
ห้องพักที่เป็นประเภทของ Pool Villa เนื่องจากมีระบบที่
ไม่ซับซ้อน โดยสระว่ายน้าระบบนี้จะนาน้าไปบาบัด โดย
ผ่านช่องด้านข้างของผนังสระ ทาให้ผิวน้าอยู่ในระดับต่า
กว่าพื้นรอบสระประมาณ 3-5 เซนติเมตร ระบบนี้ไม่ต้องมี
ถังพักน้า( Surge Tank) ท าให้ประหยัดน้า และราคาค่า
ก่อสร้างกว่าระบบ Over Flow

รูปภาพที่71 แสดงลักษณะการทางานของสระว่ายน้าระบบ skimmer
ที่มา:https://www.winwinpoolshop.com/
2). ระบบ Over Flow จะใช้กับพื้นที่สระ
ว่ายน้ากลางแจ้งที่เป็นพื้นที่ ที่ทุกคนที่มาเข้าพักสามารถ
มาใช้พื้นที่สระว่ายน้าในส่วนนี้ได้ โดยสระว่ายน้าระบบนี้
จะนาน้าไปบาบัด โดยการให้น้าในสระล้นออกมายังรางน้า
ล้นข้างสระ แล้วนาน้าที่ล้นออกมาไปพักไว้ที่ถังพักน้า( Surge Tank) ก่อนจะปั๊มน้าไปผ่านเครื่องกรองน้าในห้อง
เครื่อง ทาให้ผิวสระว่ายน้าที่ใช้ระบบนี้ดูตึงสวย เพราะอยู่
ระดับเดียวกับพื้นรอบสระ แต่ก็จะสามารถมองเห็นรางน้า
ล้นที่ดูคล้ายกับท่อระบายน้ารอบสระด้วย

รูปภาพที่72 แสดงลักษณะการทางานของสระว่ายน้าระบบ over flow
ที่มา:https://www.winwinpoolshop.com/
บทที่ 5
วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการและผลตอบแทนการลงทุน
5.1
การเลือกที่ตั้งโครงการระดับมหาภาค
แผนที่แสดงกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในแต่ละ ภูมิภาคและจังหวัด ที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุด โดยแบ่ง ออกเป็น 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง และภาคใต้

แผนผังที่17 แสดงกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในแต่ละภูมิภาค
กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
นักท่องเที่ยวสูงอายุชาวออสเตรเลีย เยอรมัน
สหราชอาณาจักร โดยส่วนใหญ่มีระยะเวลาพานักเฉลี่ย
10.72 วันต่อครั้ง นานกว่านักท่องเที่ยวโดยรวม 1.25 วัน
จานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุต่างชาติ 3 อันดับสูงสุด คือ
1.จีน จานวน 823,296 คน
2 มาเลเซีย จานวน 682,367 คน
3.ญี่ปุ่น จานวน 239,378 คน

แผนภูมิที่18 แสดงจานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุต่างชาติ
กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
จานวนผู้สูงอายุต่างชาติที่เข้ามาพานักระยะยาวใน
ประเทศไทย 5 ประเทศสูงสุด คือ
1.ประเทศอังกฤษ ประมาณ 11,500 คน
2.ประเทศสหรัฐอเมริกา ประมาณ 9,000 คน
3.ประเทศเยอรมัน ประมาณ 6,500 คน
4.ประเทศจีน ประมาณ 5,000 คน
5.ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ประมาณ 4,500 คน

แผนภูมิที่19 แสดงจานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุต่างชาติที่พานักระยะยาว
กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
การกาหนดเกณฑ์ในการเลือกที่ตั้งระดับมหาภาค
1) จานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวต่างชาติ
และชาวไทย
2) ด้านการขาดแคลนโครงการลักษณะนี้
3) ด้านรายจ่ายต่อหัว
4) ด้านการเข้าถึงพื้นที่โครงการ
ตารางที่30 เกณฑ์การเลือกที่ตั้งระดับมหาภาค

หมายเหตุ A=4,B=3,C=1
สรุปคะแนน ภาคเหนือ : 85 คะแนน ภาคกลาง : 93 คะแนน ภาคใต้ : 96 คะแนน ภาคตะวันออก : 95
คะแนน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : 80 คะแนน
สรุปผลจากการพิจารณาการเลือกที่ตั้งระดับ
ภูมิภาค จากคะแนนเกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการระดับ
ภาค คือภาคใต้
5.1.1 การเลือกที่ตั้งโครงการระดับจังหวัด
โดยมีการเลือกจังหวัดที่มีความสามารถพัฒนา
ในอนาคต มีความต้องการโครงการและฐานเศรษฐกิจที่
มั่นคง โดยเลือกมา 5 จังหวัด ได้แก่ 1)ภูเก็ต 2)กระบี่ 3)
พังงา 4)สงขลา 5)สุราษฎร์ธานี

แผนผังที่18 แสดงแผนที่การเลือกที่ตั้งโครงการระดับจังหวัด กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
การกาหนดเกณฑ์ในการเลือกที่ตั้งระดับจังหวัด
1) จานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุ
2) ด้านการคมนาคมการเข้าถึงโครงการ
3) ศักยภาพด้านการแพทย์
4) จานวนคู่แข่ง
จานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุ
จานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุในจังหวัดภูเก็ต คิด
เป็น10% จากจานวนนักท่องเที่ยวสูงอายุที่เข้ามาเที่ยวใน ประเทศ = 4,852 คน
ด้านการคมนาคมการเข้าถึงโครงการ
เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่
คนไทยและต่างชาตินิยมไป จึงทาให้มีการพัฒนาระบบ
ขนส่งทั้งทางอากาศยาน และระบบขนส่งทางบก ทาให้มี
การเข้าถึงได้ง่ายและสะดวก
ศักยภาพด้านการแพทย์
เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเป็นศูนย์กลางทาง
การแพทย์ตามมาตรฐานสากล ที่ได้รับการยอมรับจาก
ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ผ่านการรับรองจากองค์กร ควบคุมคุณภาพสถานพยาบาลทั้งภายในประเทศ และ ระดับโลก เช่น มาตรฐานความปลอดภัยผู้ป่วย
จานวนคู่แข่ง
เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตนั้นยังไม่มีโครงการที่
รองรับเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวสูงวัย จึงทาให้ไม่มีคู่แข่งใน
การลงทุน ทาให้มีความเป็นไปได้น้อยในการแย่งกลุ่ม ลูกค้าผู้สูงอายุ
จังหวัดภูเก็ตมีศักยภาพและมีความต้อง
เหมาะสมในการตั้งโครงการ โดยมีจานวนนักท่องเที่ยว
สูงอายุเป็นจานวนมาก และมีความมั่นคงทางด้าน
เศรษฐกิจในด้านการท่องเที่ยวและรีอสอร์ทที่พัก และเป็น
ศูนย์กลางทางการแพทย์ตามมาตรฐานสากล
ตารางที่31 เกณฑ์การเลือกที่ตั้งระดับจังหวัด

หมายเหตุ A=4,B=3,C=1
สรุปคะแนน ภูเก็ต : 94 คะแนน กระบี่ : 80
คะแนน พังงา : 75 คะแนน สงขลา : 80 คะแนน สุ
ราษฎร์ธานี : 66 คะแนน
สรุปผลจากการพิจารณาการเลือกที่ตั้งระดับ
จังหวัด จากคะแนนเกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการระดับ
จังหวัด คือ ภูเก็ต
5.1.2 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ
โครงการรีสอร์ทเพื่อการท่องเที่ยวสาหรับ
ผู้สูงอายุนั้นมีความต้องการที่ตั้งโครงการที่เหมาะสมและมี
ศักยภาพเป็นพื้นที่มีวิวและทัศนียภาพที่สวยงาม ให้
สอดคล้องต่อความต้องการพื้นที่เพื่อการพักผ่อน และยัง
ต้องมีเส้นทางเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวได้โดยง่าย สะดวก
และปลอดภัย
เส้นทางการคมนาคม

รูปภาพที่73 แสดงเส้นทางการคมนาคม
ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
เส้นทางสัญจรหลัก คือถนนหมายเลข 402 ที่
ใช้เชื่อมต่อไปยังจังหวัดใกล้เคียงคือจังหวัดพังงา และเป็น
เส้นทางในการเชื่อมต่อระหว่างเส้นทางสัญจรรองที่ใช้ใน
การท่องเที่ยวภายในจังหวัดภูเก็ต
ความหนาแน่นของประชากร
โดยจะกระจุกตัวกันอยู่บริเวณตัวเมือง
ภูเก็ต และบริเวณหาดป่าตอง ซึ่งเป็นชุมชนและย่านธุรกิจ
ภาคเอกชน ทั้งห้างร้าน โรงแรม รีสอร์ท และสถานที่
ราชการ สถานที่สาคัญทางศาสนา สถานศึกษา พื้นที่ส่วน
ใหญ่จะประกอบธุรกิจโรงแรมและที่พัก ในบริเวณที่การ
เติบโตของระบบเศรษฐกิจ มีแนวโน้มการขยายตัว
เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยว
ชาวไทยและชาวต่างชาตินิยมไปกันเป็นจานวนมาก ธุรกิจ
โรงแรมและที่พัก จึงมีการเติบโตได้ดีในพื้นที่บริเวณนี้
ในการวิเคราะห์เลือกที่ตั้งในจังหวัดภูเก็ต
ได้ทาการเลือกพื้นที่ริมทะเลมาเพื่อการพิจรณา ซึ่งพื้นที่ริม


มีปริมาณของที่พักที่เป็นคู่แข่งกับ
โครงการอยู่ในระดับปานกลาง และยังอยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ
เป็นพื้นที่พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
หนาแน่นปานกลาง และหนาแน่น้อย และเป็นพื้นที่
อนุรักษ์สภาพแวดล้อมและการท่องเที่ยว

รูปภาพที่75 พื้นที่บริเวณชุมชน 1
ที่มา:https://www.google.com/

รูปภาพที่76 พื้นที่บริเวณชุมชน 2
ที่มา:https://www.google.com/
Zon 2 มีปริมาณของที่พักที่เป็นรีสอร์ทค่อน
ข้างน้อย ส่วนใหญ่จะเป็นโรงแรม อยู่ใกล้กับชายหาดและ
แหล่งชุมชน มีพื้นที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและเป็นพื้นที่
ชนบทและเกษตรกรรม

รูปภาพที่77 พื้นที่บริเวณชุมชน 3
ที่มา:https://www.google.com/

รูปภาพที่78 พื้นที่บริเวณชุมชน 4
ที่มา:https://www.google.com/
Zon 3 เป็นบริเวณใกล้กับหาดราไวย์และ
แหลมพรหมเทพ มีปริมาณของที่พักที่เป็นคู่แข่ง
ค่อนข้างมาก และส่วนใหญ่จะเป็นบ้านจัดสรรและรีสอร์ท
มีที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย และ
เป็นพื้นที่อนุรักษ์สภาพแวดล้อมและการท่องเที่ยว

รูปภาพที่79 พื้นที่บริเวณแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ 1
ที่มา:https://www.google.com/

รูปภาพที่80 พื้นที่บริเวณแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ 2
ที่มา:https://www.google.com/
5.1.3 เกณฑ์การพิจารณาการเลือกที่ตั้งโครงการ
1) บริบทและสิ่งแวดล้อม พื้นที่ที่เหมาะ
แก่การลงทุนในการทาโครงการ ต้องเป็นพื้นที่ที่มีขนาด
เพียงพอต่อพื้นที่ความต้องการของโครงการและมี
สภาพแวดล้อมที่ดี มีความเชื่อมโยงกับสถานที่ท่องเที่ยว
ต่างๆ

รูปภาพที่81 บริบทสิ่งแวดล้อมของพื้นที่
ที่มา:https://www.salika.co/
2) เส้นทางการเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวสามารถดึงดูด
นักท่องเที่ยวให้เข้ามาพักได้โดยการพักผ่อนซึมซับกับ ธรรมชาติ โดยการที่สามารถเชื่อมต่อไปยังสถานที่
ท่องเที่ยวต่างๆ เช่น แหลมพรหมเทพ ชายหาดต่างๆ และ เกาะต่างๆภายในพื้นที่

รูปภาพที่82 แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต
ที่มา: https://www.phuketdreamcompany.com/
3) ลักษณะรูปร่างและขนาดของที่ดินเป็น
สิ่งสาคัญ เพื่อให้ตรงตามจินตภาพของโครงการที่คิดไว้ใน
การทาโครงการ และต้องคานึงถึงสิ่งแวดล้อมและบริบท
โดยรอบ
4) ความสะดวกในการเดินทางความ
สะดวกสบายในการเดินทาง เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
ตัดสินใจเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ต้องมีคุณภาพและ
ความปลอดภัย ซึ่งในปัจจุบัน การคมนาคมมีหลายรูปแบบ
เช่น เครื่องบิน เรือ รถไฟ รถยนต์ส่วนตัว และระบบขนส่ง
สาธารณะต่างๆ

แผนผังที่19 ความสะดวกในการเดินทาง
กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
5) ระบบสาธารณูปโภค/สาธารณูปการ
พื้นที่ส่วนใหญ่ต้องมีระบบประปา ไฟฟ้าเข้าถึงในทุกพื้นที่
และสิ่งสาคัญอีกประการหนึ่ง คือสัญญาณโทรศัพท์
อินเทอร์เน็ต นอกจากนี้เป็นการเลือกพื้นที่ตั้งโครงการ
ต้องมีพื้นที่สนับสนุนโครงการอื่นๆอีก เช่น ร้านสะดวกซื้อ
ห้องสรรพสินค้า ตลาด เป็นต้น

แผนผังที่20 ระบบสาธารณูปโภค/สาธารณูปการ
กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
โครงการ
6.) โรงแรมหรือรีสอร์ทที่เป็นคู่แข่ง

แผนผังที่21
1 ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/

แผนผังที่22


รูปภาพที่83 พื้นที่ตั้งโครงการที่ 1
ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
พื้นที่ตั้งโครงการที่ 1
ทาเลที่ตั้ง : ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต
เลขระวาง : 4624 I 2660-03
เนื้อที่รวมประมาณ : 44ไร่ 2งาน 5.8 ตารางวา
ราคาประเมินที่ดิน : 11,500 บาทต่อตารางวา
ผู้ถือครองกรรมสิทธิ์ : เอกชน
อยู่ในเขตที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
ที่ตั้งและอาณาเขต
ด้านทิศเหนือ ติดกับเดอะวิจิตรรีสอร์ท ซึ่งเป็นรีสอร์ทระดับ
5 ดาว
ด้านตะวันออก ติดกับชายหาด และใกล้กับเกาะโหลน
ด้านใต้ ติดกับรีสอร์ทและคอนโดระดับ 4 ดาว
ด้านทิศตะวันตก ติดกับถนนหมายเลข 4024 เป็นถนน 4
เลน
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
อยู่ห่างจากหาดราไวย์และท่าเรือหาดราไวย์ ประมาณ 2.9
กิโลเมตร ห่างจากแหลมพรหมเทพประมาณ 5.2 กิโลเมตร
การคมนาคม
ถนนที่ใช้เป็นทางสัญจรหลักในการเดินทางไปยังโครงการ
คือ ถนนหมายเลข 402 จากนั้นจะใช้ถนนหลวงหมายเลข 4024
เชื่อมไปยังโครงการ
คู่แข่งโครงการ
โดยบริเวณใกล้เคียงจะเป็นที่ตั้งของเดอะวิจิตรรีสอร์ท ซึ่ง
เป็นรีสอร์ทระดับ 5 ดาว และรีสอร์ทอีก2แห่งที่เป็นรีสอร์ทระ
ดับ 4 ดาว เป็นคู่แข่งที่สาคัญในด้านที่พัก แต่จะคนละ
กลุ่มเป้าหมาย
ข้อดีและข้อเสียของพื้นที่ตั้งโครงการ ข้อดี พื้นที่โครงการค่อนข้างห่างจากชุมชน จึงเงียบสงบ มี
พื้นที่ชายหาดส่วนตัว สามารถมองเห็นวิว ทิวทัศน์ของทะเลได้
ข้อเสีย พื้นที่ค่อนข้างห่างจากห้างสรรพสินค้า ร้านค้า หรือสิ่ง
อานวยความสะดวกอื่นๆ

รูปภาพที่84 พื้นที่ตั้งโครงการที่ 2
ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
พื้นที่ตั้งโครงการที่ 2
ทาเลที่ตั้ง : ต.ราไวย์ อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต
เลขระวาง : 4624 I 2658-01
เนื้อที่รวมประมาณ : 15ไร่ 84 ตารางวา ราคาประเมินที่ดิน : 24,500 บาทต่อตารางวา
ผู้ถือครองกรรมสิทธิ์ : เอกชน
อยู่ในเขตที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
ที่ตั้งและอาณาเขต
ด้านทิศเหนือ ติดกับที่ดินเอกชนอื่น และชุมชน
ด้านตะวันออก ติดกับที่ดินเอกชนอื่น
ด้านใต้ ติดกับชายหาด
ด้านทิศตะวันตก ติดกับชุมชน
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
อยู่ห่างจากหาดราไวย์และท่าเรือหาดราไวย์ ประมาณ
1.4 กิโลเมตร ห่างจากแหลมพรหมเทพประมาณ 3.8
กิโลเมตร
การคมนาคม ถนนที่ใช้เป็นทางสัญจรหลักในการเดินทางไปยัง
โครงการ คือ ถนนหมายเลข 402 จากนั้นจะใช้ถนนหลวง
หมายเลข 4024 เชื่อมไปยังโครงการ
คู่แข่งโครงการ โดยบริเวณใกล้เคียงจะเป็นที่ตั้งของชุมชน ไม่มีคู่แข่งที่
เป็นที่พักโรงแรมหรือรีสอร์ท
ข้อดีและข้อเสียของพื้นที่ตั้งโครงการ
ข้อดี พื้นที่โครงการมีพื้นที่ชายหาดส่วนตัว สามารถ
มองเห็นวิวทิวทัศน์ของทะเลได้และไม่ไกลจากสถานที่
ท่องเที่ยวสาคัญ
ข้อเสีย พื้นที่โครงการอยู่ติดกับชุมชน อาจจะไม่่อยสงบ
เท่าไร และห่างจากห้างสรรพสินค้า ร้านค้า หรือสิ่งอานวย
ความสะดวกอื่นๆ

รูปภาพที่85 พื้นที่ตั้งโครงการที่ 3
ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
พื้นที่ตั้งโครงการที่ 3
ทาเลที่ตั้ง : ต.ป่าตอง อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต
เลขระวาง : 4624 I 2070-01
เนื้อที่รวมประมาณ : 13ไร่ 2งาน 89 ตารางวา
ราคาประเมินที่ดิน : 17,000 บาทต่อตารางวา
ผู้ถือครองกรรมสิทธิ์ : เอกชน
อยู่ในเขตที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้
ที่ตั้งและอาณาเขต
ด้านทิศเหนือ ติดกับชายหาด
ด้านตะวันออก ติดกับที่ดินเอกชนอื่น
ด้านใต้ ติดกับที่ดินเอกชนอื่น
ด้านทิศตะวันตก ติดกับรีสอร์ทระดับ 5 ดาว
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
อยู่ห่างจากหาดป่าตองประมาณ 4 กิโลเมตร ห่างจาก
แหลมพรหมเทพประมาณ 20 กิโลเมตร
การคมนาคม
ถนนที่ใช้เป็นทางสัญจรหลักในการเดินทางไปยัง
โครงการ คือ ถนนหมายเลข 402 จากนั้นจะใช้ถนนหลวง
หมายเลข 4024 เชื่อมไปยังโครงการ
คู่แข่งโครงการ
โดยบริเวณใกล้เคียงจะเป็นที่ดินว่างเปล่า มีรีสอร์ทอยู่
ติดกับที่ตั้ังโครงการอยู่หนึ่งแห่ง เป็นรีสอร์ทระดับ 5 ดาว
เป็นคู่แข่งที่สาคัญในด้านที่พัก แต่จะคนละกลุ่มเป้าหมาย
ข้อดีและข้อเสียของพื้นที่ตั้งโครงการ
ข้อดี พื้นที่โครงการค่อนข้างห่างจากชุมชน เงียบสงบ มี
พื้นที่ชายหาดส่วนตัว สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์ของทะเลได้
ข้อเสีย พื้นที่ค่อนข้างห่างจากห้างสรรพสินค้า หรือสิ่ง
อานวยความสะดวกอื่นๆ
เกณฑ์การให้คะแนนเลือกที่ตั้งโครงการ

ตารางที่32 เกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ
หมายเหตุ A=4,B=3,C=1
สรุปการเลือกพื้นที่ตั้งโครงการ
จากตารางข้างต้น พื้นที่ที่มีความเหมาะสมตามเกณฑ์การ
พิจารณา คือ พื้นที่ตั้งโครงการ 1 ที่ได้คะแนน 93 คะแนน
เนื่องจากมีขนาดที่ดินที่มีความเหมาะสมตรงตามความต้องการ
ของโครงการ และอยู่ในพื้นที่ของแหล่งท่องเที่ยว มีเส้นทาง
เชื่อมโยงกับแหล่งชุมชน และเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยว 5.2 การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

รูปภาพที่86 ที่ตั้งโครงการ
ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
ที่ตั้งและอาณาเขต
ด้านทิศเหนือ ติดกับเดอะวิจิตรรีสอร์ท ซึ่งเป็นรีสอร์ทระดับ 5 ดาว
ด้านตะวันออก ติดกับชายหาด และใกล้กับเกาะโหลน
ทิศใต้ติดกับรีสอร์ทและคอนโดระดับ 4 ดาว
ด้านทิศตะวันตก ติดกับถนนหมายเลข 4024 เป็นถนน 4 เลน
ทาเลที่ตั้ง : ต.ป่าตอง อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต
เลขระวาง : 4624 I 2070-01
เนื้อที่รวมประมาณ : 44ไร่ 2งาน 5.8 ตารางวา(70,743 ตร.ม.)
ราคาประเมินที่ดิน : 17,000 บาทต่อตารางวา
ผู้ถือครองกรรมสิทธิ์ : เอกชน
อยู่ในที่ดินสีเหลืองประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ซึ่ง กฎหมายบังคับให้ใช้ที่ดินได้ไม่เกินร้อยละ15ของที่ดิน ประเภทนี้ได้แต่ละบริเวณดังนั้นจะสามารถใช้ที่ดินในการ ก่อสร้างอาคารได้70,743x15/100 = 10,611.45 ตร.ม.
สรุปพื้นที่อาคาร
1) พื้นที่ส่วนต้อนรับ 210.60
2)พื้นที่ส่วนที่พัก 3,436.20
3)พื้นที่ส่วนบริหารโครงการ 547.95
4)พื้นที่ส่วนสุขภาพ 829.72
5)พื้นที่ส่วนนันทนาการ 1,044.42
6)พื้นที่ส่วนศาสนา 278.20
7)พื้นที่ส่วนห้องอาหารและเครื่องดื่ม 1,109.68
8)พื้นที่ส่วนงานระบบ 261.00
9)พื้นที่จอดรถ 762.00
ดังนั้นจะได้พื้นที่ทั้งหมด 8,479.77 ตร.ม.
(พื้นที่ที่ก่อสร้างได้ 10,611.45 ตร.ม.)
ตารางที่33 องค์ประกอบโครงการ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดิน จากประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เรื่องกาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
จังหวัดภูเก็ต ซึ่งกาหนดให้ พื้นที่บริเวณที่ 1 เป็นพื้นที่ติด
ชายฝั่งทะเล ได้แก่ พื้นที่อาเภอเมืองภูเก็ต พื้นที่อาเภอกะ
ทู้ พื้นที่อาเภอถลาง ซึ่งมีข้อกาหนดดังต่อไปนี้
พื้นที่ในบริเวณที่ 1 ที่วัดจากแนวชายฝั่งทะเลเข้า
ไปในแผ่นดินเป็นระยะ 50 เมตร ให้ทาได้เฉพาะอาคาร
เดี่ยว ชั้นเดียว ที่มีความสูงไม่เกิน 6 เมตร

รูปภาพที่87 แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่
อาคารแต่ละหลัง ตั้งห่างกันไม่น้อยกว่า 4 เมตร ห่างจากเขตที่ดินของผู้อื่นไม่น้อยกว่า 2 เมตร มีที่ว่างกว่า
ร้อยละ 75 ของที่ดินแปลงที่ยื่นขออนุยาต และต้องมี
ระยะห่างจากชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่า 20 เมตร

รูปภาพที่88 แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ 2
กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
และต้องมีระยะร่นจากแนวชายฝั่งทะเลไม่น้อย
กว่า 20 เมตร

รูปภาพที่89 แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ 3 กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
พื้นที่ในบริเวณที่1 และบริเวณที่2 ที่วัดจากแนว
เขตเข้าไปในแผ่นดินระยะ 150 เมตร ให้ทาได้เฉพาะ
อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร และอาคารที่มีพื้นที่
รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันไม่เกิน
2,000 ตร.ม.

รูปภาพที่90 แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ 4
กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
พื้นที่บริเวณที่ 8 ใหมีได เฉพาะอาคารที่มีความสูง
ไมเกิน 23 เมตร เว้นแต เปนโครงสรางที่ใชในกิจการ
โทรคมนาคมที่เปนเสารับสงสัญญาณที่มีความสูงไมเกิน 23 เมตร ตั้งหางจากเขตถนนสาธารณะไมน้อยกวา 60
เมตร แตถ้ามีความสูงเกินกวา 23 เมตร ต้องไดรับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการตามข้อ 13 และต้องตั้งหา
งจากเขตถนนสาธารณะไมน้อยกวา 60 เมตรด้วย รูปภาพที่91 แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ 5

กราฟฟิกโดยธนบดี เยื่องกลาง
ลักษณะทางกายภาพของที่ตั้ง
พื้นที่โครงการเป็นพื้นที่ป่ารกทึบและสวนยาง
มีหญ้าขึ้นสูง ลักษณะของดินเป็นดินลูกรังปนทราย มี
ระดับต่ากว่าพื้นผิวถนน มีเส้นทางการระบายน้าเสีย มีท่อ

รูปภาพที่92 แสดงลักษณะทางกายภาพของที่ตั้ง 1 ที่มา:https://www.google.com/
เส้นทางการคมนาคม

รูปภาพที่94 แสดงเส้นทางการคมนาคม 1
ที่มา:https://www.google.com/
การเดินทางเข้ามายังพื้นที่โครงการนั้น สามารถ
ใช้ได้ 3 เส้นทาง
เส้นทางที่ 1 ใช้ถนนหมายเลข 4024 เลี่ยงตัว
เมืองภูเก็ต ผ่านเซ็นทรัลภูเก็ต เฟสติวัล
เส้นทางที่ 2 ใช้ถนนหมายเลข 4021 จากตัว
เมืองภูเก็ต ตัดเข้าถนนหมายเลข 4024
การเชื่อมโยงกับสถานที่ต่างๆที่อยู่ใกล้กับที่ตั้ง
โครงการ

ที่มา:https://www.google.com/
ระบายน้าสาธารณะอยู่หน้าโครงการ บริเวณถนน
หมายเลข 4024 มีเสาไฟฟ้าแรงสูง และระบบน้าประปาที่
เข้าถึงโครงการ และมีบริเวณพื้นที่ที่ติดกับชายหาด

รูปภาพที่93 แสดงลักษณะทางกายภาพของที่ตั้ง 2
ที่มา:https://www.google.com/

รูปภาพที่95 แสดงเส้นทางการคมนาคม 2
ที่มา:https://www.google.com/
เส้นทางที่ 3 ใช้ถนนหมายเลข 4030 จากนั้น
ตัดเข้าถนนหมายเลข 4024 หรือใช้ถนนหมายเลข 4009
และตัดเข้าถนนหมายเลข 4024 หรือเลี้ยวเข้าซอยไสยวน
และตัดเข้าถนนหมายเลข 4024


รูปภาพที่97 แสดงแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ใกล้กับพื้นที่โครงการ ที่มา:https://www.google.com/
-แหลมพรหมเทพ อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 4.9 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 8 นาที
-หาดราไวย์ อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 2.6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 6 นาที
-แหลมกระทิง อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 15 นาที
-หาดกะรน อยู่ห่าวจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 11 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 17 นาที
-จุดชมวิวกังหันลม อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 9 นาที
-วัดฉลอง อยู่ห่างจากมที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 7 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 11 นาที
-สวนพฤษชาติภูเก็ต อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 7.6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 14 นาที
-ย่านเมืองเก่าภูเก็ต อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 14 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 27 นาที
-หลาดปล่อยของ อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 14.8 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 30 นาที
-จุดชมวิวเขารัง อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ประมาณ 15 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 35 นาที
-หาดป่าตอง อยู่ห่างจากที่ตั้งโครงการ
ทิศทางแดดลมและมลภาวะที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โครงการ

รูปภาพที่98 แสดงทิศทางแดดลมและมลภาวะที่เกิดขึ้น ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
ทิศตะวันออกของที่ตั้งโครงการมีมุมมอง ออกไปยังทะเล และทิศตะวันตกจะติดกับถนน ฝั่งตรงข้าม เป็นชุมชน โดยทิศทางลมจะพัดมาทางทิศตะวันออกเฉียง เหนือ นาพาเอาความเย็นของทะเลมาสู่พื้นที่
ด้านมลภาวะที่มีผลกระทบต่อโครงการมาก
ที่สุด คือมลภาวะด้านเสียง บริเวณหน้าโครงการ จะติดกับ
ถนนสายหลักที่มีรถผ่านตลอด โดยช่วงดเวลาที่มีรถผ่าน
มากที่สุด คือ 07:00-09:00 น. และช่วง 16:00-20:00 น.
เนื่องจาพื้นที่บริเวณนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยว จึงทาให้มีการ
ใช้รถเป็นจานวนมาก
มุมมองที่สามารถมองเห็นจากภายในพื้นที่
โครงการ

รูปภาพที่99 แสดงมุมมองที่สามารถมองเห็นจากภายในพื้นที่โครงการ
ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
-มุมมองทางด้านทิศตะวันออก สามารถ
มองเห็นวิวทิวทัศน์ของทะเล
และมีชายหาด ที่สามารถเดินลงไปเล่นได้
-มุมมองทางด้านทิศตะวันตก จะเป็นถนนและ
ชุมชนบริเวณนั้น
-ส่วนมุมมองทางทิศเหนือและทิศใต้จะเป็นที่
พักและรีสอร์ทอื่น
มุมมองที่สามารถมองเห็นจากภายนอกพื้นที่โครงการ

รูปภาพที่100 แสดงมุมมองที่สามารถมองเห็นจากภายนอกพื้นที่โครงการ ที่มา:https://landsmaps.dol.go.th/
มุมมองที่สามารถมองเห็นอาคารได้ชัดเจนมาก
ที่สุด คือ บริเวณด้านทิศตะวันออกที่ติดกับชายหาด
เหมาะกับการสร้างเป็นส่วนห้องพักและส่วนกลาง ส่วน
บริเวณด้านทิศตะวันตก เหมาะกับการสร้างเป็นพื้นที่ส่วน
หน้าหรือส่วนต้อนรับ สามารถสร้างลักษณะอาคารที่มี
ความโดดเด่นและดึงดูดสายตาผู้คนได้
5.3 การวิเคราะห์งบประมาณและผลตอบแทนการ
ลงทุน
ตารางที่34 รายจ่ายโครงการ

ตารางที่35 SOF COET

ตารางที่36 ค่าใช้จ่ายหลังการก่อสร้าง

ตารางที่37 รายได้ของโครงการ


สูตร P=I/R โดย
P = ระยะเวลาคืนทุน
I = เงินลงทุนสะสม
R = รายได้สะสม
= 10,593756837.30 / 4,155,455,247.13
= 2.55
ระยะเวลาคืนทุน = 2 ปี 6 เดือน
บทที่ 6
ผลงานการออกแบบ
6.1 การนาเสนอการออกแบบครั้งที่ 1
6.1.1 แนวความคิดในการออกแบบ
มาจากพฤติกรรม เป็นการใช้งายในทุกๆฟังชั่น
ที่มาจากพฤติกรรมของผู้สูงอายุ โดยการวิเคราะห์
พฤติกรรมในช่วงวัยว่าต้องการอะไร และนาทุกพฤติกรรม
เข้ามามีส่วนในการที่อยู่ในพื้นที่เดียวกัน ทาให้การใช้งาน
รู้สึกว่าได้ทากิจกรรมทุกๆกิจกรรมอย่างที่ต้องการ ทาให้มี
ความรู้สึกลื่นไหลในการใช้งาน และสามารถมองเห็นผู้อื่น
ทากิจกรรมนั้นๆได้ เพื่อความรู้สึกที่ส่งผ่านถึงกันได้ในทุกๆ
ฟังชั่น ในพฤติกรรมนั้นๆองมาจากทฤษฎีความพึงพอใจต่อ
สิ่งแวดล้อมที่ต้องการที่จะทา และความอยากได้

รูปภาพที่101 แนวคิดในการออกแบบ

รูปภาพที่102 รูปภาพประกอบแนวคิดในการออกแบบ
6.1.2 แนวคิดในการวางผัง
เส้นทางเชื่อมโยงระหว่างโซน เส้นทางสัญจร


เส้นทาง Service Analysis


รูปภาพที่103 รูปภาพประกอบแนวคิดในการวางผัง
6.1.3 Function Diagram





แผนภูมิที่20 Function Diagram
6.2 การนาเสนอการออกแบบครั้งที่ 2
6.2.1 การวิเคราะห์พื้นที่

รูปภาพที่104 การวิเคราะห์ทิศทางการไหลของน้า

รูปภาพที่105 การวิเคราะห์พื้นที่บริเวณโดยรอบ
6.2.2 ผลการออกแบบZoning

รูปภาพที่106 Zoning
6.2.3 ผลการออกแบบ Master Plan

รูปภาพที่107 Master Plan
6.2.4 ผลการออกแบบElevation

รูปภาพที่108 Eleation A

รูปภาพที่109 Eleation B
6.2.5 ผลการออกแบบSection

รูปภาพที่110 Section A

รูปภาพที่111 Section B
6.3.1 ผลการออกแบบMaster Plan

6.3.2 ผลการออกแบบEleation








รูปภาพที่120 Planอาคารสานักงาน

Eleation 1-2

รูปภาพที่122 Eleation 3-4 อาคารสานักงาน

Section A-B

รูปภาพที่124 Planอาคารนันทนาการ รูปภาพที่125 Eleation 1-2 อาคารนันทนาการ


รูปภาพที่126 Eleation 3-4 อาคารนันทนาการ


รูปภาพที่128 Planอาคารส่วนกลาง รูปภาพที่129 Eleation 1-2 อาคารส่วนกลาง


รูปภาพที่130 Eleation 3-4 อาคารส่วนกลาง รูปภาพที่131 Section A-B






36 Plan

37 Eleation1

38 Eleation2 บ้านพักFamiy Villy A











6.3.11 Perspective



















บทที่ 7
สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
7.1 สรุปผลการศึกษา
วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรม ทฤษฎี
ทักษะ ที่ทาให้เกิดความผ่อนคลายทางร่างกายและฟื้นฟู
จิตใจ ศึกษาการออกแบบที่ส่งผลให้ผู้ใช้งานรู้สึกผ่อน
คลาย นามาวิเคราะห์หาข้อมูลในการออกแบบอาคาร
ออกแบบแนวความคิด ที่ตั้ง และพื้นที่ใช้สอย เพื่อหา
แนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมที่พักที่ส่งเสริม
ด้านสุขภาพ โครงการได้มีการออกแบบสถาปัตยกรรม
เพื่อตอบสนองการพักผ่อน โดยออกแบบได้แก่
1.ได้ศึกษารูปแบบกิจกรรมตามพฤติกรรมและความ
ต้องการของผู้สูงอายุ เพื่อนาไปออกแบบพื้นที่รองรับ
กิจกรรมให้เหมาะสมและนาเอาทฤษฎีจิตวิทยามาใช้ควบคู่
ในการออกแบบและนาเอาหลักการการดูแลความปลอดภัย
เข้ามาใช้ใน การเข้า-ออก และรองรับเหตุฉุกเฉิน
2. การออกแบบภายในห้องพัก เน้นการเปิด
โล่งบริเวณห้องนั่งเล่นเพื่อเปิดรับบรรยากาศรอบข้าง
ทางเข้าจะบีบแคบแต่พื้นที่ใช้งานภายในมีขนาดใหญ่ วัสดุ
ผนังปูนทาสีอ่อน วัสดุตกแต่งใช้ไม้ เช่น กรอบหน้าต่าง
บานประตู บันได และเฟอร์นิเจอร์ไม้
3. การออกแบบผัง วางผังแยกโซนของส่วนที่
พักและส่วนบริการออกเพื่อความเป็นส่วนตัวและจากัด
พื้นที่สาหรับคนภายนอกเพื่อไม่ให้รบกวนผู้เข้าพัก ส่วน
บริการผู้เข้าพักมีการกระจายตามจุดต่าง ๆ แบ่งโซน
ห้องพักและมุมมองที่สวยงามตามราคาที่ผู้เข้าพักจ่าย 4. พื้นที่ทากิจกรรมเพื่อสุขภาพ ออกแบบให้
กระจายอยู่ภายในโครงการ ส่วนพื้นที่สุขภาพอยู่กลาง
ระหว่างที่พักกับส่วนต้อนรับ สามารถเดินเชื่อมหากัน
ได้ และมีเจ้าหน้าที่ดูและตลอดการทากิจกรรม
โดยพื้นที่บริเวณนี้จะเน้นความร่มลื่น เป็นธรรมชาติ
เป็นพื้นที่ที่ทุกคนสามารถทากิจกรรมผ่อนคลายและ
บาบัดความเครียด
7.2ข้อเสนอแนะ
บรรยากาศมีความสาคัญมาก เพราะส่งผลถึง
อารมณ์ของผู้เข้าพัก การสร้างบรรยากาศที่น่าจดจาและ
ให้รู้สึกคล้อยตามได้การสร้างประสบการณ์ใหม่ เป็นจุด
ขายที่จะทาให้ผู้คนสนใจเข้าพัก ส่วนของสถาปัตยกรรม
ต้องมีความเป็นเอกลักษณ์สวยงามน่าจดจา มีความเข้า
กับบริบทส่งเสริมบรรยากาศให้น่าพักผ่อน และมีความ
เป็นส่วนตัวของแต่ละหลัง เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวน
จนเกินไปแต่ก็สะดวกในการเข้าถึงบริการต่าง ๆของที่พัก
เพราะความรู้สึกสงบผ่อนคลายส่งผลต่อ สุขภาพทางกาย
และทางใจของผู้เข้าพักเป็นอย่างมากยิ่งมีความเป็นส่วนตัว
มากอัตราราคายิ่งสามารถเพิ่มสูงขึ้น เพราะผู้เข้าพักต้องการ การพักผ่อนโดยปราศจากสิ่งรบกวน รวมถึงถ้ามีมุมมองที่
สวยงามเป็นส่วนตัว มีความเฉพาะก็จะยิ่งได้รับความนิยม ตามไปด้วย
การคิดและวิเคราะห์วิธีการออกแบบไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ
การต่างระดับของอาคาร การสัญจรของผู้สูงอายุ จึงทาให้
เกิดปัญหา
การออกแบบอาคารควรค านึงถึงความปลอดภัยทั้งเรื่อง
อุบัติเหตุ และโรคประจาตัวของผู้สูงอายุ เนื่องโดยโครงการเน้น การทากิจกรรม
บรรณานุกรรม
ข้อมูลสถิติจานวนผู้สูงอายุประเทศไทย ปี 2561 ด้วยระบบ Power Bi , สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 ณ.วันที่ 31
ธันวาคม 2562 กรมกิจการผู้สูงอายุ
สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
(http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic006.php)
ทฤษฎีจิตวิทยากับสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ
(ประภาพร ธาราสายทอง, 2546) ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Salamy1995,อ้างถึงใน ประภาพร ธาราสายทอง, 2546)
บ้านพักคนชรา [Wakatake-no-Mori]
Condoman. 2558. “WAKATAKE-NO-MORI บ้านพักคนชราระดับรางวัลGOOD DESIGN GOLD AWARD 2015
ของญี่ปุ่นJune27, 2017, from http://propholic.com/prop-globe/wakatake-no-mori กรมการท่องเที่ยว. (2557). สถิตินักท่องเที่ยว. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.tourism.go.th/assets/portals/1/ news/1006/1.pdf [สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2561].
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2. กรุงเทพฯ: ส านักงานกิจการโรง
พิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
สมาคมบริหารโรงแรมไทย. (2557). การแบ่งประเภทของโรงแรม. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.sme.go.th/ upload/mod_download/ [สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2561].
สมาคมสปาไทย. (2546). ประเภทสปา. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.thaispaassociation.com/uploads/file/ Spa-Knowledge.pdf [สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2561].
สุดถนอม ตันเจริญ. (2559). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรงแรม. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://cdn.gotoknow.org/ assets/media/files/001/146/400/original_.._2-58_book_HOTEL__30-1-59.pdf?1459230969 [สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2561].
อนุวัฒน์ การถัก. (2561). เอกสารประกอบการสอนการวางผังบริเวณและการออกแบบภูมิทัศน์. มหาสารคาม: โรง
พิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 . (2543). กฎกระทรวง. Retrieved from asa.or.th: https://asa.or.th/wpcontent/uploads/2020/03/
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2559). hss.moph.go.th. Retrieved from hss.moph.go.th:
https://hss.moph.go.th/fileupload/2560-102.pdf
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล .(2559).รายงาน สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558(พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ:อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน).

ประวัติผู้จัดทา
ชื่อนายธนบดี เยื่องกลาง
วัน/เดือน/ปีเกิด : 05 พฤษภาคม 2543
ที่อยู่ 12 หมู่ 15 ตาบลจอหอ อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30310
หมายเลขโทรศัพท์ : 0800017613
Email : 61011110029@msu.ac.th
ประวัติการศึกษา
ระดับประถมศึกษา : โรงเรียนบ้านบุ(ประชารัฐพัฒนา) จังหวัดนครราชสีมา
ระดับประกาศณียบัตรวิชาชีพ : วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
ระดับอุดมศึกษา : สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ประสบณ์การฝึกงาน : กรมโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดอุบลราชธานี
วิทยานิพนธ์ : รีสอร์ทเพื่อการท่องเที่ยวสาหรับผู้สูงอายุ