดดอกเบี้ยตามอัตราที่กําหนดไว เมื่อ สมาชิกมีเวลาฝากเงินตามที่สหกรณออกระเบียบ ประเภทเงินฝากของสหกรณ แบงออกเปน 2 ประเภทคือ 1. เงินฝากออมทรัพย (รวมถึงเงินฝากออมทรัพยพิเศษ) 2. เงินฝากประจํา - 3 เดือน - 6 เดือน - 12 เดือน 10) การสะสมทุน เนื่องจากสหกรณออมทรัพย เปนนิ ติบุคคล จํ าเปนต องสะสมทุ น ดังนั้นทุนสะสมของสหกรณ ไดแก 1. ทุนสํารอง 2. ทุนสะสมตางๆ 3. รับเงินอุดหนุนหรือทรัพยสินที่มีผูยกให


82

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

11) การใหเงินกู สมาชิกอาจกูยืมเงินของสหกรณออมทรัพยที่ตนเองเปนสมาชิกอยูได เพราะสหกรณออมทรัพย สอนใหสมาชิกทุกคนรูจักการออม / สะสมทรัพย และชวยเหลือซึ่งกันและกันเมื่อสมาชิกเกิดความเดือดรอน ก็สามารถกูยืมเงินได แตสหกรณจะใหกูยืมเงินแตเฉพาะเพื่อการอันจําเปนหรือมีประโยชน วงเงินที่กําหนด ในระเบียบวาดวยเงินกูที่ออกโดยสหกรณแตละแหง โดยสาระแลวจะมีหลักเกณฑดังนี้ 1. จํานวนเทาของหุนในการกูเงินแตละครั้ง 2. วัตถุประสงคของการใชเงินกู 3. แผนการชําระคืนเงินกู 4. ระยะเวลาที่เปนสมาชิก 5. ผูค้ําประกัน 6. รายไดของสมาชิก สมาชิกูเงินจากสหกรณออมทรัพยดีกวากูจากแหลงเงินกูอื่นเพราะจะไดรับเงินเฉลี่ยคืนจากดอกเบี้ย ที่ตนเองเสียใหสหกรณไป ซึ่งสถาบันการเงินไมมีใหคืนแกผูกู ในอัตราดอกเบี้ยที่เทากัน หรือสหกรณใหกู ถูกกวา ประเภทของเงินกูในสหกรณออมทรัพยมี 3 ประเภทคือ 1. เงินกูเพื่อเหตุฉุกเฉิน กรณีสมาชิกมีเหตุฉุกเฉินอันจําเปนรีบดวน กูไดทันทีสงชําระภายใน 2 หรือ 3 งวด/เดือน 2. เงินกูสามัญ กรณีสมาชิกมีความประสงคจะใชจายเงินเพื่อการอันจําเปนหรือมีประโยชน วงเงิน กูตามจํานวนเทาของหุนที่ถือ สงชําระคืนภายใน 72 งวด/เดือน 3. เงินกูพิเศษ เพื่อสงเสริมฐานะความมั่นคงหรือเพื่อการเคหะหรือกอประโยชนงอกเงยแกสมาชิก วงเงินกูตามวัตถุประสงคที่ขอกูเงินและมีหลักประกันเปนอสังหาริมทรัพยสงชําระคืนภายใน 120 งวด/เดือน 12) การฝากหรือการลงทุน เงินของสหกรณนั้น สหกรณอาจฝากหรือลงทุนไดตามที่กําหนดไวในวัตถุประสงคของสหกรณและ ตามที่คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแหงชาติกําหนดภายใตพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 มาตรา 62 โดยคํานึงถึงความมั่นคงและประโยชนสูงสุดที่สหกรณหรือสมาชิกจะไดรับ 13) การกูยืมเงิน กรณีเงินทุนของสหกรณมีไมเพียงพอที่จะใหบริการแกสมาชิก สหกรณอาจกูยืมเงินหรือออกตั๋ว สัญญาใชเงิน หรือตราสารการเงิน หรือโดยวิธีอื่นใด สําหรับใชเปนทุนดําเนินงานตามวัตถุประสงคได


องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

14) การเงินและการบัญชีของสหกรณ การเงิน เงินของสหกรณจะใชไปในอํานาจกระทําของ สหกรณและยังฝากหรือลงทุนไดดังนี้ 1. ฝากในชุมนุมสหกรณหรือสหกรณอื่น 2. ฝากในธนาคารหรือสถาบันการเงินที่มี วัตถุประสงคในการชวยเหลือทางการเงิน แกสหกรณ 3. ซื้อหลักทรัพยของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ 4. ซื้อหุนของธนาคารที่มีวัตถุประสงคเพื่อ ชวยเหลือทางการเงินแกสหกรณ 5. ซื้อหุนของชุมนุมสหกรณหรือสหกรณอื่น 6. ซื้อหุนของสถาบันที่ประกอบธุรกิจอันทํา ใหเกิดความสะดวกหรือสงเสริมความเจริญ แกสหกรณโดยไดรับความเห็นชอบจาก นายทะเบียนสหกรณ 7. ฝากหรือลงทุนอยางอื่นตามที่คณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณแหงชาติกําหนด

83

การบัญชี

1. สหกรณตองจัดทําบัญชีตามแบบและ รายการที่นายทะเบียนสหกรณกําหนด 2. รายการบัญชีที่เกี่ยวกับเงินสดในวันใด สหกรณตองบันทึกในวันนั้น 3. รายการบัญชีที่ไดเกี่ยวของกับเงินสด สหกรณตองบันทึกใหเสร็จภายใน 3 วัน 4. การปดบัญชีสหกรณตองมีเอกสารประกอบ ที่สมบูรณ 5. ใหสหกรณเก็บรักษาบัญชีและเอกสาร ประกอบไวที่สหกรณ 6. สหกรณจัดทํางบดุลอยางนอยทุกรอบ 12 เดือน 7. งบดุลตองแสดงทรัพยสินหนี้สินและทุนของ สหกรณพรอมทั้งบัญชีกําไรขาดทุนตามแบบ ที่นายทะเบียนสหกรณกําหนด 8. งบดุลตองทําใหเสร็จและใหผูสอบบัญชี ตรวจสอบเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมภายใน 150 วันนับแตวันสิ้นปทางบัญชี 9. สงสําเนางบดุลไปยังนายทะเบียนสหกรณ ภายใน 30 วันนับแตวันที่ประชุมใหญ พิจารณา

15) การจัดสรรกําไรสุทธิ ในการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปของสหกรณใหสหกรณจัดสรรเปนทุนสํารองไมต่ํากวา 10% ของ กําไรสุทธิ เปนคาบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยไมเกิน 5% ของกําไรสุทธิ แตตองไมเกินอัตราที่ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแหงชาติกําหนด กําไรสุทธิที่เหลือนั้นที่ประชุมใหญอาจจัดสรรภายใต ขอบังคับของสหกรณคือ 1. จายเปนเงินปนผลตามหุนที่ชําระแลว แตไมเกินอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง 2. จายเปนเงินเฉลี่ยคืน ใหแกสมาชิกตามสวนธุรกิจที่สมาชิกไดทําไวกับสหกรณในระหวางป 3. จายเปนเงินโบนัสแกกรรมการและเจาหนาที่สหกรณไมเกิน 10% ของกําไรสุทธิ 4. จายเปนทุนสะสม เพื่อดําเนินการใดๆ ตามขอบังคับของสหกรณ


84

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

16) โครงสรางการจัดองคการ สมาชิกสหกรณ

ที่ประชุมใหญ

ผูตรวจสอบกิจการ

คณะกรรมการดําเนินการ

เหรัญญิก กรรมการ อํานวยการ

กรรมการ เงินกู

เลขานุการ กรรมการศึกษา และประชาสัมพันธ

กรรมการ ..............

17) สมาชิกและที่ประชุมใหญ สมาชิกสหกรณคือ ผูที่ลงชื่อขอจดทะเบียนสหกรณ ผูที่มีชื่ออยูในบัญชีของผูที่จะเปนสมาชิก สหกรณ และผูที่สมั ครเขาเปนสมาชิกสหกรณหลังจากที่สหกรณนั้นจดทะเบี ยนแลว โดยจะถือวาเป น สมาชิกโดยสมบูรณตอเมื่อไดลงลายมือชื่อในสมุดทะเบียนสมาชิกและชําระคาหุนเรียบรอยแลว ในการประชุมใหญของสหกรณจะพิจารณาเรื่องดังตอไปนี้ 1. รับทราบจํานวนสมาชิก พรอมทั้งเขาใหม/ลาออก 2. รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แลว 3. รับทราบผลการดําเนินงาน 4. พิจารณาอนุมัติงบดุล 5. พิจารณาจัดสรรกําไรสุทธิ 6. กําหนดวงเงินกูยืม 7. เลือกตั้งคณะกรรมการดําเนินการ 8. รับทราบและพิจารณารายงานผูตรวจสอบกิจการสหกรณ 9. เลือกตั้งผูตรวจสอบกิจการสหกรณ 10. อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายจายประจําป 11. แกไขเพิ่มเติมขอบังคับ 12. กําหนดคาเบี้ยเลี้ยง/สมาชิก กรรมการ (ตามขอบังคับ)


องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

85

13. พิจารณาขอเสนอของสมาชิกสหกรณ 14. พิจารณาและปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนสหกรณและเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ 15. ปฏิบัติการอื่นๆ ที่เปนหนาที่ของที่ประชุมใหญตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ 18) คณะกรรมการดําเนินการ สมาชิ กสหกรณ เลื อกตั้ งตั วแทนของตนเองมาเป นผู ดํ าเนิ นกิ จการ และเป นผู แทนสหกรณ ใน กิจกรรมอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก โดยเลือกตั้งประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอีก 14 คน โดย คณะกรรมการดําเนินการอยูในวาระไดคราวละ 2 ป แตตองไมเกิน 2 วาระติดตอกัน คณะกรรมการ ดําเนินการจะมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนหรือผูจัดการ ทําการแทนคณะกรรมการ ดําเนินการก็ได โดยผูมีลักษณะตอไปนี้หามเปนกรรมการคือ 1. เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพยที่กระทําโดยทุจริต 2. เคยถูกไลออก ปลดออก หรือออกจากราชการ องคกร หรือหนวยงานของรัฐ หรือเอกชน ฐานทุจริตตอหนาที่ 3. เคยถูกใหพนจากตําแหนงกรรมการ 4. เคยถูกที่ประชุมใหญมีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนงกรรมการเพราะเหตุทุจริตตอหนาที่ คณะกรรมการปฏิบัติหนาที่ตามที่ระบุไวในกฎหมายสหกรณ (พ.ร.บ.สหกรณ 2542) และตามที่ ระบุไวในขอบังคับของแตละสหกรณ 19) คณะกรรมการอํานวยการ เป นผู ดํ าเนิ นกิ จการแทนคณะกรรมการดํ าเนิ นการตามที่ ได รั บมอบหมายจากคณะกรรมการ ดําเนินการ ใหทําหนาที่ควบคุมดูแลการเงิน การบัญชี ทรัพยสินและอํานวยการใหงานตางๆ ของสหกรณ ตามที่ไดรับมอบหมายสําเร็จและเปนไปเพื่อวัตถุประสงคของสหกรณและสมาชิก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและ รวดเร็วในการดําเนินงาน ซึ่งไมจําเปนที่จะตองใชมติคณะกรรมการดําเนินการทั้งคณะ แตแจงผลการ ดําเนินการใหคณะกรรมการดําเนินการทราบ 20) คณะกรรมการเงินกู คือคณะกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการดําเนินการ ใหทําหนาที่พิจารณาอนุมัติเงินกู ใหแกสมาชิก แลวแจงใหคณะกรรมการดําเนินการทราบ ซึ่งอาจจะกําหนดการพิจารณาเงินกูเดือนละครั้ง สองครั้ ง หรือสามครั้ ง ตามแตความตองการสมาชิกและพอเหมาะกับการดําเนิ นงานของแตละสหกรณ คณะกรรมการเงินกู จะยึดระเบียบวาดวยการใหเงินกูแกสมาชิกเปนหลักในการพิจารณา และพิจารณาตาม กฎเกณฑ เปนธรรม เทาเทียม ตามระเบียบของแตละสหกรณ 21) คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คือคณะกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการดําเนินการ ใหทําหนาที่ใหการศึกษาอบรมและ ประชาสัมพันธกับเรื่องสหกรณและเรื่องที่เกี่ยวของแกบุคลากรของสหกรณอันไดแก สมาชิก กรรมการ เจาหนาที่ ผูตรวจสอบกิจการ ใหรู เขาใจ ศรัทธา และปฏิบัติตามขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนดของ สหกรณ ไ ด ซึ่ ง จะทํ า ให ส หกรณ ส ามารถดํ า เนิ น งานให บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค นอกจากนี้ แ ล ว ยั ง ต อ ง ประชาสัมพันธ เชิญชวน ใหบุคคลภายนอกขบวนการสหกรณที่มีคุณสมบัติเขาใจ ศรัทธา และสมัครมาเปน สมาชิกสหกรณ เพื่อใหสังคมนี้เปนสังคมสหกรณและเมืองสหกรณในที่สุด


86

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

22) ผูตรวจสอบกิจการ คือบุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งที่ประชุมใหญเลือกตั้งจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอกเพื่อดําเนินการ ตรวจสอบกิจการทั้งปวงของสหกรณ แลวตองรายงานเสนอตอที่ประชุมใหญ จํานวนผูตรวจสอบกิจการนั้น ถาเปนบุคคลใหสหกรณเลือกตั้งจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอกไมเกิน 5 คน และหากเปนนิติบุคคลมีได ไมเกิน 3 นิติบุคคล ผูตรวจสอบกิ จการมี วาระอยูได 1 ป เมื่ อมีการประชุมใหญประจําป แตละครั้งก็ จะตองมีการ เลือกตั้งผูตรวจสอบกิจการใหม ผูตรวจสอบกิจการ ควรเขารวมประชุมกับคณะกรรมการดําเนินการทุกครั้ง เพื่อใหทราบถึงการ ดําเนินงานตางๆ ของสหกรณ ใหความเห็น และขอเสนอแนะตามขอบังคับ และระเบียบของสหกรณ เพื่อให เปนไปตามวั ตถุประสงคที่ที่ประชุ มใหญ เลือกตั้ งผูตรวจสอบกิจการ ไว คอยตรวจสอบดู แลการ ดําเนินงานของสหกรณ 23) ผูจัดการ ผูจัดการสหกรณ คือผูที่คณะกรรมการดําเนินการไดจัดจางมาใหเปนผูมีหนาที่และรับผิดชอบใน การจัดการธุรกิจของสหกรณใหเปนไปตามนโยบายที่คณะกรรมการดําเนินการกําหนด เพื่อใหบริการแก สมาชิกสหกรณโดยผูจัดการเปนผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่ของสหกรณอันอาจจะมี เจาหนาที่สินเชื่อ เจาหนาที่บัญชี เจาหนาที่การเงิน เจาหนาที่ธุรการ 2. แนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ กรอบแนวคิด “คิดเองเปน ทําเองเปน และรวมรับผลประโยชน” การพัฒนาบุคลากรกลุมเปาหมายทั้ง 4 กลุมคือ สมาชิก กรรมการ เจาหนาที่สหกรณ และ ผูตรวจสอบกิจการนั้น ทุกกลุมเปาหมายลวนมีผลกระทบตอการดําเนินงานของสหกรณทั้งสิ้น กลุมสมาชิกและกรรมการ เปนทั้งเจาของ และผูใชบริการ กลุมเจาหนาที่สหกรณ เปนผูที่สหกรณจางมาใหเปนเจาหนาที่ซึ่งจะทําหนาที่ตางๆ ในฝาย จัดการ เพื่อใหบริการแกสมาชิก และรับเงินเดือน / คาจาง / โบนัส / สวัสดิการจากสหกรณ กลุมผูตรวจสอบกิจการ อาจเปนสมาชิกหรือไมเปนสมาชิกก็ได แตที่ประชุมใหญไดมอบหมาย ภารกิจใหตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรมการดําเนินการใหถูกตองตามระเบียบ ขอบังคับ และมติ ของที่ประชุมใหญ เพื่อประโยชนของมวลสมาชิกและไดรับคาตอบแทนจากสหกรณ ดังนั้น การจัดการองคความรูเพื่อใหทั้ง 4 กลุมเปาหมายจะตองจัดการใหกลุมเปาหมายไดรับองค ความรูใน 2 สวนคือ 1. โดยการฝกอบรมพื้นฐาน คือ การฝกอบรมที่เนนใหกลุมเปาหมายมีองคความรูในเรื่องของ สหกรณออมทรัพยในทุกดานอยางกวางๆ เพื่อเปนการเตรียมพรอมและสรางพื้นฐานอันมั่นคงแกบุคคลทั้ง 4 กลุมเปาหมาย 2. โดยการฝกอบรมเฉพาะด าน คือ การฝกอบรมที่เนนใหองค ความรูเฉพาะกลุ มเปาหมาย เฉพาะเรื่องที่เกี่ยวของโดยเฉพาะ ซึ่งควรจะแบงเปน 3 ระดับ คือ ระดั บ ต น ระดั บ กลาง และระดั บ สู ง เพื่อใหสอดคลองกับความตองการและการนําไปใชประโยชนของแตละกลุมเปาหมาย


องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

กรอบในการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ สมาชิก หลักสูตรพื้นฐาน หลักสูตรขั้นตน หลักสูตรขั้นกลาง คณะกรรมการ หลักสูตรเฉพาะ เจาหนาที่สหกรณ

หลักสูตรขั้นสูง

หลักสูตรเรงดวน (ตามนโยบาย/การเปลี่ยนแปลง)

ผูตรวจสอบกิจการ

ชุดฝกอบรม - สหกรณขนาดเล็ก - สหกรณขนาดกลาง - สหกรณขนาดใหญ

หลักสูตรพื้นฐาน คือ องคความรูที่กลุมเปาหมายที่ตองรู เพื่อเปนพื้นฐานของสหกรณของทุกกลุม หลักสูตรขั้นตน ปรัชญาสหกรณและอุดมการณสหกรณ หลักการสหกรณ วิธีการ สหกรณ คุณคาสหกรณ ความแตกตางระบบสหกรณกับธุรกิจอื่น ลักษณะพื้นฐานของสหกรณ หลักสูตรขั้นกลาง สิทธิ หนาที่ของสมาชิก ธุรกิจของสหกรณออมทรัพย ถือหุน การฝาก การกู โครงสรางของสหกรณ บุคลากรของสหกรณ และหนวยงานที่เกี่ยวของ หลักสูตรขั้นสูง ขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนด การจัดสรรกําไรสุทธิ การประชุมใหญของสมาชิกสหกรณออมทรัพย หลักสูตรเฉพาะของสมาชิกสหกรณ หลักสูตรขั้นตน การระดมทุนโดยสมาชิกสหกรณ การทําธุรกิจตอสหกรณ หลักสูตรขั้นกลาง บทบาทหนาที่ของสมาชิกในการประชุมใหญของสหกรณ หลักสูตรขั้นสูง จิตสํานึกในการเปนเจาของสหกรณ

87


88

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

หลักสูตรเฉพาะทางของกรรมการดําเนินการ หลักสูตร

คณะกรรมการ ดําเนินการ

หลักสูตรขั้นต่ํา

บทบาทหนาที่ของ คณะกรรมการ ดําเนินการ หลักสูตรขั้นกลาง - พ.ร.บ.สหกรณ 2542 - การจัดสวัสดิการ - การบริหารจัดการ - กฎหมายที่เกี่ยวของ - การจัดประชุม

หลักสูตรขั้นสูง

- ระบบเตือนภัยใน สหกรณ - ความคิดสรางสรรค - การบริหารความเสี่ยง - สหกรณภิบาล - การวิเคราะหงบการ เงิน

คณะกรรมการ อํานวยการ

คณะกรรมการ เงินกู

บทบาทหนาที่ของคณะ กรรมการอํานวยการ

บทบาทหนาที่ของ คณะกรรมการเงินกู

- พ.ร.บ.สหกรณ 2542 - สวัสดิการ - การบริหารความเสี่ยง - Team Work - การควบคุมงาน - การอานงบการเงิน

- ระเบียบเงินกู - การจัดสวัสดิการ - ระเบียบที่เกี่ยวของ

- องคกรแหงการเรียนรู - Result Base Management - การสรางเครือขาย -R&D - ระบบการเงินใน สหกรณออมทรัพย

- นโยบายการให สินเชื่อ - การใหสินเชื่อแบบ กํากับแนะนํา - สินเชื่อเพื่อการ พัฒนา

คณะกรรมการ ศึกษาและ ประชาสัมพันธ บทบาทหนาที่ของ คณะกรรมการศึกษา และประชาสัมพันธ - การบริหารการ ฝกอบรม - Data Base - Information - สื่อ - การโฆษณา / ประชาสัมพันธ - การเจรจาโนมนาว - การเจรจาตอรอง - การสรางพลังกลุม

หลักสูตรวิชาชีพสําหรับเจาหนาที่สหกรณออมทรัพย หลักสูตร

ผูจัดการ

เจาหนาที่ธรุ การ

เจาหนาที่สนิ เชื่อ

หลักสูตรขั้นต่ํา

บทบาทหนาที่ผูจัดการ

บทบาทหนาที่เจาหนาที่ ธุรการ

บทบาทหนาที่ของ เจาหนาที่สินเชื่อ

หลักสูตรกลาง

- การบริหารการเงิน - Cash Flow

- เทคโนโลยีสารสนเทศ - Data Base ของสมาชิก

หลักสูตรขั้นสูง

- การบริหารจัดการ องคกรและธุรกิจ - การเชื่อมโยงขอมูล เครือขายสารสนเทศ - มาตรฐานการบริหาร สหกรณ

- การใชโปรแกรม Computer

- การใหสินเชื่อแบบ กํากับ แนะนํา - Data Base ของ สมาชิก - การใช Computer ประมวลผลขอมูล

การเงิน / บัญชี บทบาทหนาที่ของ เจาหนาที่ - การเงิน - บัญชี - Cash Flow - Fund Flow - Ratio - การใช Computer ประมวลผลขอมูล - การเขียนโปรแกรม บัญชี การเงิน สหกรณออมทรัพย


องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

89

หลักสูตรเฉพาะ ผูตรวจสอบกิจการ หลักสูตรขั้นตน การตรวจสอบและรายงานตามที่กรมตรวจบัญชีสหกรณแนะนํา หลักสูตรขั้นกลาง การตรวจสอบถึงระบบการดําเนินงานของสหกรณ การบัญชีการเงินของ สหกรณ ธุรกิจของสหกรณ ระบบสารสนเทศของสหกรณและระบบการ บริหารจัดการของสหกรณ หลักสูตรขั้นสูง ระบบการตรวจสอบกิจการตามระบบมาตรฐานสากล 3. การติดตามและการวัดผลการจัดฝกอบรม การวัดผลองคความรู ไดแก 1. การเปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการใหการศึกษาอบรม ซึ่งจะตองมีการออกขอสอบเปน กลุมคือ ขอสอบของสมาชิก กรรมการ เจาหนาที่ ผูตรวจสอบกิจการ 2. วัดผลจากการใชบริการของสมาชิก 3. วัดผลจากขอรองเรียนของสมาชิก 4. วัดผลจากคําชมของสมาชิก 5. วัดผลจากประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สมาชิกสหกรณ การติดตาม ประเมินผลองคความรูที่ไดรับ 1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการอบรม 2. ปริมาณการถือหุน และเงินฝากของสมาชิก 3. การเขารวมประชุมใหญ 4. การใหความรวมมือกับสหกรณ กรรมการ ติดตาม และประเมินผล 1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการอบรม 2. องคประชุมของการประชุมคณะกรรมการแตละครั้ง 3. มติของคณะกรรมการในเรื่องตางๆ 4. ระเบียบตางๆ ที่ออกมา 5. ภาพรวมของการบริหารจัดการสหกรณ 6. ขอรองเรียนของสมาชิก เจาหนาที่สหกรณ ติดตาม ประเมินผลการใหองคความรู 1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการอบรม 2. คําติชมจากสมาชิกผูใชบริการ 3. การสังเกตจากคณะกรรมการดําเนินการ 4. ขอรองเรียนจากสมาชิก 5. การทุมเท อุทิศเวลาเพื่องานสหกรณ 6. การทํางานเปนทีมของเจาหนาที่สหกรณ 7. ความคิดสรางสรรค เพื่อการใหบริการที่ดี


90

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ผูตรวจสอบกิจการ ติดตาม ประเมินผลจากใหองคความรู (อาจเปนไปไมไดเพราะมี วาระครั้งละ 1 ป) 1. เปรียบเทียบขอสอบกอน และหลังการใหการศึกษาอบรม 2. ขอมูลการตรวจสอบกิจการ 3. ขอเสนอแนะเพื่อสรางสรรคสหกรณ 4. แผนการฝกอบรม 3 ชั่วโมง การฝกอบรมเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย เวลา 0.00 – 0.30 นาที 30 นาที

0.30 – 0.60 นาที 30 นาที

0.60 – 0.90 นาที 30 นาที

เนื้อหา การสหกรณ (ทํา Pre-Test) - ปรัชญาและอุดมการณสหกรณ - หลักการสหกรณ - วิธีการของสหกรณออมทรัพย - พ.ร.บ.สหกรณ - ขอบังคับของสหกรณออมทรัพย - วัตถุประสงคของสหกรณออมทรัพย การดําเนินงานของสหกรณ ออมทรัพย - ทุนดําเนินงาน - การออกหุน - การรับฝากเงิน - การกูยืมเงิน - การสะสมทุน - การใหเงินกู - การฝากหรือการลงทุน - การเงินและการบัญชีของสหกรณ - การจัดสรรกําไรสุทธิ - โครงสรางการจัดองคการ - สมาชิกและที่ประชุมใหญ คณะกรรมการ - คณะกรรมการดําเนินการ - คณะกรรมการอํานวยการ - คณะกรรมการเงินกู - คณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ - ผูตรวจสอบกิจการ - ผูจัดการ

เทคนิค / วิธีการ บรรยายประกอบคํา อธิบาย

สื่อ Power Point

บรรยายประกอบคํา อธิบาย

Power Point

บรรยายประกอบคํา อธิบาย

Power Point


องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพยและแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

เวลา 0.00 – 0.15 นาที 15 นาที

0.15 – 0.30 นาที 15 นาที

0.30 – 0.45 นาที 15 นาที

0.05 – 0.60 นาที 15 นาที

เนื้อหา กลุ ม เป า หมายของการจั ด การองค ความรู - สมาชิกสหกรณ - กรรมการ - เจาหนาที่สหกรณ - ผูตรวจสอบกิจการ แนวคิดการจัดการองคความรู - หลักสูตรพื้นฐาน - หลักสูตรเฉพาะทาง - หลักสูตรเรงดวน ใช ห ลั ก สู ต รพื้ น ฐาน และหลั ก สู ต ร เฉพาะทาง แยกออกเป นกลุมเป าหมาย แตละกลุมเปาหมายควรจะมี - หลักสูตรขั้นตน - หลักสูตรขั้นกลาง - หลักสูตรขั้นสูง หมายเหตุ หลั กสู ตรเร งด วนเป นหลั ก สูตรเฉพาะกิจตามนโยบายและตามสภาพ ในขณะใดขณะหนึ่ง กลุมเฉพาะของสมาชิกสหกรณ ขั้นตน - การระดมทุน - การทําธุรกิจกับสหกรณ ขั้นกลาง - บทบาทของสมาชิกในการ ประชุมใหญ ขั้นสูง - จิตสํานึกในการเปนเจาของ สหกรณ หลักสูตรเฉพาะทางของกรรมการ แบ งออกเป น กรรมการดํ า เนิ น การ กรรมการอํานวยการ กรรมการเงินกู และ กรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ แตละ คณะกรรมการจะมี หลั กสู ตรขั้ นต น ขั้ น กลางและขั้นสูง

เทคนิค / วิธีการ บรรยายประกอบคําอธิบาย

สื่อ Power Point

บรรยายประกอบคําอธิบาย

Power Point

บรรยายประกอบคําอธิบาย

Power Point

บรรยายประกอบคําอธิบาย

Power Point

91


92

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

เวลา 0.60 - 0.75 นาที 15 นาที

0.75 – 0.90 น. 15 นาที

เนื้อหา เทคนิค / วิธีการ บรรยายประกอบคําอธิบาย หลักสูตรวิชาชีพของเจาหนาที่ สหกรณ แบ ง ออกเป น หลั ก สู ต รของผู จั ด การ เจ า หน า ที่ ธุ ร การ เจ า หน า ที่ สิ น เชื่ อ เจ า หน า ที่ ก ารเงิ น การบั ญ ชี แต ล ะ ตํ าแหน งจะมี หลั กสู ตรขั้ นต น ขั้ นกลาง และขั้นสูง บรรยายประกอบคําอธิบาย หลักสูตรเฉพาะของผูตรวจสอบ กิจการ อาจจะไมมีก็ไดเพราะผูตรวจสอบ กิจการมีตําแหนงคราวละ 1 ป ขั้ นต น การตรวจสอบตามที่ กรมตรวจ บัญชีสหกรณแนะนํา ขั้นกลาง การตรวจสอบระบบการดําเนิน งาน การบั ญ ชี การเงิ น ธุ รกิ จสหกรณ ระบบสารสนเทศ และระบบการบริ หาร จัดการของสหกรณ ขั้ น สู ง ระบบการตรวจสอบมาตรฐาน บรรยายประกอบคําอธิบาย สากล - ทํา Post Test

สื่อ Power Point

Power Point

Power Point


การประชุมคณะกรรมการ ศึกษาและประชาสัมพันธ 1. บทนํา รูปแบบในการบริหารสหกรณออมทรัพยนั้น สหกรณออมทรัพยโดยที่ประชุมใหญเปนผูเลือกตั้ง สมาชิกเปนกรรมการดําเนิ นการคณะหนึ่งเพื่ อเปนผูดําเนิ นกิจการและเปนผู แทนสหกรณในกิจการอั น เกี่ยวกับบุคคลภายนอก คณะกรรมการดําเนินการจึงเปนผูรับผิดชอบในการบริหารงานของสหกรณ และ เพื่ อเป นการกระจายอํ านาจให สหกรณ มี การบริ หารได รวดเร็ วขึ้ น เกิ ดความชํ านาญเฉพาะอย างขึ้ น ข อบั งคั บของสหกรณ ออมทรั พย จึ งกํ าหนดให คณะกรรมการดํ าเนิ นการแต งตั้ งกรรมการด วยกั นเป น คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตามตัวอยางขอบังคับที่กรมสงเสริมสหกรณไดกําหนดไวดังนี้ ขอ……คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการดําเนินการอาจตั้งคณะกรรมการ ศึกษาและประชาสัมพันธจํานวน…….คน โดยใหมีตําแหนงประธานกรรมการคนหนึ่ง และเลขานุการคน หนึ่งนอกนั้นเปนกรรมการ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ใหอยูในตําแหนงไดเทาที่กําหนดเวลาของคณะกรรมการ ดําเนินการ ซึ่งตั้งคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธนั้น ใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ประชุมกันตามคราวที่มีกิจธุระ แตจะตองมีการ ประชุ มกั นเดื อนละครั้ งเป นอย างน อย และให ประธานกรรมการศึ กษาและประชาสั มพั นธ หรื อ เลขานุการนัดเรียกประชุมได ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ง จํานวนของกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม ใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธรายงานผลการปฏิบัติงานใหคณะกรรมการดําเนินการ ทราบในการประชุมคราวถัดไป ขอ……อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ใหคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธมีอํานาจและหนาที่ดําเนินกิจการตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ มติ และคําสั่งของ สหกรณในสวนที่เกี่ยวของ ซึ่งรวมทั้งในขอตอไปนี้ (1) ใหความชวยเหลือทางวิชาการแกสมาชิก โดยใหการฝกอบรมแกสมาชิก และผูที่สนใจให ทราบถึงเจตนารมณ หลักวิธีการ และการบริหารงานของสหกรณ (2) ประชาสัมพันธและเผยแพรขาวสาร ความรูเกี่ยวกับภาพลักษณ ประโยชน รวมทั้งผลงานของ สหกรณใหสมาชิกและบุคคลภายนอกรับทราบ (3) ดําเนินการในการหาผูสมัครเขาเปนสมาชิก


94

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

(4) ใหการศึกษาอบรม และเผยแพรแกสมาชิกถึงวิธีการออมทรัพย และการใชจายเงินอยาง รอบคอบ ตลอดจนวิชาการตางๆ อันจะเปนประโยชนตอการประกอบอาชีพ (5) ศึกษา และติดตามขาวความเคลื่อนไหวดานการดําเนินงานของสหกรณอื่นทั้งในและนอก ประเทศเพื่อนําตัวอยางที่ดีมาเสนอคณะกรรมการดําเนินการพิจารณานํามาบริการแกสมาชิกตามความ เหมาะสม 2. องคประกอบที่สําคัญของการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ จะตองมีการประชุมกันอยางนอยเดือนละครั้ง ตามระเบียบ วาระการประชุมที่กําหนดไว ผูมีอํานาจในการเรียกประชุม คือ ประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธหรือเลขานุการ องคประชุม ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ตองมีกรรมการมาประชุมไม นอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธท้ังหมด ตัวอยางเชน คณะกรรมการศึกษา และประชาสัมพันธ มีจํานวน 5 คน องคประชุมก็คือ 3 คนเปนอยางนอย ประธานในที่ประชุม ใหประธาน กรรมการศึกษาและประชาสัมพันธเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ไมอยูในที่ประชุม ก็ใหที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุมเฉพาะการประชุมคราวนั้น การออกเสียงและการวินิจฉัยปญหาในที่ประชุม การออกเสียง กรรมการศึกษาและประชาสัมพันธคนหนึ่ง ใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนนออกเสียง ในที่ประชุม จะมอบใหผูอื่นมาประชุมและออกเสียงแทนตนไมได การวินิจฉัยปญหา ใหถือคะแนนเสียงขางมากถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออก เสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด รายงานการประชุม ตองจัดใหผูเขาประชุมลงลายมือชื่อ พรอมทั้งบันทึกเรื่องที่พิจารณาหรือเรื่อง เพื่อทราบแลวแตกรณีไวในรายงานการประชุม และใหประธานในที่ประชุมกับกรรมการอีกคนหนึ่งที่เขา ประชุม ลงลายมือชื่อดวย อนึ่ง ในเรื่องของประธานในที่ประชุม การออกเสียง การวินิจฉัยปญหา และรายงานการประชุม ตามที่กลาวไวตามขางตนนี้ เปนไปตามที่กําหนดไวในขอบังคับซึ่งใชไดกับการประชุมทุกคณะกรรมการ และไมไดนํามาอางอิงไว ณ ที่นี้ 3. ความหมายของการประชุม สมชาติ กิจยรรยง และอรจรีย ณ ตะกั่วทุง, 2539 เทคนิคการจัดฝกอบรมอยางมีประสิทธิภาพ ได ใหความหมายไววา การประชุม (Conference) เปนการชุมนุมกัน รวมกัน หรือรวมกันปรึกษาหารือกันใน เรื่องที่กําหนดไว


การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

95

ไพพรรณ เกียรติโชคชัย, ผศ. หลักการสัมมนา ไดรวบรวมความหมายของการประชุมไวดังนี้ การประชุม หมายถึงการที่บุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป รวมปรึกษาหารือกัน รวมทั้งมีการชี้แจง อภิปราย เสนอแนะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันซึ่งจะเปนไปโดยลําดับ หรือมีผูอื่นรวมฟงอยู ดวยก็ได ทั้งนี้เพื่อแสวงหาขอตกลงหรือเพื่อการสื่อสารขอความ การประชุ ม หมายถึง การที่ บุคคลกลุ มหนึ่ งนั ดหมายมาพบปะสนทนากันอย างมีจุดหมาย มี ระเบียบ มีวิธีการ ตามสถานที่และเวลาที่ไดตกลงกันไว ทวีศักดิ์ ญาณประทีป, รศ. พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 การประชุมหมายถึง การรวมปรึกษาหารือกัน หรือการที่บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมหารือพิจารณางานกัน สุพัฒก ชุมชวย , การดําเนินการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ การประชุมหมายถึง บุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไปรวมกันเพื่อดําเนินงานขององคกรใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่กําหนดไว โดยทั่วไปจะเกี่ยวกับการ สื่อความ การวางแผน การกําหนดนโยบาย การตัดสินใจและการสรางแรงจูงใจ การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธจึงมีความสําคัญ เพราะเปนวิธีการบริหารจัดการ ตามที่กําหนดไวในขอบังคับ และจะแสดงวาคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ไดปฏิบัติหนาที่ ครบถวนตามที่กําหนดไวในขอบังคับหรือไม อยางไรก็ตาม มักจะพบปญหาตางๆ เกี่ยวกับการประชุม ดังตอไปนี้ 1. การประชุมใชเวลานานเกินไป 2. การประชุมถูกแทรกแซงจากการประชุมอื่นๆ 3. มีผูเขารวมประชุมมากเกินไป 4. ขาดการวางแผนในการประชุม 5. ผูเขารวมประชุมไมพรอม 6. ผูนําการประชุมพูดคนเดียว 7. บางประเด็นจบลงโดยไมมีการสรุป 8. ไมไดแสดงความคิดเห็นกันอยางทั่วถึง 9. ขอมูลไมครบถวน 10. บรรยากาศเครียด 11. บางคนไมพูดในที่ประชุม กลับพูดนอกหองประชุมเมื่อการประชุมเสร็จสิ้นแลว 4. ขั้นตอนการดําเนินการประชุม 1) การเตรียมการกอนประชุม มีประเด็นที่สําคัญไดแก การกําหนดระเบียบวาระการประชุม ขอมูลประกอบในแตละวาระการ ประชุม และการจัดเตรียมสถานที่ประชุม 1.1 ระเบียบวาระการประชุม อุทัย บุญประเสริฐ, รศ. 2540. เทคนิคการนําประชุม ใหความหมายระเบียบวาระการประชุมวาเปน หัวขอเรื่องสําคัญ สําหรับการประชุมที่ไดกําหนดไวเปนเรื่องตางๆ เรียกวา “วาระ” สําหรับการประชุม ปรึกษาหารือ หรืออภิปรายกัน เพื่อใหไดผลของการประชุม ซึ่งอาจเปนมติหรือขอตกลง (Resolution) เปน


96

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

รายละเอียดเปนขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะ (Recommendation) เปนขอกําหนดสําหรับการดําเนินงานหรือ แผนปฏิบัติการ (Procedure หรือ Action Plan) หรือเปนนโยบาย (Policy) หรืออยางใดอยางหนึ่ง ระเบียบวาระการประชุมจึง เปนหัวใจสําคัญของการประชุมเปรียบไดกับ “พิมพเขียว” (Blue print) ของสิ่งกอสราง หรือเข็มทิศในการเดินทาง ถาปราศจากพิมพเขียวหรือเข็มทิศแลว การกอสราง หรือการเดินทางก็จะไรรูปแบบและทิศทาง และอาจจะไมไดผลลัพธออกมาตามที่ตองการก็ได 2) ประโยชนของระเบียบวาระการประชุม มีดังนี้ (1) ทําใหวัตถุประสงคของการประชุมมีความชัดเจน สามารถกําหนดแนวทางปฏิบัติไดอยาง ถูกตอง (2) เปนการใหขอมูลกอนการประชุม เพราะระเบียบวาระการประชุมควรสงใหผูเขาประชุมทราบ ก อนกํ าหนดวั นประชุม 2 - 3 วั น เพื่อให ผูเข าประชุ มมี เวลาที่จะเตรียมข อมู ลเพื่ อเสนอข อคิดเห็ นและ ขอเสนอแนะตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ (3) เปนเครื่องมือสําหรับประธานในที่ประชุมไดตรวจสอบวาการอภิปรายของผูเขาประชุมอยูในวาระ การประชุมหรือไม หากมีการพูดนอกประเด็นประธานในที่ประชุมสามารถบอกหรือเตือนใหพูดในประเด็นได 3) การเรียงลําดับหัวขอระเบียบวาระการประชุม มีหลักการดังนี้ (1) เรียงลําดับตามเหตุผล (2) เรียงตามลําดับของงานประจํากอน แลวจึงคํานึงถึงเรื่องอื่น (3) เรียงตามเรื่องที่นาสนใจมากที่สุดกอนเรื่องอื่น (4) เรียงตามลําดับจากเรื่องงายกอนแลวจึงไปเรื่องยาก (5) เรียงลําดับเรื่องเรงดวนกอนแลวจึงไปเรื่องสําคัญ ระเบียบวาระการประชุมของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เลขานุการจะเปนผูจัดระเบียบวาระการประชุม โดยมีฝายจัดการเปนผูประสานงานและกอนการ ประชุมทุกครั้งมีความจําเปนที่ควรจะตองสรุปเรื่องราวการประชุมโดยยอใหประธานในที่ประชุมทราบ เพราะ ประธานในที่ประชุมกับเลขานุการ และฝายจัดการ หากมีความเขาใจไปในทิศทางเดียวกันแลว การประชุมก็ จะเปนไปดวยความราบรื่น นอกจากนั้นระเบียบวาระการประชุมจะสะทอนใหเห็นวา คณะกรรมการศึกษา และประชาสั ม พั น ธ ไ ด ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ค รบถ ว นตามที่ กํ า หนดไว ใ นข อ บั ง คั บ ระเบี ย บ และมติ ข อง คณะกรรมการดําเนินการครบถวนหรือไม ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในกรณีปกติโดยทั่วๆ ไป แลวจะเปนดังนี้ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่……… ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องติดตามผลความกาวหนาตามมติที่ประชุมครั้งกอน หรืออาจจะใชวาเรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่แลวก็ได ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา (ตัวอยาง) 4.1 แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในรอบ 1 ป


การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ระเบียบวาระที่ 5 ระเบียบวาระที่ 6

97

4.2 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานของสหกรณ 4.3 แผนการประชาสัมพันธในการประชุมใหญของ สหกรณ เรื่องเสนอเพื่อทราบ เรื่องอื่นๆ (ถามี)

4) การจัดขอมูลประกอบวาระการประชุม จุมพล ชละเอม , แนวทางจัดประชุมในสหกรณ ไดกลาวไวโดยสรุปวา เลขานุการเปนผูเตรียม ขอมูลโดยมีเจาหนาที่ของสหกรณเปนผูคอยชวยเหลือหรือทําหนาที่เปนผูชวยของเลขานุการ ขอมูลที่เตรียม เปนขอมูลที่ใชประกอบวาระการประชุมแตละวาระ หากเตรียมขอมูลไวดี การประชุมจะดําเนินไปดวยความ สะดวกรวดเร็ว ขอมูลประกอบในแตละวาระการประชุมจะเปนดังนี้ (1) เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ มักเปนเรื่องทั่วไป ที่ไมเจาะจงเปนขอสําคัญในระเบียบ วาระ อาจเปนเรื่องบังเอิญที่ประธานทราบมา แตประธานในที่ประชุมมีความประสงคจะนํามาบอกกลาวตอ ที่ประชุมหรืออาจเปนเรื่องการแนะนําบุคคลสําคัญที่มาเขารวมการประชุมในครั้งนั้นๆ ก็เปนหนาที่ของ ประธานในที่ประชุมที่จะเปนผูแนะนํา (2) เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แลว กอนที่จะมีการประชุมในครั้งตอไปในทุกประเภทการ ประชุม เลขานุการตองจัดใหมีการบันทึกรายงานการประชุมครั้งกอนใหเรียบรอย เพื่อใหที่ประชุมในครั้งที่จะ ประชุมไดตรวจสอบความถูกตองตลอดจนพิจารณาแกไขรายงานการประชุมใหตรงตามขอเท็จจริงใหเปนที่ ยอมรับของกรรมการผูเขาประชุมในทุกประเด็นที่ไดประชุมไปแลว และตองมีการรับรองรายงานการประชุม ในที่สุด (3) เรื่องติดตามผลความกาวหนาตามมติที่ประชุมครั้งกอน เลขานุการตองตรวจสอบวา ในการ ประชุมครั้งที่ผานมาที่ประชุมไดลงมติใหดําเนินการในเรื่องอะไรไวบาง เลขานุการจะตองติดตามประสานงาน ตลอดจนเตรียมขอมูลความคืบหนาจากผูเกี่ยวของที่เปนเจาของเรื่องหรือซักซอมผูรับผิดชอบเตรียมชี้แจง ตอที่ประชุม (4) เรื่องเพื่อพิจารณา เมื่อพิจารณาอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธแลว จะ พบวามีหนาที่ในการประชาสัมพันธงานของสหกรณ และใหการศึกษาอบรมแกสมาชิก ดังนั้นในการประชุม จึงตองมีการพิจารณาเรื่องตางๆ ตามขางตน โดยมีขอมูลตางๆ เพื่อใหที่ประชุมไดพิจารณาอยางชัดเจน เชน ระยะเวลาดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ และงบประมาณ เปนตน ในที่นี้ขอเสนอตัวอยางเรื่องเพื่อพิจาณา 3 เรื่องพรอมกับขอมูลประกอบวาระการประชุมดังนี้ 4.1 แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธในรอบ 1 ป 4.2 แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานสหกรณ 4.3 แผนการประชาสัมพันธในการประชุมใหญของสหกรณ ทั้งนี้ระเบียบวาระที่ 4.1 ควรกําหนดไวเปนวาระในการประชุมครั้งแรกของคณะกรรมการศึกษา และประชาสัมพันธ เพื่อเปนการวางกรอบในการทํางานของคณะกรรมการ สําหรับการประชุมครั้งตอๆ ไป ก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ


98

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ตัวอยางขอมูลประกอบวาระการประชุมในเรื่องเพื่อพิจารณา 1) แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธในรอบ 1 ป ขอมูลประกอบการประชุม จะประกอบไปดวยชื่อโครงการหรือกิจกรรมและระยะเวลาดําเนินงาน เปนตน ชื่อโครงการ

ระยะเวลา หมาย ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เหตุ

1. โครงการฝกอบรม ก. สมาชิกใหม ข. สมาชิกเกา ค. คณะกรรมการ และฝายจัดการ 2. โครงการประชา สัมพันธ ก. ออกจดหมาย ขาว ข. ประชุมใหญของ สหกรณ

2) แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธงานสหกรณ ขอมูลประกอบการประชุม จะประกอบไปดวยกิจกรรม กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินการ ระยะเวลาดําเนินการ ผูรับผิดชอบ และงบประมาณ เปนตน กิจกรรม

กลุมเปาหมาย

1. แผนพับ สมาชิก 2. จุลสาร

ลักษณะเนื้อหา

วิธีดําเนินการ

การออมเพื่อเปน แจกใหสมาชิก เศรษฐีเงินลาน สมาชิกกับสหกรณ สรุปการประชุมประจํา แจกใหสมาชิก ในบริเวณใกลเคียง เดือนคอลัมนถาม-ตอบ และสหกรณอื่น

ระยะเวลา

ผูรบั ผิดชอบ

งบประมาณ (บาท) 5,000.-

เม.ย., ก.ย. เลขานุการกับ หัวหนาฝายธุรการ ทุกเดือน เลขานุการกับ 10,000.รองผูจัดการ


การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

99

3) แผนการประชาสัมพันธในการประชุมใหญของสหกรณ ขอมูลประกอบการประชุม จะประกอบไปดวยกิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ เปนตน ราย การ

กิจกรรม

ระยะเวลา

หมาย เหตุ

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1

เผยแพรขาวสาร การประชุมใน จุลสารประจําเดือน

2

พิมพรายงานประจําป

3

จัดทําหนังสือ เชิญประชุม และโปสเตอร นัดประชุม

(5) เรื่องเพื่อทราบ จะเปนหนาที่ของฝายจัดการที่จะเสนอความเห็นไปยังประธานกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ โดยผานเลขานุการกอนวาจะมีเรื่องใดควรแจงใหคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เพื่อทราบบางอาจจะเปนเรื่องภายในสหกรณหรือเรื่องจากภายนอกก็ได เมื่อประธานกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธเห็นชอบแลวก็ใหบรรจุเปนเรื่องเพื่อทราบในการประชุมคราวตอไป (6) เรื่องอื่นๆ (ถามี) หมายถึง เปนวาระการประชุมที่เตรียมเผื่อไวในกรณีที่หากมีหัวขอการ ประชุมที่เพิ่งจะนํามาประชุมเพิ่มเติมก็สามารถบรรจุลงไวในวาระการประชุมเรื่องอื่นๆ นี้ได ถาเรื่องนั้น จําเปนที่จะตองมีการพิจารณา มติที่ประชุมก็ควรจะเปนวาใหนําไปพิจารณาในการประชุมคราวหนาเพื่อที่ ฝายเลขานุการจะไดเตรียมขอมูลอยางครบถวนใหผูเขาประชุมไดพิจารณาลวงหนากอน 5) การจัดเตรียมสถานที่ประชุม การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ เปนการประชุมเพื่อปรึกษาหารือสําหรับกรรม การศึกษาและประชาสัมพันธ ซึ่งตามปกติจะมีไมเกิน 5 คน โตะประชุมอาจเปนโตะกลมตัวเดียวที่มุมหอง แตควรจะตองมีสภาพแวดลอมดังนี้ 1. เก็บเสียงไดดี 2. แสงสวางเพียงพอ 3. ไมมีเสียงรบกวน 4. อากาศถายเทดี


100

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ตัวอยางการจัดโตะประชุม

2) การดําเนินการระหวางประชุม 1. ขั้นตอนการประชุม จุมพล ชละเอม , อางถึงแลว ไดกลาวถึงขั้นตอนการประชุมไวดังนี้ (1) เลขานุการหรือกลุมของเจาหนาที่สหกรณที่ไดรับมอบหมายตรวจสอบดูวาผูมาประชุมซึ่งเปน องคประชุมครบองคประชุมแลว จากนั้นจึงแจงใหประธานในที่ประชุมทราบ (2) เมื่อองคประชุมมาครบตามจํานวนที่กําหนดไวแลว ประธานในที่ประชุมจะกลาวเปดการประชุม และดําเนินการประชุมตามระเบียบวาระ (3) ในแตละวาระการประชุม ประธานในที่ประชุมควรเปนผูกลาวนําหัวขอเรื่องทุกครั้งหากจะมีผู กลาวแทน ประธานควรมอบหมายกอน (4) ในการประชุม ผูเขาประชุมตองอยูในความสงบ ไมสงเสียงดังแทรกแซงระหวางมีผูกําลังพูดใน ที่ประชุม หากมี ความประสงคขอพูดหรื ออภิปราย หรื อแสดงความเห็นต องขอและไดรับอนุญาตจาก ประธานในที่ประชุมกอน (5) ประธานในที่ประชุมตองทําหนาที่กํากับการประชุม กลาวคือ 1) กํากับเวลา ตลอดการประชุมใหอยูในระยะเวลาที่เหมาะสมไมใชเวลามากหรือนอยเกินความ จําเปน 2) กํากับสาระ ควบคุมการเสนอเรื่อง ความคิด คําชี้แจง ตลอดจนความเห็นและการอภิปราย ของผูเขาประชุม ใหอยูในประเด็นของเรื่องที่ประชุม 3) กํากับความเรียบรอย ควบคุมการประชุมใหอยูในความเรียบรอยไมใหเกิดการกระทบกระทั่ง โตเถียง ขณะผูประชุมหรือที่ประชุมมีความเห็นไมตรงกันหรือขัดแยงกัน (6) กรณีเรื่องที่กําลังประชุมเกี่ยวของกับเจาของเรื่องผูใด ประธานในที่ประชุมจะเปนผูบอกให ผูเกี่ยวของนั้นเปนผูชี้แจงหรือรายงาน หากประธานในที่ประชุมหรือเลขานุการชี้แจงแทนได ประธานในที่ ประชุมหรือเลขานุการจะเปนผูชี้แจงก็ได


การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

101

2. บทบาทหนาที่ของกรรมการผูเขาประชุม 1. ประธานในที่ประชุม ในการประชุมนั้น ประธานที่ประชุมจะเปนบุคคลที่มีความสําคัญมากจน เรียกไดวา “สําคัญมากที่สุด” ตอความสําเร็จหรือลมเหลวของการประชุม ประธานในที่ประชุมที่ไมดี นํา การประชุมไมดี จะทําใหผูเขาประชุมรูสึกเบื่อหนาย ทําใหการประชุมลมเหลว ในบางกรณียังไดพบวา ประธานไดกลายเปนตัวการ ยั่วยุใหผูเขาประชุมขัดแยงกัน เปนตน วีรวุธ มาฆะศิรานนท, 2542. เทคนิคการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ ไดกลาวไววาความสําเร็จใน บทบาทของการเปนประธานในที่ประชุมจะมาจากปจจัยสําคัญ 2 ประการคือ บุคลิกภาพสวนตัวและ เทคนิควิธีการตางๆ ที่ใชนําในการประชุม (1) บุคลิกภาพสวนตัวของประธานในที่ประชุม ที่สําคัญประกอบดวย 1) มีความยุติธรรม ในการใหโอกาสแกผูเขารวมประชุมทุกคนแสดงความคิดเห็นโดยเสรี รวมทั้งมีความยุติธรรมในการตัดสินใจมอบหมายงานตางๆ 2) มีความมั่นใจในตนเอง โดยศึกษารายละเอียดของวาระการประชุมเปนอยางดีและมั่นใจวา จะสามารถบริหารการประชุมไดอยางมีประสิทธิภาพ น้ําเสียง คําพูด และสายตาของประธานที่ประสานกับ ผูเขารวมประชุม จะเปนดัชนีชี้วัดความมั่นใจไดเปนอยางดี 3) ความชัดเจนในขั้นตอนการคิด และการตัดสินใจดวยเหตุ-ดวยผล ตลอดจนสามารถสรุป ประเด็นในแตละวาระการประชุม พรอมทั้งทําการมอบหมายงานไดอยางถูกตองและชัดเจน 4) ตองพยายามควบคุมตนเองใหปราศจากความเอนเอียง ไมมีอารมณโกรธฉุนเฉียว 5) มีทักษะในการพูด สรุปประเด็นใหผูอื่นเขาใจไดโดยงาย รวมถึงการสั่งการที่กระชับไม เยิ่นเยอ (2) เทคนิคและวิธีการตางๆ ที่ใชนําในการประชุม 1) ชวงเปดการประชุม - เปดการประชุมใหตรงเวลา - กลาวตอนรับการประชุมเพื่อสรางบรรยากาศที่ดีตั้งแตเริ่มแรก - กลาวขอความรวมมือในการออกความเห็น คิดวิเคราะห และอภิปรายอยางเปนกันเอง ตรงไปตรงมา 2) ชวงนําเขาสูวาระการประชุมตางๆ - เริ่มทําการพิจารณาเรียงตามลําดับวาระการประชุมที่ไดกําหนดไว - คอยดูแลไมใหผูเขาประชุมจับคูแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นกันเองซึ่งจะทํ า ให เ สี ยวิ นั ย ของที่ ประชุม - สรางบรรยากาศแบบผ อนคลายและเสริ มการประชุ มดวยอารมณ ขันบ างตามความ เหมาะสม - คอยตัดบทสําหรับผูเขาประชุมบางคนที่พูดวกวน เยิ่นเยอ โดยทําอยางนุมนวลไมใหเกิด อาการ “เสียหนา” ขึ้น - หากมี งานที่ ตองดําเนินการตอไปหลั งจากการประชุ มนี้ ประธานในที่ ประชุมจะตอง พิจารณามอบหมายสั่งการดวยความชัดเจน


102

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

3) ชวงปดการประชุม - ปดการประชุมใหตรงตามกําหนดเวลา - หากมีการนัดหมายการประชุมในครั้งตอไป ก็ใหนัดหมายกันในชวงนี้เลย - ขอบคุณผูเขารวมประชุมทุกคน อุทัย บุญประเสริฐ, รศ. เทคนิคการนําประชุม กลาววา ประธานควรไปถึงที่ประชุมกอนเวลาเริ่ม ประชุมเล็กนอยเพื่อถือโอกาสทักทายปราศรัย สอบถามสุขทุกข สรางความเปนกันเอง และเปดโอกาสใหผู เขาประชุมบางคนไดพูดคุยดวยในลักษณะที่เปนกันเอง 2. เลขานุการ เกษม วัฒนชัย, ศ. ไดกลาวถึง บทบาทและหนาที่ของเลขานุการในระหวางการ ประชุม มีดังนี้ (1) ดูแลความเรียบรอยเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ที่ไดจัดเตรียมไวแลว (2) จัดเตรียมเอกสารที่ไดจัดเตรียมไวแลวใหพรอมเพื่อการแจกจายตอที่ประชุม (3) เปนผูชวยผูบริหาร หรือประธานในการแจงระเบียบวาระ และรายละเอียดอื่นประกอบการ ประชุม (4) เปนผูชวยประธานในการสรุปมติที่ประชุม เพื่อความชัดเจนที่จะบันทึกรายงานการประชุม และแจงใหผูเกี่ยวของไดรับทราบและถือปฏิบัติ (5) จดบันทึกการประชุม และดูแลการบันทึกเสียง (ถาจําเปน) เพื่อจัดทํารายงานการประชุมโดย ละเอียด (6) ดําเนินการในเรื่องใดๆ เพื่อใหเปนไปตามขอบังคับการประชุม (ถามี) หรือตามที่ประชุม มอบหมาย 3. กรรมการผูเขาประชุม ควรมีบทบาทหนาที่ ไดแก กอนการเขารวมประชุมทุกครั้งจะตอง เตรียมตัวโดยการศึกษาระเบียบวาระการประชุมพรอมทั้งตองจัดเตรียมรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติม หรือคิด วิเคราะหตามวาระตางๆ เปนการลวงหนา สิ่งที่ผูเขาประชุมทุกคนตองตระหนักไวตลอดเวลาก็คือ มารยาท ในการประชุม ซึ่งมีประเด็นที่สําคัญๆ ดังนี้ (1) ตองมาเขาประชุมใหทันเวลา (2) นํากําหนดการประชุมในครั้งใหม พรอมเอกสารประกอบติดตัวมาเขารวมประชุมดวยทุกครั้ง (3) กรณีมาถึงกอนเวลาก็ควรรอในหองประชุม ไมควรเดินเขา - ออก (ถาไมจําเปน) ซึ่งจะทําให การประชุมเริ่มไดยาก (4) ควรยกมือขึ้นขออนุญาตตอประธานในที่ประชุม เมื่อไดรับอนุญาตแลวจึงจะพูดได (5) อภิปรายหรือชี้แจงดวยวาจาสุภาพ มีใจความกระชับ ชัดเจน และมีเหตุมีผลเสมอ (6) ไมควรจับกลุมคุยกันเอง (7) เก็บรักษาความลับจากที่ประชุมไวเปนอยางดี (8) ปดเครื่องอุปกรณสื่อสารใดๆ เชน โทรศัพทมือถือ เพราะจะสงเสียงรบกวนสมาธิที่ประชุม และ ถือไดวาไมเคารพตอที่ประชุมอีกดวย (9) มีความพยายามรวมกันในการคิดวิเคราะหอยางหลากหลาย และหาแนวทางแกไขปญหา รวมถึงกลาที่จะนําเสนอ และตัดสินใจตอที่ประชุม


การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

103

(10) ยอมเคารพมติในเสียงสวนใหญ แมจะไมเห็นดวย แตก็ควรเต็มใจปฏิบัติเพราะอยูในองคกร เดียวกัน 3) การดําเนินการภายหลังการประชุม เมื่อการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธไดเสร็จสิ้นลงในแตละครั้งสหกรณจะตอง จัดทํารายงานการประชุมและอื่นๆ ไดแก การแจงผลการประชุมใหคณะกรรมการดําเนินการไดทราบหรือ พิจารณาแลวแตกรณี ซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้ รายงานการประชุม ขอบังคับของสหกรณไดกําหนดไวดังนี้ “ข อ ………รายงานการประชุ ม ในการประชุ ม ใหญ การประชุ ม กลุ ม การประชุ ม คณะกรรมการดําเนินการหรือการประชุมคณะกรรมการอื่นๆ นั้น ตองจัดใหผูเขาประชุมลงลายมือ ชื่อพรอมทั้งบันทึกเรื่องที่พิจารณาวินิจฉัยทั้งสิ้นไวในรายงานการประชุม และใหประธานในที่ ประชุมกับกรรมการดําเนินการหรือกรรมการอื่นๆ แลวแตกรณี อีกคนหนึ่งเขาประชุมนั้นๆ ลง ลายมือชื่อไวเปนสําคัญ” 1. ความหมายและจุดมุงหมายของรายงานการประชุม ประวีณ ณ นคร ไดกลาวถึง รายงานการประชุม และจุดมุงหมายในการจดรายงานการประชุมไวดังนี้ รายงานการประชุม เปนขอความที่เจาหนาที่จดบันทึกการพิจารณาเรื่องตางๆ ของที่ประชุม คณะ บุคคลที่ไดจัดประชุมขึ้น ซึ่งอาจเปนการประชุมของสภา ของคณะกรรมการ ของอนุกรรมการ หรือของ คณะทํางาน โดยทั่วไปจะบันทึกวาเปนการประชุมคณะใด เมื่อใด ที่ใด มีใครเขาประชุมบาง ที่ประชุมได พิจารณาเรื่องใด อยางไร ผลการประชุมเปนประการใด จุดมุงหมายในการจดรายงานการประชุม มีดังนี้ (1) เพื่อเก็บไวเปนหลักฐานอางอิง โดยจดบันทึกเปนหลักฐานไว และเก็บเขาเรื่องหรือเขาแฟมไว เมื่อใดตองการจะตรวจดูวาที่ประชุมไดพิจารณาเรื่องใด มีมติวาอยางไรก็สามารถคนหาตรวจดูได (2) เพื่ อ ยื น ยั น การปฏิ บั ติ ง าน โดยจดบั น ทึ กไว ว า มี ก ารอภิ ป รายกั น ในที่ ป ระชุ ม อย า งไร คณะกรรมการไดทําอะไรบาง หรือมีมติในเรื่องใดไวอยางไร เพื่อยืนยันการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ยืนยั นข อเท็ จจริ งและเหตุ ผลในการพิจารณาในที่ ประชุ ม และเพื่ อยื นยั นว าผู ใดจะต องปฏิบั ติ ตามมติ คณะกรรมการตอไปอยางไร (3) เพื่อแสดงกิจการที่ดําเนินมาแลว โดยจดบันทึกไววาไดทําอะไรกันมาแลวบางตามที่มีการ รายงานใหทราบในที่ประชุม (4) เพื่อแจงผลการประชุมใหบุคคลที่เกี่ยวของทราบและปฏิบัติตอไป โดยจดบันทึกการพิจารณา และมติของที่ประชุมไวเปนหลักฐาน ใหผูที่เกี่ยวของไดอานไดทราบและไดปฏิบัติตามมติที่ประชุมตอไป 2. รูปแบบของรายงานการประชุม สหกรณออมทรัพยโดยทั่วไปจะยึดรูปแบบตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ โดยนํามาปรับปรุงใหเหมาะสมกับองคการของสหกรณ


104

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

3. การจดรายงานการประชุม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ไดอธิบายการจดรายงานการประชุม วา อาจทําได 3 วิธี ไดแก (1) จดละเอียดทุกคําพูดของกรรมการหรือผูเขาประชุมทุกคน พรอมดวยมติของที่ประชุม (2) จดยอคําพูดที่เปนประเด็นสําคัญของกรรมการหรือผูเขาประชุม อันเปนเหตุผลนําไปสูมติของ ที่ประชุม พรอมดวยมติที่ประชุม (3) จดแตเหตุผลกับมติที่ประชุมซึ่งเรียกวาบันทึกการประชุม ในกรณีการบันทึกรายงานการประชุมของสหกรณไมวาจะเปนการประชุมคณะกรรมการอํานวยการ หรือการประชุมใหญหรือการประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ สามารถนําวิธีการทั้ง 3 วิธีขางตนมา ใชรวมกันไดโดยจะตองใหสนองตอจุดมุงหมายทั้ง 4 ขอ ตามที่กลาวไวแลวในขอ 6.6.1.1 กลาวคือ ให สามารถใชเปนหลักฐานอางอิงได ใหสามารถยืนยันการปฏิบัติงานได ใหแสดงกิจการที่ดําเนินมาแลวได และใหสามารถแจงผลการประชุมใหบุคคลที่เกี่ยวของทราบและปฏิบัติตอไปได ดังนั้นในการจดรายงานการ ประชุมที่ดีจะตองใชคําหรือขอความที่อา นแลวเขาใจไดงาย ไมสับสนและตีความแตกตางกันออกไป จึงควร เลือกใชคําหรือขอความใหเหมาะสมดังตอไปนี้ (1) ไดสาระ ในระหวางการประชุมผูจดบันทึกรายงานการประชุม ควรจับประเด็นที่มีการประชุม แลวนําไปบันทึกใหครบถวน ทั้งในสวนที่เปนเหตุ ซึ่งนํามาอาง และที่เปนผลซึ่งออกมาเปนมติที่ประชุม ความเปนสาระของเรื่องจึงควรใหครอบคลุมถึง “ใคร” “ทําอะไร” “ทําที่ไหน” “ทําอยางไร” และ “ทํา ทําไม” เปนตน (2) ชัดเจน ขอความที่นําไปบันทึกในรายงานการประชุม ควรใหมีความชัดเจนเขาใจงายไมควรให มีขอความที่กํากวม หรือคลุมเครือหรือมีแงมุมที่ตีความตางกันในบางเรื่องที่ประชุมกัน หากนํามาบันทึก ดวยขอความสั้น ๆ อาจไมไดใจความชัดเจน ถาเขียนยาวแลวผูอานอานรูเรื่อง จึงถือวาเปนเรื่องที่ดีกวา การเขียนแบบสั้นๆ (3) กะทัดรัด นอกเหนือจากการบันทึกรายงานการประชุมใหมีความชัดเจนแลวถาสามารถบันทึก ใหกะทัดรัด โดยไมใชถอยคําที่ฟุมเฟอยจนเกินจําเปน ก็จะทําใหบันทึกนั้นดูดียิ่งขึ้น (4) ตรงประเด็น เปนการบันทึกรายงานการประชุมใหไดขอความที่เนนจุดตามเรื่องที่ไดประชุมกัน เมื่ออานบันทึกแลวสามารถเขาใจเรื่องไดถูกตองตรงกัน หากบันทึกวกไปวนมาไมพยายามเนนจุดจะทําให เกิดความไมเขาใจกับผูอานบันทึกนั้น


ภาคผนวก

ภาคผนวก แบบทดสอบกอน / หลัง สําหรับคาบวิชาที่ 3 1. การฝกอบรม คือ ก. กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางมีระบบ เพื่อใหบุคคลมีความรู ทักษะอยาง กวางๆ โดยมุงเนนการสรางคนใหมีความสมบูรณ ข. กระบวนการในอันที่จะทําใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และ ความชํานาญ ในเรื่องหนึ่งเรื่องใดและเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ค. กิจกรรมที่มีสวนทําใหบุคลากรมีความรู ทักษะ ประสบการณ และทัศนคติดีขึ้น สามารถที่จะปฏิบัติหนาที่ที่ยากขึ้น และมีความรับผิดชอบมากขึ้นในองคการ ง. การพัฒนาโดยการเนนที่องคการเพื่อใหตรงตอนโยบาย เปาหมาย และองคการที่สําคัญ 2. กิจกรรมใดตองทําเปนระดับแรกในกระบวนการฝกอบรม ก. การสรางหลักสูตร ข. การกําหนดโครงการ ค. การวางแผนการบริหารโครงการ ง. การหาความจําเปน 3. ขอใดไมใชสาเหตุที่ผูใหญตองการเรียนรู ก. ผูใหญ จะเรียนเมื่อเขาตองการจะเรียน ข. ผูใหญ จะเรียนรูเมื่อถูกบังคับ ค. ผูใหญ จะเรียนรูเฉพาะสื่อที่เขารูวาจําเปน ง. ผูใหญ จะเรียนรูเมื่อรูวามีการกระทํา การเรียน การสาธิต หลายๆ วิธีในการเรียนรู 4. ขอใดไมใชเทคนิคและวิธีการในการฝกอบรมผูใหญ ก. จัดสภาพหองเรียนหรือหองอบรมใหสะดวกสบาย ข. ใหผูเขาอบรมไดมีสวนรวมในการเรียนการสอน ค. จุดศูนยกลางของการเรียนรูอยูที่วิทยากร ง. ควรหลีกเลี่ยงการแขงขัน ในการตัดสิน 5. การพัฒนาบุคลากรของสหกรณ คือ การพัฒนากลุมเปาหมายตางๆ ของสหกรณยกเวน ก. สมาชิก ข. กรรมการ ค. ฝายจัดการ ง. ประชาชน

105


106

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

6. วิชาพื้นฐานที่บุคลากรสหกรณทุกคนตองรูเปนอันดับแรกคือ ก. สิทธิในการเขารวมประชุมใหญ ข. การจัดสรรกําไรสุทธิ ค. อุดมการณสหกรณ ง. บทบาท หนาที่คณะกรรมการ 7. สื่อชนิดใดที่ไมตองใชวิทยากรบรรยาย ใชไดทุกเวลา ทุกโอกาส ทุกสถานที่และไมตองใช สวนประกอบ ก. เครื่องฉายภาพขามศีรษะ ข. คอมพิวเตอร ค. หนังสือ / คูมือ ง. โทรทัศน / วิทยุ 8. การเลือกสื่อตองคํานึงถึง ก. จุดมุงหมายของแหลงที่จะใหขาวสาร ข. ทักษะการสื่อสารของผูนํา ค. จํานวนของผูรับขาวสาร ง. ถูกทุกขอ 9. องคความรูพื้นฐานเรื่องสหกรณในคูมือสมาชิกสหกรณออมทรัพยมีหลายเรื่องยกเวน ก. สิทธิของสมาชิก ข. หนาที่ของสมาชิก ค. โครงสรางของสหกรณ ง. ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ 10. องคความรูของกรรมการใหม ตองรูเฉพาะดานคือ ก. อุดมการณสหกรณ ข. โครงสรางสหกรณ ค. การบริหารจัดการธุรกิจสหกรณ ง. สิทธิหนาที่สมาชิก

เฉลย 1. ข 5. ง 9. ง

2. 6. 10.

ง ค ค

3. 7.

ข ค

4. 8.

ค ง


ภาคผนวก

แบบทดสอบกอนและหลังการอบรม สําหรับคาบวิชาที่ 4 องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย ขอ 1. กีฬาชนิดใดเหมือนการสหกรณมากที่สุด ก. ฟุตบอล ข. บาสเกตบอล ค. ตะกรอวง ง. วอลเลยบอล ขอ 2. ใครเปนเจาของสหกรณ ก. รัฐบาล ข. รัฐวิสาหกิจ ค. ประชาชนทุกคน ง. สมาชิกสหกรณ ขอ 3. ขอใดไมถูกตอง ก. สมาชิกเลือกกรรมการ ข. ฝายจัดการเลือกสมาชิก ค. กรรมการจางฝายจัดการ ง. สมาชิกเลือกผูตรวจสอบกิจการ ขอ 4. หลักการสหกรณสากลมีกี่ขอ ก. 2 ขอ ข. 6 ขอ ค. 7 ขอ ง. 8 ขอ ขอ 5. เมื่อสหกรณมีกําไร ผลตอบแทนของสมาชิกในการถือหุนกับสหกรณเรียกวา ก. เงินปนผล ข. เงินเฉลี่ยคืน ค. เงินสํารอง ง. ดอกเบี้ย ขอ 6. ขอใดถูกตองในเรื่อง “ทุนเรือนหุน” ของสหกรณ ก. ถอนคืนไดเมื่อสมาชิกตองการ ข. ราคาหุนเปลี่ยนแปลงตามกําไรสุทธิของสหกรณ ค. สมาชิกถือหุนไดไมเกิน 20% ของทุนเรือนหุนทั้งหมดในสหกรณ ง. สหกรณจายเงินปนผลตามหุนไดในอัตรามากกวา 10% ขอ 7. ขอใดไมอยูในการจัดสรรกําไรสุทธิของสหกรณ ก. จัดสรรทุนสํารอง ข. จัดสรรเงินบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทย ค. จัดสรรเงินปนผลตามหุน ง. จัดสรรคาใชจายดําเนินงานของสหกรณ ขอ 8. วิธีใดที่บุคลากรของสหกรณควรรูทุกกลุมเปาหมาย ก. อุดมการณ หลักการ วิธีการสหกรณ ข. การบริหาร การจัดการองคกร ค. การบริหารความเสี่ยง ง. ระบบการตรวจสอบแบบมาตรฐาน

107


108

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ขอ 9. เจาหนาที่สหกรณ หมายถึง ก. สมาชิกสหกรณ ข. คณะกรรมการสหกรณ ค. ฝายจัดการสหกรณ ง. เจาหนาที่สงเสริมสหกรณ ขอ 10. ขอใดเรียงลําดับความสําคัญจากมากไปนอยไมถูกตอง ก. ชุมนุมสหกรณแหงประเทศไทย ชุมนุมระดับจังหวัด สหกรณ ข. พ.ร.บ.สหกรณ ขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนด ค. เงินกูพิเศษ เงินกูสามัญ เงินกูฉุกเฉิน ง. ที่ประชุมใหญ ฝายจัดการ กรรมการ

เฉลย 1. ค 6. ค

2. 7.

ง ง

3. 8.

ข ก

4. 9.

ค ค

5. 10.

ก ง


ภาคผนวก

สหกรณ ระบุชื่อสหกรณ จํากัด รายงานการประชุม ระบุวา คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ครั้งที่ ระบุครั้งที่ที่ประชุมทับดวย พ.ศ… วันที่ ระบุวันที่ เดือน และ พ.ศ….. ณ ระบุสถานที่ประชุม ………………………………………………. ผูมาประชุม 1. 2. 3. 4.

ระบุชื่อ - สกุล และตําแหนงของกรรมการ ………………………………………………….. ………………………………………………….. …………………………………………………..

ผูไมมาประชุม 1. ระบุชื่อ - สกุล และตําแหนงของกรรมการที่ไมมา ประชุมพรอมเหตุผล (ถามี) ผูเขารวมประชุม 1. ระบุชื่อ - สกุล และตําแหนงของผูเขารวมประชุม เริ่มประชุมเวลา

เลิกประชุมเวลา

ระบุเวลาที่เริ่มประชุม ขอความที่ประชุม............................................................ ………………………………………………………………. ระบุเวลาที่เลิกประชุม ลงชื่อ…………………..ประธานในที่ประชุม ลงชื่อ…………………..กรรมการ (ที่เขาประชุม) ลงชื่อ…………………..ผูบันทึกรายงานการประชุม

109


110

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

ตัวอยาง การจดรายงานการประชุมแบบสรุปสาระสําคัญ สหกรณออมทรัพย……………….……จํากัด รายงานการประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ครั้งที่ 2 / 2548 วันที่ 10 พฤษภาคม 2548 ณ หองประชุมสหกรณออมทรัพย…………………..จํากัด …………………………………………….. ผูมาประชุม 1. 2. 3. 4.

……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………

ประธานกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

ผูไมมาประชุม 1. ………….…………………. กรรมการ (ลาปวย) ผูเขารวมประชุม 1. ……………………………… ผูจัดการ 2. ……………………………… หัวหนาฝายธุรการ เริ่มประชุมเวลา 14.00 น. ประธานกลาวเปดประชุม แลวที่ประชุมไดพิจารณาเรื่องตาง ๆ ดังตอไปนี้ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ ไมมี ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 1/2548 วันที่ 10 เมษายน 2548 เลขานุการ ไดขอใหที่ประชุม พิจารณารายงานการประชุม ครั้งที่แลว มติ รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แลว ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง


ภาคผนวก

3.1 การจัดทําปายชื่อสหกรณ ประธานฯ แจงใหที่ประชุมทราบวา ตามที่คณะกรรมการดําเนินการไดมอบหมายให คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ดําเนินการจัดทําปายชื่อสหกรณในวงเงินไมเกิน 1,000 บาท นั้น ขณะนี้เลขานุการไดดําเนินการเสร็จเรียบรอยแลวโดยมีคาใชจายเปนเงิน 900 บาท มติ รับทราบ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธในรอบ 1 ป ประธานฯ ไดเสนอตอที่ประชุมวา ในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ ใหเกิดประสิทธิภาพนั้น เห็นควรกําหนดแผนปฏิบัติงานในรอบ 1 ปขึ้น โดยมอบให เลขานุการเปนผูชี้แจง เลขานุการ ไดชี้แจงวา แผนปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ในรอบ 1 ปนี้ จะประกอบไปดวย 2 โครงการที่สําคัญ ไดแก โครงการฝกอบรมซึ่งมีทั้งสมาชิกใหมและ สมาชิกเกา และโครงการประชาสัมพันธงานสหกรณ โดยมีรายละเอียดของแผนปฏิบัติงานปรากฏตาม เอกสารหนา……….จึงขอใหที่ประชุมพิจารณา มติ เห็นชอบใหมีการดําเนินการตามแผนได และมอบใหผูที่รับผิดชอบในแตละ โครงการ จัดทํารายละเอียดเสนอใหที่ประชุมคราวหนาพิจารณาตอไป 4.2 โครงการสัมมนาคณะกรรมการดําเนินการประจําป 2548 ประธานฯ แจงวา โครงการสัมมนาคณะกรรมการดําเนินการประจําป 2548 เปนงานปกติที่ จะตองดําเนินการเปนประจําทุกป โดยมอบใหเลขานุการเปนผูชี้แจงรายละเอียด เลขานุการ ไดชี้แจงรายละเอียดดังนี้ 1. หัวขอสัมมนา “การบริหารงานของคณะกรรมการดําเนินการ” มีเนื้อหาเกี่ยวกับ บทบาท หนาที่ของคณะกรรมการแตละคณะของสหกรณ บรรยายโดยวิทยากรจากชุมนุมสหกรณออมทรัพย แหงประเทศไทย จํากัด 2. กําหนดจัดขึ้นในวันที่ 20 – 21 มิถุนายน 2548 ณ หองประชุมของสหกรณ 3. คาใชจาย ไมเกิน 50,000 บาท โดยใชจากงบประมาณรายจายประจําปซึ่งไดรับอนุมัติ จากที่ประชุมใหญแลว โดยมีรายละเอียดตามเอกสารประกอบ หนา…….. มติ เห็นชอบ และใหเสนอคณะกรรมการดําเนินการพิจารณา

111


112

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

4.3 การจัดสวัสดิการเพิ่มเติมในกับสมาชิก ประธานฯ แจงวามีเรื่องที่คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ ชุดกอนไดพิจารณาคางไว ไดแก การใหสวัสดิการกับสมาชิกเมื่อมีอายุครบ 60 ป โดยมอบใหผูจัดการ เปนผูชี้แจงรายละเอียด ผูจัดการ ชี้แจงวาสวัสดิการดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อที่จะตอบแทนใหกับผูที่เปนสมาชิก จนกระทั่งมีอายุถึง 60 ป โดยมีหลักเกณฑดังนี้ เปนสมาชิก 10 ป แตไมถึง 15 จายให 5,000 บาท เปนสมาชิก 15 ป แตไมถึง 20 จายให 7,000 บาท เปนสมาชิก 20 ป แตไมถึง 25 จายให 9,000 บาท เปนสมาชิก 25 ป ขึ้นไป จายให 11,000 บาท ที่ประชุมไดพิจารณากันอยางละเอียด โดยพิจารณาถึงเปนความเปนไปไดทาง การเงินของ สหกรณ วาจะตองไมเปนภาระแกสหกรณในระยะยาว จึงขอใหฝายจัดการศึกษาขอมูลแลวนํามา เสนอตอที่ประชุมอีกครั้งหนึ่ง มติ เห็นชอบ ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเสนอเพื่อทราบ เลขานุการ แจงวาในปจจุบันสหกรณไดรับหนังสือเชิญใหรวมเขาอบรม-สัมมนา จากหนวยงานตางๆ อยูเสมอๆ หากจะตองนํามาเสนอในที่ประชุมทุกหลักสูตรเกรงวาจะเปนการทํา ใหเสียเวลาการประชุมและสิ้นเปลืองวัสดุการพิมพ จึงขอหารือวิธีปฏิบัติในเรื่องนี้ดวย ที่ประชุมพิจารณาแลว เห็นควรใหฝายจัดการไดรวบรวมรายชื่อของหนวยงานที่มี หนังสือเชิญใหสหกรณเขารวมอบรม-สัมมนา มาใหที่ประชุมไดพิจารณาในคราวหนา เพื่อจะได กําหนดวิธีปฏิบัติตอไป มติ เห็นชอบ ระเบียบวาระที่ 6 เรื่องอื่นๆ (ถามี) ไมมี จากนั้นประธานไดกลาวปดประชุม เลิกประชุมเวลา 16.00 น.

(ลงชื่อ)…………………………..ประธานในที่ประชุม (ลงชื่อ).………………………….กรรมการ (ลงชื่อ)…………………………..ผูบันทึกรายงานการประชุม


บรรณานุกรม

บรรณานุกรม กรมสงเสริมสหกรณ. 2544. สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการในเรื่องอุดมการณ หลักการ และ วิธีการสหกรณเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2544 ณ หองประชุมกองฝกอบรม ถนนพิชัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ (เอกสารโรเนียว) กรมสงเสริมสหกรณ. 2546. จะจัดตั้งสหกรณไดอยางไร. เอกสารเผยแพรหมายเลข กส 17/2546. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. กรุงเทพฯ. จุมพล ชละเอม. แนวทางการจัดประชุมในสหกรณ. เอกสารอัดสําเนา เดนพงษ พลละคร. ธันวาคม 2531–มกราคม 2532. “การพัฒนาผูใตบังคับบัญชา”, วารสารเพิ่ม ผลผลิต. ปที่ 28. กรุงเทพฯ. น. 20-25 ดํารง ปนประณต. 2541. วิเคราะหหลักการสหกรณ Rochdale ของ G.J.Holy Aake เอกสารประกอบการสอนวิชา ศส. 517 วิเคราะหหลักและปรัชญาสหกรณ. มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม. ประวีณ ณ นคร. การประชุม. เอกสารอัดสําเนา ธนู กุลช. 2523 เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “มนุษยพฤติกรรมและการเรียนรูในการฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตร การบริหารงานฝกอบรม. พิสิฏฐ โคตรสุโพธิ์. 2548. ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกและปรัชญารวมสมัย : การแปลงปรัชญาสู แนวปฏิบัติ. เอกสารประกอบคําสอน วิชา พภ.511 หลักสูตรพัฒนาภูมิ สังคมอยางยั่งยืน มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม พีระศักดิ์ บูรณะโสภณ, 2535 ประมวลบทความ : สหกรณออมทรัพย เลม 6 หนา 92 – 96. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด ไพพรรณ เกียรติโชติชัย, ผศ. 2546 หลักการสัมมนา (Principle of Seminar). พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัทการศึกษาจํากัด. มหาวิทยาลัยแมโจ. 2544 – 2547. รายงานผลการวิเคราะหสหกรณออมทรัพย โครงการผลิตมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรสหกรณ สําหรับนักบริหาร รศ.ดร.อุทัย บุญประเสริฐ. 2540 เทคนิคการนําประชุม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเอส ดี เพรส วีรวุธ มาฆะศิรานนท. 2542 เทคนิคการประชุมอยางมีประสิทธิผล. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด. ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย. เลขานุการกับการประชุม. เอกสารอัดสําเนา สมชาติ กิจยรรยง และดร.อรจรีย ณ ตะกั่วทุง. 2539 เทคนิคการจัดฝกอบรมอยางมีประสิทธิภาพ (ฉบับปรับปรุงใหม). พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น. สุปราณี ศรีฉัตราภิมุข. 2524 การฝกอบรมและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

113


114

คูมือ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ

สุพัฒก ชุมชวย. การดําเนินการประชุมอยางมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) สุเมธ ตันติเวชกุล. 2547. “พระราชปรัชญา พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว” เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา พภ. 512 หลักสูตรหลักสูตรพัฒนาภูมิ สังคมอยางยั่งยืน มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม สํานักราชเลขาธิการ. 2513. ประมวลพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในโอกาส ตางๆ ตั้งแตเดือนธันวาคม 2511 จนถึงเดือนพฤศจิกายน 2512. โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, กรุงเทพฯ. สํานักงาน ก.พ. ฝายฝกอบรม กองวิชาการ 2520. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “นโยบาย ฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตรเจาหนาที่ฝกอบรม, ฝายฝกอบรม, กอง วิชาการ, สํานักงาน ก.พ.,2520 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. 2523. เอกสารประกอบการฝกอบรมเรื่อง “การบริหารงาน ฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตรการบริหารงานฝกอบรม. สํานักงาน ก.พ. 2532. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “กระบวนการฝกอบรม”, การฝกอบรมความรู พื้นฐานดานการฝกอบรม. น. 1 สํานักงาน ก.พ. 2533. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการ ฝกอบรม”, การฝกอบรมหลักสูตรความรูพื้นฐานดานการฝกอบรม. สํานักงาน ก.พ. 2533. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “กระบวนการฝกอบรม”, การฝกอบรม หลักสูตรความรูพื้นฐานดานการฝกอบรม. สํานักงานสภาสถาบันราชภัฎ. 2544. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว นักบริหารจัดการของแผนดิน. บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน). กรุงเทพฯ สหกรณออมทรัพยขาราชการกระทรวงศึกษาธิการ จํากัด. 2547. รายงานกิจการประจําป 2547. กรุงเทพฯ. International Co-operative Alliance, 1996 . Co-operative Agenda 21. ICA Communications Department, Geneva. Switzerland.


ประวัติผูเขียน

115

ประวัติผูเขียน ชื่อ-นามสกุล ดร.รัตนา โพธิสุวรรณ ประวัติการศึกษา - ปริญญาเอก ดานเศรษฐศาสตรเกษตร จาก university of Philippines (UPLI) - ปริญญาโท ดานเศรษฐศาสตรสหกรณ จาก มหาวิทยาลัยแมโจ - ปริญญาตรี ดานการบัญชี (บริหารธุรกิจ) จาก มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูเขียน คาบวิชา 1 ปรัชญาสหกรณ อุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ : การวิเคราะหและการประยุกตใช ชื่อ-นามสกุล ผูชวยศาสตราจารยวันชัย ธนะวังนอย ประวัติการศึกษา - วารสารศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูเขียน คาบวิชา 2 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ศึกษาและประชาสัมพันธ ชื่อ-นามสกุล นายสุพิทยา พุกจินดา ประวัติการศึกษา - วิทยาศาสตรบัณฑิต เศรษฐศาสตรสหกรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูเขียน คาบวิชาที่ 3 การจัดการศึกษาและการฝกอบรมในสหกรณ คาบวิชาที่ 4 องคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสหกรณออมทรัพย และแนวทางการจัดฝกอบรมแกบุคลากรสหกรณ

ชื่อ-นามสกุล นายสุรจิตต แกวชิงดวง ประวัติการศึกษา - เศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาการเงินและการคลัง (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ประกาศนียบัตรวิชาวาความ สภาทนายความแหงประเทศไทย ผูเขียน คาบวิชาที่ 5 การประชุมคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.