ประสบการณ์ของเกาหลีในการปราบปรามองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ

Page 1


โครงการเสวนาเพื่อพัฒนาองคกรอัยการ (ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖)

“ประสบการณของเกาหลีในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ” (The Korean Experiences in Tackling Transnational Organized Crime)” โดย

Mr. Joonmyung Lee พนักงานอัยการ ชวยราชการ ทำเนียบประธานาธิบดี สาธารณรัฐเกาหลี วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ หองประชุม ๙๐๑/S๓ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์

จัดโดย สำนักงานคดีอาญา สำนักงานวิชาการ สำนักงานคดีปกครอง สถาบันพัฒนาขาราชการฝายอัยการ สำนักงานนโยบาย ยุทธศาสตร และงบประมาณ และสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

สำนักงานอัยการสูงสุด



คำนำ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสำนักงานอัยการสูงสุดเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ แบงการดำเนินงานเปน ๔ กิจกรรม โดยกิจกรรมที่ ๔ คือ การประชุมเพื่อถายทอดองคความรูเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงผานระบบการประชุมทางไกลผานสื่ออิเลคทรอนิกสเปนกิจกรรมที่ ตอเนื่องจากโครงการเสวนาเพื่อพัฒนาองคกรอัยการในปงบประมาณ ๒๕๕๕ ซึ่งมี หน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบร ว มกั น คื อ สำนั ก งานคดี อ าญา สำนั ก งานคดี ป กครอง สำนักงานวิชาการ สถาบันพัฒนาขาราชการฝายอัยการ สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สาร และสำนั ก งานนโยบาย ยุ ท ธศาสตร และงบประมาณ โดยมี วัตถุประสงคสำคัญเพื่อสรางบรรยากาศทางวิชาการใหองคกรอัยการเปนองคการ แหงการเรียนรู (Learning Organization) โดยที่สังคมในโลกยุคโลกาภิวัตนที่ พัฒนาเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งมิติดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย และเทคโนโลยี หน ว ยงานและองค ก รจึ ง มี ค วามจำเป น ต อ งติ ด ตามและเรี ย นรู การเปลี่ ย นแปลงของสั ง คม รวมทั้ ง การปรั บ ตั ว และพั ฒ นาเพื่ อ รองรั บ การ เปลี่ยนแปลงดังกลาวตลอดเวลา การดำเนินกิจกรรมเสวนาครั้งนี้เปนครั้งที่ ๑ หนวยงานที่รับผิดชอบไดเชิญ Mr. Joonmyung Lee พนักงานอัยการ ชวยราชการตำแหนงเลขานุการ สำนักงาน ระบบกฎหมายโลกาภิวัตน สภาประธานาธิบดีดานการแขงขันแหงชาติ ทำเนียบ ประธานาธิบดี สาธารณรัฐเกาหลี มาบรรยายและรวมเสวนากับพนักงานอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุด ในหัวขอ “ประสบการณของเกาหลีในการปราบปราม องค ก รอาชญากรรมข า มชาติ (The Korean Experiences in Tackling Transnational Organized Crime)” ณ หองประชุม ๙๐๑ อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ถนนแจงวัฒนะ และถายทอดระบบ สื่อสารทางไกลผานอินเตอรเน็ต ไปยังสำนักงานอัยการทั่วประเทศ


การบรรยายในหัวขอดังกลาวขางตนทำใหพนักงานอัยการไดทราบระบบ และวิธีการการดำเนินการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติของสาธารณรัฐ เกาหลี ซึ่งเปนระบบที่พนักงานอัยการมีบทบาทสำคัญทั้งการสอบสวนและฟองรอง ดำเนิ น คดี และเป น ระบบที่ ย อมรั บ กั น ในสากลว า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพระบบหนึ่ ง การบรรยายครั้งนี้หนวยงานที่รับผิดชอบรวม โดยสำนักงานนโยบาย ยุทธศาสตร และงบประมาณ ไดถอดเทปการบรรยายเพือ่ จัดพิมพเผยแพร โดยหวังเปนอยางยิง่ วา คำบรรยายฉบับนี้จะเปนประโยชนตอบุคลากรของสำนักงานอัยการสูงสุดที่จะ สามารถเขาใจระบบการดำเนินการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติของ สาธารณรัฐเกาหลีและสามารถนำไปประยุกตใชในการปฏิบตั งิ านอำนวยความยุตธิ รรม อันเปนการพัฒนาองคกรอัยการและประเทศชาติตอไป

(นายจุลสิงห วสันตสิงห) อัยการสูงสุด


โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสำนักงานอัยการสูงสุด เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (โครงการเสวนาเพื่อพัฒนาองคกรอัยการ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖) หัวขอ

“ประสบการณของเกาหลีในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติ (The Korean Experiences in Tackling Transnational Organized Crime)” ............................................... นายภราดร ศรีศุภรางคกุล รองอัยการสูงสุด : เรียนทานอธิบดีอัยการ และผูเขารวมเสวนาทุกทานทั้งที่อยูในหองประชุมแหงนี้และหองประชุมรอยป อาคารรัชดาภิเษกและสวนภูมิภาคผานการถายทอดระบบทางไกลผานอินเตอรเน็ต ผมรูสึกยินดีและเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดมาเปนประธานการเสวนาตามโครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสำนักงานอัยการสูงสุดเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง เปนกิจกรรมที่ ๔ การประชุมเพื่อถายทอดองคความรูเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ผานระบบการประชุมทางไกลผานสื่ออิเล็กทรอนิกส อันเปนกิจกรรมที่ตอเนื่องจาก โครงการเสวนาเพื่อพัฒนาองคกรอัยการในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยได จัดการเสวนาครั้งนี้ในหัวขอ“ประสบการณของเกาหลีในการปราบปรามองคกร อาชญากรรมขามชาติ (The Korean Experiences in Tackling Transnational Organized Crime)” ซึง่ สำนักงานคดีอาญา สำนักงานคดีปกครอง สำนักงานวิชาการ สถาบันพัฒนาขาราชการฝายอัยการ สำนักงานนโยบาย ยุทธศาสตร และงบประมาณ และสำนัพกระพุ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื ไดรวมกันพระพุ จัดขึ้นโดยมี ถุประสงค งานเผยแผ ทธศาสนาเนื ่องในวันมาฆบู่อสาร ชา ประจำป ทธศักวัตราช ๒๕๕๕ สำคัญเพืฉลองพุ ่อการสรทธชยั างบรรยากาศแห นรูทำให ลากรของสำนั นตี ๒๖๐๐ งปการเรี แหงยการตรั สรูบขุคองพระพุ ทธเจกางานอัยการ สูงสุดทั่วประเทศไดมีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยน เรียนรูองคความรูที่ครอบคลุมทุก มิตพิ​ิใมนสั งคม รวมทั้งการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตรอันเปนองคความรูที่สามารถ พเผยแพรโดย : สภาองคกรพระพุทธศาสนาแหงประเทศไทย

บทเจริญพระพุทธมนต

1


นำไปประยุกตปรับใชในการปฏิบัติงานพัฒนาองคกรอัยการได การเสวนาครั้งนี้ คณะผูจัดไดเชิญ Mr. Joonmyung Lee พนักงานอัยการจากสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่ง เคยดำรงตำแหนงอัยการพิเศษฝายคดีองคกรอาชญากรรม ปจจุบันชวยราชการ ตำแหนงเลขานุการ สำนักงานระบบกฎหมายโลกาภิวัตน สภาประธานาธิบดีดาน การแขงขันแหงชาติ และเปนผูที่มีความรูความเชี่ยวชาญในการดำเนินคดีองคกร อาชญากรรมข า มชาติ มาบรรยายให ค วามรู อั น จะทำให พ นั ก งานอั ย การและ บุคลากรของสำนักงานอัยการสูงสุดไดรับทราบประสบการณของพนักงานอัยการ เกาหลีในการดำเนินคดีอาชญากรรมขามชาติ และการดำเนินนโยบายในการตอตาน อาชญากรรมขามชาติของสาธารณรัฐเกาหลี ผมหวังวาผูเขารวมเสวนาทุกทานจะได รับความรูและเรียนรูประสบการณจากทานวิทยากรอันจะเปนประโยชน ในการ ทำงานดานคดีและการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ และเปนการเตรียมความ พรอมของสำนักงานอัยการสูงสุดตอการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งตองขอขอบคุณ ทานวิทยากร Mr. Joonmyung Lee เปนอยางมากที่ใหเกียรติมาบรรยายในวันนี้ และขอขอบคุณการสื่อสารแหงประเทศไทยที่ดำเนินการถายทอดระบบทางไกลผาน อินเตอรเน็ตไปยังสำนักงานอัยการตางๆ ทั่วประเทศ บัดนี้ไดเวลาอันสมควรแลว ผมขอเปดการเสวนาตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสำนักงาน อัยการสูงสุดเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ ขอบคุณครับ นายจุมพล พันธุสัมฤทธิ์ ผูดำเนินการเสวนา : ในฐานะตัวแทนของคณะ ผูจัดการเสวนาขอขอบพระคุณทานภราดร ศรีศุภรางคกุล รองอัยการสูงสุด ที่ให เกียรติมาเปนประธานการเสวนาในครั้งนี้ การเสวนาครั้งนี้เปนกิจกรรมของโครงการ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การสำนั ก งานอั ย การสู ง สุ ด เพื่ อ รองรั บ การ เปลี่ยนแปลง ซึ่งปงบประมาณที่แลวคณะผูจัดไดรวมกันจัดกิจกรรมเสวนาหลายครั้ง ภายใตโครงการเสวนาเพื่อพัฒนาองคกรอัยการ โดยเห็นวาในโลกยุคโลกาภิวัฒนที่ ทุกสิ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงเปนพลวัตตลอดเวลาทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม กฎหมาย และเทคโนโลยี โครงการเราก็ มี วั ต ถุ ป ระสงค ห นึ่ ง ที่ จ ะรองรั บ การ

2


เปลี่ยนแปลงนั้น สำหรับเรื่องอาชญากรรมขามชาติก็เปนเรื่องหนึ่งที่สำคัญที่จะมีการ เปลี่ยนแปลงอยางมาก โดยเฉพาะทุกวันนี้เราไดยินวาจะมีการรวมเปนประชาคม อาเซียน สิ่งตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนในป พ.ศ. ๒๕๕๘ นี้ จะมีการ เปลี่ยนแปลงและกระทบกับเรามาก ซึ่งอาชญากรรมขามชาติจะเปนประเด็นสำคัญ ที่ประชาคมอาเซียนใหความสนใจวาแตละประเทศสมาชิกจะดำเนินการจัดการ อยางไร ทั้งในเรื่องปญหายาเสพติดขามพรมแดน การคามนุษย การลักลอบขนคน ขามถิ่น การฟอกเงิน หรืออาชญากรรมคอมพิวเตอร ในสวนของพนักงานอัยการเรา เกี่ยวของอยางไร หลายๆ ทานที่ทำงานดานคดี อาจเริ่มมีสวนเกี่ยวของตั้งแตการ แกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม.๒๐ โดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่ม เติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๙) พ.ศ. ๒๕๕๑ เกี่ยวกับ ความผิ ด นอกราชอาณาจั ก รที่ อั ย การสู ง สุ ด เป น พนั ก งานสอบสวนผู รั บ ผิ ด ชอบ ซึ่งสามารถมอบหมายใหพนักงานอัยการเปนพนักงานสอบสวนได บางทานก็เคยได รั บ มอบหมายจากอั ย การสู ง สุ ด ให ไ ปทำคดี ค วามผิ ด นอกราชอาณาจั ก รหรื อ คดี อาชญากรรมขามชาติ ยิ่งในปจจุบันสำนักงานอัยการสูงสุดไดเสนอรางพระราช บั ญ ญั ติ ป อ งกั น และปราบปรามการมี ส ว นร ว มในองค ก รอาชญากรรมข า มชาติ ซึ่งกำลังมีการพิจารณาอยู ในรางพระราชบัญญัติดังกลาวจะมีมาตราหนึ่งบัญญัติ คลาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๐ ใหอัยการสูงสุดเปน พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบและสามารถมอบอำนาจใหพนักงานอัยการอื่นเปน พนักงานสอบสวนได ซึ่งเมื่อกฎหมายผานแลวภารกิจและหนาที่ของพนักงานอัยการ เราจะมีเพิ่มมากขึ้นที่ตองเปนพนักงานสอบสวนในคดีอาชญากรรมขามชาติ วันนี้ก็เปนโอกาสดีที่จะมีผูมีประสบการณในการทำคดีองคกรอาชญากรรม ขามชาติมาถายทอดใหเราไดรับรูวาอัยการตางประเทศที่เขาทำคดีอาชญากรรม ขามชาติทำกันอยางไร ทำไดผลอยางไร อันทีจ่ ริงระบบของอัยการเกาหลีเปนทีร่ บั รูว า เป น ระบบที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพไม ใช เ ฉพาะคดี อ าชญากรรมข า มชาติ หลายท า นคง รั บ ทราบว า นั ก การเมื อ งอดี ต ประธานาธิ บ ดี หรื อ ญาติ ข องนั ก การเมื อ งของ

3


ประธานาธิบดีตางก็กลัวอัยการเกาหลีมาก เพราะอัยการเกาหลีไดดำเนินคดีกับ นักการเมืองนักธุรกิจใหญติดคุกมาหลายรายแลว กอนที่จะรับฟงการบรรยายของ ทานวิทยากรก็จะขอแนะนำประวัติทาน ทานเปนอัยการมา ๒๑ ปแลว ทานเคยมี ประสบการณหลากหลาย เคยรับเชิญจากมหาวิทยาลัยเบอรมิงแฮมประเทศอังกฤษ ใหเปนอาจารยรับเชิญอาจารยพิเศษ ๑ ป และเคยปฏิบัติหนาที่เปนผูเชี่ยวชาญ สำนักงานสหประชาชาติดานอาชญากรรมและยาเสพติด (UNODC) เปนเวลา ๒ ป ใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายในยานเอเชียแปซิฟก ทานเคยเปนอดีต อัยการพิเศษฝายคดีองคกรอาชญากรรม และฝายคดียาเสพติด ทานไดสอบสวน ดำเนิ น คดี ค ดี อ าชญากรรมข า มชาติ ห ลายเรื่ อ งและประสบผลสำเร็ จ และได รั บ มอบหมายจากสำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลีใหเปนผูยกรางคูมือการสอบสวนพิเศษ ดานคดีอาชญากรรมขามชาติดว ย ปจจุบันนี้สำนักงานอัยการสูงสุดสงทานใหไปชวย ราชการที่ทำเนียบประธานาธิบดี ดำรงตำแหนงเปนเลขานุการของสำนักงานระบบ กฎหมายโลกาวิวัฒน (Globalization Legal System Bureau) ซึ่งภารกิจที่ทาน ได รั บ มอบหมายในการเดิ น ทางมาประเทศไทยครั้ ง นี้ ก็ คื อ นอกจากจะมาเล า ประสบการณของเกาหลีในการตอตานอาชญากรรมขามชาติใหเราไดฟงในวันนี้ ท า นยั ง ได รั บ มอบหมายภารกิ จ สำคั ญ คื อ ทางทำเนี ย บประธานาธิ บ ดี ส ง ท า นมา ตรวจสอบประเมินโครงการตางๆ ซึ่งรัฐบาลเกาหลีใหความชวยเหลือในภูมิภาค อาเซียน วามีโครงการใดประสบผลสำเร็จบาง สำหรับประสบการณที่เกี่ยวของกับ สำนั ก งานสู ง สุ ด ท า นก็ เ คยเป น ผู ร ว มริ เริ่ ม ดำเนิ น โครงการอั ย การแลกเปลี่ ย น สำนักงานอัยการสูงสุดไทยกับสำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลี มีการสงพนักงาน อั ย การไป ๒ รุ น ไปเรี ย นรู ร ะบบอั ย การเกาหลี ก็ ข อให พ วกเราปรบมื อ ต อ นรั บ Mr. Joonmyung Lee วิทยากรในการเสวนาครั้งนี้ครับ สำหรับการเสวนาก็จะมี พาวเวอรพอยทประกอบการบรรยาย และผมจะเปนผูแปล

4


Mr. Joonmyung Lee :1 สวัสดีครับ ผมรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดมี โอกาสมาพูดคุยเลาประสบการณการทำงานของผมกับพี่นองอัยการไทยในวันนี้ โดย ผมจะพูดเรื่องการดำเนินคดีกับองคกรอาชญากรรมขามชาติเนนที่การติดตามและ ริบทรัพยขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ทานอาจจะสงสัยวาทำไมตองเนนที่การ ติดตามและริบทรัพย กอนที่เราจะรูวาเราจะจัดการกับองคกรอาชญากรรมขามชาติ อยางไร เราควรรูเบื้องหลังความเปนมาขององคกรอาชญากรรมขามชาติกอน

พัฒนาการขององคกรอาชญากรรมขามชาติ

ในสไลดแรกนี้จะเห็นพัฒนาการขององคกรอาชญากรรมขามชาติ ในอดีต สมาชิกขององคกรอาชญากรรมขามชาติจะมีความสัมพันธกันใกลชิด อาจจะเปน คนในตระกู ล เดี ย วกั น เพื่ อ นกั น สมาชิ ก ทั้ ง องค ก รรู จั ก กั น หมด แต ป จ จุ บั น ความสัมพันธจะไมใกลชิดเหมือนในอดีต สมาชิกสวนใหญจะไมรูจักกัน เจานายอาจ จะไมรูจักลูกนองก็ได จะแบงเปนหนวยเปนสวนแยกออกจากกัน สิ่งที่ทำใหองคกร อาชญากรรมขามชาติมาผนึกรวมกันเปนองคกรอาชญากรรมไดก็คือเงินตัวเดียว ที่ทำใหผูกพันกัน ไมใชเปนระบบครอบครัวระบบความสัมพันธสวนตัวซึ่งตางจาก แปลคำบรรยายโดย นายจุ ม พล พั น ธุ สั ม ฤทธิ์ อั ย การผู เชี่ ย วชาญ สำนั ก งานนโยบาย ยุทธศาสตร และงบประมาณ

1

5


อดีต และตัวโครงสรางขององคกรอาชญากรรมขามชาติปจจุบันจะแบงเปนหลาย สวนหลายระบบและมีหลายคนที่เขามารวมในองคกรไมมีอุดมการณในการทำงาน เฉพาะตั ว เงิ น เท า นั้ น ที่ ป ระสานองค ก รเข า ด ว ยกั น และเมื่ อ ได เ งิ น มาองค ก ร อาชญากรรมขามชาติจะไมเอาไปใสบัญชีตัวเอง แตจะเอาไปใสบัญชีคนอื่น หรือไป ลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย หรือตลาดหุน เพื่อซอนเงินที่ไมบริสุทธิ์ องคกร อาชญากรรมสวนใหญจะมีธุรกิจที่ถูกตองตามกฎหมายบังหนา เชน ทำธุรกิจขาย ดอกไมแตเบื้องหลังคาอาวุธ ในอดีตถาสมมุติวาเราจับสมาชิกองคกรอาชญากรรม ขามชาติคนหนึ่งได อาจจะติดตามเครือขายไปถึงตัวใหญหัวหนาองคกรไดเพราะมี ความสัมพันธเชื่อมโยงกัน แตปจจุบันยากที่จะติดตามเครือขายทั้งองคกรเพราะพวก เขาไมรูจักกัน เงินเปนสิ่งที่ผูกโยงพวกเขาเขาดวยกัน โครงสรางองคกรอาชญากรรม ปจจุบันมีผลทำใหไมเกิดทฤษฎีโดมีโน (Domino) คือถาจับสมาชิกองคกรไดคนหนึ่ง ก็จะไมลมไปถึงคนอื่น จับลูกนองไดไมสามารถเชื่อมขึ้นไปถึงหัวหนาใหญขางบนได และถาจับหัวหนาไดก็ไมสามารถสาวลงไปถึงลูกนองขางลางได ประเด็นสำคัญที่วา ทำไมเราตองใหความสำคัญกับการริบทรัพยหรือการติดตามทรัพยสิน ประสบการณ ที่ผมเคยประสานงานคดีกับสำนักงานปราบปรามยาเสพติดสหรัฐอเมริกา (Drug Enforcement Agency (DEA)) DEA เขาก็มีหลักการในการปราบปรามองคกร อาชญากรรมขามชาติวา ตองติดตามทีเ่ งินแลวจะเขาไปถึงเครือขายได และถาเครือขาย โดนตัดกระแสการเงิน องคกรอาชญากรรมขามชาติกจ็ ะแหงเหีย่ วและตายไปในทีส่ ดุ ในสไลดแรกนี้ทานจะเห็นศัพทคำหนึ่ง คือ “Narco-terrorizm” ก็คือการ ก อ การร า ยที่ เ กี่ ย วพั น กั บ การค า ยาเสพติ ด ในอดี ต การก อ การร า ยจะได รั บ การ สนับสนุนการเงินจากองคกรที่ตอตาน โดยเฉพาะองคกรที่ตอตานสหรัฐอเมริกา แต ป จ จุ บั น หลั ง จากเหตุ ก ารณ วั น ที่ ๙ กั น ยายน ๒๐๐๑ (9/11) ที่ ตึ ก เวิ ล ด เ ทรด นิวยอรก การสนับสนุนทางการเงินแกกลุมกอการรายไมสามารถทำไดโดยสะดวก กลุมกอการรายก็ตองหาเงินเองโดยการคายาเสพติด จะเห็นไดตอนที่สหรัฐบุกเขาไป ในอิ รั ก หน ว ยงานที่ มี ส ว นในการรวบรวมประมวลข อ มู ล การข า ว คื อ DEA

6


เพราะ DEA มีการติดตามรูขอมูลเกี่ยวกับเครือขายองคกรกลุมกอการรายในอิรัก และอัฟริกานิสถานเปนอยางดี ปจจุบันองคกรอาชญากรรมที่ดำเนินกิจกรรมมาก ที่สุดจะเกี่ยวกับยาเสพติด

หนวยงานตางๆ ของสาธารณรัฐเกาหลีที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การริบทรัพย

สไลดนี้จะแสดงใหทานเห็นถึงระบบโครงสรางของหนวยงานตางๆ ของ สาธารณรัฐเกาหลีที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการริบทรัพย หนวยงานแรก คือ หนวยงาน สอบสวนทางการเงิน (Financial Investigation Unit (FIU)) ซึ่งเปนหนวยงาน อิสระภายใตการกำกับของคณะกรรมการบริการดานการเงิน (Financial Services Commission) จะรับผิดชอบในการตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินตางๆ เมื่อพบ ธุรกรรมที่ตองสงสัยก็จะรายงานไปที่สำนักงานอัยการสูงสุด หนวยงานที่สองคือ สำนักงานอัยการสูงสุด (Supreme Prosecutors’ Office (SPO)) ที่อยูที่โซล จะทำ หนาที่วิเคราะหธุรกรรมที่ตองสงสัยและตรวจสอบเสนทางการเงิน หลังจากนั้นจะสง ให ส ำนั ก งานอั ย การที่ มี เขตอำนาจดำเนิ น การริ บ ทรั พ ย หน ว ยงานที่ ส าม คื อ สำนักงานอัยการที่มีเขตอำนาจและพนักงานสอบสวน โดยจะตองทำการสอบสวน เปนสำนวนคดี รวบรวมขอมูลบุคคล ครอบครัว และทรัพยสินที่เกี่ยวของ ซึ่งอาจทำ

7


รวมกับพนักงานสอบสวน ยื่นคำรองใหศาลสั่งยึดอายัดทรัพย และฟองริบทรัพย จะเห็นไดวาในเกาหลีหนวยงานหลักที่มีหนาที่ในการสอบสวนและริบทรัพยของ องคกรอาชญากรรม คือ สำนักงานอัยการสูงสุดซึ่งรวมสำนักงานอัยการในพื้นที่ ตางๆ ที่มีเขตอำนาจดวย

คดี Seven Star

ประสบการณ ที่ ผ มเป น อั ย การมา ๒๑ ป ได ท ำงานคดี เ กี่ ย วกั บ องค ก ร อาชญากรรมขามชาติหลายคดีทั้งคดียาเสพติด คดีคามนุษย สำหรับคดีที่จะนำเสนอ ในวันนี้เปนคดีที่เคยทำมาเมื่อ ๕ ป ที่แลว คือ คดี Seven Star คดีนี้ตัวองคกร อาชญากรรมขามชาติคือ Seven Star มีธุรกิจใหญอยูที่เมืองปูซาน และไดขยาย เครือขายออกไปรวมทั้งขามพรมแดนดวย ธุรกิจสวนมากก็เปนเรื่องคามนุษย การคา ยาเสพติด มีธุรกิจที่เกี่ยวของกับฟลิปปนสเกี่ยวกับการคามนุษย ก็มีการติดตอ สื่อสารกันผานระบบอินเตอรเน็ต พอไดเงินมาก็จะเอาเงินที่ไดจากการคามนุษย คายาเสพติดไปโอนเขาบัญชีของคนเรรอนเปนนอมินี่ ไมใชคนในเครือขาย มีการโอน เงิ น ไปลงทุ น ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ใ นหลายๆ ที่ ร วมทั้ ง ประเทศอื่ น ด ว ย เช น ฟลิปปนส กัมพูชา โดยใชคนในทองถิ่นเปนคนถือสิทธิ์แทน

8


Seven Star เปนองคกรใหญมีหัวหนาชื่อ Mr. Kim และถูกจับมาหลายคดี และหลายครั้งเปนเวลา ๑๐ ป ก็ยังกลับมาทำธุรกิจตอไปได เมื่อเราทราบเบื้องหลัง ของ Seven Star เราคิดวาตองจัดการขั้นเด็ดขาดโดยจัดการที่เงินขององคกรนี้

ในเบื้องตนก็ไดรวบรวมเอกสารตางๆ เพื่อจะดูเสนทางการเงิน ก็ไดเอกสาร ในการสื่อสารการใชโทรศัพท เอกสารทางทรัพยสินการเสียภาษีจากสำนักงาน สรรพากร (NTS) และเอกสารทางการเงินโดยไปขอจากหนวยสอบสวนทางการเงิน (FIU) เอกสารทางดานการเงินสัญญาอื่นๆ อาจจะตองไปขอหมายศาลเพื่อตรวจยึด เอามา นอกนั้นก็เกี่ยวกับที่อยู การเดินทางเขา-ออกประเทศ การเคลื่อนไหวของ สมาชิกในองคกร ขอจากสำนักงานตรวจคนเขาเมือง กระทรวงยุติธรรม

9


สไลดที่ทานเห็นนี้เปนรายละเอียดเกี่ยวกับการวิเคราะหหลักฐานการใช โทรศัพทเรียกวาระบบ i2 ทานจะเห็นวาในสไลดตรงกลางมีเบอรของ Mr. Kim หัวหนาแกง เอาเขาระบบ i2 เสร็จ ระบบจะวิเคราะหเลยวา Mr. Kim สื่อสาร อยางไร กับใครบาง โยงใยไปถึงไหน ในสไลดที่เห็นเปนหนาๆ รอบๆ จะแสดงวามี การสื่อสารโดยถี่ในกลุมเบอรหนาๆ พวกนี้ ซึ่งอาจจะวิเคราะหไดวาเปนระดับหัว หนารอบๆ Mr.Kim ซึ่งในระบบจะโชวออกมาอยางนั้น

จะเห็นวาในสไลดหลังจากที่วิเคราะหมาแลว จะรูวาใครเปนตัวประสานงาน หรือใครเปนตัวการใหญ และสไลดนี้ก็มีการวิเคราะหเสนทางการเงินและธุรกรรม

10


ทางการเงิน โดยระบบ i2 จะวิเคราะหออกมาเลยวาผูที่เกี่ยวของหรือบัญชีธนาคาร ที่เกี่ยวของมีอะไรบาง และก็ระบุชื่อออกมา กอนใชระบบ i2 จะไมทราบวาเงินที่เขา บัญชีมีใครเกี่ยวของบาง นายวิชช จีระแพทย อธิบดีอัยการ สำนักงานวิชาการ: การวิเคราะห ระบบ i2 ดำเนินการโดยหนวยงานใด เปนหนวยงานสอบสวนทางการเงิน (FIU) หรือสำนักงานอัยการสูงสุด Mr. Joonmyung Lee : การวิเคราะหระบบ i2 จะทำโดยเจาหนาที่ของ สำนักงานอัยการ ในสำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลีจะมีเครื่อง i2 อยู ๓-๔ เครื่อง จำนวนหนึ่ ง จะอยู ที่ ส ำนั ก งานอั ย การสู ง สุ ด ที่ ก รุ ง โซล ที่ ศู น ย นิ ติ วิ ท ยาศาสตร (Digital Forensics Center) และอีกหนึ่งตัวจะอยูที่ตางจังหวัด ซึ่งในคดีใหญๆ สำนักงานอัยการสูงสุดที่กรุงโซลจะเปนคนดำเนินการ ในสำนักงานอัยการสูงสุดที่กรุงโซล จะมีหนวยงานหนึ่ง ซึ่งตั้งเมื่อป ๒๐๐๖ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ซึ่งผมก็มีสวนรวมในการกอตั้งก็คือหนวยติดตามริบทรัพยสินที่ไดจาก การกระทำผิด (Assets Trafficking and Illegal Proceeds Forfeiture Unit) ซึ่ง เมื่อป ๒๐๐๖ ผมไดเชิญเจาหนาที่ปราบปรามยาเสพติดของสหรัฐ (DEA) เขามารวม เสนอแนะในการจัดตั้งหนวยงานติดตามริบทรัพยดังกลาวดวย ทำใหเรามีความ เชี่ยวชาญในการตรวจสอบติดตามและริบทรัพย

11


แผนภูมกิ ารวิเคราะหเสนทางการฟอกเงินตามสไลดขา งตนนีจ้ ดั ทำโดยผูเ ชีย่ วชาญ ของหนวยติดตามริบทรัพยสินที่ไดจากการกระทำผิดในสำนักงานอัยการสูงสุด

ในขั้นตอนตางๆ ที่เราจะทำเกี่ยวกับการติดตามทรัพยสินหรือการยึดทรัพย ก็มีหลายขั้นตอน ขั้นตอนแรกก็คือการคำนวณทรัพยสินที่ไดจากการกระทำความผิด อันนี้เปนเรื่องที่ยุงยากที่ทางเราไดเรียนรูจากสำนักงานปราบปรามยาเสพติดของ สหรัฐ วาคำนวณอยางไร และขั้นตอนตอมาก็คือการอายัดบัญชีธนาคาร เพราะถา ไมอายัดโดยรวดเร็วก็จะโอนยักยายถายบัญชี ไมสามารถติดตามได ขั้นตอนอีกขั้น ตอนหนึ่งก็คือการประกาศหามจำหนายทรัพยสินที่เปนอสังหาริมทรัพยซึ่งตองใชคำ สั่งศาล ขั้นตอไปก็คือการยึดทรัพย ในการยึดทรัพยอาจมีรถ มีเงินสด มีพันธบัตร หรือมีทะเบียนใบอนุญาตในการประกอบธุรกิจตางๆ

12


เมื่ อ ยึ ด อายั ด ทรั พ ย ไว แ ล ว ก็ ด ำเนิ น การริ บ ทรั พ ย ต อ ไป ผลที่ สุ ด ของคดี Seven Star ทางเราไดริบทรัพยทั้งหมดจากองคกรอาชญากรรมคืออาคาร ๒ หลัง ซึ่งใชในการประกอบกิจการเกี่ยวกับการคาประเวณี รถ ๕ คันที่เปนเครื่องมือในการ ทำธุรกิจ เงินสดจำนวนหนึ่ง และไดยกเลิกทะเบียนประกอบธุรกิจขององคกรและมี การยึดพันธบัตรหรือหุนบางสวนจากตลาดหุน แตปญหาก็คือวาทรัพยสินอีกจำนวน กวา ๑๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ ที่รูวาอยูนอกประเทศเราไมสามารถติดตามริบได เหตุผลเพราะอะไร จะบอกในสไลดตอๆ ไป นายสัญชัย กรุงกาญจนา อัยการจังหวัดประจำสำนักงานอัยการสูงสุด : จะขอถามทานวิทยากรวาอาคาร ๒ หลัง ที่ริบนั้นตองมีกระบวนการอยางไร ตองริบ โดยคำสั่งศาลหรือไม Mr. Joonmyung Lee : สำหรั บ อาคาร ๒ หลั ง ที่ ริ บ ต อ งผ า น กระบวนการทางศาลซึ่งกฎหมายปราบปรามการคาประเวณี ป ๒๐๐๔ บัญญัติให สามารถริบทรัพยสถานที่ใชประกอบกิจการคาประเวณีได นายวิชช จีระแพทย อธิบดีอัยการ สำนักงานวิชาการ : ในประเทศ สาธารณรัฐเกาหลีมีการริบทรัพยทางแพงหรือไม Mr. Joonmyung Lee : ในเกาหลีไมมีการริบทรัพยทางแพง มีเฉพาะริบ ทรัพยทางอาญา ในคดีนี้ตองดำเนินการริบทรัพยในคดีอาญา ผมอยากจะอธิบายขอ แตกตางในการริบทรัพยสินทางอาญาทั่วไปตามกฎหมายอาญา กับการริบทรัพย กรณี เ ป น ทรั พ ย สิ น ที่ ไ ด จ ากการกระทำผิ ด (proceeds of crime) ก็ คื อ ตาม ประมวลกฎหมายอาญาของเกาหลี จะริ บ ทรั พ ย ไ ด เ ฉพาะทรั พ ย สิ น ที่ เ กี่ ย วข อ ง โดยตรงกับการกระทำผิด แตถาทรัพยสินนั้นเปลี่ยนสภาพไปแลวไมสามารถริบได แตกรณีทรัพยสินที่ไดจากการกระทำผิด จะมีกฎหมายตอตานการฟอกเงินหรือ กฎหมายพิเศษอื่น ซึ่งสามารถริบทรัพยสินที่ไดมาจากการกระทำผิดไดทุกอยางแม จะเปลี่ยนสภาพจากเงินที่ไดจากการกระทำผิดไปเปนอสังหาริมทรัพย รถ หุน หรือ

13


พันธบัตร ก็สามารถริบได ซึ่งการริบทรัพยทุกอยางตองผานกระบวนการทางศาล เพื่อคุมครองสิทธิ์ของจำเลยและผูที่เกี่ยวของกับทรัพยสิน โดยทนายของฝายจำเลย หรือบุคคลที่สามสามารถนำสืบพิสูจนไดวาตัวความของตนเปนผูบริสุทธิ์ไดทรัพยมา โดยสุ จ ริ ต ไม เ กี่ ย วกั บ การกระทำผิ ด หรื อ การฟอกเงิ น แต อ ย า งใด ในเกาหลี ก็ ค ง คลายๆ กับประเทศอื่น คือการดำเนินงานในชั้นพนักงานอัยการเกี่ยวพันกับการ คุมครองสิทธิมนุษยชนมากกวาการดำเนินงานของหนวยงานบังคับใชกฎหมาย

ปญหาอุปสรรคในการดำเนินคดี

สไลด ข า งต น นี้ จ ะแสดงถึ ง ป ญ หาอุ ป สรรคในการจั ด การกั บ องค ก ร อาชญากรรมขามชาติ ประเด็นแรกคือชองวางระหวางเทคโนโลยี ความสามารถของ บุคลากร และอุปกรณเครื่องมือของประเทศที่พัฒนาแลวกับประเทศที่เอื้อตอการ ประกอบธุรกิจขององคกรอาชญากรรม ยกตัวอยาง เชน สหรัฐอเมริกามีความพรอม ของเทคโนโลยีและอุปกรณเครื่องมือมากกวาประเทศที่กำลังพัฒนาอื่นซึ่งองคกร อาชญากรรมจะใชเปนสถานที่ประกอบธุรกิจและเก็บซอนเงิน ประเด็นตอมา คือ ความแตกตางของระบบกฎหมาย ความแตกตางในการ ใชเทคนิคพิเศษในการสอบสวน (Special Technique of Investigation) เชน เทคนิคพิเศษในการสอบสวน ถาเปนที่เกาหลีการแฝงตัวการปฏิบัติการอำพราง (undercover) เขาไปสอบสวนไมสามารถกระทำได แตในสหรัฐอเมริกาสามารถ

14


กระทำไดทั้ง หนวย DEA และ FBI ตางก็ใชกัน แตพยานหลักฐานที่ไดจากการ ปฏิบัติการอำพรางไมสามารถใชไดในเกาหลี และอีกประเด็นคือในเกาหลีมีเฉพาะ การริบทรัพยทางอาญา ในสหรัฐอเมริกามีทั้งริบทรัพยทางแพง ริบทรัพยทางอาญา และริบทรัพยทางปกครองก็ได ในกฎหมายตอตานองคกรอาชญากรรม (Racketeer Influenced and Corrupt Organizations Act (RICO) หรือกฎหมายผูรักชาติ (Uniting and Strengthening America by Providing Appropriate Tools Required to Intercept and Obstruct Terrorism Act of 2001 (PATRIOT Act)) ซึ่งบัญญัติขึ้นหลังเหตุการณ 9/11 ก็สามารถริบทรัพยทางปกครองขององคกร อาชญากรรมหรือองคกรกอการรายได คือเจาหนาที่สามารถริบทรัพยโดยไมตองมี คำสั่งศาลซึ่งเปนภาระขององคกรอาชญากรรมที่ตองพิสูจนทรัพยสินของตนเปน ทรัพยสินบริสุทธิ์ แตในเกาหลีทำไมไดเลย อีกประเด็นหนึง่ ก็คอื การขาดการสือ่ สารระหวางเจาหนาทีท่ รี่ ว มกระบวนการ อาจจะเปนเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย พนักงานสอบสวนกับเจาหนาที่ทางฝาย ตุลาการ เชน อัยการ ศาล ขาดการประสานงานการสรางความเขาใจในการทำคดี นี้ก็เปนปญหา ตัวอยางการประสานงานที่ดีที่ผมพบเห็นระหวางที่ไปศึกษาดูงานที่ สหรัฐอเมริกาเมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๐ ในสำนักงานปราบปรามยาเสพติด (DEA) จะมี หนวยงานยอยคือหนวยปฏิบัติการพิเศษ (Special Operation Division (SOD)) ซึ่งเปนหนวยที่มีเจาหนาที่จากหลายๆ ฝายเขามารวมกันทั้ง DEA ตำรวจ อัยการ เจาหนาที่ทางการทหาร เขามารวมกันทำงานตั้งแตตน มีการสื่อสารประสานงานกัน ในการปฏิบัติการ มีการเปดวิดีโอเห็นภาพปฏิบัติการในขณะเกิดเหตุ มีเหตุการณ หนึ่งที่ DEA สามารถริบเงินสดที่มีการขนมาในรถบรรทุกบริเวณชายแดนเม็กซิโก ได จำนวน ๑๐๗ ลานเหรียญสหรัฐ โดยมีปฏิบัติการรวมของหลายฝายในหนวย SOD และนี่คือตัวอยางและประโยชนของการมีหนวยงานรวม ซึ่งจะขจัดปญหาอุปสรรค ความไมเขาใจระหวางเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมโดยเฉพาะเจาหนาที่ผูบังคับ ใชกฎหมายและฝายอัยการ

15


ในคดี Seven Star ก็มีการใชเทคนิคการสอบสวนพิเศษ คือ การดักฟง โทรศัพท (Wiretapping) และการเคลื่อนยายภายใตการควบคุม (Controlled Delivery) เหมือนกัน ในกฎหมายยาเสพติดของเกาหลีอนุญาตใหทำได ที่ศูนย นิติวิทยาศาสตร สำนักงานอัยการสูงสุด มีอุปกรณไฮเทคติดตั้งอยูในรถบัสใหญ

เมื่อนำรถไปจอดใกลสถานที่เปาหมายสามารถใชเครื่องมือยิงสัญญาณทะลุ ผนังอาคารเขาไปรับฟงบันทึกการสนทนาของเปาหมายในอาคารได พยานหลักฐาน ที่ ไ ด ม าจากการดั ก ฟ ง และการควบคุ ม การส ง มอบ เรานำมาวิ เ คราะห ที่ ศู น ย นิติวิทยาศาสตร แลวใชในการดำเนินคดีริบทรัพยขององคกร หลังจากนั้นไดสง พยานหลั ก ฐานต า งๆให ท างการฟ ลิ ป ป น ส เ พื่ อ ติ ด ตามทรั พ ย สิ น ส ว นที่ เ หลื อ แต ทางการฟ ลิ ป ป น ส ไ ม ส ามารถใช พ ยานหลั ก ฐานที่ ส ง ให ไ ด เ พราะระบบกฎหมาย เทคนิคการสอบสวนที่แตกตางกัน สิง่ ทีเ่ ราทำมาโดยใชเวลาและทรัพยากรจำนวนมาก ก็เปลาประโยชนใชไมไดในตางแดน นี่คือปญหาอุปสรรคหนึ่งในการจัดการกับองคกร ที่มีลักษณะขามชาติ

16


มาตรการตอตานอาชญากรรมขามชาติ

สไลดขางตนแสดงถึงมาตรการตางๆที่เราใชในการตอตานอาชญากรรมขาม ชาติตามประสบการณของเกาหลีโดยเนนที่ความสัมพันธกับอาเซียนวามีอะไรบาง โดยเฉพาะในเรื่องเกี่ยวกับการริบทรัพย มาตรการแรกคือการประชุมเจาหนาที่ ประสานงานดานยาเสพติดเพื่อความรวมมือระหวางประเทศ (Anti-Drug Liaison Officials Meeting for International Cooperation) มีการประชุมทุกปตั้งแต ป ๑๙๙๐ (พ.ศ. ๒๕๓๓) โดยสำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลีเปนเจาภาพ ผูเขารวมก็มี ตัวแทนในกลุมอาเซียนและหนวยงานที่เกี่ยวของอีก ๑๗ หนวยงาน ทั้งตัวแทน ประเทศตางๆและองคกรที่เกี่ยวของของสหประชาชาติ กิจกรรมที่ทำคือเพื่อที่จะ ประสานงานความรวมมือระหวางเจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรม เจาหนาที่ ปราบปรามยาเสพติด เจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย ตำรวจ พนักงานอัยการ และมี การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารในระหวางอาเซียนและสมาชิกที่เกี่ยวของ ซึ่งผมก็เคย เปนประธานในการประชุมนี้

17


มาตรการตอไปคือโครงการแลกเปลี่ยนความรูระหวางอาเซียนกับเกาหลี (ASEAN-Korea Knowledge Transfer Programme) โครงการนี้ผมเปนผูมีสวน ริเริ่ม ก็ไดรับการอนุมัติจากอาเซียนในป ๒๐๐๗ มีผูเขารวมโครงการจากหลายฝาย ทั้งพนักงานอัยการและพนักงานสอบสวน กิจกรรมที่ทำก็คือจะมีการสื่อสารโดย ทันทีในพื้นที่ปฏิบัติการ เจาหนาที่ประสานงานและจะมีการแลกเปลี่ยนขอมูลที่ได รับขอมูลขาวสารและเครื่องมือเทคโนโลยีตางๆ และขอมูลที่ไดจากสนามอาจจะสง ไปวิเคราะหที่ศูนยนิติวิทยาศาสตรของสำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลี และสงไปยัง พื้นที่ มีการนำเจาหนาที่ของผูที่รวมโครงการไปฝกอบรมที่ศูนยนิติวิทยาศาสตรที่ สำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลีกลับมาเพื่อมาเปนวิทยากรตอในประเทศนั้นๆ ดวย

โครงการตอไปคือโครงการ APPIC หรือศูนยความรวมมือและขอมูลเอเชีย และแปซิ ฟ ก เพื่ อ การต อ ต า นอาชญากรรมยาเสพติ ด (Asian and Pacific Information and Coordination Center for Combating Drug Crimes) เปน โครงการที่ตอเนื่องมาจากการประชุมเจาหนาที่ผูประสานงานดานยาเสพติด เริ่มใน ป ๒๐๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๓) ซึ่งผมมีสวนในการริเริ่ม มีการทำ MOU ระหวางกัน วัตถุประสงคเพือ่ การรวบรวมและวิเคราะหขอ มูลตางๆ ทีไ่ ดและจัดหาขอมูลขาวสาร พยานหลักฐานไปยังประเทศสมาชิก และสรางความรวมมือในการสอบสวน ปจจุบัน ก็มีเจาหนาที่ปราบปรามยาเสพติดไปทำงานรวมกันที่สำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลี

18


โครงการตอไปคือโครงการแลกเปลี่ยนอัยการ (Prosecutor Exchange Programme (PEP)) ไดเริ่มในป ๒๐๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๓) เปนโครงการที่สำนักงาน อัยการสูงสุดเกาหลีรวมกับสำนักงานยาเสพติดและอาชญากรรมแหงสหประชาชาติ (UNODC) และผานการอนุมัติโดยอาเซียน ผูเขารวมโครงการก็คือพนักงานอัยการ ในกลุมอาเซียนกับสำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลีโดยทางสำนักงานอัยการสูงสุด เกาหลี เ ป น ผู ส นั บ สนุ น โครงการ วั ต ถุ ป ระสงค ข องโครงการคื อ การแลกเปลี่ ย น พนั ก งานอั ย การระหว า งกั น เพื่ อ ไปศึ ก ษาและวิ จั ย ระบบกฎหมายและกลไก กระบวนการตางๆของพนักงานอัยการ และสรางความเขาใจรวมกันในการสอบสวน ระบบดำเนินคดี และแสวงหาแนวทางขจัดอุปสรรคตางๆ ในความรวมมือระหวาง หน ว ยงานกระบวนการยุ ติ ธ รรมข า มพรมแดน จะเห็ น ในสไลด ก อ นหน า นี้ ว า มี โครงการความรวมมือของทางดานผูบังคับใชกฎหมายหลายเรื่อง แตความรวมมือ ระหวางหนวยงานชั้นอัยการและศาลมีนอยเมื่อเทียบกับทางผูบังคับใชกฎหมายหรือ ตำรวจ ผมจึงอยากเห็นความรวมมือของบุคลากรดานอัยการและศาลเพิ่มมากขึ้น ถาทางประเทศไทยจะอนุมัติโครงการนี้ รูปแบบความรวมมือจะเปนวาทางพนักงาน อัยการไทยจะไปปฏิบัติงานชั่วคราวทำงานที่สำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลี และทาง สำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลีก็จะสงคนมาปฏิบัติงานชั่วคราวที่สำนักงานอัยการ สูงสุดไทย สิ่งที่จะทำก็คือรวมกันวิจัยระบบกฎหมาย กลไกมาตรการตางๆ ชั้น พนักงานอัยการวาจะสรางความรวมมือกันอยางไร หลังจากนัน้ ขอมูลนีท้ าง UNODC

19


ก็นำไปรวบรวมและวิเคราะหเพื่อพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศเกี่ยวกับ กระบวนการยุติธรรมหรือระบบอัยการตอไป มาตรการต อ ไปก็ คื อ เครื อ ข า ยหน ว ยงานริ บ ทรั พ ย ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย และ แปซิฟก โครงการนี้ก็เริ่มโดย UNODC โดยการสนับสนุนทางการเงินของสำนักงาน อัยการสูงสุดเกาหลี ผูเขารวมโครงการก็คือประเทศในเอเชียและแปซิฟก กิจกรรมที่ กำลังดำเนินการคือ จะมีการประชุมผูเชี่ยวชาญทางดานริบทรัพยของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก วัตถุประสงคก็เพื่อที่จะแสวงหาความรวมมือระหวาง หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมของประเทศตางๆ เพื่อติดตามและริบทรัพยสิน ขององคกรอาชญากรรมขามชาติ โดยเนนความรวมมือในชัน้ พนักงานอัยการและศาล

สรุป

สไลดสุดทายนี้ผมจะนำเสนอคำถามวาใครคือผูที่ลาหลังในการดำเนินการที่ มีลักษณะขามชาติหรือขามพรมแดน ประสบการณที่ผมทำงานที่ UNODC เห็นวา บรรดาหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมทางดานเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย เจาหนาที่ตำรวจ มีความรวมมือระหวางประเทศที่ใกลชิดกัน แตทางดานตุลาการ ศาลและอัยการ มีความรวมมือระหวางประเทศกันที่นอยกวาทางฝายผูบังคับใช กฎหมายมาก ซึ่งบางครั้งองคกรอาชญากรรมขามชาติจะใชชองวางของฝายทาง ตุลาการที่รวมทั้งอัยการเปนชองวางในการทำธุรกิจประกอบกิจกรรมไดสำเร็จ ในตัว ละครที่เกี่ยวของกับกิจกรรมอาชญากรรมขามชาติในยุคโลกาภิวัฒนที่โลกเริ่มไร

20


พรมแดน มีทั้งตัวองคกรอาชญากรรมขามชาติ เจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย และ ฝายตุลาการที่รวมทั้งอัยการดวย หนวยงานไหนที่ลาหลังที่สุด หรือหนวยงานไหนที่ กาวหนาที่สุด ถาเรียงตามลำดับ ที่กาวหนาที่สุดก็คือ TOC ตัวองคกรอาชญากรรม ขามชาติ ที่กาวหนาอันดับสองคือเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย และกาวหนาสุดทาย ก็คือฝายตุลาการที่รวมทั้งอัยการ สำหรับมาตรการแกไขจะทำอยางไรใหทันองคกรอาชญากรรมขามชาติได สิ่งที่ผมจะนำเสนอก็คือ หนึ่ง จะตองมีการสรางมาตรฐานการวิเคราะหและรับฟง พยานหลักฐานรวมกัน ประสบการณที่เจอก็คือวาการยอมรับฟงพยานหลักฐานมี ระบบที่ตางกันหลายระบบ เชน ที่เกาหลีพยานหลักฐานที่ไดมาจากการสืบสวน สอบสวนตางๆ นำเสนอถึงชั้นศาลรับฟงได พอพยานหลักฐานสงไปที่ฟลิปปนส มาตรฐานในการรับฟงตางกัน เจาหนาที่ฟลิปปนสไมรับฟงพยานหลักฐานในสิ่งที่ ศาลเกาหลี รั บ ฟ ง ทางองค ก รอาชญากรรมข า มชาติ จ ะใช ป ญ หาของระบบ กระบวนการยุติธรรมที่แตกตางกันเปนชองวางในการแทรกแซงเพื่อที่จะหลีกพน จากกฎหมาย สิ่งที่ควรทำคือ สหประชาชาติ (UN) นาจะเปนตัวประสานเพื่อสราง มาตรฐานนี้ขึ้นมา มาตรการตอไปก็คือการแลกเปลี่ยนพยานหลักฐานในศาลซึ่งก็จะคลายๆ กันกับวิธีแรกคือถามีการสรางมาตรฐานเดียวกันก็ควรจะเพิ่มการแลกเปลี่ยนพยาน หลักฐานกันได เชน พยานหลักฐานที่หนวยงานบังคับใชกฎหมายในประเทศหนึ่ง สืบสวนสอบสวนไดมาสามารถแลกเปลี่ยนสงไปใหอีกประเทศหนึ่งเพื่อดำเนินคดี หรือริบทรัพยผูกระทำผิดในอีกประเทศหนึ่งได อันจะไมเสียประโยชนการทำงาน ของกระบวนการยุ ติ ธ รรม สิ่ ง สุ ด ท า ยผมขอสรุ ป ว า หน ว ยงานในกระบวนการ ยุ ติ ธ รรมโดยเฉพาะฝ า ยตุ ล าการคื อ ศาลอั ย การควรสร า งความร ว มมื อ ระหว า ง ประเทศขามพรมแดนใหมากขึ้นทั้งเปนทางการและไมเปนทางการเพื่อเพิ่มความ แข็ ง แกร ง ให ก ระบวนการยุ ติ ธ รรมดี ก ว า ที่ จ ะปล อ ยให ฝ า ยตุ ล าการศาล-อั ย การ เปนชองวางของกระบวนการยุติธรรมใหองคกรอาชญากรรมขามชาติใชประโยชน

21


จากความลาหลังของฝายตุลาการศาล-อัยการได สรุปก็คือเครื่องมือกลไกที่จะจัดการกับองคกรอาชญากรรมขามชาติไดอยาง มีประสิทธิภาพตองมีความรวดเร็ว อันที่จริงเราก็มีความรวมมือในกรอบอนุสัญญา สหประชาชาติ ห ลายฉบั บ ทั้ ง อนุ สั ญ ญาต อ ต า นองค ก รอาชญากรรมข า มชาติ (United Nations Convention against Transnational Organized Crime (TOC)) อนุสัญญาตอตานคอรรัปชั่น (United Nations Convention against Corruption (UNCAC)) และอนุสัญญาเกี่ยวกับการกอการรายที่มีประมาณ ๑๐ ฉบับ เปนความรวมมือในกรอบหนึ่งที่แมจะมีบทบัญญัติเกี่ยวกับความรวมมือทาง อาญาและการสงผูรายขามแดน แตปญหาอุปสรรคคือความซ้ำซอนหรือความลาชา การมีเฉพาะตัวอนุสัญญาแตปราศจากกลไกปฏิบัติที่มารองรับชัดเจนไมเพียงพอที่จะ จัดการกับองคกรอาชญากรรมขามชาติได ในความเห็นของผมจากประสบการณที่ทำงานที่ UNODC ผมเห็นวาเรื่อง งานความรวมมือระหวางประเทศสำนักงานอัยการสูงสุดไทยมีความเชี่ยวชาญมาก เมื่อเทียบกับสำนักงานอัยการสูงสุดเกาหลี ในดานการสงผูรายขามแดน การใหการ ชวยเหลือระหวางประเทศ เทาที่ผมทราบมาในเกาหลีมีคดีสงผูรายขามแดนไมเกิน ๔-๕ คดี แตของไทยมีมากหลายคดี ประสบการณของอัยการไทยจึงดีกวาของ อัยการเกาหลี ทางเกาหลีนั้นบางครั้งอัยการทำคดีหาพยานหลักฐานพอพบวาพยาน หลักฐานหรือผูกระทำผิดหนีขามแดนไปแลว อัยการเกาหลีอาจจะหยุดไมดำเนิน การต อ ก็ อ ยากจะให ท างอั ย การไทยที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในเรื่ อ งนี้ ส อนหรื อ แลก เปลี่ยนกับทางอัยการเกาหลีเกี่ยวกับการทำงานดานความรวมมือระหวางประเทศ ผมก็ขอจบการบรรยายของผมเพียงเทานี้ขอบคุณครับ

ชวงถาม-ตอบ นายวิชช จีระแพทย อธิบดีอัยการ สำนักงานวิชาการ : ปจจุบันองคกร อาชญากรรมมักจะมีกิจกรรมผิดกฎหมายขามพรมแดน เชน เรื่องยาเสพติดมีแหลง จากพมา สมาชิกองคกรในพมาซื้อยาเสพติด แลวสงมาใหสมาชิกที่เปนคนไทยใน

22


ประเทศไทย และสมาชิกคนไทยสงตอไปใหองคกรในเกาหลี ลักษณะอยางนี้เปน อาชญากรรมขามชาติ ถาจับสมาชิกรวมขบวนการไดแลวแตละประเทศตางฟองคดี กั น เอง ซึ่ ง อาจจะทำให ก ารลงโทษขบวนการองค ก รอาชญากรรมข า มชาติ มี ประสิทธิภาพดอยลงได หรือควรจะรวมคดีกันแลวฟองที่ประเทศใดประเทศหนึ่ง เพียงประเทศเดียว การดำเนินการอยางใดในสองวิธีดังกลาวถึงจะมีประสิทธิภาพ ในการปราบปรามองคกรอาชญากรรมขามชาติไดมากกวากัน Mr. Joonmyung Lee เรื่องนี้เปนประเด็นเกี่ยวกับการเลือกสถานที่ ดำเนินคดีที่เหมาะสม หรือที่เรียกวา Choice of Forum to Prosecute ผมเห็นวา ถาเราสามารถเลือกฟองคดีรวมกันไดที่ใดที่หนึ่งที่มีพยานหลักฐานสำคัญแนนหนา จะดี ก ว า จะทำให ไ ด เ ห็ น ภาพของขบวนการและมี ผ ลในการปราบปรามองค ก ร อาชญากรรมขามชาติมากกวา ซึ่งในยุโรปสมาชิกองคการยุติธรรมยุโรป (Eurojust) เขาทำกัน สวนในภูมิภาคนี้คงตองใชเวลา ปญหาในภูมิภาคนี้ที่ตองรีบทำคือการกระชับความรวมมือดานกระบวนการ ยุติธรรม โดยกลไกกฎหมายอาจจะตองมีสนธิสัญญาความรวมมือกอน พอเกิดคดีขึ้น อาจจะตองมีการปฏิบัติการรวมกัน ซึ่งอาจตองทำเปน MOU กำหนดรายละเอียดใน การปฏิ บั ติ ง านของแต ล ะคดี ๆ ซึ่ ง ประสบการณ ที่ ผ มพบป ญ หาอุ ป สรรคคื อ ในป ๒๐๐๗ (พ.ศ. ๒๕๕๐) ขณะผมเปนอัยการพิเศษฝายคดียาเสพติด DEA ของสหรัฐ แจงมาวามีองคกรอาชญากรรมคายาเสพติดและมีเงินบางสวนอยูในบัญชีธนาคารใน เกาหลี ขอใหชวยจัดการริบเงินนั้นใหหนอย ปรากฏวาพยานหลักฐานที่ DEA ไดมา จากการปฏิบัติการอำพรางเขาไปในองคกร พอมาถึงเกาหลีใชไมได ตามที่ผมอธิบาย ไวในเบื้องตนและคดีนั้นก็ไมประสบผลสำเร็จ สิ่งที่ตองทำคือการขจัดความแตกตาง ของระบบกลไก และสรางความรวมมือที่เขมแข็ง พอมีคดีเกิดขึ้นสามารถปฏิบัติการ รวมกันในแตละคดีๆได ผมอยากจะเนนถึงโครงการแลกเปลี่ยนอัยการ (PEP) อีกครั้ง โครงการนี้ สืบเนื่องมาจากโครงการใหญคือโครงการองคการยุติธรรมเอเชีย (AsiaJust) ซึ่ง

23


วัตถุประสงคคือจะสรางความรวมมือโดยเข็มแข็งระหวางหนวยงานกระบวนการ ยุตธิ รรมของแตละประเทศในเอเชีย หรืออาจจะรวมถึงขัน้ ตอนสุดทายคือการรวมกัน เพื่อที่จะสามารถดำเนินคดีรวมกันไดแบบในยุโรป แตในปจจุบันนี้ยังทำไมได คงตอง ใชเวลา สิ่งที่จะทำไดในปจจุบันคือการสื่อสารประสานงานกันโดยทางตรง มีความ รวมมือแบบทวิภาคีที่ใกลชิดกันของในแตละประเทศ นายขวั ญ ชั ย ถวิ ล ลาภ อธิ บ ดี อั ย การ สำนั ก งานคดี เ ยาวชนและ ครอบครัว: ผมเห็นวาปญหาที่สำคัญของการดำเนินคดีอาชญากรรมขามชาติ คือ มาตรฐานการรับฟงพยานหลักฐาน (Standard of Evidence) ของแตละประเทศที่ แตกตางกัน การดำเนินคดีที่มีลักษณะขามชาติใหไดผลดี เราตองพยายามสราง มาตรฐานการรับฟงพยานหลักฐานใหใกลเคียงกัน ซึ่งผมเห็นวาศาลเปนองคกร สำคัญที่ตองเขามามีสวนรวมในการสรางมาตรฐานดังกลาว ถาทางเกาหลีหรือ สหประชาชาติเขามาเปนเจาภาพจัดการประชุมหารือรวมกันหาทางออกในเรื่องนี้ก็ จะเปนประโยชน นางศิริอร มณีสินธุ เลขานุการรองอัยการสูงสุด: มีความเห็นวาการทำเปน MOU นาจะเปนกรอบความรวมมือระดับเบื้องตนเทานั้นเอง ถาจะทำความรวมมือ จริงจังใหไดผลอาจจะตองเกี่ยวกับการแกไขกฎหมายภายในของแตละประเทศให ใกลเคียงกัน ขจัดขอแตกตาง ซึ่งไมแนใจวาเพียงแต MOU จะชวยอะไรไดขนาดไหน Mr. Joonmyung Lee : ผมเห็นวากฎหมายภายในของแตละประเทศ เรื่ อ งอาชญากรรมข า มชาติ โ ดยหลั ก การน า จะอยู ใ นมาตรฐานที่ ใ กล เ คี ย งกั น ถ า ประเทศนั้นเปนสมาชิกของสหประชาชาติและเปนภาคีสมาชิกของอนุสัญญาตอตาน องคกรอาชญากรรมขามชาติของสหประชาชาติ แตในรายละเอียดอาจจะแตกตาง ตางกันขึ้นอยูกับระบบกฎหมายของแตละประเทศ โดยเฉพาะเรื่องการริบทรัพยที่มี ทรัพยสนิ ขามพรมแดนอาจจะมีทางปฏิบตั ทิ แี่ ตกตางกัน การทีจ่ ะมี MOU ระหวางกัน ที่กำหนดการปฏิบัติที่ชัดเจนก็จะงายตอผูปฏิบัติงานในการประสานความรวมมือกัน เชน เกาหลีกับไทยทำ MOU เรื่องการริบทรัพยของอาชญากรรมขามชาติ เมื่อมีคดี

24


เกิดขึ้นจะริบทรัพยสินขององคกรอาชญากรรม อัยการจากไทยคนหนึ่ง อัยการจาก เกาหลีคนหนึ่งก็มารวมกันทำงานสอบสวนหาขอมูล ไดขอมูลพยานหลักฐานก็มา แชรกัน รวมกันสอบสวนรวมกันดำเนินคดีในศาล ถาดำเนินคดีในศาลสำเร็จ และมี การริบทรัพยไดอาจจะมีการดำเนินการโอนกลับไปใหอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งถามี MOU ระหวางกันก็ชวยทำใหทำงานรวมกันไดงายขึ้นและผมก็คิดวาความรวมมือของเจา หนาที่ฝายตุลาการดานอัยการจะงายกวาความรวมมือระหวางศาล การที่จะใหศาล ไปนั่งคุยกันเรื่องระหวางประเทศนาจะยากกวา นายจุมพล พันธุสัมฤทธิ์ ผูดำเนินการเสวนา: ผมขออนุญาตใหขอมูลและ เสริมความเห็นของ Mr. Lee หนอยครับ วาปจจุบันสำนักงานอัยการสูงสุดไทยและ สำนักงานอัยการสูงสุดสาธารณรัฐเกาหลีมี MOU ระหวางกัน โดยลงนามกันเมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเปนความรวมมือระหวางอัยการในกรอบกวางๆ ถาจะมีความรวม มือในรายละเอียดทางปฏิบัติงานรวมกัน ในมุมมองของไทยอาจจะเกี่ยวของกับ หนวยงานอื่นในกระบวนการยุติธรรมของไทยดวย คงตองใชเวลาพูดคุยและศึกษา กันอีกระยะหนึ่ง ครับขณะนี้ก็ครบกำหนดเวลาการเสวนาตามที่เราตกลงกับการ สื่อสารแหงประเทศไทยที่ไดดำเนินการถายทอดการเสวนาผานระบบอินเตอรเน็ตไป ยังสำนักงานอัยการตางๆแลว สุดทายผมก็ขอขอบคุณผูเขารวมเสวนาทุกทานที่รวม การเสวนากับเราตลอด และขอประชาสัมพันธกิจกรรมการเสวนาเพื่อพัฒนาองคกร อัยการวาปงบประมาณนี้มีโครงการที่จะจัดทั้งหมด ๖ ครั้ง ครั้งตอไปสำนักงานวิชา การรับจะเปนเจาภาพหลักจัดในหัวขอ บทบาทของพนักงานอัยการในการดำเนินคดี ปุยปลอม กำหนดวันเวลาที่แนนอนจะประชาสัมพันธอีกครั้งครับ ทายที่สุดก็ขอ กราบเรียนเชิญทานภราดร ศรีศุภรางคกุล รองอัยการสูงสุด มอบของที่ระลึกใหแก วิทยากรดวยครับ ขอบคุณครับ -------------------------------------------------------

25


ภาพกิจกรรมประกอบการเสวนา

26


27


28



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.