ปีที่ 2 ฉบับที่ 21 เดือนพฤษภาคม 2555

Page 14

14 จานร้อนเสิร์ฟด่วน

และเมื่อเริ่มเข้ามา อยู่ในวงการโอเพน ซอร์สแล้ว จะไม่พูด ถึง อาจารย์อัครวุฒิ ตำ�ราเรียง นายก สมาคมศึกษาและ พัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA), ประธาน บริษัท Marvelic Engine Co.,Ltd., หัวหน้าทีมจูมลาลาย ไทย Joomla.or.th, JoomlaCorner.com ฯลฯ ผู้สร้าง แรงบันดาลใจและให้ความรู้กับผู้เขียนแบบไม่หมกเม็ด ทั้ง ที่ผู้เขียนเองก็ไม่เคยเป็นลูกศิษย์ แต่เมื่อผู้เขียนมีปัญหาและ ถามเข้าไปยังบริษัท Marvelic Engine อาจารย์อัครวุฒิ ก็จะมาตอบให้ดว้ ยตัวเองทุกครัง้ ซึง่ หาได้ยากมากทีผ่ บู้ ริหาร ของบริษทั ทีม่ ชี อ่ื เสียงระดับประเทศ (ถ้าในวงการ joomla ก็นบั ได้วา่ ระดับโลกแล้ว) เข้ามาตอบปัญหาให้กบั นักพัฒนา โนเนมด้วยตนเอง จากจุดนีเ้ องทีท่ �ำ ให้ผเู้ ขียนได้ศกึ ษาประวัติ แนวคิด และวิธกี ารทำ�งาน ทัง้ ยังติดตามผลงานของอาจารย์อคั รวุฒิ นับแต่นน้ั มา และค้นพบว่ากว่าอาจารย์จะผลักดันโอเพนซอร์ส มาถึงจุดนีไ้ ด้นน้ั ก็นบั ว่าสาหัสอยูเ่ หมือนกัน (สำ�หรับเรือ่ งราว ของอาจารย์อคั รวุฒสิ ามารถดูเพิม่ เติมได้ท่ี http://influenzer .com/cover/?p=42, http://incquity.com/tv/inside /marvelic-engine, http://akarawuth.com) และ ประเด็นทีส่ �ำ คัญคือความสำ�เร็จต่างๆ นัน้ เกิดจากการได้มา และตอบแทนกลับคืนสูส่ งั คม เป็นการสร้างสังคมแห่งการ แบ่งปัน ซึง่ ในงาน Joomla Day ครัง้ ที่ 5 ทีจ่ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงแรมเอเชีย ทีผ่ เู้ ขียนได้เข้าร่วม นั้น ถือเป็นความจริงเชิงประจักษ์ทย่ี นื ยันคำ�พูดข้างต้นได้ดี

และอย่างน้อยก็ท�ำ ให้หวังใจได้วา่ ธุรกิจทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของ การแบ่งปันนั้นมีอยู่จริง และมีมากกว่าที่เราคิดอีกด้วย … นอกเหนือจากความรู้เกี่ยวกับประสิทธิภาพและ ความสามารถของ Joomla ที่จะนำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อองค์กร รวมถึงความรู้ในด้านการพัฒนาเว็บไซต์ จากผู้เชี่ยวชาญ เช่น คุณภาวุธ พงษ์วิทยภานุ (ผู้บริหาร Tarad.com) คุณปภาดา อมรนุรตั น์กลุ (กรรมการบริษทั redRank) ฯลฯ แล้ว สิ่งที่ได้มาอีกอย่างหลังจากจบงานวัน นั้น ก็คือ “เพราะเป็นผู้ให้มาก่อนจึงจะได้ และเมื่อได้มา แล้ว ก็ต้องส่งต่อให้ผู้อื่นด้วย สังคมจึงจะพัฒนา” อย่างทีเ่ กริน่ ไปแล้วว่า จากควันหลงความประทับใจ ในงาน joomla day จึงได้น�ำ ไปสู่ งานมหกรรมซอฟต์แวร์ โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทยครั้งที่ 11 (OSSFEST) โดย งานนี้จัดขึ้น 2 วัน แต่บรรยากาศจะแตกต่างจากงานแรก ตรงที่เน้นถึงการนำ�เสนอซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สมาในเชิง ธุรกิจเป็นส่วนใหญ่ แต่เนือ้ หาทีไ่ ด้ฟงั มาทัง้ 2 วันนัน้ นับว่า เปิดโลกทัศน์ให้กับผู้เขียนได้มากทีเดียว อาจกล่าวได้ว่า เป็นงานที่สะท้อนความเป็นจริงของวงการโอเพนซอร์สใน บ้านเราได้อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการพัฒนาที่ แม้ว่าจะมีการพัฒนาโอเพนซอร์สในเมืองไทยเป็นสิบ ปีแล้ว (สังเกตุจากครั้งที่จัดงานดูได้) แต่โอเพนซอร์สวัน นี้ก็ยังอยู่ในสภาพทีเ่ รียกว่า “น้�ำ พริกทีย่ งั ไม่ต�ำ ” คือ มีพริก กระเทียม กะปิ หัวหอม ครก สาก พร้อมแล้ว แต่ก็ยังไม่ ได้ตำ�จนเป็นน้ำ�พริกที่กินได้ซักที (สำ�หรับเมืองไทยมีภาวะ แบบนี้แทบทุกเรื่องแหละ มีแต่คนเตรียม ไม่ค่อยจะมีคนตำ�) เพราะผู้ที่จะทำ�งานโอเพนซอร์สได้สำ�เร็จนั้นจำ�เป็นต้องมี opensource thinking คือ ให้สังคม ไม่ยอมแพ้ ทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้ อึดแบบไม่ได้ไม่เลิก รู้จักเรียนรู้ และต่อยอด และทีส่ �ำ คัญต้องรูจ้ กั หาทางออกให้กบั ปัญหา ไม่ใช่เอาปัญหามานั่งคุยกันเฉยๆ ส่วนผู้ใช้โอเพนซอร์สก็


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.