Commercial World 12/2009

Page 1




CONTENT คลังสมองของนักธุรกิจรุ่นใหม่ Vol.16 / Issue 123 December 2009

www.cwmagazine.com / www.aseanecon.com

COVER STORY

LAOS ขุมทรัพย์ ใหม่แห่งเอเชีย

เชียงของ-บ่อแก้ว

ขณะที่โลกกำลังสะบักสะบอมจากพิษไข้เศรษฐกิจ อันเนื่องจากภาวะวิกฤติ การเงินที่ลุกลามใหญ่โตจนยากจะแก้ ไข แต่ประเทศหนึ่ง ซึ่งอยู่ปลายจมูก ของเรานี่เอง กำลังร่ำรวยขึ้นอย่างเงียบๆ โดยที่ ไม่มี ใครได้ทันสังเกต และใส่ ใจ.............................................................................................................. 25

เมืองคู่แฝดเชื่อมไทย-สปป.ลาว.......... 41

Executive Interview

ศักดิ์ชัย วงศ์มาลาสิทธิ์

อ๊อด พงสะหวัน

ประธานสภาธุรกิจไทย-ลาว “เพื่อลาวด้วยความผูกพัน”......................... 32

ฉีกตำรา สร้างแบงก์ลาวก้าวสู่เอเชีย

พงสะหวันไม่ ใช่แค่ธนาคารที่เรียกให้ลูกค้า มาฝากเงิน เราเป็นธนาคารสะดวกใช้ ใส่ ใจความรู้สึกของลูกค้า โชว์ความทันสมัย ไม่ ใช่เรื่องง่ายที่จะทำให้ คนลาวระดับชาวบ้านยอมรับนำเงิน มาฝากกับธนาคาร แต่พงสะหวันทำให้คน ขุดเงินที่ฝังไว้มาเข้าบัญชีเงินฝากได้.......................... 43

เหมืองแร่ ในสปป.ลาว

อุตสาหกรรมเหมืองแร่เริ่มมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของ สปป.ลาว เนื่องจากการเข้าไปสำรวจ ลงทุน และพัฒนาเหมืองแร่ของทั้งนักลงทุนท้องถิ่น และนักลงทุนต่างชาติ ใน สปป.ลาว รวมถึงการส่งออกแร่ของ สปป.ลาว เพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จนทำให้การลงทุนจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ของ สปป.ลาวสูงเป็นอันดับสองรองจากอุตสาหกรรมพลังงาน......................... 33

ทำไมต้องลงทุนใน สปป.ลาว........................................................ 34 โอกาสและลู่ทางลงทุนใน สปป.ลาว

Cover

Story

-"04

ลาว ส่งเสริมให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนด้านการเกษตร เพื่อให้เกิด การจ้างงานในประเทสมากขึ้น เพราะรายได้ของประชาชนมาจากเกษตรกรรม 61.30% การประกอบอาชีพของคนใน สปป.ลาว ร้อยละ 80 ยังผูกพันกับ ภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก................................................................................... 35

อุปสรรคในการลงทุน

¸¡ £± ¢l ë¡hÁ«h À­À µ¢

° µÈÂ¥ ³¥± ª° ± ª° ­¡ ² ´©Ä iÀ¨£© ´ ­± À ·È­ ² ²§°§´ ¤ ´ ²£À ´ µÈ¥¸ ¥²¡Ã« h ¢² °Á i Ä Á h £°À ¨« ¶È ¶È ­¢¹h ¥²¢ ¡¹ ­ À£² µÈÀ­ ³¥± £È³£§¢ ¶É ­¢h² À µ¢ Æ Â ¢ µÈ Ä¡h¡µ à £Ä i ± ª± À Á¥°Ãªh à ประเทศที่ พู ด ถึ ง นี้ ก็ คื อ ประเทศ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว หรือที่เรียกย่อๆ ว่า “สปป.ลาว” ประเทศที่ มีประชากรเพียง 6 ล้านคน แต่มที รัพยากรธรรมชาติ อ ย่ า งมหาศาล ทั้ ง บนดิ น และ ใต้ดนิ จนนักลงทุนจากทัว่ โลกอดทีจ่ ะชายตา มองไม่ได้ หากไม่เป็นเพราะผูน้ ำของ สปป. ลาว ที่พยายามเปิดประเทศอย่างสุขุม รอบคอบ ด้ ว ยความหวงแหนทรั พ ยากรอั น ล้ ำ ค่ า ป่ า นนี้ สปป.ลาว คงเนื อ งแน่ น ไปด้ ว ย นักลงทุนต่างชาติไปแล้ว และโดยเหตุที่รัฐบาลของ สปป.ลาว ระมั ด ระวั ง ในการเปิ ด รั บ นั ก ลงทุ น จาก ต่างประเทศนี่เอง ทำให้ข้อมูลต่างๆ ของ ประเทศนี้หาได้อย่างยากเย็นยิ่ง เพื่อที่จะเปิด “ขุมทรัพย์” ของ สปป. ลาวให้เป็นที่ปรากฎ นิตยสาร “โลกการค้า”

T24

COMMERCIAL WORLD

ของไทยใน สปป.ลาว........................................................................... 37 Cover

สถานการณ์ที่นั ก ลงทุ น ควรเตรี ย มพร้ อ ม ก่อนการลงทุน........................................................................................ 38 กิจการสำหรับนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ...................................... 39

COMMERCIAL WORLD

25T

Story

³Ä¡ i­ ¥ ¸ à ª ¥²§

คณะทำงาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยการสนับสนุนของ สถานเอกอัครราชทูตไทยประจำ สปป.ลาว ได้ศกึ ษาและจัดทำเอกสาร “คูม่ ือการลงทุน ใน สปป.ลาว” เพือ่ มอบให้กบั สถานเอกอัครราชทูตไทยประจำ สปป.ลาว เพื่อใช้เป็น ข้อมูลและเผยแพร่ให้กับนักลงทุนที่ต้องการ ลงทุนใน สปป.ลาว นิตยสารโลกการค้า เห็นว่าข้อมูลนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ที่สนใจจะติดต่อ ทำการค้า และการลงทุนใน สปป.ลาว เพื่อ ใช้ประกอบการตัดสินใจ จึงขออนุญาตนำ มาเสนอ ณ ที่นี้อีกครั้งหนึ่ง เอกสารดังกล่าว ตั้งคำถามว่า ทำไม ต้องลงทุนใน สปป.ลาว เหตุ ผ ลที่ จู ง ใจให้ นั ก ลงทุ น เข้ า ไป ลงทุนใน สปป.ลาว ประกอบด้วย 1. สปป.ลาว เป็นประเทศที่มีความ อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติและ พลังงานไฟฟ้า ซึ่งเหมาะแก่การเป็นฐาน การผลิตด้านอุตสาหกรรมในอนาคต 2. ไทยและ สปป.ลาว มีความร่วม มือทางการค้าในลักษณะได้ประโยชน์ร่วม ทั้ง 2 ฝ่าย (win-win) มากขึ้นตามลำดับ มีองค์กรของภาคเอกชน ได้แก่ สภาธุรกิจ ไทย-ลาว เป็นตัวเชื่อมระหว่าง 2 ประเทศ ประกอบกับการลงทุนมีธนาคารของไทย ดำเนินการอยู่ในท้องถิ่นหลายแห่ง จึงทำให้ มีแหล่งข้อมูลสนับสนุนข้อมูลการลงทุนได้ดี

T34

¢²¢ ±§ ¸ i² ท่ า นกงศุ ล ใหญ่ ณ แขวงสะหวั น นะเขต เกริ่นให้เห็นถึงภาวะเศรษฐกิจใน ส่วนของ สปป.ลาวปัจจุบันว่า แม้จะมีผล กระทบจากวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ของโลกเช่ น เดียวกับหลายประเทศ แต่ยังคงมีศักยภาพ สูง เนื่องจากที่ผ่านมาระบบเศรษฐกิจของ ลาวค่อนข้างจะมีความมั่นคงมาโดยตลอด นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1992 เป็นต้นมา ที่มีระบบ เศรษฐกิจที่เรียกว่า “จินตนาการใหม่” ซึ่ง รั ฐ บาลเปิ ด โอกาสให้ เ อกชนเป็ น เจ้ า ของ ¸ ­ ´ ² ´ À ££± l ทรัพย์สิน ที่ดินได้ มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ¨¸¥Ã« h Á § ª°«§± °À ระยะต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ถือว่าสามารถ จึ ง ได้ ติ ด ต่ อ ขอสั ม ภาษณ์ คุ ณ อภิ ช าติ ดึ ง ดู ด นั ก ลงทุ น ได้ ดี ทางด้ า นการเมื อ ง เพชรรัตน์ ท่านกงศุลใหญ่ ณ แขวงสะหวัน ภายในของลาวก็ค่อนข้างมีเสถียรภาพ เป็น นะเขต และได้รับเกียรตินำเสนอมุมมอง สิ่งที่นักลงทุนต่างชาติให้ความสนใจ ขณะ เกี่ยวกับ สปป.ลาวด้วยสายตาของนักการ เดียวกันค่าเงินกีบก็ค่อนข้างมีความมั่นคง ต่างประเทศที่คลุกคลีอยู่ในประเทศนี้ เมื่อเทียบกับดอลล่าร์และเงินบาทในช่วง

COMMERCIAL WORLD

3. สาธารณูปโภคใน สปป.ลาว กำลัง อยูร่ ะหว่างการพัฒนาให้ดีขึ้นตามลำดับ มี การพัฒนาเส้นทาง East-West Corridor และ North-South Corridor เป็นประโยชน์ ต่อการส่งผ่านสินค้ามากขึ้น 4. สปป.ลาว ได้ รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษด้ า น ศุ ล กากร (GSP) การตั้ ง ฐานการผลิ ต ใน สปป.ลาว ส่งเสริมโอกาสการส่งออกไปใน ประเทศที่มีตลาดขนาดใหญ่ เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น ได้ 5. การดำเนินงานมีต้นทุนต่ำเนื่อง จากนิคมอุตสาหกรรมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม การพัฒนาในอนาคตจะเกิดการกระจาย ต้นทุน ทำให้ตน้ ทุนและค่าใช้จา่ ยผันแปรถูก

6. สปป.ลาว ตั้ ง อยู่ ท่ า มกลางกลุ่ ม ประเทศอาเซียน และมีพรมแดนติดต่อกับ เวียดนามและจีนตอนใต้ ทำให้ลาวเปลี่ยน วิกฤติเป็นโอกาส จาก Landlocked Country เป็น Land-linked Country เพื่อเป็นทาง ผ่านในการส่งผ่านสินค้าไปที่ท่าเรือดานัง ประเทศเวียดนาม 7. มีสัญญาทวิภาคีที่เอื้อประโยชน์ให้ นั ก ลงทุ น ไทยและลาวให้ มี โ อกาสพั ฒ นา เศรษฐกิจ เนื่องจากได้รับสิทธิพิเศษต่างๆ อาทิ สิทธิพเิ ศษทางการค้า (MFN) สิทธิพเิ ศษ ด้านภาษีศุลกากร (GSP) เป็นต้น

­ ²ªÁ¥°¥¹h ² ¥ ¸ à ª ¥²§ อุตสาหกรรมทีไ่ ทยมีโอกาสและลูท่ าง การลงทุนใน สปป.ลาว จะเป็นอุตสาหกรรม ที่มีปัจจัยความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ เมื่ อ ทำการผลิ ต ใน สปป.ลาว หรื อ เป็ น อุตสาหกรรมที่ไทยสูญเสียความสามารถใน การแข่ ง ขั น อั น เนื่ อ งมาจากไทยสู ญ เสี ย ปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ไปแล้ว เช่น ค่าแรงงานราคาถูก วัตถุดิบ ปั จ จั ย การผลิ ต สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี จ าก ประเทศต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้ อาจจะ เป็ น อุ ต สาหกรรมที่ ผู้ ป ระกอบการไทยมี ความได้เปรียบด้านการจัดการ ความชำนาญ มีเทคโนโลยี และเงินทุน ดังนั้น จึงสามารถพิจารณาโอกาสใน การลงทุนใน สปป.ลาว ได้ดังนี้

ปโภคช่ ว ยเอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ การทำธุ ร กิ จ ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับไฟฟ้า ประกอบกับ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นและไทยยั ง มี แ นวโน้ ม ความต้องการกระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นจึงเป็น โอกาสในการลงทุนของนักลงทุน ­¸ ª²« ££¡À«¡·­ Á£h สปป.ลาว เป็นประเทศทีม่ ที รัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุจำนวนมาก เช่น ถ่านหิน ก๊ า ซธรรมชาติ ดี บุ ก เหล็ ก เงิ น ทองคำ และแร่รัตนชาติ เมื่อแนวโน้มความต้องการ ทรัพยากรแร่ธาตุเพื่อนำไปเป็นวัตถุดิบป้อน เข้าสู่กระบวนการผลิตทั้งในอุตสาหกรรม หนักและอุตสาหกรรมเบามีจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศที่มี

อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ตลาดที่ รองรั บ อุ ต สาหกรรมประเภทนี้ และการ ปรั บ ปรุ ง เส้ น ทางการคมนาคมทำให้ อุ ต สาหกรรมเหมื อ งแร่ มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะ เติบโตขึ้น ­¸ ª²« ££¡ ²£À © £ สปป.ลาวเป็ น ประเทศที่ อ ยู่ ใ นเขต ร้อนชื้น ซึ่งเหมาะต่อการทำอุตสาหกรรม การเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำสวน ยางพารา ยูคาลิปตัส ไม้สัก อ้อย และไม้ กฤษณา ฯลฯ มี พื้ น ที่ เ พาะปลู ก สำหรั บ การเกษตร 50,000ตารางกิ โ ลเมตร หรือ ร้ อ ยละ 21.11 ของพื้ น ที่ ทั้ ง หมด รั ฐ บาล

­¸ ª²« ££¡ ¥± ² สปป.ลาว มี แ ผนการที่ จ ะทำให้ ตนเองเป็น “หม้อไฟแห่งภูมิภาค” โดยมี โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้ำหลาย โครงการ เพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ใช้ ใ น ประเทศและผลิตเพื่อส่งออกและจำหน่าย และการก่ อ สร้ า งจะเริ่ ม แล้ ว เสร็ จ ตั้ ง แต่ ปี 2553 เป็นต้นไป เมื่อเขื่อนเหล่านี้สร้างแล้ว เสร็จ จะทำให้ 95% ของครัวเรือนทัว่ ประเทศ มีกระแสไฟฟ้าใช้ นั่นหมายถึงสาธารณูปโภคมีความสะดวกมากขึน้ และเทคโนโลยี ทีม่ กั จะตามมากับความเจริญของสาธารณู-

COMMERCIAL WORLD

35T



CONTENT คลังสมองของนักธุรกิจรุ่นใหม่ Vol.16 / Issue 123 December 2009

www.cwmagazine.com / www.aseanecon.com Fact

Sheet

¡²À¥À µ¢ ¡ « h§¢ ¥i² À«£µ¢ ª«£± ¯ มูลค่าการค้ารวม 323,375.90 มูลค่านำเข้า 147,065.34 มูลค่าส่งออก 176,310.56 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (29,907.51) 2. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (7,568.64) 3. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (2,964.93) 4. ไดโอดทรานซิสเตอร์ฯ (2,390.54) 5. แผงวงจรพิมพ์ (2,129.75) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (23,347.47) 2. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (16,175.15) 3. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (10,568.13) 4. เครื่องส่งวิทยุโทรทัศน์ (4,373.37) 5. ไดโอดทรานซิสเตอร์ (4,227.16) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. ญี่ปุ่น (19,095.86) 4. สหรัฐฯ (15,926.88) 2. จีน (18,918.76) 5. ไต้หวัน (8,354.50) 3. สิงคโปร์ (16,879.27) 6. ไทย (7,867.11) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. สหรัฐฯ (27,513.26) 4. จีน (15,460.62) 2. สิงคโปร์ (25,786.12) 5. ไทย (8,734.63) 3. ญี่ปุ่น (16,099.42) 6. ฮ่องกง (8,149.77)

ª´  £l ¡ « h§¢ ¥i² À«£µ¢ ª«£± ¯

มูลค่าการค้ารวม 562,651.39 มูลค่านำเข้า 263,247.05 มูลค่าส่งออก 299,404.34 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (46,768.52) 2. เครื่องพิมพ์เครื่องจักรใช้ประกอบในการพิมพ์ (12,977.91) 3. เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับโทรศัพท์ (9,616.04) 4. คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ (4,999.68) 5. ไดโอดทรานซิสเตอร์ (4,853.23) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (1,839.44) 2. เครื่องพิมพ์เครื่องจักรใช้ประกอบในการพิมพ์ (1,219.17) 3. เทปแม่เหล็กคอมพิวเตอร์ (1,021.40) 4. ไดโอดทรานซิสเตอร์ (385.81) 5. อุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับติดต่อ/ป้องกันวงจร (369.55) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. มาเลเซีย (34,430.51) 4. ญี่ปุ่น (21,549.72) 2. สหรัฐ (32,315.86) 5. ไต้หวัน (15,495.56) 3. จีน (31,901.06) 9 .ไทย (8,500.04) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. มาเลเซีย (38,611.83) 4. จีน (28,924.32) 2. ฮ่องกง (31,345.51) 5. สหรัฐฯ (26,205.01) 3. อินโดนีเซีย (29,471.44) 7. ไทย (12,388.30)

2. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (15,585.53) Ä ¢ ¡ « h§¢ ¥i² À«£µ¢ ª«£± ¯ 3. อัญมณีและเครื่องประดับ (8,270.07) มูลค่าการค้ารวม 356,998.5 4. น้ำมันสำเร็จรูป (7,913.19) มูลค่านำเข้า 179,223.3 5. แผงวงจรไฟฟ้า (7,241.30) มูลค่าส่งออก 177,775.2 ประเทศที่นำเข้า (ที่สำคัญ) สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. ญี่ปุ่น (33,534) 4. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (11,152) 1. น้ำมันดิบ (30,159.78) 2. จีน (20,156) 5. มาเลเซีย (9,726) 2. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ (12,880.86) 3. สหรัฐฯ (11,423) 3. เหล็ก เหล็กกกล้าและผลิตภัณฑ์ (13,759.10) ประเทศที่ส่งออก (ที่สำคัญ) 4. เคมีภัณฑ์ (12,644.50) 1. สหรัฐฯ (20,275) 4. สิงคโปร์ (10,115) 5. เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (10,742.87) 2. ญีป่ นุ่ (20,094) 5. ฮ่องกง (10,046) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 3. จีน (16,191) 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (18,384.16)

T14

­´  µÀ µ¢ ¡ ¢ « h§¢ ¥i² À«£µ¢ ª«£± ¯ t¥´ t ªl ¡ « h§¢ ¥i² À«£µ¢ ª«£± ¯ มูลค่าการค้ารวม 170,794.48 มูลค่านำเข้า 67,635.59 มูลค่าส่งออก 103,158.90 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. เครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ (1,142.81) 2. ข้าวสาลีและเมสลิน (1,104.30) 3. เครื่องส่งวิทยุโทรทัศน์ (1,067.45) 4. ผลิตภัณฑ์กงึ่ สำเร็จรูปทำด้วยเหล็กหรือ เหล็กกล้า (1,023.06) 5. น้ำตาลจากอ้อยหรือหัวบีท (963.38) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. น้ำมันปาส์ม (6,520.85) 2. ถ่านหิน (6,039.86) 3. ยางธรรมชาติ (4,373.84) 4. สินแร่และหัวแร่ทองแดง (4,105.08) 5. ผลิตภัณฑ์นิเกิล (2,224.94) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. สิงคโปร์ (8,986.81) 4. มาเลเซีย (5,597.78) 2. จีน (7,863.19) 5. สหรัฐฯ (4,408.17) 3. ญี่ปุ่น (6,031.89) 6. ไทย (3,969.89) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. ญี่ปุ่น (21,526.95) 4. จีน (8,816.46) 2. สหรัฐฯ (10,530.29) 5. เกาหลีใต้ (6,850.32) 3. สิงคโปร์ (9,607.21) 9. ไทย (2,791.81)

มูลค่าการค้ารวม 105,587.29 มูลค่านำเข้า 55,316.97 มูลค่าส่งออก 50,270.32 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (5,608.05) 2. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (3,034.54) 3. เครื่องจักรกลฯ(812.10) 4. รถยนต์และยานยนต์ (656.73) 5. ข้าว (597.87) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (5,541.33) 2. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (3,930.53) 3. ไดโอดทรานซิสเตอร์ฯ (1,874.95) 4. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (1,728.96) 5. ส่วนประกอบและอุปกรณ์รถยนต์ (1,672.65) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. สหรัฐอเมริกา (7,915.30) 4. ไต้หวัน(4,083.29) 2. ญี่ปุ่น (6,605.28) 5. จีน (4,030.45) 3. สิงคโปร์ (6,264.49) 9. ไทย (2,238.36) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. สหรัฐฯ (8,540.38) 4. จีน (5,715.65) 2. ญี่ปุ่น (7,290.31) 5. เนเธอร์แลนด์ (4,149.04) 3. ฮ่องกง (5,802.47) 10. ไทย (1,402.89)

µ ¡ « h§¢ ¥i² À«£µ¢ ª«£± ¯

2. เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า (78,648.55) 3. เครื่องรับโทรทัศน์ (36,602.95) 4. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (32,749.94) 5. แผงวงจรไฟฟ้า (23,951.73) ประเทศที่นำเข้า (ที่สำคัญ) 1. ญี่ปุ่น (133,903.26) 4. จีน (EPZ) (85,695.67) 2. เกาหลีใต้ (104,044.63) 5. สหรัฐฯ (69,860.58) 3. ไต้หวัน (100,985.95) 10. ไทย (22,652.45) ประเทศที่ส่งออก (ที่สำคัญ) 1. สหรัฐฯ (232,761.33) 4. เกาหลีใต้ (56,128.54) 2. ฮ่องกง (184,289.24) 5. เยอรมนี (48,728.63) 3. ญี่ปุ่น (102,116.31) 21.ไทย (11,978.61)

มูลค่าการค้ารวม 2,174,416.97 มูลค่านำเข้า 956,261.49 มูลค่าส่งออก 1,218,155.48 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า(129,452.58) 2. เลเซอร์ (45,185.04) 3. สินแร่และหินแร่เหล็ก (33,812.09) 4. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (20,024.52) 5. เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับโทรศัพท์ (18,786.01) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (93,496.54)

COMMERCIAL WORLD

COMMERCIAL WORLD

เคทีซีอัดแคมเปญ เติมความสุข ส่งท้ายปีเก่า รับบัตรเครดิตปีนี้มี อัตราการเติบโตลดลง.............................19 u

15T

Special Report

ทิศทางการส่งออกและลงทุนปี 2553 ความท้ าทายใหม่หลังเศรษฐกิจโลกฟื้นตัว......................... 20

Entrepreneur Focus

วิวัฒน์ วิภวพาณิชย์ บนเส้นทางความสำเร็จ “ฮาวายไทย” เฟอร์นิเจอร์ ไทยในทำเนียบขาว

ในวงการเฟอร์นิเจอร์พรีเมี่ยมที่ ได้รับความนิยมระดับท็อปทรีของโลก หนึ่งในนั้นคือยี่ห้อ “ฮาวายไทย” เฟอร์นิเจอร์หวายรายใหญ่ ของเมืองไทย ขึ้นชื่อลือชาขนาดประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ยังต้องสั่งไปประดับทำเนียบขาว................................................................................ 55

FTA Plus

กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า เรื่องจำเป็นในการใช้สิทธิ FTA

(ตอนที่ 3) WTO แล้ว โดย WTO สรุปว่าใครก็ตามที่เป็นผู้เก็บรวบรวมหรือประเทศใดก็ตาม ที่เป็นผู้เก็บรวบรวมขยะเหล่านี้ เมื่อส่งออก เศษขยะเหล่านี้จะได้แหล่งกำเนิดสินค้า เป็นของประเทศผู้ส่งออก......................................................................................... 52

Leaders Talk

EXIM BANK แถลงผลงาน 9 เดือนแรกปี 2552 เร่งช่วยเหลือผู้ส่งออกและนักลงทุนไทย................................................ 16 u เคทีบี ลีสซิ่ง ก้าวสู่ปีที่ 5 รุกเป็นผู้นำตลาดสินเชื่อครบวงจร......................................................... 17 u ท่าอากาศยานไทย ตั้งเป้าพัฒนาสนามบิน สุวรรณภูมิ เฟส 2.................................................................................... 18 u

China-ASEAN Update............... 12 Fact Sheet............................................ 14 มาเลเซีย u สาธารณรัฐสิงคโปร์ u สาธารณรัฐอินโดนีเซีย u สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ u ราชอาณาจักรไทย u สาธารณรัฐประชาชนจีน u

Business Pulse.............................. 60 Product Launch............................ 59 Editor’s Desk.................................. 10 Special

Report

โดย : ฝ่ายวิจัยธุรกิจ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

´¨ ² ²£ªh ­­ Á¥° ¥ ¸ u §²¡ i² ²¢Ã«¡h«¥± À¨£© ´ Â¥ wy ±§ ²£ i² ²£¥ ¸ ²¢Ã ¹¡´ ² À­À µ¢ i§¢ ± À­ ¡µÁ §Â i¡À ´È¡¡² ¶É À ·È­ª£i² À £·­ h²¢ ²£ ¥´ 1SPEVDUJPO /FUXPSL ëi §i² §²  ¢Ã i £°Â¢ l ² i ¸ h² ªh µÈ ȳ §²¡ª° § à ²£ ´ h­ª·È­ª²£ ¥­ §²¡ ¸i À ¢ ² §± ££¡ เศรษฐกิจโลกที่ตกต่ำอย่างหนักในปี 2552 สร้างความเสียหายไม่เพียงแต่สหรัฐฯ ทีเ่ ป็นประเทศต้นตอของปัญหาแต่ยงั ลุกลาม ไปยังประเทศยักษ์ใหญ่อนื่ ๆ ทัง้ สหภาพยุโรป (European Union : EU) และญี่ปุ่นซึ่งล้วน เป็นผู้เล่นหลักในเวทีการค้าการลงทุนของ โลก สถานการณ์ดงั กล่าวทำให้ประเทศต่างๆ ได้รับผลกระทบเป็นลูกโซ่ผ่านทั้งภาคการ เงินและภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง ส่งผลให้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั่วโลกต้องเผชิญกับ ภาวะถดถอยอย่างรุนแรงอีกครัง้ อย่างทีไ่ ม่เคย ปรากฏมาก่อนนับตัง้ แต่ Great Depression ในช่วงทศวรรษที่ 1930 ประเทศไทยในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่ง ในห่วงโซ่อุปทานของโลก (Global Supply Chain) ก็ เ ป็ น ประเทศหนึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ผล กระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในรอบนี้อย่าง หลีกเลีย่ งไม่ได้ เนือ่ งจากประเทศไทยพึง่ พา

T20

ภาคส่ ง ออกเป็ น ตั ว จั ก รสำคั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ดั ง เห็ น ได้ จ ากสั ด ส่ ว น มูลค่าส่งออกต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) ที่สูงกว่า 60% ตลอดช่วงหลายปีที่ผ่านมา ดังนั้นเมื่อประเทศคู่ค้าต่างประสบปัญหา

ทางเศรษฐกิจ แน่นอนว่าภาคส่งออกของ ไทยก็ย่อมถูกกระทบ โดยเฉพาะสินค้าส่ง ออกทีพ่ งึ่ พาตลาดหลักในสัดส่วนสูง อย่างไรก็ตาม วิกฤตเศรษฐกิจโลกใน ครั้ ง นี้ นั บ เป็ น บทเรี ย นครั้ ง สำคั ญ ที่ ท ำให้ ประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยตระหนัก ถึงความจำเป็นทีจ่ ะต้องหันมาทบทวนยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ เป็นการเร่งด่วน เพื่อให้ การค้าการลงทุนของประเทศเดินหน้าต่อไป ได้และพร้อมฝ่าฟันกับความท้าทายใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นหลังจากเศรษฐกิจโลกกลับมา ฟื้นตัว ทั้งนี้คาดว่าทิศทางการค้าและการ ลงทุนของไทยในปี 2553 จะมีการปรับตัว อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาพ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปดังนี้ ตลาดใหม่จะยิ่งทวีความสำคัญยิ่งขึ้น ควบคู่ไปกับการรักษาตลาดหลักเดิม วิกฤต เศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้บนั่ ทอนความแข็งแกร่ง

ทางเศรษฐกิจของตลาดหลักของไทยไปมาก ขณะที่ประเทศเศรษฐกิจใหม่โดยเฉพาะจีน อินเดียและประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตลอดจนประเทศในตะวันออกกลางสามารถ ประคองตัวได้ค่อนข้างดี สถานการณ์เช่นนี้สะท้อนให้เห็นว่า ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของโลกกำลังเปลีย่ น ถ่ายจากโลกตะวันตกมาสู่โลกตะวันออก ชัดเจนขึ้น พร้อมๆ กับการที่ตลาดใหม่เริ่ม ขยับสถานะเทียบชั้นประเทศเศรษฐกิจหลัก เดิมมากขึ้น บทบาทของตลาดใหม่ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ใน เวทีการค้าโลกนี้เองทำให้มีการเสนอให้ใช้ เวทีการประชุม G20 ซึ่งเป็นการรวมตัวของ ประเทศพัฒนาแล้วกับประเทศกำลังพัฒนา ขนาดใหญ่ให้เป็นเวทีในการกำหนดทิศทาง และกติกาเศรษฐกิจระหว่างประเทศแทน จากเดิมทีก่ ารกำหนดนโยบายทำโดยประเทศ ในกลุ่ ม G8 ซึ่ ง มี แ ต่ ป ระเทศพั ฒ นาแล้ ว เท่านั้น สภาพแวดล้อมดังกล่าวเป็นเสมือน เข็ ม ทิ ศ บอกทางให้ทราบว่า ถึงเวลาแล้วที่ ผู้ประกอบการไทยควรต้ อ งรี บ เข้ า ไปยึ ด หัวหาดในตลาดใหม่อย่างจริงจังในภาวะที่ ตลาดเหล่านี้ยังขาดแคลนสินค้าและบริการ

อี ก มากทั้ ง ในเชิ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพ ประกอบกั บ คู่ แ ข่ ง ยั ง มี ไ ม่ ม ากนั ก ขณะที่ ประเทศไทยเองมีความพร้อมหลายด้านใน การเข้าไปเจาะตลาดทีม่ ศี กั ยภาพ โดยเฉพาะ ตลาดใหม่ ใ นเอเชี ย โดยอาศั ย จุ ด แข็ ง ใน เรื่องทำเลที่ตั้งที่อยู่ใกล้กัน การมีเครือข่าย คมนาคมโยงใยกว้างขวาง ทีส่ ำคัญการผลิต ของไทยมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลาย เพียงพอที่ทำให้เกิดการผลิตอย่างครบวงจร อย่างไรก็ตาม ในส่วนของตลาดหลัก เดิ ม ก็ ยั ง มี ค วามสำคั ญ และไม่ ค วรละทิ้ ง เพราะเป็นตลาดที่มีกำลังซื้อสูง แต่การทำ ตลาดอาจต้ อ งปรั บ กลยุ ท ธ์ ไ ปจากเดิ ม โดยหันมาทำตลาดแบบแยกส่วน (Market Segmentation) มากขึ้น เพื่อเจาะลึกลง รายละเอียดในแต่ละกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เช่น กลุ่มผู้สูงอายุที่ต้องการสินค้าที่คำนึง ถึงประโยชน์ต่อสุขภาพเป็นหลัก กลุ่มเด็กที่ พ่อแม่เป็นผู้ตัดสินใจซื้อจะคำนึงถึงคุณภาพ สิ น ค้ า และความปลอดภั ย มากพอๆ กั บ ปัจจัยด้านราคา เป็นต้น การค้าภายใต้เขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA) จะกลับมาคึกคักขึ้น หลังเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวรอบใหม่ พร้อมๆ กับการที่ภาครัฐจะเดินหน้าเจรจาเปิดเสรีใน

COMMERCIAL WORLD

Business

COMMERCIAL WORLD

21T

Pulse ¥² À µ ¢ § รั ต นาภรณ์ จึ งสงวนสิทธิ์ เลขาธิการสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สรยุทธ เพ็ชรตระกูล ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ กระทรวงอุตสาหกรรม ครรชิต ไชยสุโพธิ์ ผูอ้ ำนวย การฝ ายรัฐกิจอาเซียน บริษทั เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท เชฟโรเลต เซลส์ (ประเทศไทย) จำกั ด ถ่ า ยภาพร่ ว มกั บ ศุ ภ รั ต น์ ศิริสุวรร ณางกูร นายกสมาคมอุตสาหกรรมยาน ยนต์ไทย ในงานสัมมนา “เจาะลึกมาตรฐาน ISO / TISI เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน การใช้พลังงานอย่าง มี ป ระสิ ท ธิ - ภาพ และความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ” ในโอกาสเข้าเยี่ยมชมยานยนต์เชฟโรเลตมาตรฐาน ฉลากเขียว ที่บูธนิทรรศการของเชฟโรเลต ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

± ¡·­ บุญสันต์ ประสิทธิสมั ฤทธิ์ ผู้ อ ำนวยการฝ า ยอาวุ โ ส ผู้ บ ริ ห ารกลุ่ ม บริหารการขาย สายงานบริหารผลิตภัณฑ์ และการตลาด อมรา กลับประทุม ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารกลุ่มพัฒนา ผลิตภัณฑ์ สายงานบริหารผลิตภัณฑ์และ การตลาด บมจ. ธนาคารกรุงไทย ร่วมกับ มร.ทาเคฮารุ อุเอมัทซึ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท อีซี่ บาย (จำกัด) มหาชน และบุษบา พิบลู ชล Managing Director บริษทั ศูนย์ประมวลผล จำกัด ร่วมลงนาม ข้อตกลงการเปิดให้บริการกดเงินสดจาก บั ต รเงิ น สดยู เ มะ พลั ส ผ่ า นตู้ เ อที เ อ็ ม ธนาคารกรุงไทยทั่วประเทศ

£h § ¡ªh Àª£´ ¡ ²£ i ² ดร.อภิ ชั ย บุ ญ ธี ร วร (ขวา) กรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศ ไทย (EXIM BANK) และนายหลี่ จุน (ซ้าย) รองกรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศจีน (China Exim bank) ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงความร่วมมือเพื่อขยายความ ร่วมมือในการสนับสนุนทางการค้า การลงทุน และความร่วมมือ ด้านอื่นๆ อาทิ การให้สินเชื่อสำหรับธุรกิจต่างๆ และโครงการ ลงทุนในต่างประเทศ เมื่อเร็วๆ นี้

T60

ระดับต่างๆ อย่างจริงจังในฐานะเครื่องมือ ในการดำเนินยุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อช่วงชิง ความได้เปรียบด้านการค้าการลงทุน ทั้งนี้ การเปิดเสรีในระดับทวิภาคีกับประเทศคู่ค้า ที่มีศักยภาพ นอกจากจะเป็นกลไกสำคัญ ในการลดอุปสรรคทางการค้าทั้งที่อยู่ในรูป ของภาษีและมิใช่ภาษีเพื่อขยายตลาดส่ง ออกและเป็นการเพิ่มทางเลือกในการนำเข้า ปัจจัยการผลิตราคาถูกจากประเทศคู่เจรจา แล้ว ยังสามารถใช้ประเทศคูเ่ จรจาเป็นประตู การค้าสูป่ ระเทศใกล้เคียงอืน่ ๆ ขณะเดียวกัน แนวทางนี้ถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการ สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจและการเมือง ทางอ้อม เพื่อใช้เป็นสะพานสร้างอำนาจต่อ รองในเวทีการเจรจาในระดับพหุภาคีต่อไป ในอนาคต นอกจากกระแสการเปิดเสรีดังกล่าว แล้ว คาดว่าการค้าการลงทุนภายในภูมภิ าค เอเชียด้วยกันเองมีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ เพือ่ สร้างเครือข่ายการผลิต (Production Network) ให้กว้างขวางโดยใช้ประโยชน์จาก ต้นทุนค่าขนส่งที่ต่ำ ความสะดวกในการ ติดต่อสื่อสาร ตลอดจนความคุ้นเคยทาง วัฒนธรรม โดยมีกลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วน ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ กลยุทธ์การตลาดจะเน้นตอบสนอง วิ ถี ก ารดำเนิ น ชี วิ ต แบบใหม่ ข องผู้ บ ริ โ ภค โดยให้ความสำคัญกับการเพิ่มมูลค่าและ สร้างความแตกต่างให้กับสินค้าแทนการ เน้นแข่งขันด้านราคา อาทิ การผลิตสินค้า ให้ ส อดรั บ กั บ วิ ถี ก ารดำเนิ น ชี วิ ต ที่ เ ร่ ง รี บ รวมทั้งกระแสการบริโภคที่คำนึงถึงสุขภาพ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และมีการใช้แรงงาน ในการผลิตอย่างเหมาะสม ตลอดจนความ ใส่ใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบขององค์กร ธุรกิจต่อสังคม (Corporate Social Respon-

COMMERCIAL WORLD

£h§¡¡·­ ธวัชชัย ธิติศักดิ์สกุล รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส สายงาน ธุ ร กิ จ บั ต รเครดิ ต “เคที ซี ” หรื อ บริ ษั ท บั ต รกรุ ง ไทย จำกั ด (มหาชน) ร่ ว มกั บ สมชัย บุญนำศิริ บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน กรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ KTAM เปิดช่องทางใหม่รับชำระค่าหน่วย ลงทุน กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) ของ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จำกัด (มหาชน) ผ่านบัตรเครดิตเคทีซีทุก ประเภท

¶ ¸ ª¡ อรรชกา สี บุ ญ เรื อ ง เลขาธิ ก ารคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอ ไอ) มอบของที่ระลึก แก่ผู้บริหาร ของบริษัท GS Home Shopping หลั ง หารื อ เรื่ อ งการชั ก จู ง การ ลงทุ น มายั ง ไทย ระหว่ า งการ เยือนกรุงโซล สาธารณ-รัฐเกาหลี

À t ±§ มร.ชูมิท คาพูร์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท โนเกีย (ประเทศไทย) จำกัด นำทีมผู้บริหารเปิดตัว Nokia N97 mini เพื่อนร่วมทางที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ผับสุดฮิ บอย่าง DEMO ทองหล่อ ซอย 10 ในงานมีผู้มาร่วมงานมากมาย ทั้งเหล่าดารา และเซเลบบริตี้ £± ³£°À ´ วรภัค ธันยาวงษ์ รองผูจ้ ดั การใหญ่ และพรรณแข นันทวิสัย ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทย พาณิชย์ ร่วมกับ สุวรรณา ก้อนแก้ว ผู้ช่วยผู้ว่าการ และ อุบลศรี สุนทรนัย ผู้อำนวยการฝ ายการบัญชี การเคหะ แห่งชาติ ลงนามสัญญาสนับสนุนระบบการดำเนินงาน บริหารจัดการทางการเงิน พัฒนาระบบในการรับชำระเงิน (SCB Bill Payment) เพิ่มช่องทางและรองรับการรับชำระ เงิ น ค่าเช่า ค่างวด เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ลู ก ค้ า ใน โครงการการเคหะทั่วประเทศ £± £² §± ¥ พเยาว์ มริ ต -ตนะพร กรรมการผู้จัดการ บมจ.ทางด่วน กรุงเทพ หรือ บีอีซีแอล รับรางวัลบริษัทจดทะเบียน ขวัญใจนักวิเคราะห์ และรางวัลผู้ บริหารฝ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ขวัญใจนักวิเคราะห์ จากสมบัติ นราวุฒิชัย สมาคมนัก วิเคราะห์หลักทรัพย์ ซึ่งจัดโดยสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ผ่านการโหวตจากนัก วิเคราะห์ในบริษัทหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน และการโหวตอิสระ COMMERCIAL WORLD

61T



CHINA สรุปเนื้อหา

ด้านภาษาจีน บุคคลบนปกและสัมภาษณ์พิเศษ

ดร.เสกสรรค์ สุ น น ั ท์ ก ง ่ ิ เพชร ประธานกรรมการ บริษัท E.V.S

เป็นบริษัทที่ได้รับลิขสิทธิ์ภาพยนตร์ “มังกรสร้างชาติ” แต่เพียงผูเ้ ดียวในเมืองไทย โดยภาพยนตร์ดงั กล่าวมีดาราร่วมแสดง 172 คน เนือ้ หาของภาพยนตร์ได้สอดแทรกเนือ้ หา อ้ า งอิ ง ทางประวั ติ ศ าสตร์ โดยในยุ ค นั้ น ประธานเหมา เจ๋อ ตุง แห่งพรรคคอมมิวนิสต์ ได้ใจของคนในประเทศโดยการรับฟังเสียง ส่วนใหญ่ จนกลายเป็นผู้นำประเทศในที่สุด ซึง่ สภาวการณ์ในตอนนัน้ ตรงกับสถานการณ์ บ้านเมืองในตอนนีข้ องประเทศไทย คือต้องรู้ ว่ า ความต้ อ งการของประชาชนคื อ อะไร ไม่ใช่ฝั่งไหนจะมีเสียงมากกว่า ไม่ใช่ว่าใคร จะแสดงเก่ ง กว่ า กั น และไม่ใช่ใครที่จะมี เสียงดังกว่า แต่คนที่ไม่ได้แสดงออกทาง การเมือง คือเสียงส่วนใหญ่ และเสียงเหล่า นี้คือเจตนาที่แท้จริงของประชาชน เนื่อง จากคนเหล่านี้มีอิสระทางความคิดไม่ฝักใฝ่ ฝ่ายใด ผู้ที่ชนะอย่างแท้จริง คือผู้ที่เข้าใจ เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ด้วยจุดนี้จึง เป็นเหตุให้ประธานเหมา เจ๋อ ตุง ได้กลาย เป็ น ผู้ น ำในเวลาต่ อ มา อยากให้ ค นไทย เรียนรู้แง่คิดจากภาพยนตร์ประวัติศาสตร์ จีนเรื่องนี้ เพื่อนำมาเป็นบทเรียน บทวิเคราะห์ กล่าวโดยสรุปเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาเซียน ตลอดจนเปรียบเทียบการ พัฒนาอุตสาหกรรมอาเซียนในอนาคตกับ ประเทศไทย ซึ่งมีนิคมอุตสาหกรรมอยู่มาก โดยยกตัวอย่าง นิคมอุตสาหกรรมสุรนารี

T

COMMERCIAL WORLD

มาเป็นตัวอย่างในการชักจูงใจให้นักธุรกิจ ต่างชาติมาลงทุนในไทย นอกจากนี้ ยังมี รายละเอี ย ดของอุ ต สาหกรรมเวี ย ดนาม อุตสาหกรรมมาเลเซีย อุตสาหกรรมสิงคโปร์ และมีคำแนะนำพิเศษจากนักธุรกิจ และ อดีตนักการเมืองอาวุโส คุณสุขมุ เลาวัณย์ศริ ิ เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมโดยเริ่ ม จากการแก้ปัญหาเรื่องน้ำของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาของแหล่งทรัพยากรบนพื้นที่ โครงการ บทความ ด้านสถานีโทรทัศน์ไต้หวันรายงาน ข่าวเขตการค้าเสรีจนี - อาเซียนมีผลกระทบ ต่อการผลักดันอาเซียนให้พัฒนาในทุกๆ ด้าน

วิสัยทัศน์ cheng si wei, นักวิชาการชาวจีน “การปฏิวัติอสังหาริมทรัพย์ลำดับที่ 4 คือ การปฎิวตั พิ ลังงาน โดยการหาพลังงาน ทดแทนพลังงานเก่าที่มีอยู่ ต่างก็ให้ความ สนใจในเรือ่ งของสภาพสิง่ แวดล้อม โดยสาระ สำคัญของกรณีศกึ ษาคือการสรรหาพลังงาน ทดแทน” wu jing lian, นักวิชาการเศรษฐกิจ ชื่อดังของจีน “ถ้าจะให้เศรษฐกิจจีนดีขนึ้ ต้องมีการ เพิ่มการบริโภค อุตสาหกรรมภายในประเทศทุกด้าน ของเราพัฒนามาแล้ว 30 ปี และเป็นการ พั ฒ นาแบบก้ า วกระโดด แต่ รู ป แบบการ พัฒนาอย่างรวดเร็วแบบนี้ ทำให้ปัญหาเพิ่ม ขึ้นด้วย” ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล, รัฐมนตรี ที่อายุน้อยของเมืองไทย “พูดน้อย ทำเยอะ จุดสำคัญต้องรู้ว่า คุณพูดอะไร” การร่วมมือกันในอนุภูมิภาค ลุ่ ม น้ ำ โขง เป็ น โครงการที่ รั ฐ บาลไทยให้ ความสำคั ญ และเป็ น โครงการที่ มี ค วาม มั่นคงสูง เป็นข้อดีที่ทำให้มีการพัฒนาได้ อย่างต่อเนื่อง โดยที่ไม่มีการเมืองเข้ามา เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงหวังให้รัฐบาลจีนมาช่วย กันดูแลโครงสร้าง เพื่อจะให้ระบบส่งออก ทำงานได้จริงและดีขึ้น


สอบถามรายละเอียด ได้ที่

บริษัท อินฟอร์มีเดีย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โทร. 02 938 3546, 081 921 0173


คลังสมองของนักธุรกิจรุ่นใหม่ Vol.16 / Issue 123 December 2009

www.cwmagazine.com / www.aseanecon.com

ก่อตั้ง : พฤศจิกายน 2537 เจ้าของ : บริษัท คอมเมอร์เชียล เวิลด์ มีเดีย จำกัด กรรมการผู้จัดการ : วรรณา สวัสดิภักดิ์ ประธานที่ปรึกษา : สุขุม เลาวัณย์ศิริ ประธานกรรมการ : ประจิตต์ รุ่งเรืองไพทูรย์ ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี, ศุกรีย์ แก้วเจริญ, ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช, ประพัฒน์โชต งามขำ, มงคล ศิโรรัตนรังษี, สุธี ชินรักษา บรรณาธิการอำนวยการ : สมพงษ์ สวัสดิภักดิ์ บรรณาธิการบริหาร (ไทย) จตุรงค์ กอบแก้ว บรรณาธิการบริหาร (จีน) ธารทิพย์ อมรประภาวัฒน์ บรรณาธิการจัดการ อภิสิทธิ์ รัตนการุณย์วงศ์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ชัยรวี อุทธิเสน กองบรรณาธิการ : วรางกูร สุพรรณสาร, ชาญ ญาณวิเศษ, Jimmy Tang, ปองขวัญ สวัสดิภักดิ์ Graphic Design Jimmy Tang, Jadet Sangklang ฝ่ายสมาชิก : จันทิรา ครรชนะอรรถ ที่ปรึกษาด้านการส่งออก-นำเข้า : ไพศาล ทองใบ บริษัท เอ็กซิม อินเตอร์เนชั่นแนล ชิปปิ้ง ฟอร์เวิร์ดเดอร์ จำกัด ที่ปรึกษากฎหมาย : อดิศักดิ์ วัฒนวิจารณ์ เพลท/พิมพ์ 2004 พรีเพรส พริ้นติ้ง โทร. 089-009-8867 จัดจำหน่าย บริษัท คอมเมอร์เชียล เวิลด์ มีเดีย จำกัด โทร. 02-938-3546 สำนักงาน บริษัท คอมเมอร์เชียล เวิลด์ มีเดีย จำกัด 6/84 อาคารลาดพร้าว 25 ซ.ลาดพร้าว 25 ถ.ลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-938-3546

Editor’s

Desk

พยายามเข้ า ไว้ เป็นธรรมเนียมว่า พอถึงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคมของทุกปี บรรดานัก เศรษฐศาสตร์ทั้งหลาย ไม่ว่าจะอยู่ในภาครัฐหรือเอกชนเป็นต้องออกมาทายทักถึง สถานการณ์เศรษฐกิจของบ้านเมืองในปีตอ่ ไป ว่าจะเป็นอย่างไร ทายถูกบ้าง ผิดบ้าง แม่นบ้าง ไม่แม่นบ้าง ก็ไม่มใี ครว่าอะไร อย่างน้อย ถ้าคำพยากรณ์ออกมาบอกว่าเศรษฐกิจมีแนวโน้มดีขนึ้ ก็ยงั พอสร้าง ความหวังให้ชมุ่ ชืน่ ใจได้บา้ ง และหากคำพยากรณ์ออกมาทางตรงกันข้าม ทุกคนก็พอ ทำใจได้ ด้วยว่าชินชาเสียแล้ว สำหรับในปีนี้ ที่น่าแปลกก็คือ การพยากรณ์ของทุกสำนักเศรษฐศาสตร์ล้วน ออกมาในทำนองเดียวกัน คืออัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจไทย ในปีนี้น่าจะติดลบ ประมาณ 2.5-3% และในปีหน้าจะขึน้ มาเป็นบวกประมาณ 3-3.5% แต่กย็ งั ติง่ ข้อแม้ไว้ ด้วยว่า หากจะให้เป็นดังว่า การเมืองจะต้องนิ่ง เศรษฐกิจโลกจะไม่โดนหางเครื่อง จากเหตุการณ์อะไรให้ทรุดลงไปอีก อะไรจะมีความเห็นสอดคล้องกันปานนัน้ ถ้าคิดอย่างมีอคตินิดหน่อย ก็ต้องบอกว่ามีพรายแอบมากระซิบชักจูงให้คำ พยากรณ์ออกมาแบบนีห้ รือเปล่า แต่ใครจะคิดอย่างนัน้ ก็ตามทีเถอะ ผมไม่เชือ่ หรอก พุทโธ่ ก็ทอี่ อกมาแถลงผลการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจนัน้ เป็นสำนักมาตรฐาน ทัง้ นัน้ ถึงตัวแสดงจะเป็นหน้าคุน้ ๆ ทีเ่ คยออกมายกมือเชียร์รฐั บาลชุดนีอ้ ย่างสุดลิม่ ทิม่ ประตูกต็ าม ฉะนั้น ผมจึงทำใจเชื่อด้วยใจอันบริสุทธิ์ ว่าเศรษฐกิจปีหน้าจะกระเตื้องขึ้นจริง ดังว่า และพยายามปฏิบัติตัวดำรงตนอยู่ในโอวาทของรัฐบาลที่พร่ำบอกออกทางทีวี เป็นอย่างดี ใช้วถิ เี ศรษฐกิจพอเพียง มีลกู ก็ให้เข้าโรงเรียนฟรี มีหนีก้ ไ็ ปขอให้รฐั ช่วยปลดหนี้ ให้ รอขึ้นรถเมล์ชุบทองที่รัฐจะจัดหาให้ถึง 4,000 คัน ที่สำคัญผมกำลังถึงวัยที่จะได้ รับเบีย้ ชรา ทีร่ ฐั จัดให้ตงั้ เดือนละ 500 บาท โอ๊ย ผมอยูไ่ ด้สบายในแผ่นดินนี ้ ถึงชีวติ จริง ผมจะไม่ได้รบั ไอ้ทวี่ า่ มาเลยสักอย่าง แต่ผมก็พยายาม พยายามเชือ่ ทีเ่ ขาโฆษณาชวนเชือ่ สมพงษ์ สวัสดิภักดิ์ sompongsa@hotmail.com


หนังสือใหม่ ที่ผู้ทำธุรกิจส่งออก-นำเข้าไม่ควรมองข้าม ความรู้ทั่วไปว่าด้วย

กฎหมายและพิธีการศุลกากร ระบบ e-Customs

เขียนโดย วิชัย มากวัฒนสุข หัวหน้างานคดี ฝ่ายคดี ส่วนควบคุมทางศุลกากร สำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รวบรวมกฎหมายศุลกากรและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศุลกากร คำอธิบายกฎหมาย ตลอดจนระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับพิธีการศุลกากรทั้งใน ระบบ Manual และระบบ e-Commerce ที่กรมศุลกากรให้บริการแก่ผู้ประกอบการ ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต พร้อมตัวอย่างเอกสารในกระบวนการส่งออก-นำเข้าทั้งระบบ

ราคา 550 บาท

เหมาะสำหรับผู้ประกอบการ และผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจนำเข้า-ส่งออก ตัวแทนออกของ ตลอดจนผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป

สั่งซื้อทางไปรษณีย์ ลดเหลือ 500 บาท (รวมค่าจัดส่ง)

ประมวลศัพท์ธุรกิจ

ส่งออก-นำเข้า เรียบเรียงโดย

ธนพร รักเริ่มวงษ์

รวบรวมคำศัพท์ที่ใช้ในธุรกิจส่งออก-นำเข้า พร้อมการอธิบายความหมาย เหมาะสำหรับผู้ประกอบการ และผู้สนใจด้านธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เพื่อใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน และการติดต่อสื่อสารในวงการค้า

ราคา 110 บาท

สั่งซื้อทางไปรษณีย์ ลดเหลือ 95 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ใบสั่งซื้อหนังสือ ชื่อผู้ติดต่อ .......................................................................................................................................................... ที่อยู่เพื่อการจัดส่ง ............................................................................................................................................. โทรศัพท์.................................. โทรสาร ......................................... ขอสั่งซื้อหนังสือ ................................................. จำนวน .............. สอบถามรายละเอี ยด ได้ทเล่ี่ ม รวมเป็นเงิน ..............................บาท การชำระเงิน เงินสดบริษหรื คุณวรรณา ัท ออิโอนเข้ นฟอร์าบัมญีเดีชีอยอมทรัพอิย์ นเตอร์ เนชั่นแนลสวัสดิภักดิ์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาย่ ดินสุ3546, ขุมวิท 081 บัญชี921 เลขที่ 0173 196-2-01016-3 โทร. อ02ยใต้938

จำกัด


China-ASEAN

Update

ธนาคารกลางเวียดนามประกาศปรับ อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น สกุ ล ด่ อ ง ประมาณ ร้อยละ 3.44 จาก 17,034 ด่องต่อดอลล่าร์ สหรั ฐ ฯ เป็ น 17,961 ด่ อ งต่ อ ดอลล่ า ร์ สหรัฐฯ นายเหงียน วัน เกียว ผูว้ า่ การธนาคาร แห่งประเทศเวียดนามเปิดเผยว่าเป็นการ ปรับเพื่อให้เกิดความสมดุลทางเศรษฐกิจ เท่านั้น ไมใช่เป็นการลดค่าเงินด่อง การปรับอัตราแลกเปลี่ยนให้เงินด่อง อ่อนลง จะเป็นการเพิ่มภาระในการชำระ หนี้ต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายด้านดอกเบี้ย ในรูปของเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ ของเวียดนาม แต่ ก ารแข็ ง ค่ า ของดอลล่ า ร์ เ มื่ อ เที ย บกั บ เงิ น ด่ อ ง จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การส่ ง ออก ซึ่งสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพาการ ส่งออกของเวียดนาม ทั้งยังช่วยลดการขาด ดุ ล การค้ า และสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ สาธารณะด้วย ฟิลิปปินส์

เพี ย งร้ อ ยละ 1.6-2.6 เมื่ อ เที ย บกั บ การ เติบโตถึงร้อยละ 4.6 ในไตรมาสเดียวกัน ของปีก่อนหน้า สำนักงานสถิติแห่งชาติของ ฟิลิปปินส์กล่าวว่าเป้าหมายการเติบโตทาง เศรษฐกิจของฟิลปิ ปินส์ปนี คี้ อื ร้อยละ 0.8-1.8 นายออกุสโต บี ซานโตส เลขาธิการ การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ฟิลิปปินส์กล่าวว่า เศรษฐกิจของฟิลิปปินส์ จะเติบโตจนบรรลุเป้าหมายอย่างแน่นอน โดยประกาศวันหยุดเพิ่มเพื่อกระตุ้นการใช้ จ่ายของประชาชน รวมถึงการกระตุ้นให้ ชาวฟิลิปปินส์ที่ทำงานในต่างประเทศส่ง เงินกลับเข้าฟิลิปปินส์ เพื่อชดเชยเม็ดเงินที่ สู ญ เสี ย ไปจากภาคเกษตรกรรม ที่ ไ ด้ รั บ ความเสียหายอย่างหนักจากพายุไต้ฝุ่นและ อุทกภัย นายซานโตยังกล่าวอีกว่ารัฐบาลจะ ขยายเป้าการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นร้อย ละ 2.6 และ 3.6 ในปีถัดไป และได้ให้คำ แนะนำว่ารัฐบาลยังคงต้องคงงบประมาณ ขาดดุลและอัดฉีดเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ต่อไป อินโดนีเซีย

เศรษฐกิจฟิลิปปินส์ตกต่ำ

การเติบโตของภาคอุตสาหกรรมตกต่ำลง

การเติบโตทางเศรษฐกิจของฟิลปิ ปินส์ ทีต่ กต่ำลงเหลือเพียงร้อยละ 0.8 ในไตรมาส ที่ 3 ของปี ที่ ผ่ า นมา และการหดตั ว ของ ผลผลิตทางอุตสาหกรรมตกต่ำเป็นผลต่อ เนื่อง ส่งผลให้รัฐบาลคาดการณ์การเติบโต ทางเศรษฐกิจแบบต่ำที่สุดสำหรับในปีนี้ ปริมาณการเติบโตทางเศรษฐกิจของ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ต กต่ ำ ลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตั ว เลข ของเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายนมีค่า

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม ของอิ น โดนี เ ซี ย กล่ า วว่ า การเติ บ โตของ อุตสาหกรรมจำพวกอาหาร เครื่องดื่ม และ บุหรี่จะมีปริมาณลดต่ำลงจากร้อยละ 13.3 ในไตรมาสที่สามของปีก่อนหน้า เหลือเพียง ร้อยละ 6.6 ในปีนี้ อันเป็นผลมาจากการ ชะลอการลงทุนในอุตสาหกรรมประเภทนี้ คณะกรรมการประสานงานอุตสาหกรรมกล่าวว่าการชะลอตัวของการเติบโต

เวียดนาม

เวียดนามปรับค่าเงินด่องให้อ่อน

T12

COMMERCIAL WORLD

ทางภาคอุตสาหกรรมอาจเป็นผลมาจาก การเกิดไฟดับอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งแสดงให้เห็น ถึ ง ปั ญ หาทางด้ า นสาธารณู ป โภคของ อิ น โดนี เ ซี ย ประกอบกั บ ราคาของก๊ า ซ ธรรมชาติก็ถีบตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้นัก ลงทุนไม่กล้าตัดสินใจลงทุนในอุตสาหกรรม ประเภทนี้ ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ กระแส ความต้องการของตลาดอย่างมาก อย่างไรก็ตามประธานสมาคมอาหาร และเครื่ อ งดื่ ม แห่ ง อิ น โดนี เ ซี ย ได้ ก ล่ า วว่ า การเติบโตทางภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้ม ดีขึ้น เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทำให้ แนวโน้มการบริโภคของประชาชนเปลี่ยน จากสินค้าฟุ่มเฟือยเป็นการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มแทน อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมี ปริ ม าณถึ ง ร้ อ ยละ 7.2 และอุ ต สาหกรรม บุหรี่มีปริมาณถึงร้อยละ 1.8 ของปริมาณ การเติบโตทางเศรษฐกิจชองอินโดนีเซียใน ปีที่ผ่านมา สิงคโปร์ ผลผลิตอุตสาหกรรมสิงคโปร์สูงขึ้น ผลผลิตอุสาหกรรมของสิงคโปร์เพิ่ม ขึ้นในเดือนตุลาคม แต่ยังต่ำกว่าความคาด หมาย สื บ เนื่ อ งจากความอ่ อ นแอในภาค อุตสาหกรรมยา จากข้อมูลของคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิ จ แสดงว่ า ผลผลิ ต อุ ต สาหกรรม เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 3.6 จากปี ก่ อ น แต่ ยั ง ต่ ำ กว่าความคาดหมายของนักเศรษฐศาสตร์ที่ คาดว่าจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.3 ในปีนี้ อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่รวมภาคอุตสาหกรรมยา ผลผลิตจะเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.3 จาก


ปีก่อน เปรี ย บเที ย บกั บ เดื อ นก่ อ นหน้ า นี้ ผลผลิ ต ลดลง ร้ อ ยละ 6.7 แต่ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น ประมาณ ร้อยละ 1.4 ถ้าไม่รวมอุตสาหกรรมยา นั ก เศรษฐศาสตร์ ก ล่ า วว่ า ผลผลิ ต ด้ า นเภสั ช กรรมลดลงเล็ ก น้ อ ย ท้ า ทาย ความคาดหมายของความสามารถในการ สะท้อนกลับของอุตสาหกรรมนี้ กัมพูชา ท่าเรือสีหนุวิลล์รายได้ลดลง รายได้ของเครนยกตูค้ อนเทนเนอร์ของ ท่าเรือสีหนุวลิ ล์ลดลง ร้อยละ 20 ตามปริมาณ งานที่ตกลง ร้อยละ 11 ท่าเรือสีหนุวิลล์ ซึ่ง ให้บริการความสะดวกแก่การขนส่งสินค้า ทางเรือที่ใหญ่ที่สุดของกัมพูชา รายงานว่า มีรายได้ลดลงร้อยละ 20 ในช่วง 10 แรกของ ปีนี้ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ท่าเรือเพิ่งมีรายได้เพียง 19.2 ล้าน ดอลล่าร์สหรัฐฯ ตั้งแต่ต้นปีจนถึงปัจจุบัน ขณะที่รายได้รวมในปี 2008 เท่ากับ 28.8 ล้านบาท ปริมาณงานทั้งหมดของท่าเรือตกลง ร้อยละ 11 และจำนวนตูค้ อนเทนเนอร์ลดลง ร้อยละ 23 เกือบเท่ากับตัวเลขของปริมาณ สินค้าที่บรรทุก แม้วา่ จะไม่มคี วามสัมพันธ์กนั โดยตรง กับรายได้ที่ตกลง ร้อยละ 20 ของท่าเรือสี หนุวิลล์ แต่รายได้การส่งออกเสื้อผ้าเครื่อง นุง่ ห่ม ตามทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่าลดลง ร้อยละ 22 ในช่วง 10 เดือน แรกของปี 2009 เทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน ของปีที่แล้ว ก็เป็นสัญญาณไม่ดีอีกอันหนึ่ง

ของเศรษฐกิจที่พึ่งพาการส่งออกเฉพาะภาค อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป ลาว รัฐบาล สปป.ลาวอนุมัติโครงการ อุตสาหกรรมกระดาษของจีน

รัฐบาลของ สปป.ลาวได้ลงนามใน ข้ อ ตกลงอนุ ญ าตให้ บริ ษั ท ผลิ ต กระดาษ ของจีน Douangtaven Paper Production เพื่อพัฒนาพื้นที่ปลูกต้นไม้เพื่อเป็นวัตถุดิบ ในการผลิตกระดาษ ในเมืองฟิน และเมือง โสพน แขวงสะหวันนะเขต เมื่อปลายเดือน พฤศจิกายนนี้ โดยบริษัทของจีนจะได้รับ พื้นที่ปลูกต้นไม้ จำนวน 100,000 เฮกตาร์ ซึ่งเป็นพื้นที่ของบริษัทเอง จำนวน 30,000 เฮกตาร์ และอีก 70,000 เฮกตาร์ เป็นพื้นที่ ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ ระหว่ า งบริ ษั ท กั บ ประชาชนท้องถิ่น ตามแผนงาน โรงงานผลิตกระดาษ แห่งนี้จะเสร็จเรียบร้อย พร้อมเปิดดำเนิน การได้ตั้งแต่กลางปีหน้าเป็นต้นไป จีน จีนรักษาเศรษฐกิจมหภาคในปี 2010

คณะกรรมาธิ ก ารกลางแห่ ง พรรค คอมมิวนิสต์จีนลงความเห็นว่าจีนจะยังคง ใช้มาตรการการเงินแบบรุกต่อไปในปี 2010 เพื่อปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพของ การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน ให้พร้อม สำหรั บ การเปลี่ ย นแปลงแผนการพั ฒ นา เศรษฐกิจและการปรับปรุงโครงสร้างทาง เศรษฐกิจของจีนในอนาคต

คำแถลงการณ์ภายหลังการประชุม เปิดเผยว่า การประชุมของคณะกรรมาธิการ ให้ความสำคัญกับนโยบายทางด้านเศรษฐกิจ เป็นสำคัญ โดยได้ลงความเห็นว่ารัฐบาลจะ ยังคงใช้นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจต่อไป แต่ จะปรับปรุงให้มีเสถียรภาพ มีความสมดุลย์ และมีความยั่งยืนยิ่งขึ้น เศรษฐกิจของจีนเติบโตถึงร้อยละ 8.9 ในไตรมาสทีส่ ามของปีนี้ เพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ นับ ตั้งแต่การเติบโตในไตรมาสที่หนึ่งที่ร้อยละ 6.1 และไตรมาสที่สองที่ร้อยละ 7.9 คำแถลงการณ์ยังได้ระบุว่าจีนจะเพิ่ม มาตรการเพื่อส่งเสริมการปฏิรูปการเปิดรับ นวัตกรรมต่างๆ สำหรับภาคเศรษฐกิจ เพือ่ ความแข็ ง แกร่ ง และสร้ า งแรงกระตุ้ น ให้ กับการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงการ ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อ ดำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพทางสังคม ในปี 2010 รัฐบาลจีนจะดำเนินมาตรการเพื่อเพิ่มการบริโภคของประชาชน รวม ถึงการให้หลักประกันต่อการเติบโตของการ ลงทุ น ในประเทศจี น เป้ า หมายหลั ก ของ รัฐบาลคือการเพิ่มอุปสงค์ภายในประเทศ เช่นเดียวกับการสร้างเสถียรภาพของอุปสงค์ ภายนอกประเทศ โดยรั ฐ บาลจะส่ ง เสริ ม การนำเข้าสินค้ามากยิ่งขึ้น และสนับสนุน ให้บริษัทของจีนลงทุนในต่างแดนมากขึ้น วาระเศรษฐกิจในปี 2010 ที่จะถึงนี้มี เป้าหมายสำคัญเพื่อลดอัตราการว่างงาน สนับสนุนการพัฒนาชนบทเพื่อเพิ่มรายได้ ให้ เ กษตรกร บั ง คั บ ใช้ แ ผนการกระตุ้ น เศรษฐกิจเพื่อช่วยเหลืออุตสาหกรรมหลัก และปฏิรปู ระบบยาและสุขภาพให้มคี ณุ ภาพ ยิ่งขึ้น

COMMERCIAL WORLD

13T


Fact

Sheet

มาเลเซีย (ม.ค.-ธ.ค.2550) (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ) มูลค่าการค้ารวม 323,375.90 มูลค่านำเข้า 147,065.34 มูลค่าส่งออก 176,310.56 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (29,907.51) 2. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (7,568.64) 3. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (2,964.93) 4. ไดโอดทรานซิสเตอร์ฯ (2,390.54) 5. แผงวงจรพิมพ์ (2,129.75) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (23,347.47) 2. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (16,175.15) 3. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (10,568.13) 4. เครื่องส่งวิทยุโทรทัศน์ (4,373.37) 5. ไดโอดทรานซิสเตอร์ (4,227.16) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. ญี่ปุ่น (19,095.86) 4. สหรัฐฯ (15,926.88) 2. จีน (18,918.76) 5. ไต้หวัน (8,354.50) 3. สิงคโปร์ (16,879.27) 6. ไทย (7,867.11) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. สหรัฐฯ (27,513.26) 4. จีน (15,460.62) 2. สิงคโปร์ (25,786.12) 5. ไทย (8,734.63) 3. ญี่ปุ่น (16,099.42) 6. ฮ่องกง (8,149.77)

สิงคโปร์ (ม.ค.-ธ.ค.2550) (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

มูลค่าการค้ารวม 562,651.39 มูลค่านำเข้า 263,247.05 มูลค่าส่งออก 299,404.34 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (46,768.52) 2. เครื่องพิมพ์เครื่องจักรใช้ประกอบในการพิมพ์ (12,977.91) 3. เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับโทรศัพท์ (9,616.04) 4. คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ (4,999.68) 5. ไดโอดทรานซิสเตอร์ (4,853.23) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (1,839.44) 2. เครื่องพิมพ์เครื่องจักรใช้ประกอบในการพิมพ์ (1,219.17) 3. เทปแม่เหล็กคอมพิวเตอร์ (1,021.40) 4. ไดโอดทรานซิสเตอร์ (385.81) 5. อุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับติดต่อ/ป้องกันวงจร (369.55) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. มาเลเซีย (34,430.51) 4. ญี่ปุ่น (21,549.72) 2. สหรัฐ (32,315.86) 5. ไต้หวัน (15,495.56) 3. จีน (31,901.06) 9 .ไทย (8,500.04) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. มาเลเซีย (38,611.83) 4. จีน (28,924.32) 2. ฮ่องกง (31,345.51) 5. สหรัฐฯ (26,205.01) 3. อินโดนีเซีย (29,471.44) 7. ไทย (12,388.30) 2. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (15,585.53) ไทย (ม.ค.-ธ.ค.2551) (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 3. อัญมณีและเครื่องประดับ (8,270.07) มูลค่าการค้ารวม 356,998.5 4. น้ำมันสำเร็จรูป (7,913.19) มูลค่านำเข้า 179,223.3 5. แผงวงจรไฟฟ้า (7,241.30) มูลค่าส่งออก 177,775.2 ประเทศที่นำเข้า (ที่สำคัญ) สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. ญี่ปุ่น (33,534) 4. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (11,152) 1. น้ำมันดิบ (30,159.78) 2. จีน (20,156) 5. มาเลเซีย (9,726) 2. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ (12,880.86) 3. สหรัฐฯ (11,423) 3. เหล็ก เหล็กกกล้าและผลิตภัณฑ์ (13,759.10) ประเทศที่ส่งออก (ที่สำคัญ) 4. เคมีภัณฑ์ (12,644.50) 1. สหรัฐฯ (20,275) 4. สิงคโปร์ (10,115) 5. เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (10,742.87) 2. ญีป่ นุ่ (20,094) 5. ฮ่องกง (10,046) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 3. จีน (16,191) 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (18,384.16)

T14

COMMERCIAL WORLD


อินโดนีเซีย (ม.ค.-พ.ย.2550) (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ฟิลิปปินส์ (ม.ค.-ธ.ค.2550) (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ) มูลค่าการค้ารวม 170,794.48 มูลค่านำเข้า 67,635.59 มูลค่าส่งออก 103,158.90 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. เครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ (1,142.81) 2. ข้าวสาลีและเมสลิน (1,104.30) 3. เครื่องส่งวิทยุโทรทัศน์ (1,067.45) 4. ผลิตภัณฑ์กงึ่ สำเร็จรูปทำด้วยเหล็กหรือ เหล็กกล้า (1,023.06) 5. น้ำตาลจากอ้อยหรือหัวบีท (963.38) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. น้ำมันปาส์ม (6,520.85) 2. ถ่านหิน (6,039.86) 3. ยางธรรมชาติ (4,373.84) 4. สินแร่และหัวแร่ทองแดง (4,105.08) 5. ผลิตภัณฑ์นิเกิล (2,224.94) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. สิงคโปร์ (8,986.81) 4. มาเลเซีย (5,597.78) 2. จีน (7,863.19) 5. สหรัฐฯ (4,408.17) 3. ญี่ปุ่น (6,031.89) 6. ไทย (3,969.89) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. ญี่ปุ่น (21,526.95) 4. จีน (8,816.46) 2. สหรัฐฯ (10,530.29) 5. เกาหลีใต้ (6,850.32) 3. สิงคโปร์ (9,607.21) 9. ไทย (2,791.81)

จีน (ม.ค.-ธ.ค.2550) (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

มูลค่าการค้ารวม 2,174,416.97 มูลค่านำเข้า 956,261.49 มูลค่าส่งออก 1,218,155.48 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า(129,452.58) 2. เลเซอร์ (45,185.04) 3. สินแร่และหินแร่เหล็ก (33,812.09) 4. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (20,024.52) 5. เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับโทรศัพท์ (18,786.01) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (93,496.54)

มูลค่าการค้ารวม 105,587.29 มูลค่านำเข้า 55,316.97 มูลค่าส่งออก 50,270.32 สินค้านำเข้า (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (5,608.05) 2. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (3,034.54) 3. เครื่องจักรกลฯ(812.10) 4. รถยนต์และยานยนต์ (656.73) 5. ข้าว (597.87) สินค้าส่งออก (5 อันดับแรก) 1. แผงวงจรไฟฟ้า (5,541.33) 2. คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (3,930.53) 3. ไดโอดทรานซิสเตอร์ฯ (1,874.95) 4. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (1,728.96) 5. ส่วนประกอบและอุปกรณ์รถยนต์ (1,672.65) ประเทศที่นำเข้า (5 อันดับแรก) 1. สหรัฐอเมริกา (7,915.30) 4. ไต้หวัน(4,083.29) 2. ญี่ปุ่น (6,605.28) 5. จีน (4,030.45) 3. สิงคโปร์ (6,264.49) 9. ไทย (2,238.36) ประเทศที่ส่งออก (5 อันดับแรก) 1. สหรัฐฯ (8,540.38) 4. จีน (5,715.65) 2. ญี่ปุ่น (7,290.31) 5. เนเธอร์แลนด์ (4,149.04) 3. ฮ่องกง (5,802.47) 10. ไทย (1,402.89) 2. เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า (78,648.55) 3. เครื่องรับโทรทัศน์ (36,602.95) 4. ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ (32,749.94) 5. แผงวงจรไฟฟ้า (23,951.73) ประเทศที่นำเข้า (ที่สำคัญ) 1. ญี่ปุ่น (133,903.26) 4. จีน (EPZ) (85,695.67) 2. เกาหลีใต้ (104,044.63) 5. สหรัฐฯ (69,860.58) 3. ไต้หวัน (100,985.95) 10. ไทย (22,652.45) ประเทศที่ส่งออก (ที่สำคัญ) 1. สหรัฐฯ (232,761.33) 4. เกาหลีใต้ (56,128.54) 2. ฮ่องกง (184,289.24) 5. เยอรมนี (48,728.63) 3. ญี่ปุ่น (102,116.31) 21.ไทย (11,978.61) COMMERCIAL WORLD

15T


Leaders

Talk

EXIM BANK แถลงผลงาน 9 เดือนแรกปี 2552 เร่งช่วยเหลือผู้ส่งออกและนักลงทุนไทย

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า แห่งประเทศไทย หรือ EXIM Bank ลุยช่วย เหลือผู้ส่งออกและนักลงทุนไทย ให้ผ่านพ้น ภาวะวิกฤตการเงินโลก ในช่วง 9 เดือนแรก ของปี 2552 ได้ อ นุ มั ติ ว งเงิ น สิ น เชื่ อ ใหม่ 34,684 ล้านบาท หรือ 93% ของเป้าหมาย รวมทั้งปี ซึ่งตั้งไว้ 37,202 ล้านบาท ดร.อภิชยั บุญธีรวร กรรมการผูจ้ ดั การ เอ็กซิมแบงก์กล่าวว่า “เป้าหมายการปล่อย สินเชือ่ เดิมของ เอ็กซิมแบงก์ ทีต่ งั้ ไว้สำหรับ ปี 2552 คือ 19,702 ล้านบาท และได้รับ มอบหมายให้ ป ล่ อ ยสิ น เชื่ อ เข้ า สู่ ร ะบบ เศรษฐกิจ ตามโครงการสินเชื่อฟาสต์แทร็ก ของรัฐบาลอีก17,500 ล้านบาท รวมเป็น เป้าหมายวงเงินอนุมตั ใิ หม่ในปี 2552 จำนวน ทั้งสิ้น 37,202 ล้านบาท ซึ่งในช่วง 9 เดือน แรกของปีนี้ เราได้อนุมัติวงเงินสินเชื่อให้แก่ ผู้ ป ระกอบการไปแล้ ว เป็ น วงเงิ น 34,684 ล้านบาท คิดเป็น 93% ของเป้าหมาย ใน

T16

COMMERCIAL WORLD

จำนวนนี้เป็นการอนุมัติวงเงินสินเชื่อภายใต้ โครงการเอ็กซิมเครดิตฟาสต์แทร็กจำนวน 6,633 ล้านบาท คิดเป็น 190% ของเป้าหมาย 3,500 ล้านบาทที่กำหนดไว้” กรรมการผู้ จั ด การ เอ็ ก ซิ ม แบงก์ กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า ณ สิ้ น เดื อ นกั น ยายน 2552 ธนาคารมีสินทรัพย์ 62,265 ล้านบาท มียอดคงค้างเงินให้สินเชื่อจำนวน 47,245 ล้านบาท ณ สิ้นเดือนกันยายน 2552 และ เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 50,490 ล้ า นบาท ณ วั น ที่ 5 พฤศจิ ก ายน 2552 ทั้ ง นี้ ในช่ ว ง 9 เดื อ น แรกของปี 2552 เอ็กซิมแบงก์มีกำไรสุทธิ 160 ล้านบาท ดร.อภิ ชั ย กล่ า วด้ ว ยว่ า นอกจาก สิ น เชื่ อ เพื่ อ ส่ ง ออกแล้ ว ธนาคารยั ง บรรลุ เป้าหมายการให้บริการประเภทอื่นๆ ด้วย ได้แก่ โครงการประกันการส่งออก (EXIM Surance) เพื่อช่วยป้องกันความเสี่ยงให้แก่ ผู้ ส่ ง ออกไทยจากการไม่ ไ ด้ รั บ ชำระเงิ น ค่าสินค้าจากผู้ซื้อในต่างประเทศ ในช่วง 9 เดือนธนาคารได้อนุมัติวงเงินรับประกัน การส่งออกจำนวน 4,734 ล้านบาท คิดเป็น 125% ของเป้าหมาย มียอดแจ้งประกันการ ส่งออกจำนวน 29,785 ล้านบาท คิดเป็น 50% ของเป้าหมาย และภาระผูกพันการ รับประกันจำนวน 14,829 ล้านบาท ซึ่งเพิ่ม ขึ้ น เป็ น 16,290 ล้ า นบาท ณ วั น ที่ 5 พฤศจิกายน 2552

“สำหรับอีก 2 โครงการ คือ โครงการ บริ ก ารสนั บ สนุ น สิ น เชื่ อ แก่ ผู้ ซื้ อ ในต่ า ง ประเทศ (Buyer’s Credit) เป็นบริการใหม่ ตั้งแต่เดือนกันยายน 2552 เพื่อสนับสนุน นโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการส่งออก สินค้าและบริการของไทย โดย EXIM BANK จะนำเสนอเงินกู้หรือแหล่งเงินกู้เพื่อให้ผู้ซื้อ ในต่างประเทศนำไปใช้ซื้อสินค้าไทย ทั้งนี้ ปัจจุบัน EXIM BANK ได้ลงนามในสัญญา ความร่ ว มมื อ กั บ ธนาคารในต่ า งประเทศ ภายใต้โครงการ Buyer’s Credit เป็นวงเงิน รวม 67 ล้านดอลลาร์สหรัฐ อาทิ ธนาคาร ในอินโดนีเซียและรัสเซีย รวมทั้งอยู่ระหว่าง การลงนามกับธนาคารในศรีลังกา 3 แห่ง วงเงินรวม 25 ล้านดอลลาร์สหรัฐ “และ โครงการสินเชื่อเพื่อซัพพลาย เออร์ ส (EXIM for Your Suppliers) เป็ น บริการใหม่ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2552 เพื่อ เพิ่มสภาพคล่องให้กับซัพพลายเออร์หรือ ผู้ผลิตเพื่อผู้ส่งออกซึ่งเป็นลูกค้าของ EXIM BANK โดยในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน 2552 EXIM BANK ได้ อ นุ มั ติ ว งเงิ น ให้ แ ก่ ผู้ส่งออกรวม 188 ราย วงเงิน 2,098 ล้าน บาท” ดร.อภิชัย บุญธีรวรกล่าวในที่สุด


เคทีบี ลีสซิ่ง

ก้าวสู่ปีที่ 5 รุกเป็นผู้นำ ตลาดสินเชื่อครบวงจร

บริษัท เคทีบี ลีสซิ่ง จำกัด เตรียม ความพร้ อ มก้ า วสู่ ค วามเป็ น ผู้ น ำตลาด สินเชื่อเช่าซื้อ ด้วยบริการที่หลากหลายทุก ความต้ อ งการ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทัศน์ Convenience Bank หรือธนาคาร แสนสะดวกอย่างสมบูรณ์แบบของธนาคาร กรุงไทย ซึ่งเป็นบริษัทแม่ คุณภิญญาวัฒน์ จันทรกานตานนท์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เคทีบี ลีสซิง่ จำกัด เล่าให้ “โลกการค้า” ฟังว่า ที่มาของการ ก่อตั้งบริษัทก็เพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย ให้ได้รับบริการ แบบครบวงจร คือเมื่อลูกค้าของธนาคาร กรุงไทยได้เข้ามาใช้บริการหรือทำธุรกรรม กับทางธนาคารกรุงไทย ลูกค้ายังสามารถ ใช้บริการอย่างอื่นควบคู่กันไปได้อาทิเช่น เช่าซื้อสินค้าต่างๆ เช่าซื้อรถยนต์ หรือแม้ กระทั่ ง ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ยั ง สามารถเช่ า เครื่ อ งจั ก รหรื อ อุ ป กรณ์ ต่ า งๆที่ จ ะเป็ น ใน

การประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการต่างๆ ได้ด้วย ในลักษณะเป็น One Stop Service “บริษทั ให้บริการทางด้านการเงินแบบ Asset Based Financing คือการให้บริการ ทางการเงินภายใต้ตัวทรัพย์สินที่ลูกค้ามี ความต้องการใช้งานกล่าวง่ายๆคือสามารถ นำตัวทรัพย์สินนั้นๆมาเป็นหลักประกันได้ เลยโดยลูกค้าไม่ต้องมีทรัพย์สินอื่นเพื่อมา เป็นหลักประกัน” คุณภิญญาวัฒน์กล่าว บริ ก ารของบริ ษั ท จะแบ่ ง ตามกลุ่ ม ลู ก ค้ า เป็ น 2 กลุ่ ม ใหญ่ ไ ด้ แ ก่ กลุ่ ม ลู ก ค้ า บุ ค คลธรรมดา เป็ น บริ ก ารเช่ า ซื้ อ สิ น ค้ า อุปโภค ซึ่งจะเป็นสินค้าที่มีชื่อเสียงและมี ความหลากหลายกว่า 500 รายการตั้งแต่ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่จำเป็นเกือบทุกประเภท จักรยานยนต์ เครื่องประดับและอื่นๆ เช่า ซื้อรถยนต์ ด้วยเงื่อนไขพิเศษสุด เช่นดาวน์ น้อย ผ่อนนานสำหรับกลุ่มลูกค้าโดยเฉพาะ ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจที่มีเงิน เดือนผ่านธนาคารกรุงไทย และกลุ่ ม ลู ก ค้ า นิ ติ บุ ค คลหรื อ กลุ่ ม ลูกค้าในเชิงพาณิชย์ ให้บริการเช่าแบบลีสซิง่ เป็นการเช่าทรัพย์สินเพื่อประกอบกิจการ เสมือนลูกค้าเป็นเจ้าของในตัวทรัพย์สินนั้น โดยที่ลูกค้าไม่จำเป็นที่จะต้องใช้เงินจำนวน มากเพื่อการซื้อทรัพย์สินนั้นในครั้งเดียวอีก ทั้งลูกค้ายังได้ประโยชน์ในเรื่องของภาษีใน ส่วนของผู้ประกอบการ รถเช่า เป็นกิจการ เช่ารถยนต์เพื่อใช้ในกิจการของลูกค้าโดยที่ ลูกค้าไม่ต้องรับผิดชอบเรื่องการซ่อมบำรุง รวมถึ ง เรื่ อ งประกั น ภั ย และภาษี อี ก ทั้ ง ลู ก ค้ า ยั ง ได้ ป ระโยชน์ ใ นเรื่ อ งของภาษี ใ น ส่วนของผู้ประกอบการ “ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น บริ ษั ท ฯ เปิ ด ตั ว ในปี 2550 มีพั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ เพี ย ง 6 ราย

สินค้าประมาณ 60 รายการ แต่ในระยะ เวลาเพียงสามปีครึ่ง บริษัท เคทีบี ลีสซิ่ง จำกั ด ได้ พั น ธมิ ต รเพิ่ ม ขึ้ น กว่ า 30 ราย และมี สิ น ค้ า ให้ เ ลื อ กกว่ า 600 รายการ ทำให้ ปั จ จุ บั น มี ฐ านลู ก ค้ า เกื อ บ 150,000 ราย และมีมูลค่าสินทรัพย์รวมกว่า 13,000 ล้านบาท เรียกได้ว่า บริษัท เคทีบี ลีสซิ่ง จำกัด เป็นผู้นำด้านธุรกิจเช่าซื้อและลีสซิ่ง ครบวงจร อีกทั้งมีจุดเด่นที่เหนือกว่า แตก ต่างจากบริษัทอื่นในธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยเฉพาะกับกลุม่ None-Bank ต่างประเทศ ที่มุ่งเน้นจับตลาดในห้างสรรพสินค้า เละ โมเดิ ร์ น เทรด แต่ ส ำหรั บ เคที บี ลี ส ซิ่ ง เพียงแค่ท่านเดินเข้ามาในสาขาต่างๆ ของ ธนาคารกรุงไทย ท่านก็สามารถเลือกซื้อ สินค้าแบรนด์เดียวกัน รุน่ เดียวกัน มาตรฐาน เดียวกันจากโรงงานทีว่ างขายอยูใ่ นห้างใหญ่ ทั่วไปได้แล้ว” กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท เคที บี ลีสซิง่ จำกัด กล่าวต่อไปว่าสำหรับแผนงาน และกลยุ ท ธ์ ก ารตลาดของ บริ ษั ท เคที บี ลีสซิ่ง จำกัด ในปีประจำปี 2553 ยังคงเน้น ไปยังกลุ่มลูกค้ าที่เป็นลูก ค้าของธนาคาร กรุงไทยทัง้ ในรูปบุคคลธรรมดาและนิตบิ คุ คล (เชิงพาณิชย์)โดยเฉพาะกลุ่มข้าราชการและ พนักงานรัฐวิสาหกิจสำหรับบุคคลธรรมดา และสำหรับลูกค้าขนาดกลางและขนาดใหญ่ สำหรับลูกค้าในเชิงพาณิชย์โดยเน้นการให้ บริการทีร่ วดเร็ว เงือ่ นไขทีด่ เี มือ่ เปรียบเทียบ กับท้องตลาดการให้บริการที่ประทับใจแก่ ลูกค้าเนื่องจากลูกค้าส่วนที่เป็นลูกค้าของ ธนาคารนั้นยังมีอีกเป็นจำนวนมากที่ยังไม่ ได้ใช้บริการของบริษทั ซึง่ ในอนาคตแนวโน้ม ก็จะมีการปรับรูปแบบการให้บริการต่างๆ ให้ตรงกับกลุ่มลูกค้าเหล่านี้ยิ่งขึ้น

COMMERCIAL WORLD

17T


Leaders

Talk

ท่าอากาศยานไทย ตั้งเป้าพัฒนาสนามบิน สุวรรณภูมิ เฟส 2 บริ ษั ท ท่ า อากาศยานไทย จำกั ด (มหาชน) วางแผนขยายขีดความสามารถ ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 เพือ่ รองรับผู้โดยสารจากเดิม 45 ล้านคนต่อปี เป็น 65 ล้านคนต่อปี คุ ณ ปิ ย ะพั น ธ์ จั ม ปาสุ ต ประธาน กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ให้สัมภาษณ์นิตยสารโลกการค้า ถึงแผนงานขยาย และพัฒนาท่าอากาศยาน สุ ว รรณภู มิ ปี 2553-2556 ระยะเวลา ดำเนินการ 4 ปี เพือ่ บรรเทาความแออัดของ อาคารผู้โดยสารหลัก ในส่วนของอาคาร ผู้ โ ดยสารภายในประเทศ ซึ่ ง อยู่ ร ะหว่ า ง นำเข้ า คณะกรรมการแผนวิ ส าหกิ จ และ งบประมาณ เพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป “การขยายขีดความสามารถของท่า อากาศยานสุวรรณภูมิในอนาคต จะช่วย เพิ่มรายได้จากกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ในด้าน ต่างๆ ได้แก่ 1) โครงการ Community Mall ซึง่ จะตอบสนองความต้องการในการใช้ชวี ติ ประจำวั น ของผู้ ค นที่ พั ก อาศั ย ในบริ เ วณ รั ศ มี ไ ม่ เ กิ น 5 กิ โ ลเมตร ประกอบด้ ว ย

T18

COMMERCIAL WORLD

หมู่บ้านครอบครัวใหม่ มีเด็กอายุตั้งแต่แรก เกิดจนถึงชั้นประถมศึกษา อพาร์ตเม้นท์ สำหรับผู้บริหารหรือพนักงานที่ปฏิบัติงาน ภายในท่ า อากาศยานจำนวนมาก ด้ ว ย กิ จ กรรมที่ ห ลากหลายและตรงกั บ ความ ต้ อ งการ เช่ น ร้ า นอาหารและเครื่ อ งดื่ ม ร้ า นสะดวกซื้ อ ร้ า นค้ า ปลี ก สปา ทั น ต กรรม ร้านหนังสือ ศูนย์เช่าและจำหน่าย วิดิโอ โรงเรียนสอนภาษาและดนตรี และ ร้ า นจำหน่ า ยอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ อุปกรณ์มือถือ เป็นต้น 2) โครงการให้เอกชนร่วมทุนพัฒนา ธุรกิจบนที่ดินแปลง 37 ของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ซึ่งผลการศึกษาทบทวน Master Plan เห็นว่าจะได้รบั ผลกระทบทางด้านเสียง และความสูงจากการก่อสร้างทางวิ่งที่ 4 ซึ่ง คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างภายในระยะเวลา 10 ปี และองค์ ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว่ า ง ประเทศ (ICAO) เสนอให้ใช้พนื้ ทีบ่ ริเวณด้าน ทิศใต้จำนวน 600 ไร่ สำหรับใช้พฒั นาธุรกิจ เชิงพาณิชย์แทน” สำหรับโครงการทีเ่ หลืออีก 2 โครงการ ได้แก่ โครงการให้เอกชนดำเนินการก่อสร้าง และบริ ห ารคลั ง สิ น ค้ า ส่ ว นกลาง ภายใน บริเวณเขตปลอดอากรที่ ส ำรองไว้ เ พื่ อ ใช้ ประโยชน์ ใ นอนาคต ประมาณ 40,000 ตารางเมตร ซึ่ ง สามารถพั ฒ นาเป็ น คลั ง สินค้าสำหรับผู้ขนส่งสินค้าขนาดกลางและ เล็ก รวมทั้งสินค้าตามฤดูกาล คลังสินค้า

สำหรั บ เพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า ตลอดจนพื้ น ที่ สำหรับขนส่งสินค้าเร่งด่วนทางอากาศ ส่วนอีกโครงการหนึ่ง คือ โครงการ ศูนย์ธุรกิจรถยนต์ครบวงจร เช่น คาร์แคร์ ศูนย์ซ่อมรถยนต์ โชว์รูมรถยนต์ ร้านเครื่อง เสียงและประดับยนต์ ร้านเปลี่ยนยาง และ อื่ น ๆ เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารรถยนต์ และรถยนต์ สาธารณะที่เข้าไปในบริเวณท่าอากาศยาน ตามแผนพั ฒ นาท่ า อากาศยาน สุ ว รรณภู มิ แ บ่ ง ออกเป็ น กลุ่ ม อาคารผู้ โดยสารภายในประเทศใช้เงินลงทุน 9,133 ล้านบาท คาดว่าจะเริ่มโครงการในปี 2553 และเสร็ จ สิ้ น ในปี 2556 สามารถรองรั บ ผู้ โ ดยสารได้ เ พิ่ ม ขึ้ น 20 ล้ า นคนต่ อ ปี หลุมจอดประชิดอาคาร 15 หลุม และกลุ่มอาคาร Midfield เงินลงทุน 73,739 ล้านบาท คาดว่าเริ่มโครงการได้ใน ปี 2554 และแล้วเสร็จในปี 2559 สามารถ รองรับผู้โดยสารเพิ่มขึ้น 15 ล้านคนต่อปี หลุ ม จอดประชิ ด อาคาร 28 หลุ ม สำหรั บ อากาศยานขนาดใหญ่ รวมทั้ง A380 และ เที่ยวบินเพิ่มขึ้น 19 เที่ยวบิน คุณปิยะพันธ์ กล่าวในที่สุดว่า “ท่า อากาศยานสุวรรณภูมิมีความได้เปรียบทาง ด้านภูมศิ าสตร์ หากสามารถรักษาสถานภาพ การเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไว้ได้ จะ ส่งผลให้ประเทศไทยมีรายได้ทั้งจากการ ท่องเที่ยวและการขนส่งสินค้าได้มากขึ้น”


เคทีซีอัดแคมเปญ

เติมความสุขส่งท้ายปีเก่า รับบัตรเครดิตปีนี้มีอัตรา การเติบโตลดลง บริษัท บัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ “เคทีซ”ี กระตุน้ ยอดการใช้จา่ ยส่งท้าย ปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เปิดไอเดีย KTC Forever Rewards “คะแนนสะสมแลกรับเงินสดคืน เข้าบัญชี” คุณวรวุฒิ นิสภกุลธร รองประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สายงานบัตรเครดิต เคทีซี เปิ ด เผยถึ ง กลยุ ท ธ์ ก ารตลาดสำหรั บ ช่ ว ง เทศกาลปลายปี ซึ่งถือเป็นช่วงไฮซีซั่นของ ธุรกิจว่า “เคทีซี ได้คัดสรรโปรโมชั่นพิเศษที่ยัง คงเน้นเรื่องการใช้จ่ายที่คุ้มค่า โดยกระตุ้น ให้สมาชิกนำคะแนนสะสม KTC Forever Rewards มาแลกรั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษในหลาก หลายรูปแบบ เพื่อตอกย้ำความเป็นผู้ริเริ่ม และผู้นำกลยุทธ์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ คะแนนสะสม ปั จ จุ บั น เคที ซี นั บ เป็ น บั ต ร เครดิตที่มีระบบรองรับการแลกใช้คะแนน สะสม ณ จุดให้บริการตามร้านค้าต่างๆ

ทัว่ ประเทศมากทีส่ ดุ ถึง 2,700 จุดทัว่ ประเทศ โดยมีพันธมิตรร้านค้าทั้งสิ้น 80 ราย หรือ มากขึ้น 900% เมื่อเทียบกับปี 2550 ที่เคทีซี เริ่มปฏิวัติระบบการแลกคะแนนสะสมเป็น ครัง้ แรก ซึง่ ขณะนัน้ มีพนั ธมิตรเพียง 9 ราย” คุณวรวุฒิบอกว่า จากการเก็บข้อมูล การใช้จ่ายของสมาชิกเคทีซีในช่วงไฮซีซั่น ของทุกปี พบว่าสัดส่วนการใช้จ่ายในหมวด ต่ า งๆ ของกลุ่ ม สมาชิ ก ทั่ ว ไป และกลุ่ ม สมาชิกระดับบนมีความแตกต่างกัน โดย สมาชิกทั่วไปมียอดการใช้จ่าย 500 บาท/ บั ต ร/คน ขณะที่ ส มาชิ ก ระดั บ บนยอดใช้ จ่าย 150,000 บาท/บัตร/คน การจัดแคมเปญช่วงปลายปีระหว่าง 15 พฤศจิกายน 2552 ถึ ง 28 กุ ม ภาพั น ธ์ 2553 เพื่ อ ตอบ สนองความต้องการของสมาชิกทั้งสองกลุ่ม จะช่วยกระตุ้นยอดการใช้บัตรเพิ่มขึ้น “ปั จ จุ บั น มี ย อดค่ า ใช้ จ่ า ยทั้ ง พอร์ ต ประมาณ 1.7 ล้านบาท โดยสมาชิกใช้บัตร

โดยเฉลี่ย 11,000 บาท/บัตร/คน เพิ่มขึ้น จากปีทแี่ ล้วทีใ่ ช้เพียง 10,000 บาท/บัตร/คน โดยรวมแล้วยอดใช้บตั รไม่ลด แต่การเติบโต ลดลง คาดว่าปีนี้ทั้งปีจะเติบโตประมาณ 5-10% ขณะที่ ปี 2551 เติ บ โตได้ 20%” คุณวรวุฒิกล่าว คุ ณ วรวุ ฒิ ค าดการณ์ ด้ ว ยว่ า ในปี 2553 คาดว่ า เศรษฐกิ จ จะค่ อ ยๆ ฟื้ น ตั ว ซึ่งจะเป็นผลให้จำนวนผู้ถือบัตรของเคทีซี มีเพิ่มขึ้น โดยตั้งเป้าหมายว่าจะมีจำนวน ผู้ถือบัตรใหม่ จำนวน 200,000 ใบ ขณะที่ ในปี นี้ จ ำนวนผู้ ถื อ บั ต รใหม่ น่ า จะอยู่ ที่ 180,000 ใบ

COMMERCIAL WORLD

19T


Special

Report

โดย : ฝ่ายวิจัยธุรกิจ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ทิศทางการส่งออกและ ลงทุนปี 2553 ความท้าทายใหม่หลังเศรษฐกิจโลกฟื้นตัว การค้าการลงทุนภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกันเองมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เพื่อสร้างเครือข่ายการผลิต (Production Network) ให้กว้างขวางโดยใช้ประโยชน์จากต้นทุนค่าขนส่งที่ต่ำ ความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร ตลอดจนความคุ้นเคยทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจโลกที่ตกต่ำอย่างหนักในปี 2552 สร้างความเสียหายไม่เพียงแต่สหรัฐฯ ทีเ่ ป็นประเทศต้นตอของปัญหาแต่ยงั ลุกลาม ไปยังประเทศยักษ์ใหญ่อนื่ ๆ ทัง้ สหภาพยุโรป (European Union : EU) และญี่ปุ่นซึ่งล้วน เป็นผู้เล่นหลักในเวทีการค้าการลงทุนของ โลก สถานการณ์ดงั กล่าวทำให้ประเทศต่างๆ ได้รับผลกระทบเป็นลูกโซ่ผ่านทั้งภาคการ เงินและภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง ส่งผลให้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั่วโลกต้องเผชิญกับ ภาวะถดถอยอย่างรุนแรงอีกครัง้ อย่างทีไ่ ม่เคย ปรากฏมาก่อนนับตัง้ แต่ Great Depression ในช่วงทศวรรษที่ 1930 ประเทศไทยในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่ง ในห่วงโซ่อุปทานของโลก (Global Supply Chain) ก็ เ ป็ น ประเทศหนึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ผล กระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในรอบนี้อย่าง หลีกเลีย่ งไม่ได้ เนือ่ งจากประเทศไทยพึง่ พา

T20

COMMERCIAL WORLD

ภาคส่ ง ออกเป็ น ตั ว จั ก รสำคั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ดั ง เห็ น ได้ จ ากสั ด ส่ ว น มูลค่าส่งออกต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) ที่สูงกว่า 60% ตลอดช่วงหลายปีที่ผ่านมา ดังนั้นเมื่อประเทศคู่ค้าต่างประสบปัญหา

ทางเศรษฐกิจ แน่นอนว่าภาคส่งออกของ ไทยก็ย่อมถูกกระทบ โดยเฉพาะสินค้าส่ง ออกทีพ่ งึ่ พาตลาดหลักในสัดส่วนสูง อย่างไรก็ตาม วิกฤตเศรษฐกิจโลกใน ครั้ ง นี้ นั บ เป็ น บทเรี ย นครั้ ง สำคั ญ ที่ ท ำให้ ประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยตระหนัก ถึงความจำเป็นทีจ่ ะต้องหันมาทบทวนยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ เป็นการเร่งด่วน เพื่อให้ การค้าการลงทุนของประเทศเดินหน้าต่อไป ได้และพร้อมฝ่าฟันกับความท้าทายใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นหลังจากเศรษฐกิจโลกกลับมา ฟื้นตัว ทั้งนี้คาดว่าทิศทางการค้าและการ ลงทุนของไทยในปี 2553 จะมีการปรับตัว อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาพ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปดังนี้ ตลาดใหม่จะยิ่งทวีความสำคัญยิ่งขึ้น ควบคู่ไปกับการรักษาตลาดหลักเดิม วิกฤต เศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้บนั่ ทอนความแข็งแกร่ง


ทางเศรษฐกิจของตลาดหลักของไทยไปมาก ขณะที่ประเทศเศรษฐกิจใหม่โดยเฉพาะจีน อินเดียและประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตลอดจนประเทศในตะวันออกกลางสามารถ ประคองตัวได้ค่อนข้างดี สถานการณ์เช่นนี้สะท้อนให้เห็นว่า ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของโลกกำลังเปลีย่ น ถ่ายจากโลกตะวันตกมาสู่โลกตะวันออก ชัดเจนขึ้น พร้อมๆ กับการที่ตลาดใหม่เริ่ม ขยับสถานะเทียบชั้นประเทศเศรษฐกิจหลัก เดิมมากขึ้น บทบาทของตลาดใหม่ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ใน เวทีการค้าโลกนี้เองทำให้มีการเสนอให้ใช้ เวทีการประชุม G20 ซึ่งเป็นการรวมตัวของ ประเทศพัฒนาแล้วกับประเทศกำลังพัฒนา ขนาดใหญ่ให้เป็นเวทีในการกำหนดทิศทาง และกติกาเศรษฐกิจระหว่างประเทศแทน จากเดิมทีก่ ารกำหนดนโยบายทำโดยประเทศ ในกลุ่ ม G8 ซึ่ ง มี แ ต่ ป ระเทศพั ฒ นาแล้ ว เท่านั้น สภาพแวดล้อมดังกล่าวเป็นเสมือน เข็ ม ทิ ศ บอกทางให้ทราบว่า ถึงเวลาแล้วที่ ผู้ประกอบการไทยควรต้ อ งรี บ เข้ า ไปยึ ด หัวหาดในตลาดใหม่อย่างจริงจังในภาวะที่ ตลาดเหล่านี้ยังขาดแคลนสินค้าและบริการ

อี ก มากทั้ ง ในเชิ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพ ประกอบกั บ คู่ แ ข่ ง ยั ง มี ไ ม่ ม ากนั ก ขณะที่ ประเทศไทยเองมีความพร้อมหลายด้านใน การเข้าไปเจาะตลาดทีม่ ศี กั ยภาพ โดยเฉพาะ ตลาดใหม่ ใ นเอเชี ย โดยอาศั ย จุ ด แข็ ง ใน เรื่องทำเลที่ตั้งที่อยู่ใกล้กัน การมีเครือข่าย คมนาคมโยงใยกว้างขวาง ทีส่ ำคัญการผลิต ของไทยมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลาย เพียงพอที่ทำให้เกิดการผลิตอย่างครบวงจร อย่างไรก็ตาม ในส่วนของตลาดหลัก เดิ ม ก็ ยั ง มี ค วามสำคั ญ และไม่ ค วรละทิ้ ง เพราะเป็นตลาดที่มีกำลังซื้อสูง แต่การทำ ตลาดอาจต้ อ งปรั บ กลยุ ท ธ์ ไ ปจากเดิ ม โดยหันมาทำตลาดแบบแยกส่วน (Market Segmentation) มากขึ้น เพื่อเจาะลึกลง รายละเอียดในแต่ละกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เช่น กลุ่มผู้สูงอายุที่ต้องการสินค้าที่คำนึง ถึงประโยชน์ต่อสุขภาพเป็นหลัก กลุ่มเด็กที่ พ่อแม่เป็นผู้ตัดสินใจซื้อจะคำนึงถึงคุณภาพ สิ น ค้ า และความปลอดภั ย มากพอๆ กั บ ปัจจัยด้านราคา เป็นต้น การค้าภายใต้เขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA) จะกลับมาคึกคักขึ้น หลังเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวรอบใหม่ พร้อมๆ กับการที่ภาครัฐจะเดินหน้าเจรจาเปิดเสรีใน

ระดับต่างๆ อย่างจริงจังในฐานะเครื่องมือ ในการดำเนินยุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อช่วงชิง ความได้เปรียบด้านการค้าการลงทุน ทั้งนี้ การเปิดเสรีในระดับทวิภาคีกับประเทศคู่ค้า ที่มีศักยภาพ นอกจากจะเป็นกลไกสำคัญ ในการลดอุปสรรคทางการค้าทั้งที่อยู่ในรูป ของภาษีและมิใช่ภาษีเพื่อขยายตลาดส่ง ออกและเป็นการเพิ่มทางเลือกในการนำเข้า ปัจจัยการผลิตราคาถูกจากประเทศคู่เจรจา แล้ว ยังสามารถใช้ประเทศคูเ่ จรจาเป็นประตู การค้าสูป่ ระเทศใกล้เคียงอืน่ ๆ ขณะเดียวกัน แนวทางนี้ถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการ สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจและการเมือง ทางอ้อม เพื่อใช้เป็นสะพานสร้างอำนาจต่อ รองในเวทีการเจรจาในระดับพหุภาคีต่อไป ในอนาคต นอกจากกระแสการเปิดเสรีดังกล่าว แล้ว คาดว่าการค้าการลงทุนภายในภูมภิ าค เอเชียด้วยกันเองมีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ เพือ่ สร้างเครือข่ายการผลิต (Production Network) ให้กว้างขวางโดยใช้ประโยชน์จาก ต้นทุนค่าขนส่งที่ต่ำ ความสะดวกในการ ติดต่อสื่อสาร ตลอดจนความคุ้นเคยทาง วัฒนธรรม โดยมีกลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วน ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ กลยุทธ์การตลาดจะเน้นตอบสนอง วิ ถี ก ารดำเนิ น ชี วิ ต แบบใหม่ ข องผู้บ ริ โ ภค โดยให้ความสำคัญกับการเพิ่มมูลค่าและ สร้างความแตกต่างให้กับสินค้าแทนการ เน้นแข่งขันด้านราคา อาทิ การผลิตสินค้า ให้ ส อดรั บ กั บ วิ ถี ก ารดำเนิ น ชี วิ ต ที่ เ ร่ ง รี บ รวมทั้งกระแสการบริโภคที่คำนึงถึงสุขภาพ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และมีการใช้แรงงาน ในการผลิตอย่างเหมาะสม ตลอดจนความ ใส่ใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบขององค์กร ธุรกิจต่อสังคม (Corporate Social ResponCOMMERCIAL WORLD

21T


Special

Report

sibility : CSR) ซึง่ ล้วนเป็นประเด็นทีผ่ บู้ ริโภค ทั่วโลกกำลังให้ความสนใจและจุดประกาย ให้ประเทศคู่ค้าสำคัญ โดยเฉพาะยุโรปหัน มากำหนดมาตรฐานสิ น ค้ า นำเข้ า อย่ า ง จริ ง จั ง มากขึ้ น อาทิ ข้ อ กำหนดเกี่ ย วกั บ ระเบี ย บฉลากสิ น ค้ า ไม่ ว่ า จะเป็ น Green Label, Carbon Footprint, Fairtrade Label นอกจากนีก้ ารทำการค้าในเสีย้ ววินาที ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (E-commerce) ที่ สร้างมิติใหม่ให้แก่วงการการค้าโลกก็เป็น แรงกดดันหนึ่งที่ทำให้ผู้ประกอบการจำเป็น ต้องติดตามกระแสการค้าและความต้องการ ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างใกล้ชิด เพื่อปรับตัวและสร้างความได้เปรียบเหนือ คู่แข่ง อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ (Creative Industry) จะมีบทบาทมากขึ้นในการขับ เคลื่อนการค้าระหว่างประเทศ โลกการค้า ปัจจุบันเต็มไปด้วยการแข่งขัน ส่วนหนึ่ง เป็ น เพราะจำนวนคู่ แ ข่ ง เพิ่ ม ขึ้ น มาก ที่ สำคัญคือผู้ผลิตรายใหม่ที่เพิ่งเปิดประเทศ รับการค้าการลงทุนจากต่างประเทศได้ไม่ นานเข้ามามีบทบาทในตลาดอย่างเห็นได้ ชัด โดยเฉพาะการเป็นผู้ผลิตและส่งออก

T22

COMMERCIAL WORLD

สินค้าระดับล่างที่เน้นแข่งขันด้านราคา ดังนั้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้ประเทศ ไทยอยูร่ อดได้ทา่ มกลางคลืน่ ลูกใหม่ทถี่ าโถม เข้าสู่ตลาดตลอดเวลา โดยเฉพาะช่วงหลัง วิ ก ฤตซึ่ ง แต่ล ะประเทศต้ อ งเร่ ง หารายได้ เพื่อทดแทนส่วนที่หายไปในช่วงที่เศรษฐกิจ บอบช้ ำ ผู้ ป ระกอบการไทยจึ ง ควรวาง ตำแหน่ง (Position) สินค้าและกำหนดจุดยืน ที่จะขึ้นมาเป็นผู้เล่นในตลาดระดับกลางถึง ระดั บ บนให้ ม ากขึ้ น โดยใช้ ค วามคิ ด เชิ ง สร้างสรรค์ผสมผสานกับจุดเด่น ทั้งในเชิง ศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรม หัตถกรรมพื้น บ้าน อาหาร และการแสดง เพือ่ ใช้เป็นจุดแข็ง ในการชิงชัยในสนามการค้าซึง่ ยากทีป่ ระเทศ ใดจะมาเลียนแบบ ซึง่ กรณีตวั อย่างของประเทศที่ดำเนิน ตามวิ ถี ท างดั ง กล่ า วจนประสบผลสำเร็ จ อย่างน่าชื่นชมคือ เกาหลีใต้ ซึ่งเป็นผู้สร้าง ตำนานในการดึงจุดเด่นทางวัฒนธรรมและ วิถชี วี ติ ผ่านกิจกรรมการท่องเทีย่ วและภาพยนตร์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม สำหรับประเทศไทยเริ่มมีสัญญาณที่ ดีในการเกาะไปกับกระแสดังกล่าว เพราะ รัฐบาลได้มีนโยบายในการส่งเสริมอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้เป็นฟันเฟืองสำคัญ

ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการค้าของ ประเทศ โดยตั้งเป้าเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ของอุตสาหกรรมดังกล่าวจากราว 900,000 ล้านบาทในปี 2551 เป็น 1.8 ล้านล้านบาท ภายในปี 2555 การค้าบริการจะมีบทบาทมากขึ้นคู่ ขนานไปกับการค้าสินค้า คาดว่าประเทศ ต่างๆ จะใช้การค้าภาคบริการเป็นเครื่อง มือในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง หลั ง จากวิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ผ่ า นพ้ น ไป ซึ่ ง นอกจากเป็นช่องทางช่วยเพิ่มรายได้ให้กับ ประเทศแล้ว ยังช่วยลดความเสี่ยงจากการ พึ่งพาการค้าสินค้าแต่เพียงอย่างเดียว โดย เฉพาะในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำอีกด้วย สำหรับกรณีของประเทศไทย ธุรกิจ บริ ก ารที่ มี ศั ก ยภาพในการรองรั บ ความ ต้องการของตลาดและสามารถพัฒนาจน ก้าวขึ้นไปเป็นศูนย์กลางการค้าบริการของ ภู มิ ภ าคได้ แ ก่ บริ ก ารด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว บริการด้านสุขภาพ บริการด้านโลจิสติกส์ รวมทั้งบริการด้านการถ่ายทำและตัดต่อ ภาพยนตร์ เป็นต้น นอกจากนีไ้ ทยยังสามารถใช้ศกั ยภาพ ที่มีอยู่ในอุตสาหกรรมที่มีความสามารถใน การแข่งขัน เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ เพือ่ ต่ อ ยอดกิ จ กรรมการผลิ ต ที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ให้ มี มูลค่าเพิ่ม โดยการพัฒนาและยกระดับการ ผลิ ต ให้ ก ลายเป็ น ศู น ย์ ก ลางการวิ จั ย และ พัฒนา (Research and Development : R&D) ศูนย์กลางการทดสอบคุณภาพสินค้า และศูนย์ซ่อมบำรุง รวมทั้งเป็นศูนย์กลาง ในการประกอบและจัดส่งชิ้นส่วนอุปกรณ์ ไปยังโรงงานต่างๆ ทั่วโลก เป็นต้น การลงทุนพัฒนาพลังงานทางเลือก เป็นสิ่งจำเป็น เป็นที่แน่ชัดว่าเชื้อเพลิงจาก ฟอสซิ ล นั บ วั น มี แ ต่ จ ะร่ อ ยหรอลงและมี ราคาสูงขึ้น โดยเฉพาะเมื่อเศรษฐกิจโลก


ผู้ประกอบการไทยจึงควรวางตำแหน่ง (Position) สินค้าและกำหนดจุดยืนที่จะขึ้นมา เป็นผู้เล่นในตลาดระดับกลางถึงระดับบน ให้มากขึ้น โดยใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค ์ผสมผสานกับจุดเด่น ทั้งในเชิงศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรม หัตถกรรมพื้นบ้าน อาหาร และการแสดง เพื่อใช้เป็นจุดแข็งในการชิงชัย ในสนามการค้า ฟื้นตัวขึ้นรอบใหม่ ส่งผลให้หลายประเทศมี แนวโน้ ม กลั บ มาให้ ค วามสำคั ญ กั บ การ พัฒนาพลังงานทดแทนอย่างจริงจังมากขึ้น ทั้งเพื่อทดแทนการนำเข้าและสร้างโอกาสสู่ การผลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออกสำหรั บ ประเทศที่ มี ความพร้อมและมีศักยภาพเพียงพอ ด้วย เหตุนี้ประเทศต่างๆ จึงเริ่มจริงจังมากขึ้น กับการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับพลังงาน ทดแทนและส่งเสริมการหาแหล่งพลังงาน ใหม่ ๆ โดยเฉพาะพลั ง งานที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อมแทนการใช้พลังงานจากฟอสซิล เช่น น้ำมันดิบ ขณะเดี ย วกั น คาดว่ า การสร้ า งและ พัฒนาเทคโนโลยีที่ช่วยประหยัดพลังงานจะ คึกคักขึน้ ท่ามกลางราคาพลังงานทีจ่ ะกลับมา สูงขึน้ อีก ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนา Solar Cell ที่สามารถแปลงพลังงานจากแสงอาทิตย์มา เป็ น พลั ง งานไฟฟ้ า เพื่ อ ลดต้ น ทุ น การใช้ พลังงานทั้งในภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม รวมทั้ ง การพัฒนา Eco-Car ซึ่ง เป็นรถยนต์ขนาดเล็กประหยัดพลังงานและ Hybrid-Car ที่ ใ ช้ พ ลั ง งานส่ ว นหนึ่ ง จาก แบตเตอรี่ เพื่อลดการใช้พลังงานจากน้ำมัน ที่มีราคาแพงและก่อให้เกิดมลภาวะต่อ สิง่ แวดล้อม สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นนวัตกรรมที่มี ส่วนช่วยเสริมและต่อยอดการพัฒนาพลังงาน

ทดแทนอีกทางหนึ่ง สำหรับประเทศไทยมีสินค้าในกลุ่ม พลังงานทางเลือกที่มีอนาคตไกลและไทย มีศักยภาพอาทิ ไบโอดีเซลซึ่งคาดว่าความ ต้องการในตลาดโลกจะเพิ่มขึ้นมาก ขณะที่ การผลิตของไทยมีความพร้อมในการรองรับ ความต้องการใช้ในประเทศทัง้ ปัจจัยสนับสนุน ด้านวัตถุดิบ ตลอดจนแรงหนุนสำคัญจาก นโยบายของรัฐบาลก็มีส่วนสำคัญในการ ปู พื้ น ฐานการพั ฒ นาให้ กั บ อุ ต สาหกรรม ไบโอดีเซลของประเทศ การลงทุนในต่างประเทศกลายเป็น เงื่อนไขจำเป็นสำหรับหนทางอยู่รอด โดย เฉพาะในอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยเริ่ม สูญเสียความสามารถในการแข่งขัน เช่น อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ ทางการเกษตร และทางการประมง อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ แรงงานมาก รวมถึงอุตสาหกรรมหนักบาง ประเภทที่เริ่มประสบข้อจำกัดในการ ขยาย พื้นที่ลงทุน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ แสวงหาพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสม วัตถุดิบและแรงงาน รวมถึงเป็นการขยาย ตลาดไปยังประเทศที่เข้าไปลงทุนหรือใช้ สิทธิพเิ ศษทางภาษีของประเทศทีเ่ ข้าไปลงทุน ในการส่งออกไป ยังประเทศอื่น ท่ามกลาง กระแสการใช้มาตรการทางการค้าที่มิใช่

ภาษีผา่ นกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rule of Origin) ซึง่ ประเทศคูค่ า้ ต่างๆ โดยเฉพาะ ประเทศพัฒนาแล้วนำมาใช้อย่างแข็งขันขึ้น การลงทุนในต่างประเทศจึงเป็นทาง ออกของผูป้ ระกอบการส่งออกในหลากหลาย อุตสาหกรรมทีจ่ ะพบเห็นมากขึน้ ในระยะต่อ จากนีไ้ ป ขณะทีผ่ ปู้ ระกอบการไทยส่วนหนึง่ มี ป ระสบการณ์ แ ละมี ค วามพร้ อ มในการ เข้าไปทำธุรกิจในต่างประเทศมากขึ้นเป็น ลำดับ อย่างไรก็ตาม การค้าการลงทุนในปี 2553 มีปัจจัยที่ท้าทายผู้ประกอบการไทย อยู่ ร อบด้ า น โดยเฉพาะการฟื้ น ตั ว ของ เศรษฐกิ จ ประเทศที่ เ ป็ น ตลาดหลั ก ทั้ ง สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่นที่ยังคงมีความไม่ แน่นอนสูง นโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตลาดใหม่ ยั ก ษ์ ใ หญ่ อ ย่ า งจี น ที่ จ ะมี ส่ ว น อย่างสำคัญในการกำหนดทิศทางเศรษฐกิจ และการค้ า ของโลก การอ่ อ นค่ า ของเงิ น ดอลลาร์สหรัฐและความผันผวนของเงินบาท ในทิศทางแข็งค่าขึ้น ต้นทุนราคาน้ำมันเ ชือ้ เพลิงทีม่ แี นวโน้มสูงขึน้ หลังจากเศรษฐกิจ โลกกลับมาฟื้นตัว ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ล้วน เป็ น สิ่ ง กำหนดทิ ศ ทางการค้ า การลงทุ น ที่สำคัญยิ่งที่ต้องจับตามองอย่างใกล้ชิดใน ปี 2553 COMMERCIAL WORLD

23T


Cover

Story

เรื่อง : กองบรรณาธิการ

T24

COMMERCIAL WORLD


LAOS

ขุมทรัพย์ ใหม่แห่งเอเชีย

ขณะที่โลกกำลังสะบักสะบอมจากพิษไข้เศรษฐกิจ อันเนื่องจากภาวะวิกฤติ การเงินที่ลุกลามใหญ่โตจนยากจะแก้ ไข แต่ประเทศหนึ่ง ซึ่งอยู่ปลายจมูกของเรานี่เอง กำลังร่ำรวยขึ้นอย่างเงียบๆ โดยที่ ไม่มี ใครได้ทันสังเกต และใส่ ใจ ประเทศที่ พู ด ถึ ง นี้ ก็ คื อ ประเทศ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว หรือที่เรียกย่อๆ ว่า “สปป.ลาว” ประเทศที่ มีประชากรเพียง 6 ล้านคน แต่มที รัพยากรธรรมชาติ อ ย่ า งมหาศาล ทั้ ง บนดิ น และ ใต้ดนิ จนนักลงทุนจากทัว่ โลกอดทีจ่ ะชายตา มองไม่ได้ หากไม่เป็นเพราะผูน้ ำของ สปป. ลาว ที่พยายามเปิดประเทศอย่างสุขุม รอบคอบ ด้ ว ยความหวงแหนทรั พ ยากรอั น ล้ ำ ค่ า ป่ า นนี้ สปป.ลาว คงเนื อ งแน่ น ไปด้ ว ย นักลงทุนต่างชาติไปแล้ว และโดยเหตุที่รัฐบาลของ สปป.ลาว ระมั ด ระวั ง ในการเปิ ด รั บ นั ก ลงทุ น จาก ต่างประเทศนี่เอง ทำให้ข้อมูลต่างๆ ของ ประเทศนี้หาได้อย่างยากเย็นยิ่ง เพื่อที่จะเปิด “ขุมทรัพย์” ของ สปป. ลาวให้เป็นที่ปรากฎ นิตยสาร “โลกการค้า”

คุณอภิชาติ เพชรรัตน์ กงศุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต

จึ ง ได้ ติ ด ต่ อ ขอสั ม ภาษณ์ คุ ณ อภิ ช าติ เพชรรัตน์ ท่านกงศุลใหญ่ ณ แขวงสะหวัน นะเขต และได้รับเกียรตินำเสนอมุมมอง เกี่ยวกับ สปป.ลาวด้วยสายตาของนักการ ต่างประเทศที่คลุกคลีอยู่ในประเทศนี้

ขยายตัวทุกด้าน ท่ า นกงศุ ล ใหญ่ ณ แขวงสะหวั น นะเขต เกริ่นให้เห็นถึงภาวะเศรษฐกิจใน ส่วนของ สปป.ลาวปัจจุบันว่า แม้จะมีผล กระทบจากวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ของโลกเช่ น เดียวกับหลายประเทศ แต่ยังคงมีศักยภาพ สูง เนื่องจากที่ผ่านมาระบบเศรษฐกิจของ ลาวค่อนข้างจะมีความมั่นคงมาโดยตลอด นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1992 เป็นต้นมา ที่มีระบบ เศรษฐกิจที่เรียกว่า “จินตนาการใหม่” ซึ่ง รั ฐ บาลเปิ ด โอกาสให้ เ อกชนเป็ น เจ้ า ของ ทรัพย์สิน ที่ดินได้ มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ระยะต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ถือว่าสามารถ ดึ ง ดู ด นั ก ลงทุ น ได้ ดี ทางด้ า นการเมื อ ง ภายในของลาวก็ค่อนข้างมีเสถียรภาพ เป็น สิ่งที่นักลงทุนต่างชาติให้ความสนใจ ขณะ เดียวกันค่าเงินกีบก็ค่อนข้างมีความมั่นคง เมื่อเทียบกับดอลล่าร์และเงินบาทในช่วง COMMERCIAL WORLD

25T


Cover

Story

2-3 ปีที่ผ่านมาก็ไม่ได้แปรผันมาก อยู่ใน เกณฑ์ประมาณ 240-250 กีบต่อ 1 บาท “ประเทศลาวกำลังมีนโยบายพัฒนา ที่ จ ะให้ เ ป็ น ประเทศอุ ต สาหกรรม มี ก าร พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานทางด้ า นถนน หนทาง รถไฟ สนามบิน เพื่ออำนวยความ สะดวกให้นักลงทุน และนักท่องเที่ยวจาก ต่างประเทศ บรรยากาศโดยรวม การค้า การลงทุ น การท่ อ งเที่ ย วมี ค วามคึ ก คั ก และขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง” คุ ณ อภิ ช าติ กล่าว ในปี 2551 จีดพี ขี อง สปป.ลาวเท่ากับ 728 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ คน สู ง ขึ้ น กว่ า ปี 2550 ขณะที่คาดว่าในปี 2552 อัตราการ เจริญเติบโตจะประมาณ 7% ซึ่งถือว่าอยู่ใน เกณฑ์ดี แต่ในภาคการผลิตการส่งออกมี การปรับตัวลดลงบ้าง เนื่องจากผลกระทบ จากเศรษฐกิจโลก สำหรั บในส่ ว นของการลงทุนได้รับ ความสนใจ ทั้งจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จีน เวียดนาม ไทย และจากประเทศอื่นๆ เข้าไปลงทุนอย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก สปป. ลาวมี ค วามมั่ น คงทางการเมื อ ง มี ค วาม ปลอดภั ย มี ค่ า แรงที่ ถู ก สามารถดึ ง ดู ด นักลงทุนต่างชาติได้มาก “ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552 มี การลงทุนจากต่างประเทศ 208 โครงการ โดยเวี ย ดนามมาเป็ น อั น ดั บ 1 ประมาณ 1,400 ล้ า นเหรี ย ญสหรัฐฯ จีนเป็นอันดับ สอง 932 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และไทยเป็น อันดับสาม 908 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในแง่ ของการลงทุ น เซ็ ก เตอร์ ที่ นั ก ลงทุ น ให้ ความสนใจมากที่ สุ ด ก็ คื อ ด้ า นพลั ง งาน ด้านเหมืองแร่ ด้านการเกษตรอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การก่อสร้าง การผลิตกระแส ไฟฟ้า และธุรกิจการบริการ”

T26

COMMERCIAL WORLD

ส่งเสริมการลงทุน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ของ สปป. ลาว มี ห ลั ก การว่ า ประการแรก จะต้ อ ง สร้ า งโครงสร้ า งพื้ น ฐานเพื่ อ รองรั บ การ พัฒนาประเทศในด้านอุตสาหกรรม ประการ ที่สอง คือให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโต ต่อเนือ่ งไม่ตำ่ กว่า 7% และประการที่ 3 ต้อง ให้ ป ระเทศหลุ ด พ้ น จากสถานะประเทศ ด้อยพัฒนา หลุดพ้นจากความเป็นประเทศ ยากจน ในปี ค.ศ.2020 หรือ พ.ศ. 2563 ให้ได้ “สปป.ลาว ได้ จั ด แบ่ ง โซนส่ ง เสริ ม การลงทุนออกเป็น 3 เขต คือ เขตเมืองใหญ่ ต่างแขวง และพื้นที่ห่างไกลที่ยังทุรกันดาร ซึ่งนักลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี และอื่นๆ แตกต่างกันไป โดยมีเป้าหมาย กระจายการลงทุนที่กระจุกอยู่ในเขตที่เจริญ แล้วออกไปสู่เขตที่ยังล้าหลังมากกว่า” ทางด้านการค้า สปป.ลาวมีนโยบาย ส่งเสริมการค้าเสรีอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะ การลงทุนการผลิตเพือ่ การส่งออก เนือ่ งจาก ตลาดลาวไม่ได้เป็นตลาดใหญ่ มีประชากร แค่ 6 ล้านคน ดังนั้น การผลิตจึงเป็นการ

ผลิตเพื่อส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้านใกล้ เคียง มีการส่งเสริมการบริการการค้าต่าง แดนมากขึ้น มีการพัฒนาบุคลากรที่จะมี บทบาททางด้านการค้า การสร้างกฎระเบียบ ต่ า งๆ ให้ เ อื้ อ อำนวยต่ อ ภาคธุ ร กิ จ ต่ า งๆ ทั้งทางด้านกฎหมาย ทางด้านการจัดการ แสดงสินค้าภายในประเทศ และต่างประเทศ ก็เริ่มมีมากขึ้น สินค้าส่งออกที่สำคัญของ สปป.ลาว ที่เป็นหลักในขณะนี้ ได้แก่ พลังงานไฟฟ้า เหมืองแร่ ไม้ เฟอร์นเิ จอร์ไม้ เสือ้ ผ้าสำเร็จรูป และสิ่งทอ สำหรับไฟฟ้า สปป.ลาว ขายให้แก่ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ได้ แ ก่ ประเทศไทย เวียดนาม กัมพูชา และจีนตอนใต้ “แบตเตอรี่แห่งเอเชีย” กงศุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต เล่ า ว่ า “สปป.ลาว กำหนดเป็ น นโยบาย เป็ น แนวทางว่ า จะให้ ป ระเทศของตนเอง เป็ น ‘Battery of Asia’ คื อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของเอเชีย โดยการผลิตไฟฟ้าพลัง น้ำให้มากที่สุด ไฟฟ้าที่ได้ใช้เองในประเทศ


จำนวนไม่มากนัก ส่วนใหญ่ส่งออกไปยัง ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ดั ง นั้ น การลงทุ น ใน ด้านไฟฟ้าพลังน้ำก็ยังมีศักยภาพสูงอยู่มาก และรัฐบาลก็มีส่วนเกื้อหนุนเต็มที่ที่จะให้ ต่างชาติเข้าไปลงทุน มีโครงการที่ประเทศ ไทยเข้ า ไปลงทุ น ซึ่ ง กำลั ง จะเปิ ด ตั ว ใน เดือนธันวาคมนี้ คือเขื่อนน้ำเทิน 2 ซึ่งผลิต ไฟฟ้าได้ประมาณปีละ 1,090 เม็กกะวัตต์ ส่งขายให้ไทยประมาณ 990 เม็กกะวัตต์ ที่ เหลือใช้ภายในประเทศ ซึ่งจะนำมาซึ่งราย ได้ให้แก่ลาวปีละประมาณ 2,500 ล้านบาท โดยสัญญาความตกลงที่ทำกับการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตของไทยมีระยะเวลา 25 ปี เพราะ ฉะนั้นรายได้จากไฟฟ้าพลังน้ำก็จะเป็นราย ได้หลักของประเทสลาว สามารถนำเงินไป ใช้ปรับปรุงสาธารณูปโภคภายในประเทศได้ อย่างดีและยังช่วยเกื้อหนุนความต้องการ ของประเทศเพื่อนบ้านด้วย เป็นการลงทุน ในลักษณะวินวิน” ปัจจุบนั กำลังมีการก่อสร้างเขือ่ นไฟฟ้า พลังงานน้ำ 10 โครงการตามแผนทำให้ลาว เป็น “แบตเตอรีแ่ ห่งเอเชีย” และยังมีโครงการ เขือ่ นขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก ทีอ่ ยู่ ในระหว่ า งการศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ อี ก ประมาณ 144โครงการ โครงการด้านพลังงานไฟฟ้าได้ช่วยเคลื่อนเศรษฐกิจมหภาค

ของลาวที่จะมีผลต่อการนำเข้าอุปกรณ์ด้าน การก่อสร้างจากประเทศไทยจำนวนมาก เหมืองแร่ : ขุมทรัพย์ ใต้ดิน ใต้ผืนดินของ สปป.ลาว เป็นแหล่ง แร่คุณภาพสูง มีปริมาณมหาศาล ที่รอการ ขุ ด ขึ้ น มาใช้ และจะเป็ น แหล่ ง รายได้ ที่ สำคั ญ และมี บ ทบาทต่ อ เศรษฐกิ จ ของ สปป.ลาว ในอนาคตอันใกล้นี้ จากการสำรวจโดยกระทรวงพลังงาน และเหมืองแร่ในปี 2549 ด้วยความร่วมมือ ช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญจีนได้พบแร่ที่มี มูลค่าสูงใน สปป.ลาว กว่า 570 แห่ง ทั้ง ทองแดง ทองคำ แร่ เ งิ น เหล็ ก ตะกั่ ว สังกะสี ยิปซัมและถ่านหิน ตามตัวเลขของทางการ สปป.ลาว ปั จ จุ บั น บริ ษั ท เอกชนกว่ า 90 แห่ ง กำลั ง สำรวจโครงการเหมืองแร่ในลาว ในนั้น 34 บริษัทเป็นของนักลงทุนต่างชาติซึ่งมีความ ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด “เหมืองแร่ที่ใหญ่ที่สุดในตอนนี้ก็คือ เหมืองทองแดง และทองคำในแขวงสะหวัน นะเขต เป็นของบริษัทของจีน ซึ่งเข้ามาซื้อ กิจการจากบริษัทของออสเตรเลีย ชื่อบริษัท อ๊อกเซียนา ซึง่ ประสบปัญหาทางด้านการเงิน ประกอบกับจีนก็แสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ

ในประเทศใกล้เคียงอยู่แล้ว การผลิตส่วน ใหญ่เป็นการผลิตเพื่อป้อนตลาดจีน ซึ่งมี ความต้องการทองแดงค่อนข้างมาก” คุณ อภิชาติให้ข้อมูล “ตอนนี้มีการสำรวจเบื้องต้นได้ข้อมูล ว่ า มี แ หล่ ง แร่ บ๊ อ กไซต์ ที่ มี ป ริ ม าณอยู่ ใ น เกณฑ์ดีมากอยู่ในแขวงจำปาสัก ซึ่งขณะนี้ บริษัทของไทยกับจีนร่วมทุนกันที่จะทำการ ขุดเจาะและตั้งโรงงานถลุง เพื่อส่งออกไป ยังตลาดโลก บ๊อกไซ้ต์นี่ถลุงแล้วก็จะออก มาเป็นอลูมิเนียม ซึ่งความต้องการในตลาด โลกยังสูงอยู่มาก เพราะฉะนั้นอันนี้ก็เป็น หนึ่งที่มีอนาคตสดใสจะเป็นแหล่งรายได้ให้ รั ฐ บาลลาวในระยะ 20-30 ปี ข้ า งหน้ า ได้ อย่างสบาย ขณะเดียวกันผู้ที่เข้าไปลงทุนก็ สามารถที่จะทำการตลาดได้อย่างเต็มที่ ซึ่ง เป็นสิ่งที่ไม่ค่อยได้รับรู้กันมาก่อนว่าในลาว จะมีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย” อย่างไรก็ตาม แม้รัฐบาล สปป.ลาว จะเปิ ด ให้ มี ก ารทำธุ ร กิ จ เหมื อ งแร่ โดย ผู้ ล งทุ น สำรวจ และภาครั ฐ ให้ ค วามเห็ น ชอบกับโครงการแล้ว แต่โครงการต้องไม่มี ปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม และความเป็นอยู่ ของประชาชน เพื่ อ ไม่ ไ ปกระทบกั บ การ ท่องเที่ยว

สปป.ลาว กำหนดเป็นนโยบาย เป็นแนวทาง ว่าจะให้ประเทศของตนเองเป็น ‘Battery of Asia’ คือเป็นแหล่งพลังงานของเอเชีย โดยการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำให้มากที่สุด ไฟฟ้าที่ ได้ ใช้เองในประเทศจำนวนไม่มากนัก ส่วนใหญ่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน

COMMERCIAL WORLD

27T


Cover

Story

หวงแหนทรัพยากร เป็ น ที่ รั บ รู้ กั น ทั่ ว ไปว่ า รั ฐ บาลของ สปป.ลาว ขึน้ ชือ่ เรือ่ งการหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเรื่องนี้ คุณอภิชาติเปิดเผยว่า “ในส่วนทีเ่ ขาค่อนข้างจะหวงแหนก็คอื เรือ่ งป่าไม้ ซึง่ ตอนนีม้ อี ยูป่ ระมาณ 47% ของ พื้นที่ นโยบายของรัฐบาลเข้มงวดมาก จะ ต้องไม่ให้ปาไม้ลดน้อยถอยลง แต่ต้องให้ มากขึ้ น การเกษตรอุ ต สาหกรรมที่ ใ ห้ สัมปทานที่ดินไป จะต้องไม่เป็นป่าสงวน หรือป่าที่ไม่ได้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์เต็มที่ ก็เอาไปใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ แต่ใน ส่วนของป่าสงวน ป่าธรรมชาติที่สมบูรณ์จะ ต้องเก็บรักษาไว้ เนือ่ งจาก 2 ปัจจัยหลัก คือ 1. จะเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารที่จะใช้ในแง่ ของการผลิตกระแสไฟฟ้า 2. คือจะต้องรักษา ไว้เพือ่ ประโยชน์ของการท่องเทีย่ ว ธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบันก็มีนักท่องเที่ยวจากไทยและชาว ต่างชาติเข้าไปเที่ยวน้ำตกในลาวมากมาย มี ห ลายๆ แขวงที่ มี น้ ำ ตกขึ้ น ชื่ อ ที่ ไ ปกั น เยอะๆ ก็เป็นทางตอนใต้ ในแขวงจำปาสัก คือคอนพะเพ็ง และตาดฟาน ซึ่งมีน้ำตก ขนาดใหญ่ติดอันดับของประเทศ” แต่ละแขวงต่างโดดเด่น “รัฐบาลกลางของ สปป.ลาว จะให้ อิสระแต่ละแขวงว่าจะจัดโซนนิ่งการพัฒนา กั น อย่ า งไร ซึ่ ง ต้ อ งดู ศั ก ยภาพของแต่ ล ะ แขวงว่าพืน้ ทีเ่ หมาะสำหรับทำธุรกิจประเภท ไหน อย่างบางแขวงจะเป็นเรื่องของพลังน้ำ เช่นแขวงคำม่วน ซึ่งมีป่าดงดิบ ป่าสงวน ใหญ่ โ ต กว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของพื้ น ที่ แ ขวงเป็ น ลักษณะภูเขาสลับซับซ้อน ภูเขาหิน อันนีจ้ ะ ต้องเก็บเอาไว้ในแง่ของการทำเขื่อนพลังน้ำ ซึ่งมีก ารสร้ า งเขื่ อ นน้ ำ เทิน 2 ในแขวงนี้” ท่านกงศุลใหญ่กล่าว

T28

COMMERCIAL WORLD

“อย่างบางแขวงเน้นทางด้านเกษตร อุตสาหกรรม เช่น สะหวันนะเขต ซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็นพื้นที่ราบและอุดมสมบูรณ์ ก็จะ มี ก ารต้ อ นรั บ นั ก ลงทุ น เข้ า มาปลู ก พื ช ผล การเกษตร เช่น ยางพารา อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยูคาลิปตัสเพื่อ ไปทำเยือ่ กระดาษ ก็จะเป็นลักษณะเด่นของ แต่ละแขวงที่แตกต่างกันออกไป” สำหรั บ แขวงหลวงพระบาง ซึ่ ง อยู่ เหนือนครหลวงเวียงจันทน์ขึ้นไป เน้นให้ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ดังนั้นภาคการลงทุน จะเป็นเรื่องการบริการเป็นหลัก เช่น การ โรงแรม การจัดทัวร์ ร้านอาหาร เป็นต้น แต่ ห ลวงพระบางจะมี ข้ อ จำกั ด ในการ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาด้ า นอาคารสถานที่ เนื่องจากได้รับการประกาศเป็นเมืองมรดก โลกของยูเนสโกแล้ว ดังนั้นจะต้องมีความ ระมัดระวังไม่ให้ไปกระทบกับสถานภาพของ การเป็ น เมื อ งมรดกโลก ซึ่ ง ก็ จ ะมี ค วาม ละเอียดอ่อน “อย่างแขวงจำปาสักทางตอนใต้ ก็จะ เป็นทั้งด้านการเกษตร และการท่องเที่ยว

ปนกันไป เพราะมีทั้งพื้นที่ที่เป็นที่ราบสูงที่ อุดมสมบูรณ์ เหมาะสำหรับปลูกพืชเมือง หนาว ปลูกกาแฟ ปลูกชาซึ่งเป็นสินค้าส่ง ออกของลาวขึ้นชื่อ ใช้ชื่อว่า ‘กาแฟดาว’ ส่งออกไปทั่วโลก หรือกาแฟอีกยี่ห้อหนึ่งชื่อ ‘สีนุก’ ก็ส่งออกไปขายเมืองไทยและทั่วโลก เหมือนกัน “ขณะเดียวกันพื้นที่บางส่วน เหมาะ สำหรับการท่องเที่ยว มีลักษณะน้ำตก และ มีการเชิญชวนให้เข้ามาสร้างโรงแรม สร้าง ที่พัก สร้างสนามกอล์ ฟ อย่างที่จ ำปาสัก มีบริษทั ใหญ่ๆ ของไทย เช่น เครือ ทีซซี กี รุป๊ เข้าไปทำไร่กาแฟประมาณ 10,000 เฮกตาร์ ทำมาได้เป็นปีแล้ว ในส่วนของภาคบริการ ก็เข้าไปทำสนามกอล์ฟ 18 หลุมอยู่ริมแม่ น้ำโขงในตัวปากเซ เป็นสนามกอล์ฟระดับ นานาชาติ เพราะฉะนั้นแต่ละแขวงก็จะมี การจัดโซนนิ่งส่งเสริมการลงทุนแตกต่างกัน ออกไปขึ้ น อยู่ กั บ ศั ก ยภาพของแขวงว่ า มี ความโดดเด่นในแง่ไหน” ขณะเดียวกันรัฐบาลกลางของ สปป. ลาว มี ก ารกระจายอำนาจให้ ท างแขวง สามารถอนุมัติการลงทุนได้ ถ้าเป็น แขวง ใหญ่ ๆ 4 แขวง ได้ แ ก่ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ สะหวันนะเขต และจำปาสัก เจ้าแขวงสามารถอนุมัติได้ในวงเงินไม่เกิน 5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และพื้นที่ไม่เกิน 100 เฮกตาร์ได้เลย โดยไม่ตอ้ งส่งไปรัฐบาลกลาง แต่แขวงอื่นๆ ทั่วไปที่เหลือ จะอนุมัติได้ใน วงเงินประมาณ 3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เท่านัน้ ถ้าเกินกว่านัน้ จะต้องส่งไปให้รฐั บาลกลาง จะเห็นว่าในแง่การส่งเสริมการลงทุน รัฐบาล สปป.ลาว ค่อนข้างมีการปรับกฎ ระเบียบ เน้นให้แต่ละแขวงมีอำนาจประมาณ หนึ่ง และจะมีหน่วยงานกลางเปรียบเสมือน บี โ อไออยู่ ที่ น ครหลวงเวี ย งจั น ทน์ ค อย


ควบคุมภาพรวม แต่ละแขวงจะมีองค์กรที่ เหมือนกับบีโอไอแขวง แผนกแผนการและ การลงทุนคอยรับเรือ่ งการลงทุนจากต่างชาติ และพิ จ ารณาอนุ มั ติ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น สามารถ พิจารณาได้อย่างรวดเร็ว ไม่ได้ใช้เวลามาก เหมื อ นในอดี ต หลั ง จากยื่ น เอกสารขอ แสดงความจำนงในการลงทุนแล้ว และมี บทวิ พ ากษ์ วิ เ คราะห์ โ ครงการว่ า จะมี ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจอย่างไร มีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ใช้เวลาประมาณ 2-3 เดือนก็จะได้รับการพิจารณาเห็นชอบ แล้ ว ซึ่ ง ค่ อ นข้ า งยื ด หยุ่ น ช่ ว งนี้ จึ ง มี ต่ า ง ชาติเข้าไปลงทุนมากขึ้น นักลงทุนต่างชาติแข่งลงทุน ถ้าย้อนหลังไปประมาณ 10 ปี ประเทศ ไทยได้ชื่อว่าเป็นแชมป์การลงทุนใน สปป. ลาวในแง่ ข องมู ล ค่ า การลงทุ น แต่ ถ้ า นั บ

เฉพาะ 9 เดือนแรกของปีนี้ เวียดนามมา เป็นอันดับหนึง่ ประมาณ 1,400 ล้านเหรียญ จีนเป็นอีกประเทศหนึ่งที่เข้าไปลงทุนเป็น อันดับสอง ตอนนี้จีนเข้าไปลงทุนสร้างเมือง ใหม่ที่แขวงบ่อแก้ว ซึ่งตรงข้ามกับจังหวัด เชียงราย เป็นเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ คอมเพล็กซ์ ขนาดใหญ่ ครบวงจร ตรงข้ามกับ อ.เชียง ของ ของไทย เป็นโครงการหลายพันล้าน เหรียญสหรัฐฯ ทำให้แขวงบ่อแก้ว เป็นอีก แขวงหนึ่งที่น่าจะดึงดูดนักลงทุนได้ “สำหรับธุรกิจของไทย ขณะนี้คงจะ ถึงจุดอิม่ ตัวเพราะเราเข้าไปค่อนข้างนาน 10 ปีแล้ว ส่ว นใหญ่ ผู้ ป ระกอบการก็ เ ป็ น ราย ใหญ่ๆ มีชื่อเสียง เป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อย่ า งบางโครงการเราลงทุ น ไปเยอะแล้ ว มันสิ้นสุดโครงการ มันก็จบ เพราะฉะนั้น ในแง่ของมูลค่ามันอาจจะลดลงไปบ้าง แต่ ในแง่ ข องรั ฐ บาลลาว ท่ า นนายกบั ว สอน

ใต้ผืนดินของ สปป.ลาว เป็นแหล่งแร่คุณภาพสูง มีปริมาณมหาศาล ที่รอการขุดขึ้นมาใช้ และจะเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญและมีบทบาท ต่อเศรษฐกิจของ สปป.ลาว ในอนาคตอันใกล้นี้

บุปผาวัน ของลาวก็เคยได้กล่าวกับนายกฯ อภิสิทธิ์ เมื่อเดือนมกราคมปีนี้ ว่าอยากจะ เชิญชวนให้ไทยเข้าไปลงทุนในลาวให้มาก ยิ่งขึ้น เพื่อให้รักษาอันดับหนึ่งไว้ให้ได้ ซึ่ง เป็นการส่งสัญญาณที่ดีของภาครัฐบาลของ ลาวที่จะตอบรับนักธุรกิจเอกชนไทยมากยิ่ง ขึ้น” “ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยก็พยายาม คัดเลือกผู้ไปลงทุนให้เป็นบริษัทที่มีความน่า เชื่อถือ เข้าไปแล้วไม่ไปสร้างชื่อเสียงในทาง ลบกับประเทศไทยในดินแดนของลาว ซึ่ง จะเป็นหน้าเป็นตาเป็นภาพลักษณ์ของคน ไทยโดยรวมด้วย เพราะถ้าบริษัทใดบริษัท หนึ่งเข้าไปแล้วทำเสียหายก็จะส่งผลกระทบ ต่อประเทศ และบริษัทอื่นที่จะตามเข้าไป” ท่านกงศุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะ เขตมั่นใจว่า ด้วยความที่เป็นประเทศเพื่อน บ้านใกล้ชดิ มีความผูกพันกันอยูท่ งั้ ในระดับ จังหวัด แขวง ชายแดนและในระดับส่วน กลาง ก็น่าที่จะมีการลงทุนของไทยที่หลาก หลายมากขึ้ น ในอนาคต โดยเฉพาะทาง ภาคบริการ ซึ่งลาวกำลังมีการปรับตัวกัน อย่างขนานใหญ่ ในแง่ของต้อนรับนักท่อง เที่ ย ว ซึ่ ง จะมี ใ นเรื่ อ งของการจั ด ซื้ อ วั ส ดุ ก่อสร้าง การซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า การเปิดให้ ลงทุนร้านอาหาร โรงแรม รวมไปถึงการ เข้าไปตั้งโรงพยาบาลสาขาของไทย หรือ โรงเรี ย นนานาชาติ ซึ่ ง มี ชื่ อ เสี ย งของไทย ซึ่งลูกหลานของลาวซึ่งมีฐานะดี ส่วนใหญ่ มักจะส่งมาเรียนในประเทศไทยอยู่แล้ว “เพราะฉะนั้นลู่ทางลงทุนของไทยก็ คิดว่ายังมีอยู่ ความได้เปรียบทางด้านพื้นที่ ที่ อ ยู่ ใ กล้ ชิ ด ติ ด กั น และนั บ วั น เครื อ ข่ า ย คมนาคมก็เติบโตมากยิง่ ขึน้ หลังจากสะพาน มิตรภาพ 1 หนองคาย-เวียงจันทน์ ก็มามี สะพานมิตรภาพ 2 มุกดาหาร-สะหวันนะ เขต เมื่อประมาณ 2 ปีครึ่งที่แล้วก็เชื่อมโยง COMMERCIAL WORLD

29T


Cover

Story ประเทศลาวเองเปรียบเสมือนแลนด์บริดจ์ ของอนุภูมิภาค จะเป็นตัวเชื่อมระหว่าง ไทย-เวียดนาม-กัมพูชา-จีนตอนใต้ มีเส้นทาง East-West Corridor และเส้นทาง North-South Economic Corridor พาดผ่าน ลาวจึงเหมือนเป็นศูนย์กลาง การเชื่อมโยงเครือข่ายในภูมิภาค”

เศรษฐกิจในระดับจังหวัดกับเจ้าแขวงได้ดี มาก แล้ ว ประมาณปี ค รึ่ ง ถึ ง 2 ปี จ ากนี้ สะพานมิตรภาพแห่งที่ 3 นครพนม-แขวง คำม่วนก็จะแล้วเสร็จ และสะพานมิตรภาพ แห่งที่ 4 เชื่อม อ.เชียงของกับแขวงบ่อแก้ว ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเส้น R3E ที่จะเชื่อมไป ถึงจีนตอนใต้ดว้ ย ก็จะแล้วเสร็จหมดภายใน 3 ปีข้างหน้าจะมีจุดเชื่อมระหว่างไทย-ลาว มากขึ้น ก็คิดว่าในรูปของโครงสร้างพื้นฐาน จะเป็นตัวกระตุน้ ให้การค้าการลงทุนระหว่าง ไทย-ลาวมากยิ่งขึ้นต่อไป ก็คิดว่าในไม่ช้า ไม่นานไทยเราก็คงกลับมาสู่อันดับหนึ่งได้ เหมือนเดิม” ธุรกิจไทยที่เด่นๆ นักธุรกิจของไทยทีเ่ ข้าไปลงทุนในลาว ที่เด่นๆ ก็จะมีในส่วนของเหมืองแร่ การ ก่ อ สร้ า งเขื่ อ นพลั ง น้ ำ และการก่ อ สร้ า ง โครงการขนาดใหญ่ เช่น การก่อสร้างศูนย์ ประชุม ซึง่ ทีผ่ า่ นมามีโครงการ ‘ลาวไอเทค’ ที่นครเวียงจันทน์ ล่าสุดของคนไทยก็คือ การก่อสร้างศูนย์ประชุมที่สะหวันนะเขต ชื่อว่า ‘สะหวันไอเทค’

T30

COMMERCIAL WORLD

ในระดั บ ย่ อ ยลงมาก็ มี ร้ า นอาหาร โรงแรม เช่นที่หลวงพระบาง มีโรงแรมของ คนไทยหลายแห่ง มีรา้ นอาหารอยู่ 3-4 แห่ง กลางใจเมืองหลวงพระบางทีเ่ ป็นของคนไทย ส่วนในสะหวันนะเขตก็มีร้านอาหารของคน ไทยอยู่ 3-4 แห่ ง ที่ จ ำปาสั ก ก็ มี โ รงแรม อย่างน้อยหนึ่งแห่ง ระดับ 5 ดาวเป็นของ คนไทย และมีร้านอาหารที่ขึ้นชื่อ อยู่กลาง ใจเมืองที่เป็นของคนไทย “และอย่ า งที่ ผ มบอก โรงพยาบาล การแพทย์ก็น่าสนใจที่จะเข้าไป โรงเรียน นานาชาติก็ต้องพิจารณาดูว่ามีความต้อง การมากไหม นอกจากนั้ น ก็ เ ป็ น การขาย สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภคเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า รถ จักรยานยนต์ของคนไทยที่ได้รับความนิยม ของคนท้องถิน่ ในลาว” คุณอภิชาติฉายภาพ ให้เห็น สำหรับแขวงสะหวันนะเขตเป็นแขวง ที่มีพื้นที่มากที่สุดในลาว มีประชากรมาก ที่ สุ ด ซึ่ ง เท่ า กั บ มี แ รงงานมากด้ ว ย เป็ น เป้าหมายหลักของรัฐบาลลาวที่จะพัฒนาให้ เป็นศูนย์กลางด้านการเกษตรอุตสาหกรรม ปัจจุบันพื้นที่ผืนใหญ่ๆ ในแขวงสะหวันนะ

เขต หาได้ยากมากสำหรับที่จะทำเกษตร อุตสาหกรรม เนื่องจากมีนักลงทุนด้านการ เกษตรอุ ต สาหกรรมรายใหญ่ จาก จี น เวียดนาม อินเดีย ไทย มาเลเซียเข้ามา ซึ่ง แต่ละรายต้องการพื้นที่เป็นหมื่นๆ เฮกตาร์ ขึ้นไปทั้งนั้น “มีบริษัทของอินเดียเข้ามาลงทุนทำ เยื่อกระดาษมีมูลค่าสูงสุดในสะหวันนะเขต รองลงก็เป็นน้ำตาลมิตรผลของไทยใช้ชื่อว่า “น้ำตาลมิตรลาว” ก็เข้ามาปลูกอ้อยและตั้ง โรงงานแปรรู ป เป็ น น้ ำ ตาลดิ บ ส่ ง ออกไป สหภาพยุโรปด้วย และดับเบิลเอ ซึ่งมีการ ปลูกยูคาลิปตัสกระจายไปทั่วแขวง มีหลาย สิบล้านต้นแล้วในปัจจุบัน แต่ยังไม่ได้ตั้ง โรงงาน นอกจากนั้นก็มีการปลูกข้าวโพด เลี้ ย งสั ต ว์ มี ก ารทำเหมื อ งแร่ ซึ่ ง ที่ แ ขวง สะหวันนะเขตมีเหมืองแร่ที่ใหญ่ที่สุดในลาว อยู่ด้วย อยู่ที่เมืองไซยะบุรี และเมืองเซโปน และเท่ า ที่ ส ำรวจก็ ยั ง อยู่ ไ ด้ อี ก หลายสิ บ ปี ยั ง ขุ ด กั น ได้ อ ยู่ ทั้ ง ทองแดงและทองคำ ทองคำตอนนี้ก็ราคาดีมาก ในตลาดโลก ทองแดงราคาตกลงมาหน่อย แต่ก็ยังเป็นที่ ต้องการอยู่”


ในภาคเกษตรอุ ต สาหกรรม และ เหมืองแร่ เป็นจุดเด่นของแขวงสะหวันนะ เขต ขณะเดี ย วกั น ความที่ เ ป็ น แขวงที่ มี ประชากรมาก ดังนัน้ การผลิตสินค้าในระดับ ท้องถิน่ จังหวัดชายแดน ยังมีความต้องการ สูง ทั้งในแง่วัสดุก่อสร้าง เครื่องใช้ไฟฟ้าใน บ้าน ของใช้ในชีวติ ประจำวัน เช่น สบูอ่ าบน้ำ แชมพู ของใช้ต่างๆ ทำให้สะหวันนะเขต เป็นกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ และที่ ผ่านมาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการลงทุนสูงสร้างงาน สร้างราย ได้ ทำให้จีดีพีอยู่ในระดับประมาณ 10-11% มาประมาณ 3 ปีทผี่ า่ นมา ซึง่ สูงมาก รองจาก แขวงเวียงจันทร์เท่านั้น ลาวจะพัฒนาให้ทัดเทียมกับเพื่อนบ้าน รัฐบาล สปป.ลาว ตั้งเป้าหมายไว้ว่า ในปี ค.ศ. 2020 หรือ พ.ศ. 2563 จะต้อง หลุ ด พ้ น จากการเป็นประเทศด้อยพัฒนา พ้นจากการเป็นประเทศยากจน ซึ่งภายใน ปีนั้นจะต้องไม่มีคนจน ซึ่งในสายตาของคุณอภิชาติเห็นว่า เนื่องจากประชากรลาวมีเพียง 6 ล้านคน ประชากรจำนวนนี้เทียบกับศักยภาพของ ประเทศทางด้ า นเศรษฐกิ จ ไม่ ว่ า จะเป็ น ด้านเหมืองแร่ พลังงานไฟฟ้า ภาคเกษตร อุตสาหกรรม ภาคท่องเทีย่ ว และการบริการ ซึ่งจะทำให้รัฐบาลและประชาชนลาวมีราย ได้มาปรับปรุง และฟื้นฟูประเทศให้หลุด พ้นจากความยากจนภายในปี คศ. 2020 ได้ อย่างแน่นอน “ยิง่ ไปกว่านัน้ ทุกวันนีป้ ระเทศลาวเอง เปรียบเสมือนแลนด์บริดจ์ของอนุภูมิภาค จะเป็ น ตั ว เชื่ อ มระหว่ า งไทย-เวี ย ดนามกัมพูชา-จีนตอนใต้ มีเส้นทาง East-West Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกตะวั น ตก และเส้ น ทาง North-South

Economic Corridor หรือระเบียงเศรษฐกิจ เหนือ-ใต้ผ่าน ลาวจึงเหมือนเป็นศูนย์กลาง การเชื่อมโยงเครือข่ายในภูมิภาค เพราะ ฉะนั้นในแง่ของการฉกฉวยประโยชน์การค้า การลงทุน ขนส่ง ท่องเที่ยวเป็นไปสูงมาก ประกอบกับภาคเกษตรอุตสาหกรรม และ การท่องเที่ยว ผนวกกับการเชื่อมโยงเส้น ทาง 4 ประเด็ น หลั ก ๆ จะเป็ น ปั จ จั ย เกื้ อ หนุ น ที่ จ ะทำให้ ล าวในแง่ ข องทรั พ ยากรธรรมชาติ ในแง่ของประชาชนที่มีอยู่ คิดว่า เขาจะบรรลุเป้าหมายในการที่จะพัฒนาขึ้น มาเคียงบ่าเคียงไหล่กับประเทศอาเซียนได้ แน่นอนในปี 2020 “นอกจากนั้ น สปป.ลาว ยั ง ได้ รั บ ความช่วยเหลือจากนอกประเทศ เช่น ใน กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเองได้มีโครงการทีส่ มาชิกดัง้ เดิมอาเซียนช่วยเหลือสมาชิก ใหม่ 4 ประเทศ ซึ่ ง มี สปป.ลาว อยู่ ด้ ว ย นอกจากนั้นรัฐบาลญี่ปุ่นยังเห็นความสำคัญ ของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ประกาศให้ทั้ง เงินสนับสนุนทั้งแบบให้เปล่าและเงินกู้ผ่อน ปรนประมาณ 1.84 แสนล้ า นบาท ซึ่ ง ลาวจะได้อานิสงส์ไปด้วยในฐานะที่ยังเป็น ประเทศด้อยพัฒนาอยู่ ทั้งในรูปของการ พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาการศึกษา พัฒนา ระบบสั ง คม ให้ มั่ น คงยั่ ง ยื น ต่ า งๆ และ สหรัฐฯเองก็มีโครงการที่ให้ความช่วยเหลือ กลุม่ ประเทศลุม่ แม่นำ้ โขงในการใช้ประโยชน์ ให้เต็มที่จากแม่น้ำโขงทั้งในเชิงเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในชื่อ “แม่โขง-มิสซิสซิปปี้” ไม่นบั ประเทศจีนทีช่ ว่ ยพัฒนาสาธารณูปโภค หลายด้าน ฉะนั้นจึงเชื่อว่าลาวจะพัฒนาได้ แน่นอน และคิดว่าจะขึ้นมาเทียมบ่าเทียม ไหล่ประเทศอาเซียนได้ภายใน 10 ปีนี้” คนลาววันนี ้ คุณอภิชาติ เพชรรัตน์ กงศุลใหญ่ ณ

แขวงสะหวันนะเขต เปิดใจในฐานะที่เข้า มาประจำการที่สะหวันนะเขต และดูแล 6 แขวงใต้ของลาวเป็นหลัก ได้ประมาณ 2 ปี 8 เดื อ น ว่ า ที่ ผ่ า นมาก็ รู้ สึ ก ประทั บ ใจใน อัธยาศัยของคนลาว ที่มีความเป็นมิตร มี ความจริงใจ ทุกๆ ภาคส่วนตั้งแต่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป “ผมคิดว่าเป็นโชคดีของพวกเราที่มา ทำงานอยูใ่ นประเทศลาวร่วมกับภาคเอกชน ไทย คนไทยที่เข้ามาอยู่ในลาว ซึ่งในทุกวัน นี้ก็เข้ามามากขึ้น ก็เป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของ ดินแดนลาว ที่เข้ามาแล้วทุกคนก็มีความ รู้สึกที่ดี แต่ในแง่ในเชิงธุรกิจ ก็แน่นอนมัน จะต้องมีอุปสรรค มีความล่าช้า มีขั้นตอน มีอะไรต่างๆ ซึง่ ก็จะต้องว่าไป ตามแนวทาง กฎเกณฑ์ ต้องอาศัยความอดทนบ้าง แต่ก็ ไม่ยากเกิน และผมคิดว่าการลงทุนในลาว การตัดสินใจค้าขายกับลาวผมคิดว่า ถ้าเผือ่ เราช้า เราจะไม่ทนั ประเทศอืน่ เขา ไม่เช่นนัน้ เวียดนาม จีนก็จะมาครอบครองกิจการต่างๆ ไปหมด และโอกาสของไทยก็จะน้อยลง ด้วย อัธยาศัยอันดีของคนลาวก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ เกื้อหนุนให้คนไทย หรือประเทศอื่นเข้ามา ลงทุน เข้ามามีส่วนช่วยพัฒนาประเทศลาว มากยิง่ ขึน้ ในแง่ของเรา ภาครัฐเป็นตัวแทน เข้ามาก็รู้สึกยินดีที่ว่าได้มาอยู่ในช่วงที่มีการ เปลี่ยนแปลงในเชิงเศรษฐกิจอย่างเห็นได้ชัด อย่างก้าวกระโดด และเราก็รู้สึกดีใจไปกับ รัฐบาลลาวที่มีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน และในระยะยาวแล้วลาวจะยืนบนเท้าตนเอง อย่างยั่งยืนต่อไป ก็รู้สึกดีใจ และทำงานได้ อย่างสนุก” และนี่คือประเทศสาธารณรัฐประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว หรื อ สปป.ลาว “ขุมทรัพย์ใหม่แห่งเอเชีย” ที่รอคุณเข้าไป ขุดค้น แล้วคุณล่ะ พร้อมหรือยัง! COMMERCIAL WORLD

31T


Cover

Story

ศักดิ์ชัย วงศ์มาลาสิทธิ์ ประธานกสภาธุรกิจไทย-ลาว

“เพื่อลาวด้วยความผูกพัน” คุณศักดิ์ชัย วงศ์มาลาสิทธิ์ ประธาน กรรมการ บริษัท ไทยอกริฟู้ดส์ จำกัด เป็น นักธุรกิจไทย ที่เข้าไปลงทุนใน สปป.ลาว อย่างจริงจัง และมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะช่วยพัฒนา ประเทศนีใ้ ห้มคี วามเจริญรุง่ เรือง และมีความ มั่นคงทางเศรษฐกิ จ ย้อนหลังไปเมื่อ ปี 2518 เขาได้เคย เข้าไปเรียนภาษาจีน ที่ประเทศลาว จนเกิด ความประทับใจ และมีสายสัมพันธ์อย่าง แน่นแฟ้นกับคนลาว ดังนั้นเมื่อลาวมีการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง เขาได้เดินทางไป อยู่ในประเทศแถบตะวันตก และได้ก่อตั้ง บริ ษั ท ไทย เวิ ล ด์ อิ ม ปอร์ ต เอ็ ก ซ์ ป อร์ ต เพื่อนำเข้าสินค้าเพื่อไปจำหน่ายให้แก่คน ลาว และคนเวี ย ดนามที่ อ พยพไปอยู่ ใ น ประเทศเหล่านั้น เมื่ อ ประมาณ 10 กว่ า ปี ที่ แ ล้ ว คุ ณ ศักดิ์ชัยได้หวนกลับเข้าไปทำธุรกิจในลาว ด้วยการตั้งโรงงานไม้อัด ที่ บ้านน้ำเคือง ถ.หมายเลข 3 ระหว่างแขวงคำม่วน กับปุลิ คำไชย โดยทำไม้ท่อน ต่อมาได้สร้างศูนย์แสดงสินค้าและ ประชุมนานาชาติ “ลาวไอเทค” (Laos ITECC) เพื่อรองรับการประชุมอาเซียนซัมมิต เมื่อปี 2547 ด้วยเงินลงทุน 400 ล้านบาท ปัจจุบนั แบ่ ง ให้ เ ช่ า บู๊ ท เป็ น สถานที่ จั ด แสดงและ จำหน่ายสินค้า ทั้งของไทย และเวียดนาม

T32

COMMERCIAL WORLD

นอกจากนี้ ยั ง เข้ า ไปลงทุ น ในการ ประปาโคนทัน ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของลาว ในลักษณะ Turn Key อีกด้วยและยังลงทุนใน ศูนย์แสดงสินค้าทีแ่ ขวงจำปาสัก เป็นอาคาร 3 ชัน้ เปิดให้เช่าขายสินค้าในลักษณะพลาซ่า ปัจจุบนั คุณศักดิช์ ยั กำลังตอกเสาเข็ม โครงการ “สะหวันไอเทค” ขึน้ ที่ แขวงสะหวัน

นะเขต ด้ ว ยเงิ น ลงทุ น 500 ล้ า นเหรี ย ญ สหรัฐฯ เพื่อเป็นศูนย์แสดงสินค้าและศูนย์ ประชุมนานาชาติ คุณศักดิ์ชัย เชื่อว่า สปป.ลาวจะเป็น ฮับของ 6 ประเทศ ได้แก่ จีน เวียดนาม พม่า ลาว ไทย กัมพูชา ในอนาคต เนือ่ งจาก

เป็ น ศู น ย์ ก ลางคมนาคม เมื่ อ โครงข่ า ย คมนาคมทั้งเหนือ-ใต้ ตะวันตก-ตะวันออก ได้ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อย สำหรับสภาธุรกิจไทย-ลาว ซึ่งคุณ ศักดิ์ชัย ได้รับเลือกให้เป็นประธาน ได้ก่อ ตั้งมาตั้งแต่ปี 2540 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น องค์กรกลาง เพื่อเชื่อม และประสานการ ค้าในประเทศลาว ทั้งนี้ ในแต่ละวันจะมี นักธุรกิจไทยขอคำแนะนำในการเข้าไปทำ ธุรกิจในประเทศ สปป.ลาวเป็นจำนวนมาก คุณศักดิ์ชัยกล่าวว่า “คนไทยกับคน ลาวเป็ น เสมื อ นพี่ น้ อ งกั น มี วั ฒ นธรรม ประเพณี ค ล้ า ยกั น ประเทศไทยเคยเป็ น แชมป์การลงทุนในลาวมาก่อน ยังปล่อยให้ ประเทศอืน่ มาแย่งไปได้ คนไทยควรให้ความ สนใจลงทุนในลาวมากขึ้น แน่นอนว่าการ ปกครองของไทยกั บ ลาวไม่ เ หมื อ นกั น ลักษณะ คนไทยคิดถึงแต่ความสะดวก แต่ การปกครองทีแ่ ตกต่าง ลาวจะมีกรอบปฏิบตั ิ ซึ่งคนไทยต้องทำความเข้าใจ และถ้าเข้าใจ สามารถปฏิบัติตามได้ ธุรกิจของคนไทยที่ เข้าไปลงทุนจะประสบความสำเร็จแน่นอน อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ลาวเองก็กำลังปรับ กฎระเบียบให้สอดคล้องกับอาเซียนมากขึ้น ทั้ ง นี้ นโยบายส่ ง เสริ ม การลงทุ น ของลาว สามารถลงทุนได้ถึง 100%”


อุตสาหกรรมเหมืองแร่เริ่มมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของ สปป.ลาว เนื่องจากการเข้าไปสำรวจ ลงทุน และพัฒนาเหมืองแร่ ของทั้งนักลงทุนท้องถิ่นและนักลงทุนต่างชาติ ใน สปป.ลาว รวมถึงการส่งออกแร่ของ สปป.ลาว เพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จนทำให้การลงทุนจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ของ สปป.ลาวสูงเป็นอันดับสองรองจากอุตสาหกรรมพลังงาน

เหมืองแร่ ใน

สปป.ลาว แหล่งแร่สำคัญของ สปป.ลาวจำแนก ตามประเภทของทรัพยากรแร่ ได้ดังนี้ 1. ทองคำ สปป.ลาว มีแหล่งแร่ทองคำ กระจายอยูท่ วั่ ทุกภาคของประเทศโดยเฉพาะ แขวงสะหวันนะเขต กรุงเวียงจันทน์ แขวง อุดมไซ แขวงอัตตะปือ และแขวงต่างๆ ใน ภาคเหนือ ปัจจุบัน สปป.ลาว มีเหมืองแร่ ทองคำเชิงพาณิชย์ 2 แห่ง ได้แก่ เหมือง เซโปน และเหมืองพูเบีย ทำให้ สปป.ลาว มี ปริมาณการผลิตทองคำถึง 6,338 ตัน ในปี 2548 นับเป็นประเทศที่มีปริมาณการผลิต ทองคำมากที่สุดในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 2. ทองแดง สปป.ลาว มี แ หล่ ง แร่ ทองแดง 46 แห่ง กระจายอยู่ในแขวงสะห วันนะเขต แขวงพงสาลี แขวงหลวงน้ำทา แขวงอุดมไซ และแขวงเชียงของ ปัจจุบัน เหมืองแร่ทองแดงเชิงพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดใน สปป.ลาว คือ เหมืองเซโปน ซึง่ ผลิตทองแดง ได้ถงึ 30,480 ตัน ในปี 2548 ทำให้ สปป.ลาว

แร่ แ ละวิ เ คราะห์ ค วามเป็ น ไปได้ ใ นการ ก่อสร้างเหมืองแห่งใหม่อย่างต่อเนื่อง ค่าใช้จ่ายสำคัญในการทำเหมืองแร่ ใน สปป.ลาว ได้แก่ ค่าเช่าที่ดิน ปีละ 0.512 ดอลล่าร์ สหรั ฐฯ/เฮกตาร์ (1 เฮกตาร์ เท่ า กั บ 6.25 ไร่ ) ค่ า ธรรมเนี ย มในการ จำหน่ายแร่ที่ขุดได้เป็นเงินร้อยละ 3-5 ของ มูลค่าแร่ที่จำหน่าย และภาษีกำไร ธนาคารโลกคาดการณ์ว่า ในปี 2568 อุตสาหกรรมเหมืองแร่จะสร้างรายได้ให้แก่ สปป.ลาว สูงถึง 2,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 25 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (Gross Domestic Product เป็นประเทศที่มีการผลิตทองแดงมากที่สุด : GDP) และก่ อ ให้ เ กิ ด การจ้ า งแรงงาน ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 15,000 คน นอกจากเหมืองทองคำและทองแดง แล้ว สปป.ลาว ยังมีเหมืองถ่านหิน สังกะสี ข้อมูล : หนังสือทิศทางการส่งออกและการลงทุน เล่ม 11 ธนาคารเพื่อการส่งออก-นำเข้า รวมทั้งอัญมณีอีกเป็นจำนวนมากที่ดำเนิน แห่งประเทศไทย การอยู่ในปัจจุบันรวมทั้งมีการสำรวจแหล่ง COMMERCIAL WORLD

33T


Cover

Story

ทำไมต้องลงทุนใน สปป.ลาว

คณะทำงาน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยการสนับสนุนของ สถานเอกอัครราชทูตไทยประจำ สปป.ลาว ได้ศกึ ษาและจัดทำเอกสาร “คูม่ ือการลงทุน ใน สปป.ลาว” เพือ่ มอบให้กบั สถานเอกอัครราชทูตไทยประจำ สปป.ลาว เพื่อใช้เป็น ข้อมูลและเผยแพร่ให้กับนักลงทุนที่ต้องการ ลงทุนใน สปป.ลาว นิตยสารโลกการค้า เห็นว่าข้อมูลนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ที่สนใจจะติดต่อ ทำการค้า และการลงทุนใน สปป.ลาว เพื่อ ใช้ประกอบการตัดสินใจ จึงขออนุญาตนำ มาเสนอ ณ ที่นี้อีกครั้งหนึ่ง เอกสารดังกล่าว ตั้งคำถามว่า ทำไม ต้องลงทุนใน สปป.ลาว เหตุ ผ ลที่ จู ง ใจให้ นั ก ลงทุ น เข้ า ไป ลงทุนใน สปป.ลาว ประกอบด้วย 1. สปป.ลาว เป็นประเทศที่มีความ อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติและ พลังงานไฟฟ้า ซึ่งเหมาะแก่การเป็นฐาน การผลิตด้านอุตสาหกรรมในอนาคต 2. ไทยและ สปป.ลาว มีความร่วม มือทางการค้าในลักษณะได้ประโยชน์ร่วม ทั้ง 2 ฝ่าย (win-win) มากขึ้นตามลำดับ มีองค์กรของภาคเอกชน ได้แก่ สภาธุรกิจ ไทย-ลาว เป็นตัวเชื่อมระหว่าง 2 ประเทศ ประกอบกับการลงทุนมีธนาคารของไทย ดำเนินการอยู่ในท้องถิ่นหลายแห่ง จึงทำให้ มีแหล่งข้อมูลสนับสนุนข้อมูลการลงทุนได้ดี

T34

COMMERCIAL WORLD

3. สาธารณูปโภคใน สปป.ลาว กำลัง อยูร่ ะหว่างการพัฒนาให้ดีขึ้นตามลำดับ มี การพัฒนาเส้นทาง East-West Corridor และ North-South Corridor เป็นประโยชน์ ต่อการส่งผ่านสินค้ามากขึ้น 4. สปป.ลาว ได้ รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษด้ า น ศุ ล กากร (GSP) การตั้ ง ฐานการผลิ ต ใน สปป.ลาว ส่งเสริมโอกาสการส่งออกไปใน ประเทศที่มีตลาดขนาดใหญ่ เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น ได้ 5. การดำเนินงานมีต้นทุนต่ำเนื่อง จากนิคมอุตสาหกรรมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม การพัฒนาในอนาคตจะเกิดการกระจาย ต้นทุน ทำให้ตน้ ทุนและค่าใช้จา่ ยผันแปรถูก

6. สปป.ลาว ตั้ ง อยู่ ท่ า มกลางกลุ่ ม ประเทศอาเซียน และมีพรมแดนติดต่อกับ เวียดนามและจีนตอนใต้ ทำให้ลาวเปลี่ยน วิกฤติเป็นโอกาส จาก Landlocked Country เป็น Land-linked Country เพื่อเป็นทาง ผ่านในการส่งผ่านสินค้าไปที่ท่าเรือดานัง ประเทศเวียดนาม 7. มีสัญญาทวิภาคีที่เอื้อประโยชน์ให้ นั ก ลงทุ น ไทยและลาวให้ มี โ อกาสพั ฒ นา เศรษฐกิจ เนื่องจากได้รับสิทธิพิเศษต่างๆ อาทิ สิทธิพเิ ศษทางการค้า (MFN) สิทธิพเิ ศษ ด้านภาษีศุลกากร (GSP) เป็นต้น


โอกาสและลู่ทางลงทุนใน สปป.ลาว อุตสาหกรรมทีไ่ ทยมีโอกาสและลูท่ าง การลงทุนใน สปป.ลาว จะเป็นอุตสาหกรรม ที่มีปัจจัยความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ เมื่ อ ทำการผลิ ต ใน สปป.ลาว หรื อ เป็ น อุตสาหกรรมที่ไทยสูญเสียความสามารถใน การแข่ ง ขั น อั น เนื่ อ งมาจากไทยสู ญ เสี ย ปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ไปแล้ว เช่น ค่าแรงงานราคาถูก วัตถุดิบ ปั จ จั ย การผลิ ต สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี จ าก ประเทศต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้ อาจจะ เป็ น อุ ต สาหกรรมที่ ผู้ ป ระกอบการไทยมี ความได้เปรียบด้านการจัดการ ความชำนาญ มีเทคโนโลยี และเงินทุน ดังนั้น จึงสามารถพิจารณาโอกาสใน การลงทุนใน สปป.ลาว ได้ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมพลังงาน สปป.ลาว มี แ ผนการที่ จ ะทำให้ ตนเองเป็น “หม้อไฟแห่งภูมิภาค” โดยมี โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้ำหลาย โครงการ เพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ใช้ ใ น ประเทศและผลิตเพื่อส่งออกและจำหน่าย และการก่ อ สร้ า งจะเริ่มแล้วเสร็จตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นไป เมื่อเขื่อนเหล่านี้สร้างแล้ว เสร็จ จะทำให้ 95% ของครัวเรือนทัว่ ประเทศ มีกระแสไฟฟ้าใช้ นั่นหมายถึงสาธารณูปโภคมีความสะดวกมากขึน้ และเทคโนโลยี ทีม่ กั จะตามมากับความเจริญของสาธารณู-

ปโภคช่ ว ยเอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ การทำธุ ร กิ จ ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับไฟฟ้า ประกอบกับ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นและไทยยั ง มี แ นวโน้ ม ความต้องการกระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นจึงเป็น โอกาสในการลงทุนของนักลงทุน 2. อุตสาหกรรมเหมืองแร่ สปป.ลาว เป็นประเทศทีม่ ที รัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุจำนวนมาก เช่น ถ่านหิน ก๊ า ซธรรมชาติ ดี บุ ก เหล็ ก เงิ น ทองคำ และแร่รัตนชาติ เมื่อแนวโน้มความต้องการ ทรัพยากรแร่ธาตุเพื่อนำไปเป็นวัตถุดิบป้อน เข้าสู่กระบวนการผลิตทั้งในอุตสาหกรรม หนักและอุตสาหกรรมเบามีจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศที่มี

อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ตลาดที่ รองรั บ อุ ต สาหกรรมประเภทนี้ และการ ปรั บ ปรุ ง เส้ น ทางการคมนาคมทำให้ อุ ต สาหกรรมเหมื อ งแร่ มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะ เติบโตขึ้น 3. อุตสาหกรรมการเกษตร สปป.ลาวเป็ น ประเทศที่ อ ยู่ ใ นเขต ร้อนชื้น ซึ่งเหมาะต่อการทำอุตสาหกรรม การเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำสวน ยางพารา ยูคาลิปตัส ไม้สัก อ้อย และไม้ กฤษณา ฯลฯ มี พื้ น ที่ เ พาะปลู ก สำหรั บ การเกษตร 50,000ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ร้ อ ยละ 21.11 ของพื้ น ที่ ทั้ ง หมด รั ฐ บาล

COMMERCIAL WORLD

35T


Cover

Story

สปป.ลาว ส่งเสริมให้นักลงทุนต่างชาติเข้า มาลงทุ น ด้ า นการเกษตร เพื่ อ ให้ เ กิ ด การ จ้างงานในประเทศมากขึ้น เพราะรายได้ ของประชาชนมาจากเกษตรกรรม 61.30% การประกอบอาชี พ ของคนใน สปป.ลาว ร้อยละ 80 ยังผูกพันกับภาคเกษตรกรรม เป็นหลัก ดังนั้น รัฐบาลจึงพยายามดึงดูด การลงทุนจากต่างประเทศทั้งทางตรง และ การลงทุนภายใต้ขอ้ ตกลงเกษตรพันธะสัญญา (Contract Farming Agreement) ให้มาก ขึ้น สำหรับลู่ทางการส่งออกไปยังประเทศ ในแถบอียู ยังประโยชน์ให้เกิดข้อได้เปรียบ ในการส่งสินค้าไปจำหน่ายจะมีภาษีเป็น 0% หรื อ ในธุ ร กิ จ อื่ น ๆ จึ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น โอกาสสำหรับนักลงทุนมากขึ้น นอกจากนี้ รู ป แบบทางสั ง คมและ วัฒนธรรมที่ ค ล้ า ยคลึ งกันเป็นปัจจัยด้าน สิ่งแวดล้อมที่ดีต่อนักลงทุน รวมทั้ง สปป. ลาว ยังประสบปัญหาขาดแคลนบุคลากร และผู้เชี่ยวชาญ เพื่อเผยแพร่ทักษะความรู้ ด้ า นการพั ฒ นากระบวนการผลิ ต จึ ง เอื้ อ ประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่อง หรือธุรกิจต้นน้ำของ อุตสาหกรรมการเกษตร นับว่าเป็นธุรกิจที่ ช่วยสร้างเศรษฐกิจระดับรากหญ้าใน สปป. ลาว สำหรับสินค้าเกษตรที่รัฐบาลไทยให้ สิทธิพิเศษทางศุลกากรฝ่ายเดียวแก่ สปป. ลาว ได้แก่ ถั่วเหลือง ข้าวโพดหวาน ข้าว โพดเลี้ยงสัตวื ละหุ่ง ถั่วลิสง เมล็ดมะม่วง หิมพานต์ มันฝรั่ง ไม้ยูคาลิปตัส ลูกเดือย และถั่วเขียวผิวมัน 4. อุตสาหกรรมบริการ/ท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กับ องค์การท่องเที่ยวแห่งชาติลาว ได้ทำความ ตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการท่องเทีย่ ว แห่ ง ชาติ โดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ พั ฒ นาการ

T36

COMMERCIAL WORLD

ลาว ส่งเสริมให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุน ด้านการเกษตร เพื่อให้เกิดการจ้างงานในประเท สมากขึ้น เพราะรายได้ของประชาชนมาจาก เกษตรกรรม 61.30% การประกอบอาชีพของ คนใน สปป.ลาว ร้อยละ 80 ยังผูกพันกับภาค เกษตรกรรมเป็นหลัก ท่องเที่ยวของไทย และ สปป.ลาว และการ เชื่อมโยงการท่องเที่ยว ไปสู่ประเทศที่สาม ในอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง และดินแดนมหัศจรรย์ สุ ว รรณภู มิ และสามเหลี่ ย มมรกต นอกจากนี้ วัดพูในแขวงจำปาสัก และเมือง หลวงพระบาง ได้รับการประกาศจากองค์ การยูเนสโก ให้เป็น “เมืองมรดกโลก” โดย ที่ผ่านมามีจำนวนนักท่องเที่ยวเข้ามาเยือน สถานที่ต่างๆ เพิ่มขึ้นทุกปี 5. อุตสาหกรรมก่อสร้างเพื่อ สาธารณูปโภคพื้นฐาน สปป.ลาว ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของ ญี่ ปุ่ น ในการพั ฒ นาพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบโทรคมนาคมสำหรับช่วงเวลา 20032015 โดยกระทรวงโทรคมนาคมขนส่งและ

ก่อสร้างของ สปป.ลาว เป็นผู้มีหน้าที่รับผิด ชอบการพัฒนาระบบดังกล่าว ซึ่งจำเป็น ต้องอาศัยผู้ที่มีความชำนาญ หรือที่ปรึกษา ทางด้ า นเทคโนโลยี เ ข้ า มาให้ ค ำแนะนำ หรือทำหน้าที่ดูแลโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ตามแผนงานการพัฒนา แนวพื้ น ที่ เ ศรษฐกิ จ ตะวั น ออก-ตะวั น ตก (East-West Corridor) การพัฒนาระบบ ทางด้านโทรคมนาคมในเขตพื้นที่ดังกล่าว นั้น จะมีการพัฒนาระบบเส้นใยแก้วนำแสง เพื่อสร้างเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานรองรับ ระบบโทรคมนาคมที่จะเชื่อมต่อระหว่างกัน ในพื้นที่เขตสะหวันนะเขตอีกด้วย ซึ่งระบบ ที่กำลังจะได้รับการพัฒนาขึ้นนั้น จะเป็น ช่องทางหนึ่งที่ทำให้นักลงทุนไทยสามารถ เข้าไปประกอบธุรกิจทางด้านโทรคมนาคม ต่อไปได้


อุปสรรคในการลงทุน

ของไทยใน สปป.ลาว ด้านระบบการปกครองและอำนาจ ตัดสินใจ การบริหารงานแบบศูนย์กลางทำให้ ข้อมูลที่มาจากส่วนกลางอาจล่าช้าหรือขาด หายในกระบวนการส่งต่อไปให้กบั หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง การบริหารงานแบบผสมผสาน และการกระจายอำนาจอิสระให้กบั เจ้าแขวง จึงทำให้เจ้าแขวงมีอำนาจการตัดสินใจสูง กฎหมายและระเบี ย บในแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น มี ความแตกต่างกัน ดังนัน้ นักลงทุนควรศึกษา ข้อมูลท้องถิ่นอย่างรอบคอบ ด้านกฎหมาย กฎหมายการลงทุนในลาวเพิ่งจะเริ่ม ใช้ปฏิบตั ิ จึงอาจมีการตีความจากหน่วยงาน ผูป้ ฏิบตั ขิ อง สปป.ลาวทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละ หน่วยงาน นอกจากนีก้ ฎหมายมีการเปลีย่ นแปลงเร็ว ไม่แน่นอน กฎหมายกับแนวปฏิบตั ิ ไม่สอดคล้องกันในบางประเด็น ด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยียังได้รับการพัฒนาไม่มาก ทำให้ ก ารลงทุ น ใน สปป.ลาวต้ อ งนำเข้ า ปัจจัยการผลิตทุกอย่างไปจากไทย ไม่ว่าจะ เป็นวัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักร ด้านบริการทางการเงิน ธนาคารพาณิชย์ใน สปป.ลาวมีน้อย และส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นเวี ย งจั น ทน์ ทำให้ ไ ม่

สะดวกในการใช้บริการจากธนาคาร ระบบ ธนาคารมีเงื่อนไขการใช้เช็คและไม่สามารถ ใช้ข้ามแขวงได้ แต่ต้องดำรงเงินไว้ในบัญชี จำนวนมากและต้องเปิดหลายบัญชี การ จั ด หาเงิ น ทุ น โดยการกู้ ยื ม เงิ น ของธุ ร กิ จ จำเป็นต้องจัดหามาจากประเทศไทย ด้านความรู้ความเข้าใจระหว่าง นักลงทุนของไทยและ สปป.ลาว เนื่องจากการเจรจาส่วนใหญ่ อาจใช้ ภาษาไทยในการสื่อสาร จึงทำให้เข้าใจผิด คิดว่ามีความเข้าใจในรายละเอียดของการ ลงทุนถูกต้องตรงกันทุกประการ แต่แท้จริง แล้ว ในรายละเอียดยังคงต้องมีการตรวจ สอบข้อมูลอย่างรอบคอบอีกครั้ง

รูปแบบการร่วมลงทุนโดยใช้เงินและ ทรัพย์สินลงทุน รู ป แบบการร่ ว มลงทุ น ส่ ว นใหญ่ ระหว่างไทยกับ สปป.ลาวนั้น นักลงทุนไทย มั ก จะต้ อ งนำเงิ น ลงทุ น และทรั พ ย์ สิ น มา ลงทุนหรือต้องเช่าที่ดิน ดังนั้นจึงต้องศึกษา รายละเอียดของการเช่าที่ดินอย่างรอบคอบ ส่วนนักลงทุนลาวนั้นมักจะลงทุนในรูปของ ที่ดินเป็นหลัก ด้านภาษี การเก็บภาษีใน สปป.ลาวเปลีย่ นแปลง บ่ อ ยละมี เ งื่ อ นไขหลายประการ แต่ ทั้ ง นี้ กฎหมายกับแนวปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ มักไม่มีความสอดคล้องกัน ด้านระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ยังมีไม่พอเพียง ยังกระจายไม่ ทั่วถึง ระบบขนส่งทางรถยนต์จะมีต้นทุน ในการขนส่งสูง เพราะนักลงทุนไม่สามารถ ขนส่งสินค้าด้วยรถยนต์ของตนเอง ต้องเสีย ค่าจ้างให้กับรถที่ขึ้นทะเบียนสำหรับการ ขนส่งเท่านั้น ด้านระบบพิธีการศุลกากร กระบวนการดำเนินการผ่านพิธีการ ศุลกากรเข้าสู่ประเทศไทย หรือจากไทยไป สปป.ลาวมีความยุ่งยาก

COMMERCIAL WORLD

37T


Cover

Story

ด้านแรงงานท้องถิ่น แรงงานส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผู้ ห ญิ ง และ เป็นแรงงานท้องถิ่น เป็นแรงงานที่มีทักษะ ในระดับกลางถึงล่าง ทั้งนี้การนำแรงงาน ต่างชาติสามารถนำเข้ามาได้เฉพาะเท่าที่ จำเป็น โดยจะต้องมีการศึกษากฎ ระเบียบ ให้รอบคอบ ด้านระบบบัญชี สปป.ลาวมี ร ะบบบั ญ ชี เ ฉพาะแบบ ของ สปป.ลาว ซึ่งแตกต่างจากระบบบัญชี ของไทย ทำให้ต้องทำบัญชีถึง 2 ระบบ คือ ระบบบัญชีไทย และระบบบัญชี สปป.ลาว ด้านขนาดตลาดของ สปป.ลาว สปป.ลาวเป็ น ตลาดที่ มี ข นาดเล็ ก ประชากรยังมีอำนาจซื้อไม่มากนัก ดังนั้น สินค้าที่มีลู่ทางการตลาดที่ดี ส่วนใหญ่เป็น สินค้าอุปโภคบริโภคและเป็นสินค้าราคาถูก ด้านการเผยแพร่ข้อมูลและข้อตกลง ระหว่างรัฐบาล รัฐบาลไทยควรมีการเผยแพร่ข้อมูล และข้อตกลงต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการ ส่งเสริมการลงทุนใน สปป.ลาว ซึ่งจะส่งผล ทำให้นักธุรกิจได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่อการลงทุนเพิ่มมากขึ้น ภาวะด้านการแข่งขันจากประเทศคู่แข่ง เพื่อนบ้านที่สำคัญ ในภาวะปั จ จุ บั น การแข่ ง ขั น ของ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ต้ องการเป็นคู่ค้ากับ ลาวมี เ พิ่ ม มากขึ้ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ประเทศเวียดนาม พม่า และจีน ทำให้การ วางกลยุทธ์ทางการค้าของนักธุรกิจไทยนั้น

T38

COMMERCIAL WORLD

ควรเป็ น กลยุ ท ธ์ ท างการค้ า แบบได้ ทำการค้ า ระหว่ า งนั ก ธุ ร กิ จ ของทั้ ง สอง ประโยชน์ ทั้ ง สองฝ่ า ย เพื่ อ ให้ ก ารตกลง ประเทศมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์ที่นักลงทุน

ควรเตรียมพร้อม

ก่อนการลงทุน

1. กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ลงทุน โดยเฉพาะความไม่แน่นอนในด้าน การจั ด เก็ บ อั ต ราภาษี ค่ า ธรรมเนี ย ม เนื่องจากแต่ละแขวงมีการจัดเก็บไม่เหมือน กันและมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย 2. นักลงทุนควรมีการวางแผนค่าใช้ จ่ า ยอย่ า งครอบคลุ ม และยื ด หยุ่ น เพื่ อ รองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน อาทิเช่น ค่าใช้

จ่ า ยนอกระบบ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น สิ น ค้ า เพิ่มสูงขึ้นได้ 3. การค้านอกระบบ ซึ่งมีต้นทุนนำ เข้ า น้ อ ยกว่ า ทำให้ ตั ว แทนจำหน่ า ยที่ ถู ก ต้ อ งในระบบเสี ย เปรี ย บการแข่ ง ขั น ด้ า น ราคา 4. ปั จ จั ย พื้ น ฐานการผลิ ต ที่ ยั ง ไม่ เพียงพอ อาทิเช่น สาธารณูปโภคท้องถิ่น


กิจการสำหรับ

เส้ น ทางคมนาคม รถขนส่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ มาตรฐาน จะส่งผลต่อการดำเนินงานทำให้ ต้นทุนสินค้าสูงขึ้น 5. แรงงานมีการหยุดงานพร้อมกัน ในช่วงเทศกาลสำคัญหรือในงานบุญท้อง ถิ่น ทำให้กระบวนการทำงานไม่ต่อเนื่อง ล่าช้า ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงหรือสินค้า ขาดตลาดได้ ข้อเสนอแนะ 1. สปป.ลาวมีความอ่อนไหวเรื่อง ความสัมพันธ์ โดยเฉพาะระหว่างไทยกับ สปป.ลาว ผู้ประกอบการจึงควรปฏิบัติต่อคู่ ค้ า ให้ เ กิ ด ความไว้ ว างใจ รวมทั้ ง ต้ อ งมี ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม โดยเฉพาะใน เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน เพราะหาก เกิดการฟ้องร้องในเรื่องดังกล่าวแล้ว จะส่ง ผลกระทบต่อความเชื่อถือต่อธุรกิจในภาพ รวมและก่อให้เกิดผลทางการเมืองด้วย 2. ตลาดใน สปป.ลาว มิใช่ตลาด 1. กิจการที่รัฐบาล สปป.ลาวให้ความสำคัญเป็นพิเศษ การลงทุนที่ ได้รับการ ของผู้ บ ริ โ ภค ดั ง นั้ น ลั ก ษณะธุ ร กิ จ ควร ส่งเสริมจากรัฐบาล สปป.ลาว ได้แก่ เป็ น การผลิ ต เพื่ อ การส่ ง ออกมากกว่ า 1. โครงการผลิตกระแสไฟฟ้า เพราะสามารถขยายตลาดและลดสภาวะ 2. อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานจำนวนมาก การแข่งขันลงได้ 3. อุตสาหกรรมผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก 3. บริษัทขนาดใหญ่ที่เข้าไปลงทุน 4. อุตสาหกรรมการเกษตร ใน สปป.ลาวนั้ น ส่ ว นใหญ่ จ ะมี ต ลาด 5. ป่าไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ รองรับผลิตภัณฑ์ของบริษัทนั้นๆ อยู่แล้ว 6. อุตสาหกรรมเหมืองแร่ 4. แม้รัฐให้การสนับสนุนเศรษฐกิจ แบบเสรี แต่ส่วนใหญ่แล้วรัฐบาล สปป.ลาว ประเภทการลงทุนที่มีศักยภาพและควรส่งเสริมให้มีการลงทุน จะให้การสนับสนุนอุตสาหกรรมที่สามารถ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน หรือโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ธุ ร กิ จ มากกว่ า 1. ธุรกิจด้านการโรงแรม การท่องเที่ยว และสปา อุตสาหกรรมซื้อมาและขายไป 2. ธุรกิจประกอบรถบรรทุก เพือ่ ขนส่งสินค้าทัง้ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ 3. การเพาะปลูกสินค้าเกษตรกรรมเพื่อเป็นวัตถุดิบผลิตอาหารสัตว์ เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง ข้าว และที่ไม่ใช่อาหารสัตว์ เช่น ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ละหุ่ง 4. อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก เช่น ผักและผลไม้ดอง หรือ บรรจุกระป๋อง

นักลงทุนต่างชาติ

COMMERCIAL WORLD

39T


Cover

Story

5. สินค้าหัตถกรรมที่ผลิตจากไม้ ไม้ไผ่ หวาย เพื่อการ ส่งออก 6. อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ สปป.ลาวได้รับสิทธิพิเศษทาง ศุลกากร (GSP) จากประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่นเสื้อผ้า สำเร็จรูป รองเท้า อัญมณี เครื่องประดับ แขนงของกิจการที่ ได้รับการส่งเสริม มีดังนี้ 1. กิจการการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก 2. กิจการกสิกรรม-ป่าไม้ปรุงแต่งผลิตภัณฑ์กสิกรรมป่าไม้และหัตถกรรม 3. กิจการอุตสาหการปรุงแต่งที่นำเทคนิคมาใช้และมี เทคโนโลยีทันสมัย 4. กิจการเพื่อการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ แรงงาน และการรักษาสุขภาพของพลเมือง 5. กิจการก่อสร้างพื้นฐานโครงร่าง 6. กิจการผลิตวัตถุ ชิ้นส่วน อุปกรณ์ เพื่อสนองให้แก่ การผลิตอุตสาหกรรม 7. กิ จ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วและการ บริการทางผ่าน 8. กิจการผลิตวัสดุก่อสร้าง ข้อห้ามสำหรับการลงทุน ผู้ลงทุนต่างประเทศ ไม่สามารถลงทุนในธุรกิจที่มีผลกระทบ เกิดขึ้นในด้านต่างๆ ได้แก่ 1. ความมั่นคงของประเทศชาติ 2. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. สุขอนามัยของประชาชน

T40

COMMERCIAL WORLD

4. ขนบธรรมเนียมประเพณีประจำชาติ 5. กฎหมายระเบียบวิธีปฏิบัติของประเทศ

2. กิจการสำหรับนักลงทุนต่างชาติ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นสมาชิกกลุ่ม ประเทศอาเซียน และมีเงื่อนไขในการปฏิบัติตามกรอบความตกลง ว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA) ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการเพิ่มศักยภาพด้านการแข่งขันและสร้าง บรรยากาศการลงทุนที่เสรี และสามารถตรวจสอบได้ การลงทุนใน สปป.ลาวทั้งภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม มีข้อกำหนดต่างๆ ดังต่อไปนี้ 2.1 อุตสาหกรรมทีเ่ ป็นอาชีพสงวนสำหรับประชาชนสัญชาติลาว ได้แก่ 1. อุตสาหกรรมผลิตทองแดง เครื่องประดับเงิน เครื่อง ประดับทองคำ 2. อุตสาหกรรมผลิตตุ๊กตา 3. อุตสาหกรรมผลิตผ้าห่มโดยใช้ฝา้ ยและนุน่ เป็นวัตถุดบิ 4. อุตสาหกรรมผลิตเครื่องดนตรีพื้นเมือง 2.2 อุตสาหกรรมทีอ่ นุมตั ใิ ห้นกั ลงทุนชาวต่างประเทศร่วม ลงทุนกับนักลงทุนภายในประเทศเพือ่ ส่งออก สินค้าทีผ่ ลิตได้ทงั้ หมด โดยมุง่ เน้นในการใช้วตั ถุดบิ ภายในประเทศเป็นปัจจัยในการผลิต ได้แก่ 1. อุตสาหกรรมผลิตเส้นบะหมี่ 2. อุตสาหกรรมผลิตเบียร์ 3. อุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่มที่ปราศจากส่วนผสมของ แอลกอฮอล์ 4. อุตสาหกรรมยาสูบ 2.3 อุตสาหกรรมที่อนุญาตให้นักลงทุนชาวต่างประเทศ ดำเนินการภายใต้ขอ้ ตกลงและเงือ่ นไขทีร่ ฐั บาล สปป.ลาวกำหนดขึน้ ได้แก่ 1. การทำเหมืองถ่านหินคุณภาพสูงและการอัดถ่านหิน คุณภาพสูงให้เป็นก้อน 2. การทำเหมืองลิกไนต์และการอัดถ่านลิกไนต์ให้เป็นก้อน 3. การขุดถ่านพีทและอัดถ่านพีทให้เป็นก้อน 4. การขุดเจาะน้ำมันปิโตรเลียมดิบและก๊าซธรรมชาติ 5. กิ จ การเพื่ อ การขุ ด เจาะน้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี ย มและก๊ า ซ


3. อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประเพณี ธรรมชาติ ยกเว้นการสำรวจรังวัด และวัฒนธรรมของชาติ 6. การทำเหมืองแร่เหล็ก 4. อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดสารเคมีและของเสียที่เป็น 7. การทำเหมืองแร่โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก ยกเว้นแร่ยูเรเนียม อันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม และแร่ทอเรี่ยม 2.5 ภาคเกษตรกรรมที่อนุญาตให้นักลงทุนชาวต่างประเทศ 8. การทำเหมืองแร่สารโลหะทีใ่ ช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตปุย๋ และเคมีภัณฑ์ เข้ า มาดำเนิ น งานภายใต้ ข้ อ กำหนด และเงื่ อ นไขของรั ฐ บาล 9. การขุดเกลือสินเธาว์ สปป.ลาว คือ 10. การทำเหมืองแร่และเหมืองหิน 1. การล่าสัตว์ ดักสัตว์ และการแพร่พันธุ์สัตว์ รวมถึง 11. อุตสาหกรรมผลิตสารเคมี และผลิตภัณฑ์เคมี บริการที่เกี่ยวข้อง 12. อุตสาหกรรมผลิตยารักษาโรค 2. การป่าไม้ การทำไม้ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 13. อุตสาหกรรมผลิตแอลกอฮอล์ทุกประเภท 3. การประมง การเพาะพันธุ์สัตว์ป่า และการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำ รวมทั้งธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประมง 14. อุตสาหกรรมผลิตเวชภัณฑ์สำหรับโรคทางด้านจิตเวช 4. การเพาะพันธุ์ปลาในลุ่มแม่น้ำโขง 15. อุตสาหกรรมผลิตยานพาหนะทุกประเภท 5. การผลิตและแปรรูปปลาที่จับได้ภายในประเทศ 6. การทำเหมืองแร่ยูเรเนียมและแร่ทอเรี่ยม 2.4 อุตสาหกรรมที่ไม่อนุญาตให้มีการลงทุนทั้งนักลงทุนชาว 7. การทำเหมืองหิน ทราย และดินเหนียว ต่างประเทศและนักลงทุนสัญชาติลาว ได้แก่ 1. อุตสาหกรรมการผลิตอาวุธทุกชนิด การประกอบเกษตรกรรมทีเ่ ป็นอาชีพซึง่ รัฐบาลสงวนไว้สำหรับ 2. อุตสาหกรรมการผลิตสารเสพติด ประชาชนสัญชาติลาว ได้แก่ การเพาะพันธุ์ปลาในอ่างเก็บน้ำ

เชียงของ-บ่อแก้ว

เมืองคู่แฝดเชื่อมไทย-สปป.ลาว

ไทยและ สปป.ลาว มีการพัฒนาเส้น ทางคมนาคมระหว่างกันหลายเส้นทางทั้ง ถนนและสะพานข้ามแม่น้ำโขงบริเวณจุด เชื่ อ มต่ อ ในจั ง หวั ด ต่ า งๆ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ การค้าการลงทุนระหว่างกันดำเนินไปอย่าง คล่องตัว หนึง่ ในเส้นทางคมนาคมทีม่ บี ทบาท สำคัญคือ เส้นทาง R3E ภายใต้โครงการ พั ฒ นาพื้ น ที่ เ ศรษฐกิ จ ตามแนวเหนื อ -ใต้ (North-South Economic Corridor) ของ อินโดจีน เชื่อมไทย สปป.ลาว และจีน เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2551 ทางการ ไทยและ สปป.ลาว ได้รว่ มกันเปิดใช้เส้นทาง R3E แล้ว คาดว่าจะช่วยกระตุน้ ให้เศรษฐกิจ ในพืน้ ทีท่ เี่ ส้นทางดังกล่าวตัดผ่านโดยเฉพาะ บริเวณจุดเชื่อต่อที่อำเภอเชียงของ จังหวัด

COMMERCIAL WORLD

41T


Cover

Story

เชียงรายของไทยและเมืองห้วยทราย แขวง บ่อแก้วของ สปป.ลาว ขยายตัวมากขึน้ เป็น ผลจากการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยว หลั่งไหลเข้ามาโดยเฉพาะจากนักลงทุนและ นักท่องเที่ยวต่างชาติ นอกจากนี้ การเปิด ใช้เส้นทาง R3E ยังช่วยกระชับความสัมพันธ์ ที่ใกล้ชิดระหว่างไทยและ สปป.ลาว ทั้งใน ด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วย เส้นทาง R3E แบ่งตามประเทศที่ถนน ตัดผ่านได้เป็น 1. เส้นทาง R3E ในไทย ระยะทางรวม 110 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นช่วงระหว่างตัว เมืองเชียงรายกับอำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย เป็นถนนลาดยางมะตอยกว้าง 10 เมตร รถวิ่งสวนกัน 2 ช่องจราจร อย่างไร ก็ตาม ไทยมีนโยบายจะปรับปรุงถนนเป็น 4 ช่องจราจรในช่วงจากตัวเมืองเชียงรายถึง อำเถอพญาเม็งราย ระยะทาง 50 กิโลเมตร ในปี 2551 และจากอำเภอพญาเม็งรายถึง อำเภอเชียงของอีก 60 กิโลเมตรในปี 2552 2. เส้นทาง R3E ใน สปป.ลาว มีระยะ ทางราว 228 กิ โ ลเมตร มี จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ กิ โ ลเมตร 0 (ห่ า งจากปลายสะพานข้ า ม แม่ น้ ำ โขงแห่ ง ที่ 4 ฝั่ ง สปป.ลาว 5.41 กิ โ ลเมตร) ต่ อ ไปยั ง กิ โ ลเมตร 84 ที่ บ้ า น สอด แขวงบ่อแก้ว ระยะทางประมาณ 85 กิ โ ลเมตร ต่ อ ไปยั ง กิ โ ลเมตร 159 ที่ บ้ า น น้ำลัง แขวงหลวงน้ำทา อีกประมาณ 74 กิโลเมตร ไปจนถึ ง ด่ า นบ่อเต็นเป็นระยะ ทางอีกประมาณ 69 กิโลเมตร อยู่ติดกับ ชายแดนจีนที่บ่อหาน นอกจากนี้ ปั จ จุ บั น กำลั ง มี ก าร ก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 4 เพื่อ สนับสนุนให้การคมนาคมผ่านเส้นทาง R3E คล่องตัวและสะดวกยิ่งขึ้น โดยจุดก่อสร้าง

T42

COMMERCIAL WORLD

ทอง อนุสาวรีย์ของท่านไกรสร พรหมวิหาร อดีตนายกรัฐมนตรีของ สปป.ลาว ตลอด จนมีวิถีชีวิตของชาวบ้านชนเผ่าต่างๆ ตาม หมู่บ้านรอบเมือง ขณะทีใ่ นด้านการลงทุน ในช่วงหลาย ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่มีการก่อสร้างเส้นทาง R3E ได้ มี นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ เ ข้ า ไปสำรวจ ลู่ ท างการลงทุ น ในแขวงบ่ อ แก้ ว อย่ า งต่ อ เนื่อง ส่วนใหญ่เป็นนักลงทุนจากจีนและ เวี ย ดนามที่ ส นใจลงทุ น โดยเฉพาะด้ า น การเกษตร อาทิ การปลูกยางพาราและไร่ อ้ อ ยขนาดใหญ่ รวมทั้ ง อุ ต สาหกรรมเบา การท่องเที่ยวและเหมืองแร่ ปั จ จุ บั น มี นั ก ลงทุ น จากมณฑลยู น นานของจี น เตรี ย มเข้ า ไปลงทุ น ในธุ ร กิ จ ท่องเทีย่ วและบริการเกีย่ วเนือ่ ง อาทิ โรงแรม สนามกอล์ฟ และศูนย์การค้า มูลค่าเกือบ 90 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ นอกจากนี้ ยั ง มี นั ก ลงทุ น จากเกาหลี เ ข้ า ไปทำสั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น จำนวนหลายร้ อ ยไร่ บ ริ เ วณใกล้ กั บ สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 4 เพื่อเตรียม ก่อสร้างโรงแรมขนาดใหญ่และศูนย์จำหน่าย สินค้าปลอดภาษี นอกจากนี้ ด้านลอจิสติกส์ บริการ ด้านลอจิสติกส์ครอบคลุมธุรกิจขนส่งคลัง สินค้า ศูนย์กระจายสินค้า รวมถึงธุรกิจให้ บริ ก ารรั บ ส่ ง ผู้ โ ดยสารเพื่ อ รองรั บ ความ ต้องการใช้บริการขนส่งสินค้าและบริการที่ เกี่ ย วเนื่ อ งซึ่ ง มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ตามการ ขยายตัวของการค้าและการลงทุนระหว่าง ประเทศ ลอจิ ส ติ ก ส์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ น่ า สนใจ และจะทวีความสำคัญขึ้นเป็นลำดับ

สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 4 อยู่ที่บริเวณ บ้านดอนมหาวัน อำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงรายของไทย ตรงข้ามกับทางใต้ของ เมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้วของ สปป.ลาว มูลค่าก่อสร้างรวม 1,600 ล้านบาท ทั้งนี้ ไทยและจี น อนุ มั ติ เ งิ น ทุ น สนั บ สนุ น การ ก่อสร้างฝ่ายละครึ่งหนึ่งของมูลค่าก่อสร้าง รวม ในเบื้องต้นคาดว่าสะพานจะก่อสร้าง และเสร็จราวปี 2554 หลังจากสะพานเปิดใช้ อ.เชียงของ จะพัฒนาสู่การเป็นประตูเศรษฐกิจตอนบน ของไทย ที่จะเชื่อมต่อกับแขวงบ่อแก้ว ของ สปป.ลาว ซึ่งเป็นแขวงที่เล็กที่สุดของ สปป. ลาว มีพื้นที่ราว 3.87 ล้านไร่ มีเมืองห้วย ทรายเป็นเมืองหลวง แขวงนี้เป็นที่รู้จักด้าน การเป็นแหล่งอัญมณีและเป็นส่วนหนึ่งของ พื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ แขวงบ่ อ แก้ ว กำลั ง เป็ น ที่ ส นใจของ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว และนั ก ลงทุ น เนื่ อ งจากมี สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจมากมาย ส่วน ข้อมูล : หนังสือ ทิศทางการส่งออกและลงทุน เล่ม 12 ของธนาคารเพือ่ การส่งออกและนำเข้า ใหญ่เป็นวัดและสถานที่เก่าแก่ต่างๆ เช่น แห่งประเทศไทย วั ด จอมแก้ ว มณี รั ต น์ วั ด พระธาตุ ต ากผ้ า


Executive

Interview

เรื่อง : จตุรงค์ กอบแก้ว ภาพ : วรรณรัตน์ สุขเกษม

อ๊อด พงสะหวัน

สร้างแบงก์ลาว ก้าวสู่เอเชีย ฉีกตำรา

COMMERCIAL WORLD

43T


Executive

Interview

หากเอ่ยชื่อ ‘ธนาคารพงสะหวัน’ คน ไทยอาจงงๆ ยิ่งเอ่ยชื่อ ‘อ๊อด พงสะหวัน’ ยิ่งหนักไปใหญ่ แต่ถ้าบอกว่าสถาบันการ เงินแห่งนี้ เป็นธนาคารเอกชนอันดับ 1 ใน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือ สปป.ลาว ภายใต้การถือหุน้ 100% ของ อ๊อด พงสะหวัน ที่ได้รับการกล่าวขานว่าจะก้าว ขึ้นมาเป็น ‘ผู้นำคลื่นลูกใหม่แห่งอาเซียน’ คงทำให้หลายคนสนใจขึ้นมาบ้างไม่มาก ก็น้อย ที่ ส ำคั ญ ธนาคารแห่ ง นี้ ก ำลั ง รุ ก คื บ เข้ามาเปิดสำนักงานตัวแทนในเมืองไทย และจะขยายเป็นสาขาต่อไปในอนาคต ซึ่ง ต้องถือว่า... ไม่ธรรมดาแน่นอน และ “โลก การค้า” เป็นนิตยสารฉบับแรกของเมือง ไทยที่ได้รับการต้อนรับจากนายแบงก์แห่งนี้ เปิดห้องวีไอพีสำนักงานใหญ่ในเวียงจันทร์ ให้ “สั ม ภาษณ์ พิ เ ศษ” ถึ ง ความเป็ น มา อย่างละเอียดยิบ อยากทราบว่าทำไมจึงมีความคิดเปิด แบงก์พงสะหวัน? ผมมีแรงบันดาลใจในการทำแบงก์ 3 ข้อคือ 1.เนื่องจากนโยบายของพรรครัฐบาล ต้องการนำ สปป.ลาวไปสู่การเป็นประเทศ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เปิดกว้างให้

นักลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาลงทุน ซึ่ง สถาบันการเงินมีสว่ นสำคัญในการสนับสนุน แนวคิดดังกล่าวให้ประสบความสำเร็จ 2. ผมมีโอกาสเดินทางไปทำธุรกิจติดต่อกับ ต่างประเทศบ่อยๆ และมองเห็นความทัน สมัยของสถาบันการเงินในหลายประเทศ จึงอยากพัฒนาสถาบันการเงินของ สปป. ลาวให้มีความก้าวหน้าเหมือนแบงก์เหล่า นั้ น และ 3.เป็ น ความใฝ่ ฝั น ส่ ว นตั ว ที่ ท ำ ธุรกิจด้านนี้อยู่แล้ว วางแผนมานานเท่าไหร่กว่าจะเปิดให้ บริการ? ประมาณ 5 ปี ศึ ก ษาข้ อ มู ล และ ปรึกษากับผู้รู้ ใ นวงการหลายครั้ ง ว่ า จ้ า ง ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินการธนาคารจาก ต่างประเทศมาเตรียมการด้านเทคโนโลยี บุคลากร กฎหมาย ระเบียบการต่างๆ กระทัง่ สามารถจัดตัง้ แบงก์สำเร็จ และเปิดตัวอย่าง เป็นทางการในวันที่ 29 มีนาคม 2007 เริ่มต้นสร้างจุดขายอย่างไร? สมั ย ก่ อ นชาวบ้ า นไม่ ค่ อ ยนิ ย มการ ฝากเงินกับธนาคาร เนื่องจากมีกำหนดการ ไถ่ถอน และจำกัดวงเงินการไถ่ถอน ทำให้ กว่า 80% ไม่รจู้ กั ธนาคาร ไม่กล้าเข้าธนาคาร

กลัวขั้นตอนมากมาย เราก็คิดกลยุทธ์ว่าจะ ทำยังไงให้คนมาเข้าแบงก์ ก็พบว่าคนลาว จำนวนมากกู้ เ งิ น กั บ นายทุ น นอกระบบ ยอมจ่ายดอกเบี้ย 10-30% ต่อเดือน ซึ่งหนี้ นอกระบบไม่ มี ก ติ ก าควบคุ ม ว่ า ดอกเบี้ ย ต้องเท่าไหร่ ขึ้นอยู่กับความพอใจของผู้ขอ กู้กับผู้ให้กู้ เราจึงเปิดบริการสินเชื่อรายย่อย เพื่อต่อสู้กับหนี้นอกระบบ โดยคิดดอกเบี้ย เพี ย งร้ อ ยละ 1.25 ปรากฏว่ า เปิ ด บริ ก าร เดื อ นแรกมี ช าวบ้ า นนำเงิ น มาฝากและ มาขอสิ น เชื่ อ มากกว่ า 3 พั น คน ถื อ เป็ น ประวัติศาสตร์ของธนาคารใน สปป.ลาว เน้นไปในกลุ่มรากหญ้าเป็นพิเศษ? ต้องยอมรับว่าสินเชื่อรายย่อยนี้เรา เปิดขึ้นมาเพื่อสู้กับหนี้นอกระบบโดยเฉพาะ ไม่ต้องมีคนค้ำประกัน แค่แสดงหลักฐานว่า มีอาชีพ มีงานทำเอาไปเลย วงเงินสูงสุด 7 หมื่นบาท ในช่วง 3 เดือนแรกจึงโดนปัญหา รอบด้านกดดันอย่างหนัก โดยเฉพาะมีการ ปล่อยข่าวว่าแบงก์พงสะหวันกำลังจะเจ๊ง แล้วเพราะเงินที่ปล่อยออกไปนั้นเป็นหนี้เสีย ผมต้องแก้เกมด้วยการออกข่าวสู้ เรียกทีวี มาทำสัญญารายงานข่าวทุกวัน ประกาศ เลยว่าวันนี้พงสะหวันแบงก์มีการปล่อยสิน เชื่ อ เท่ า ไหร่ เงิ น ฝากเท่ า ไหร่ หนี้ เ สี ย เท่ า

พงสะหวันไม่ ใช่แค่ธนาคารที่เรียกให้ลูกค้า มาฝากเงิน เราเป็นธนาคารสะดวกใช้ ใส่ ใจความรู้สึกของลูกค้า โชว์ความทันสมัย ไม่ ใช่เรื่องง่ายที่จะทำให้ คนลาวระดับชาวบ้านยอมรับนำเงิน มาฝากกับธนาคาร แต่พงสะหวันทำให้คน ขุดเงินที่ฝังไว้มาเข้าบัญชีเงินฝากได้

T44

COMMERCIAL WORLD


ไหร่ จนกระแสลดลงไป แต่พวกเขาไม่ยอม แพ้หั่นดอกเบี้ยนอกระบบลงมาเรื่อยๆเพื่อสู้ กับ เรา จนปั จ จุ บั น เหลือประมาณร้อยละ 2.5 คือลดลงมาเรือ่ ยๆจาก 10 เหลือ 5 เหลือ 4 เหลือ 3 ถือเป็นความภาคภูมิใจของผมที่ สามารถทำให้หนี้นอกระบบลดดอกเบี้ยลง มาได้ นอกจากหนี้รายย่อยแล้วก็ปล่อยให้ กับกลุ่มลูกหนี้ขนาดใหญ่และขนาดกลาง สรุปคือมีทั้งหมด 3 กลุ่มคือ รายใหญ่ ราย กลางและรายเล็ก วันนี้เรามีลูกค้าประมาณ แสนบัญชี แล้วจริงๆมีหนี้เสียเยอะหรือเปล่า? มีคนถามผมมากในเรื่องนี้ ซึ่งผมก็ จะอธิบายว่า หลักการของผมไม่มีอะไรซับ ซ้อน ในจำนวนลูกค้า 1 แสนราย ผมแบ่ง เป็ น 3 กลุ่ ม กลุ่ ม ที่ 1 เกรดเอ ประมาณ 85% หรื อ ประมาณ 8 หมื่ น ราย พวกนี้ ไม่มีปัญหาขอกู้ไปแล้วใช้คืนตามกำหนด กลุ่ ม ที่ 2 เกรดบี ประมาณ 15% หรื อ 1 หมื่นราย กลุ่มนี้มีความต้องการใช้คืน แต่มี ปัญหาใช้คืนไม่ได้ตามกำหนด เช่นฝนตก น้ำท่วมข้าวในนาเสียหาย เลี้ยงไก่โดนโรค ระบาดตาย เขาอยากให้เกิดหรือเปล่า ไม่เลย มันอยู่นอกเหนือการควบคุม เราต้องช่วย เหลื อ อั ด ฉี ด เงิ น เพิ่ ม ให้ แล้ ว สนั บ สนุ น ให้ เขาเข้ามาเป็นลูกค้าเกรดเอในอนาคต ส่วน กลุ่มที่ 3 เกรดซี 5% หรือประมาณ 5 พัน ราย กลุ่ ม นี้ มี เ จตนาไม่ จ่ า ยคื น ตั้ ง แต่ ต้ น เราต้ อ งเอาเข้ า มาอบรม ให้ ค วามคิ ด กั บ เขาว่าในชีวิตคุณต้องการเงินแค่นี้หรือ ตอบ มาเลย ถ้าบอกว่าต้องการแค่นี้ ผมให้เลย นั่นคือความคิดของผม ใจเราพูดอย่างนั้น แต่ระบบแบงก์พูดอย่างนั้นไม่ได้ ผมเชื่อว่า ไม่มใี ครเอาแน่ ในจำนวนคน 5 พันคน ต้อง มี 70% กลับมาขอกู้ใหม่ อีก 30% เป็นโดย สันดาน คน 70% นั้นเขาพร้อมจะกลับตัว

เป็นคนดีถ้าเราให้โอกาสและทำความเข้าใจ กับเขา สรุปแล้วเราจะมีหนีเ้ สียเพียงแค่ 2.5% เท่านั้น ซึ่งถือว่าไม่มีความเสี่ยง ผมคิดว่านี่ คือหลักการพื้นฐานของนายแบงก์ คือให้ โอกาสกับทุกคน และแยกกลุ่มเพื่อที่จะรู้ว่า ใครดีใครเลว จะเหมาว่าทุกคนเลวเป็นไป ไม่ได้ และสำหรับลูกค้าชั้นดีเราจะทำบัตร ทองให้ มี สิ ท ธิ พิ เ ศษคื อ ลดดอกเบี้ ย 15% ต่อปี และจะเพิ่มทุนสินเชื่อให้เรื่อยๆ จาก 20 ล้ า นเป็ น 40 ล้ า น 60 ล้ า น 100 ล้ า น 1,000 ล้าน คงต้องฝ่าด่านความคิดของคนที่ ไม่ เห็นด้วยกับแนวทางนี้พอสมควร? ตอนที่ เ ราเปิ ด ตั ว ลุ ย ด้ ว ยกลยุ ท ธ์ ดั ง กล่ า วนั ก วิ ช าการหลายคนส่ า ยหั ว ว่ า ทำไม่ได้ มันเป็นอะไรที่ต่างจากที่เคยเป็น แต่ผมมั่นใจในสัญชาตญาณคนลาวของผม ผมรู้จักประเทศนี้ดี รู้จักประชาชน พื้นฐาน ความคิ ด พฤติ ก รรม ผมรู้ ว่ า จะสร้ า ง บรรยากาศให้ มี ค วามตื่ น ตั ว ได้ อ ย่ า งไร พงสะหวันไม่ใช่แค่ธนาคารที่เรียกให้ลูกค้า มาฝากเงิน เราเป็นธนาคารสะดวกใช้ ใส่ใจ

ความรูส้ กึ ของลูกค้า โชว์ความทันสมัย ไม่ใช่ เรื่องง่ายที่จะทำให้คนลาวระดับชาวบ้าน ยอมรั บ นำเงิ น มาฝากกั บ ธนาคาร แต่ พงสะหวั น ทำให้ ค นขุ ด เงิ น ที่ ฝั ง ไว้ ม าเข้ า บั ญ ชี เ งิ น ฝากได้ โดยกำหนดวงเงิ น ฝาก ออมทรัพย์ขั้นต่ำเพียง 1 แสนกีบ เรี ย นรู้ ค วามคิ ด แบบนี้ จ ากตำราเล่ ม ไหน? ผมไม่เคยอ่านตำรา แต่บางคนบอก ว่าผมพูดเหมือนตำราฝรั่ง เอาง่ายๆ ถ้าผม มีวงเงิน 50 ล้านบาทให้ธุรกิจใหญ่รายเดียว กู้ ทั้ ง หมด 50 ล้ า นบาท เขาบอกว่ า จ่ า ย แน่ น อน ไม่ มี ปั ญ หา แต่ ต อนนี้ ข องดจ่ า ย ดอกเบี้ ย ก่ อ น 2 ปี เ พราะเศรษฐกิ จ ไม่ ดี อัตราดอกเบี้ยปีละ 5 ล้าน 2 ปีก็ 10 ล้าน คนเดียวหายไป 10 ล้าน แต่ถ้าให้ 100 คน กู้ ก็เท่ากับกระจายความเสี่ยง เป็นไปไม่ ได้ที่คน 100 คนจะมีปัญหาพร้อมกันหมด คิดไหมว่าเปิดแบงก์ 2 ปีจะมีลกู ค้ากว่า แสนราย? คิดว่าเราจะต้องหาลูกค้าให้ได้มากๆ แต่ไม่คิดว่าจะมากขนาดนี้ อึ้งเหมือนกันว่า ขนาดนีเ้ ลยหรือ เรารูว้ า่ จะให้ชาวบ้านนำเงิน มาฝาก แต่ไม่รู้ว่าจะมากขนาดนี้ เพราะ บางธนาคารเปิดมา 30 กว่าปียังไม่มีลูกค้า ขนาดนี้เลย มีแค่หลักพัน แต่เราอาทิตย์ เดียว มานั่งรอเต็ม นั่งข้างในไม่พอล้นออก ไปข้างนอก นอกจากสินเชื่อแล้วมีปัจจัยใดทำให้ คนนิยมแบงก์พงสะหวันมากขนาดนี้? น่าจะเป็นเรื่องการสื่อสารทำให้ชาว บ้านเข้าใจว่าพงสะหวันเป็นแบงก์ของชาว บ้านทุกคน ไม่ใช่ของคนใดคนหนึ่ง ทำให้ เขาเข้ า ถึ ง เราง่ า ยที่ สุ ด ส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ไ ป

COMMERCIAL WORLD

45T


Executive

Interview

ทำความเข้าใจทุกบ้านว่าแบงก์ไม่ได้ใหญ่ กว่าชาวบ้าน แต่ชาวบ้านต่างหากใหญ่กว่า แบงก์ เพราะเป็นคนสร้างธุรกรรมเงินฝาก เงินกู้ให้กับแบงก์ รวมวงเงินฝากและเงินกูป้ จั จุบนั ทัง้ หมด เท่าไหร่? เงินฝาก 70 กว่าล้านเหรียญสหรัฐฯ เงินกู้ 30 กว่านล้านเหรียญสหรัฐฯ จุดเด่นของพงสะหวันแบงก์นอกจาก การปล่อยสินเชื่อแล้วมีอะไรอีก? เราเป็ น ผู้ บุ ก เบิ ก ระบบอั ต ราแลก เปลี่ ย นเงิ น ตราที่ เ ป็ น มาตรฐานให้ กั บ สปป.ลาว จากเมื่อก่อนประชาชนต้องไปซื้อ เงินต่างสกุลในตลาดมืด ซึง่ มีกลุม่ คนจำนวน หนึง่ กำหนดอัตราแลกเปลีย่ น แต่พงสะหวัน เข้าไปเปลี่ยน โดยสู้กับตลาดมืด วันหนึ่ง ร้ อ ยกว่ า ล้ า น แบงก์ ช าติ สปป.ลาวเห็ น ตั ว อย่ า งจึ ง บอกให้ ทุ ก แบงก์ หั น มาขาย เงิ น ตราต่ า งประเทศ อั น ที่ 2 เราปฏิ รู ป ระบบเงินบาทกับเงินกีบด้วยการคุยกับผู้ว่า การธนาคารแห่งประเทศไทย ปรึกษาว่าทำ ยั ง ไงให้ เ อาเงิ น บาทกั บ เงิ น กี บ ซื้ อ ขายกั น โดยตรง ไม่ ต้ อ งนำไปแลกเปลี่ ย นเป็ น ดอลลาร์ก่อน ซึ่งนอกจากจะเสียเวลาแล้ว ยังเสียค่าธรรมเนียมด้วย ซึ่งธนาคารแห่ง ประเทศไทยก็เห็นดีด้วย บอกว่านโยบายนี้ มีการพูดคุยกันมานานแล้ว แต่ไม่มีใครทำ เป็นรูปธรรม แบงก์พงสะหวันจะทำให้เป็น รูปธรรม เช่นนักธุรกิจไทยมาลงทุนได้เงิน กีบพงสะหวันรับซื้อหมดแล้วเอาเงินบาทไป สมัยก่อนนักธุรกิจไทยมาลงทุนในลาวต้อง หิ้วเงินสดมาจ่ายเงินเดือนครั้งละหลายล้าน บาท เดี๋ยวนี้ไม่ต้อง เรารับจ่ายเป็นเงินกีบ โดยโอนเงินบาทมาแลก ซึ่งการทำแบบนี้จะ ช่วยหนุนให้การค้ามีความสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการค้ า ชายแดนที่ เ มื่ อ ก่ อ นไม่

T46

COMMERCIAL WORLD

สะดวกเรื่องสกุลเงินต้องค้าขายเป็นเงินสด อย่างเดียว นอกจากนีเ้ รายังมีตเู้ อทีเอ็มบริการ เงิน 3 สกุลคือดอลลาร์ กีบ และบาท จะ กดเป็นเงินสกุลไหนก็ได้ เรามีเป้าหมายจะ เป็นธนาคารทางเลือกที่ดีที่สุดใน สปป.ลาว หรือ ‘To Be The Leading Bank of Choice in The Lao PDR by 2010’ ภายในปี 2010 ทำไมพงสะหวั น จึ ง เป็ น แบงก์ เ อกชน รายแรกและรายเดี ย วที่ ได้ รั บ ความ เห็นชอบจากธนาคารแห่ง สปป.ลาว ให้เปิดบริการ? ความจริงปัจจุบันเราไม่ใช่รายเดียว แล้ว มีธนาคารเอกชนเกิดใหม่อีก 2-3 ราย แต่ ต อนที่ พ งสะหวั น ได้ รั บ อนุ ญ าตนั้ น ประเทศ สปป.ลาวยังไม่มีธนาคารเอกชนที่ เป็นการลงทุนโดยคนลาวแท้ๆ มีแต่ธนาคาร รั ฐ และธนาคารร่ ว มทุ น ซึ่ ง จุ ด อ่ อ นของ ธนาคารทั้งสองก็คือ การขาดความคล่อง ตัวในการให้บริการ และรูปแบบบริการยัง เป็นแบบเก่า ธนาคารแห่ง สปป.ลาวจึงเห็น ว่าน่าจะมีธนาคารเอกชนของคนลาวเข้า มาสร้างความแตกต่าง และสร้างความเชื่อ มัน่ ให้กบั คนลาว ซึง่ กว่าจะได้รบั การอนุญาต

ก็ต้องตอบโจทย์ด้านเงื่อนไขกฎเกณฑ์เยอะ มาก และผมสามารถตอบโจทย์เหล่านั้นได้ 99.99% จึงได้รับอนุญาต เห็นว่าจะเข้าไปเปิดสำนักงานตัวแทน ปฏิบัติการในเมืองไทย? ตอนนี้เรากำลังมองหาทำเลเพื่อตั้ง สำนักงานตัวแทนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ คือ 1.เพื่อให้นักธุรกิจไทยที่ไม่เคยเข้ามา สปป.ลาว อยากได้ข้อมูลประเทศลาว เรา จะมี พ นั ก งานพงสะหวั น จั ด การเรื่ อ งนี้ ใ ห้ เพื่อไม่ให้มีความผิดพลาดหลังจากเข้ามา ลงทุ น ได้ ผ ลประโยชน์ ก ลั บ ไปเมื อ งไทย ตามเป้าหมาย 2.หากนักธุรกิจที่มาลงทุนใน ลาวเจอปัญหา แบงก์พงสะหวันจะเป็นที่ ปรึกษาแก้ปัญหาร่วมกัน และประสานงาน กับฝั่งไทยได้ทันที 3.สำหรับนักลงทุนรายใด ต้องการข้อมูลเฉพาะด้าน ธนาคารพงสะหวัน จะจัดการนำข้อมูลดังกล่าวไปให้ ไม่ต้อง บินมาให้เสียค่าใช้จ่าย 4. เราต้องการสร้าง ระบบการโอนเงินให้สะดวกยิ่งขึ้น เช่นมีเงิน บาทโอนมาจากประเทศไทย คุณนั่งรอเลย เราสามารถประสานงานกับสำนักงานของ


เราที่ กรุงเทพฯได้ทันที เป้าหมายการเปิด สำนักงานตัวแทนประจำประเทศไทยก็เพื่อ เป็ น ก้ า วแรกของความสั ม พั น ธ์ ท างด้ า น สถาบันการเงิน เป็นการสร้างสะพานให้มี การเชื่อมต่อถึงกันได้ สำนักงานตัวแทนไม่ ได้กำหนดรูปแบบบริการ เพราะตามเงือ่ นไข ของธนาคารแห่งประเทศไทยเราไม่สามารถ ให้บริการได้ เราเป็นแค่ผรู้ บั -ส่งสารระหว่าง นักลงทุนหรือสถาบันการเงินฝั่งไทยกับฝั่ง ลาว เป็นเพียงผู้ให้ข้อมูล และประสานงาน ขณะเดียวกันก็สร้างความสัมพันธ์ทแี่ น่นแฟ้น ระหว่ า งนั ก ลงทุ น และสถาบั น การเงิ น ทั้ ง สองฝั่ง ทั้งเรื่องกิจกรรมและความร่วมมือ ในด้านบริการต่างๆ แต่ผมยังเปิดเผยไม่ได้ ว่ามีอะไรบ้าง ซึ่งคู่ค้าของเราเป็นสถาบัน การเงินระดับต้นๆของประเทศไทย ในเร็วๆ นี้ ช าวไทยและชาวลาวจะได้ เ ห็ น รู ป แบบ บริการข้ามประเทศแบบใหม่ๆแน่นอน ซึ่ง หลังจากเปิดสำนักงานตัวแทนในเมืองไทย 2-3 ปีต่อไปจะขออนุญาตจัดตั้งเป็นสาขา ซึ่งจะทำธุรกรรมการฝาก การถอน การให้ สินเชื่อ และธุรกรรมต่างๆ ได้เช่นเดียวกับ แบงก์ กฎเกณฑ์การประกอบธุรกิจธนาคาร ของไทยและของลาวเหมือนกันหรือ ต่างกันอย่างไร? ทุ ก วั น นี้ โ ลกเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น แล้ ว หลักเกณฑ์อะไรก็วิ่งมาชนกันได้เกือบทั้งนั้น อะไรที่ เ ป็ น สากลก็ ย่ อ มได้ รั บ การยอมรั บ และมี เ หตุ ผ ลที่ จ ะต้ อ งยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต าม ธนาคารต่างๆใน สปป.ลาวมีผู้ปกครองคือ ธนาคารแห่ง สปป.ลาว ผู้ปกครองก็ย่อม ต้องดูแลให้ลูกๆเติบโตแข็งแรงและเป็นคน ดี เป็นที่ยอมรับของคนอื่น อะไรที่สากลเขา ปฏิบตั กิ ต็ อ้ งเอามาใช้ คงไม่ตา่ งจากธนาคาร แห่งประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการกำหนด ทุนขั้นต่ำ เงินทุนค้ำประกันเงินฝาก การ

เราเป็นผู้บุกเบิกระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ที่เป็นมาตรฐานให้กับ สปป.ลาว จากเมื่อก่อน ประชาชนต้องไปซื้อเงินต่างสกุลในตลาดมืด ซึ่งมีกลุ่มคนจำนวนหนึ่งกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน แต่พงสะหวันเข้าไปเปลี่ยน โดยสู้กับตลาดมืด ป้องกันการฟอกเงิน การบริหารที่โปร่งใส การกำหนดสัดส่วนสินเชื่อกับเงินฝาก หรือ สัดส่วนอื่น ๆ ตลอดจนการควบคุ ม อั ต รา ดอกเบี้ ย อั ต ราแลกเปลี่ ย น และการรั บ ประกันเงินฝากลูกค้า ไม่มีอะไรต่างกัน นอกจากประเทศไทยแล้วจะขยาย บริการไปยังกลุ่มประเทศอาเซียน อย่างไรบ้าง? ตอนนี้ ป ระเทศ สปป.ลาวค่ อ นข้ า ง เนื้อหอม อยู่ในเป้าหมายการเข้ามาลงทุน ของคนต่างชาติเยอะมาก ผมจึงอยากให้ สปป.ลาวเป็ น ศู น ย์ ก ลางทางการเงิ น ของ อาเซี ย น จึ ง มี แ ผนขยายเครื อ ข่ า ยไปใน ประเทศแถบชายแดน เช่นการร่วมมือกับ ธนาคารในประเทศเวียดนามและจีน ให้ มีการรับซื้อแลกเปลี่ยนเงินกีบ-ดอง และ

กี บ -หยวน รวมถึ ง การโอนเงิ น ต่ า งสกุ ล ระหว่างลูกค้าและนักลงทุนทั้งสองประเทศ การขยายเปิดบัญชีกบั ธนาคารในต่างประเทศ ทั้ ง ไทย เวี ย ดนาม จี น ฮ่ อ งกง อเมริ ก า เยอรมั น และจะขยายต่ อ ไปยั ง ประเทศ อื่นๆอีก เพื่อให้การทำธุรกรรมระหว่างกัน สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น สนใจเข้าไปลงทุนในจีนโดยตรงหรือไม่? ต้องยอมรับว่าประเทศจีนเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิ จ และเป็ น ประเทศ อุตสาหกรรมที่ทันสมัย มีตลาดรองรับทั้ง ในประเทศและทั่วโลก มีบทบาทสำคัญใน การร่ ว มพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของ สปป.ลาว มาเป็นเวลานาน ในส่วนของภาค รัฐบาล สปป.ลาวก็วางนโยบายด้านความ สัมพันธ์กับประเทศจีนไว้อย่างชัดเจน จีน COMMERCIAL WORLD

47T


Executive

Interview เรากำลังมองหาทำเลเพื่อตั้งสำนักงานตัวแทน ปฏิบัติการในเมืองไทย เพื่อให้นักธุรกิจไทย ที่ ไม่เคยเข้ามา สปป.ลาว อยากได้ข้อมูลประเทศลาว เราจะมีพนักงานพงสะหวันจัดการเรื่องนี้ ให้ เพื่อไม่ ให้มีความผิดพลาดหลังจากเข้ามาลงทุน

จึ ง เป็ น ประเทศที่ อ ยู่ ใ นความสนใจและ เป็นเป้าหมายในอันดับต้นๆ ของธนาคาร พงสะหวั น ในการเข้ า ไปลงทุ น เปิ ด สาขา นอกเหนื อ จากการเปิ ด บั ญ ชี ร ะหว่ า งกั น กับธนาคาร ICBC และธนาคาร CCB แห่ง ประเทศจีน เคยมีคนมาศึกษาระบบงานของพงสะหวัน ไหม? เมือ่ ไม่กวี่ นั ก่อนมีผบู้ ริหารของธนาคาร โลกมาหาผม โดยเขานัดและมากะทันหัน ชนิดที่ผมไม่ทันตั้งตัว แต่เราก็ต้อนรับเขา เต็มที่ พอมาถึงเขาถามผมว่า ‘คุณต้องการ เงินไหม เราให้ 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ’ ผม ก็บอกว่าไม่เป็นไร ขอบคุณมากที่ท่านมา เรายังมีเงินพอใช้ ถ้ากู้เวิลด์แบงก์เราก็ต้อง จ่ายดอกเบี้ย ปัจจุบันเรายังพอมีอยู่ และ การปล่อยสินเชื่อรายย่อยเพื่อล้างหนี้นอก ระบบของเราก็มีกำหนดทำแค่ 5 ปี แต่ถ้า ท่านมาช่วยเราอาจใช้เวลาแค่ 2-3 ปี ประเทศ

T48

COMMERCIAL WORLD

ลาวจะดีขึ้นมาก แต่คิดว่าเราจะอยากใช้ เวลาตามกรอบที่ ตั้ ง ไว้ เขากลั บ ไปด้ ว ย ความประทั บ ใจ บอกว่ า ถ้ า มี ปั ญ หาต้ อ ง ช่วยแบงก์พงสะหวันทันที หลังจากนั้นไม่ นานมี ค นบิ น มาจากสวิ ส เซอร์ แ ลนด์ แ ละ อินเดีย บอกว่ า เวิ ล ด์ แบงก์ ใ ห้ ม าดูวิ ธี ก าร ทำงานของแบงก์พงสะหวัน แถมบอกว่า เวิลด์แบงก์ยินดีเพิ่มวงเงินกู้ให้อีก 20 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ เป็น 40 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ผมบอกว่ า มั น มากไป กลั ว ควบคุ ม ไม่ ไ ด้ และยังไม่รู้ว่าจะเอามาทำอะไร นอกจากการปล่อยสินเชื่อแล้วแบงก์ ให้การสนับสนุนอย่างอืน่ ด้วยหรือไม่? สมั ย ก่ อ นเวลาสถาบั น การเงิ น ให้ สินเชื่อเพื่อนำไปผลิตพืชผลขายในตลาด เขาจะส่งเสริมให้คุณปลูกเท่านั้น แต่ของ พงสะหวันใช้ระบบครบวงจร คือส่งเสริมให้ ปลูกแล้วผลิตสำเร็จรูป มีคนไปศึกษาการ ตลาด ศึ ก ษาการขนส่ ง อี ก คนช่ ว ยหา

ออเดอร์ให้ ขณะนี้เรากำลังสร้างตลาดนัด ให้ลูกค้าของแบงก์นำสินค้าขายโดยไม่คิด ค่าเช่าทั่วประเทศลาว คอนเซ็ปต์นี้ธนาคาร แห่งประเทศไทยก็สง่ คนมาศึกษาแลกเปลีย่ น เพื่อนำไปใช้กับธนาคารในเมืองไทย คิดว่าหัวใจของการทำแบงก์คืออะไร? ผมไม่มพี นื้ ฐานความรูด้ า้ นการธนาคาร เพียงแต่เคยใช้บริการธนาคาร เมื่อจะเข้า มาทำแบงก์ก็คุยกับมืออาชีพ แต่อย่างไร ก็ตาม การทำธุรกิจทุกอย่างองค์กรสำคัญ ที่ สุ ด ซึ่ ง องค์ ก รก็ คื อ คน แม้ คุ ณ จะมี ไ อที ทันสมัย แต่ถ้าองค์กรไม่ดีเสร็จเลย เราเอา เทคโนโลยี เ ข้ า มาก็ ต้ อ งใช้ ค นคอนโทรล ไอทีระดับหนึ่งของโลก ถ้าคนไม่คีย์ข้อมูล เข้าไปมันก็ไม่รู้ว่าคนต้องการอะไร คนๆ เดียวสามารถทำให้แบงก์ปั่นป่วนได้ ถ้าคน นั้นมีอำนาจ ทุกแบงก์ที่เจอปัญหาส่วนใหญ่ มาจากคน ถ้ า คนคอรั ป ชั่ น หรื อ ทำลาย องค์กรมีปัญหาแน่นอน เพราะฉะนั้นเราจึง สร้างวัฒนธรรมให้ทกุ คนเป็นเจ้าของธนาคาร โดยจัดสรรหุ้นของธนาคารให้พนักงานปีละ 9 คน ไม่กังวลหรือที่เราไม่มีพื้นฐานการเงิน แต่ต้องมาบริหารแบงก์? ผมคิดว่าการบริหารงานสิ่งสำคัญคือ รู้ว่าเราจะทำอะไร และไม่จำเป็นต้องทำ ตามตำราเป๊ะๆ อย่างผมจ้างฝรั่งมาทำงาน


เขาเดินทุกอย่างตามระบบหมด แม้กระทั่ง การส่งเอกสารก็ต้องจ้างคนไปทำตามขั้น ตอน เสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ อ ครั้ ง จำนวนมาก ทั้งที่เราสามารถทำในรูปแบบอื่นที่ประหยัด กว่าได้ เมื่อผมแนะนำ เขาบอกว่าทำไม่ได้ ต้องเดินตามระบบอย่างเดียว ผมจึงถาม เขาว่า ถ้าคุณเดินไปหน้าแบงก์จะข้ามถนน ไปฝั่งตรงข้ามจะข้ามตรงไหน เขาตอบว่าก็ ข้ามหน้าแบงก์ซิ ผมบอกว่าข้ามไม่ได้ คุณ ต้องเดินไปข้ามทางม้าลายที่อยู่ห่างออกไป ร้ อ ยเมตร เพราะกฎหมายสอนให้ ข้ า ม ทางม้าลาย ในทีส่ ดุ เขาจึงยอมเห็นด้วย หรือ กรณี ผ มให้ น โยบายประชาสัมพันธ์ปล่อย สินเชื่อเต็มที่ เขาบอกว่าให้หยุดก่อน ผม ถามว่ า หยุ ด ทำไม เขาบอกว่ า ผมต้ อ งคั ด เลือกลูกค้าว่ารายไหนดี รายไหนไม่ดี ผม ตอบกลับว่าผมหาเรือให้คุณ หาอุปกรณ์ให้ คุณ แถมยังบอกอีกว่าตรงนี้มีปลา หน้าที่ ของคุณต้องคัดว่าปลาตัวไหนดี ไม่ดี คุณ บอกว่ามีประสบการณ์ 40 ปีต้องคัดปลา เป็น ถ้าผมต้องคัดปลาให้ ผมจะจ้างคุณมา ทำไม

หมายความว่าทำงานกับพงสะหวัน ต้องกล้าคิดนอกกรอบ? ครั้งหนึ่งมีคนแนะนำให้ผมเทคโอเวอร์ธนาคารอื่น ผมบอกว่าสร้างบ้านใหม่ดี กว่าซ่อมบ้านเก่า เพราะถ้าเราซื้อกิจการ เก่ามา แม้จะมีลูกค้าจำนวนหนึ่งในมือ แต่ เราจะจั ด การเอาคนไปไว้ ที่ ไ หน ในเมื่ อ ความคิดของเขาไม่เปลี่ยน แต่ละสายก็คิด ต่ า งกั น เป็ น เรื่ อ งวุ่ น วายมากสำหรั บ การ บริหาร ในอดีตหลายคนนิยมชมชอบแบงก์ ฝรั่งว่าเก่งอย่างนั้นอย่างนี้ แต่แบงก์ทั่วโลก ที่ล้มทุกวัน นี้ พิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า การปฏิ รู ป แนว ทางใหม่ บนความคิดใหม่ จำเป็นต้องทำ เท่ากับว่าการแข่งขันของแบงก์ยุคใหม่ ไม่จำเป็นว่าจะใหญ่หรือเล็ก? ระบบการเงินสมัยใหม่คือการทำให้ ง่ายที่สุด เร็วที่สุด ขับรถเข้ามาในธนาคาร สามารถเบิกเงิน ถอนเงิน โดยไม่ต้องลง จากรถ เหมือนขับรถเข้าไปในปั้มน้ำมัน มี พนักงานบริการเสร็จสรรพ ผมจะส่งเงินไป ต่างประเทศไม่จำเป็นต้องฟิกซ์ว่าเป็นแบงก์

นั้นแบงก์นี้ ขึ้นอยู่กับว่าบริการของใครเร็ว กว่ากัน สะดวกกว่ากัน เคยรู้สึกท้อบ้างไหม? เป็นธรรมดาที่เมื่อทำอะไรก็ตาม เจอปัญหาอุปสรรคความยุ่งยากต่างๆ ก็ ต้ อ งรู้ สึ ก ท้ อ บ้ า ง แต่ เ นื่ อ งจากผมเคยมี ประสบการณ์ ใ นการทำธุ ร กิ จ มาก่ อ น จึ ง สามารถรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆได้ ซึ่ง กว่าผมจะประสบความสำเร็จมาได้ทุกวันนี้ ก็ต้องฝ่าฟันวิกฤติมามากมาย ผมเคยชิน กับคำว่า ‘สร้าง’ และ ‘ก่อตั้ง’ มาตลอด จากพ่อค้าแลกเปลีย่ นสินค้าธรรมดา ซือ้ ของ ไปขายต่อด้วยเงินแค่ 5 พันบาท ขนาดคน ขายงงว่าซื้อทำไมแค่ 5 พันบาท เพราะคน อื่นเขาซื้อกันครั้งละเป็นแสนบาท กว่าจะ มาเป็นผมทุกวันนี้ไม่ง่าย ไม่มีตัวช่วย มีแต่ ตัวเองเท่านั้น ซึ่งผมโชคดีที่เป็นคนมีความ คิดด้านบวก มองทุกอย่างเป็นโอกาสและ ชัยชนะ จึงไม่เคยแก้ปัญหาด้วยการหยุดทำ ในช่วงที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง ปี 2540 มีสถาบันการเงินจำนวนมาก ต้ อ งปิ ด กิ จ การ ได้ น ำประสบการณ์ เหล่ า นั้ น มาปรั บ ใช้ กั บ นโยบายการ บริหารธนาคารของเราอย่างไรบ้าง? มันเป็นกรณีศกึ ษา แต่คงเอามาใช้เป็น แนวทางกำหนดปฏิบัติไม่ได้ เพราะยุคสมัย ต่างกัน ตัวแปรเปลีย่ น สภาพแวดล้อมเปลีย่ น แต่ถ้าจะให้คิดแบบง่ายๆ ก็คือ ต้องรักษา สมดุ ล และไม่ ล ะเลยการควบคุ ม ตั ว เลข ไม่ว่าจะเป็นรายรับ รายจ่าย หนี้สิน เงินสด ลูกหนี้ ต้องสมดุล ความจริงวิกฤติต้มยำกุ้ง ไม่ได้ทำให้สถาบันการเงินล้ม แต่เป็นเพราะ สถาบันการเงินอ่อนแอ เป็นส่วนเสริมให้ เกิดวิกฤตินั้นมากกว่า อย่างไรก็ตาม ใน วิกฤติย่อมมีโอกาส เพราะเวลาที่เกิดแรง กดดั น บางคนก็ มี แ รงผลั ก ดั น ความคิ ด COMMERCIAL WORLD

49T


Executive

Interview

สร้างสรรค์ใหม่ๆ ทีจ่ ะหาทางรอดจากแรงกด ดันนัน้ แล้ ว ในปี 2550 เมื่ อ เกิ ด วิ ก ฤติ แฮมเบอเกอร์ ได้ รั บ ผลกระทบบ้ า ง หรือเปล่า? พงสะหวันเป็นแบงก์ใหม่ ประกอบกับ สปป.ลาวไม่ค่อยได้รับผลกระทบจากวิกฤติ โลกมากนัก เพราะเราตัวเล็ก เราอยู่แต่ใน บ้านเป็นส่วนใหญ่ก็เลยไม่ต้องเผชิญลมฝน มากนัก ซึ่งก็นับว่าโชคดี ถ้าเราเปิดตัวเร็ว กว่านี้ซัก 5 ปีก็คงเจอสภาวะกดดันเหมือน กัน การเปิดเสรีทางการเงินภายใต้กรอบ ข้อตกลงเอฟทีเอจะมีผลต่อธนาคาร พงสะหวันมากน้อยแค่ ไหน? สปป.ลาวเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิก อาเซียน แน่นอนว่าการเปิดเสรีทางการเงิน ภายใต้ ก รอบของเอฟที เ อ ที่ สปป.ลาวมี แผนที่จะเข้าร่วมนั้น จะต้องมีผลกระทบต่อ

การลงทุนภายในไม่มากก็น้อย เนื่องจาก สปป.ลาวยังเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาการ ใช้เทคโนโลยีต่างๆยังไม่มาก ระดับความรู้ และการศึกษาของประชากรยังมีขีดจำกัด จึงอาจต้องใช้เวลาในการปรับตัวให้สามารถ เข้าร่วมแข่งขันกับธุรกิจอื่นๆ จากประเทศ เพื่อนบ้านได้ อย่างไรก็ตาม สปป.ลาวยังมี เวลาเตรียมตัวเข้าสู่ภาวะดังกล่าวได้อีก 5-6 ปีข้างหน้า สำหรับธนาคารพงสะหวันก็ได้มี การปรั บ ตั ว เข้ า สู่ ก ารแข่ ง ขั น ทางการเงิ น ค่อนข้างสูง ทั้งในการเร่งขยายสาขา หน่วย บริการให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อสร้าง ฐานลูกค้าและครองส่วนแบ่งตลาดให้ได้มาก ที่สุด เพื่อที่จะสามารถลดความเสี่ยงจาก ผลกระทบในกรอบข้อตกลงดังกล่าว เป้าหมาย 5 ปีขา้ งหน้าจะเป็นอย่างไร? ปัจจุบนั เรามีสาขา 4 แห่ง หน่วยบริการ 8 แห่ง กำลังจะเปิดอีก 3 แห่ง พนักงาน 32 คน วันนี้ 300 กว่าคน จะเพิ่มเป็น 500 คน ขยายตู้เอทีเอ็มให้ได้ 150 ตู้ ถ้า 3 ปีเรามี

ตอนนี้ประเทศ สปป.ลาวค่อนข้างเนื้อหอม อยู่ ในเป้าหมายการเข้ามาลงทุนของ คนต่างชาติเยอะมาก ผมจึงอยากให้ สปป.ลาว เป็นศูนย์กลางทางการเงินของอาเซียน T50

COMMERCIAL WORLD

กำไรจะเป็นการท้าทายวงการธนาคารทัง้ โลก เพราะไม่เคยมีธนาคารไหนทำได้ แต่อย่างไร ก็ตาม ตัวเลขทีว่ างไว้จะวิง่ หนีตลอด คนเพิม่ สาขาเพิ่ม รายจ่ายเพิ่ม รายรับก็ต้องเพิ่ม เมื่อก่อนเงินกู้ 30 เงินฝาก 70 แต่อีกไม่นาน ต้องปรับเพิม่ เป็น 100 ล้าน เราต้องไล่ให้ทนั พงสะหวั น เริ่ ม ต้ น ด้ ว ยทุ น จดทะเบี ย น 10 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯกำลั ง จะเพิ่ ม เป็ น 30 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ถ้ า เป็ น อย่ า งนั้ น จะ ธนาคารที่ มี ทุนจดทะเบียนมากสุดในลาว ปลายปี 2553 จะเพิ่มเป็น 50 ล้านเหรียญ สหรัฐฯก่อนเพิม่ เป็น 100 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อไป เชื่อว่า 5 ปีข้างหน้า แบงก์พงสะหวัน จะขยายสาขาได้ทั่วประเทศทั้ง 17 แขวง มี ลู ก ค้ า หลายแสนราย มีสาขาในเวียดนาม ไทย จีน พม่า และ กัมพูชา ประเด็นอื่นที่อยากเพิ่มเติม? อยากให้ นั ก ลงทุ น และนั ก ธุ ร กิ จ มี ความมั่ น ใจว่ า ธนาคารพงสะหวั น เป็ น ธนาคารที่โปร่งใสและมีความมั่นคง พร้อม ที่จะให้บริการกับทุกท่านด้วยบริการรูปแบบ สากล ได้แก่ บริการบัญชีเงินฝาก สินเชื่อ โอนเงิน จ่ายเงินเดือนผ่านธนาคาร แลก เปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ และบริ ก าร อื่นๆครบวงจร ปัจจุบันธนาคารได้รักษา ระดั บ ความพอเพี ย งของทุ น (Capital Adequacy Ratio) อยู่ในระดับ 107% ซึ่ง สูงกว่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนดไว้เพียง 8% มี ห น่ ว ยงานตรวจสอบภายในที่ เ ป็ น อิสระ มีการจ้างบริษัทตรวจสอบภายนอก เข้ามาตรวจสอบความถูกต้องของฐานะการ เงินของธนาคาร ทั้งนี้ก็เพื่อเตรียมการที่จะ สร้างเงื่อนไขในการนำพาธนาคารเข้าสู่การ เป็นธนาคารมหาชน เตรียมพร้อมการเข้า เป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์ ของ สปป.ลาว ที่จะมีการจัดตั้งในปี 2010


ประวัติโดยย่อ

อ๊อด พงสะหวัน

ผู้ก่อตั้งธนาคาร พงสะหวัน จำกัด ประวัติด้านครอบครัว อ๊อด พงสะหวัน เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1956 ของครอบครัว ตระกูลพงสะหวัน ซึง่ เป็นตระกูลเก่าแก่ในแขวงสะหวันนะเขต ทีม่ กี ารสืบทอด ต่อกันมาหลายชัว่ อายุคน โดยท่านเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของท่าน วี วงสะหวัน และนางพงสะหวัน ซึ่งปัจจุบันอาศัยอยู่ บ้านจอมแก้ว เมืองคันทะบูลี แขวง สะหวันนะเขต และปัจจุบันครอบครัวของอ๊อด ได้โยกย้ายจากแขวงสะหวัน นะเขต มาอยู่ที่ บ้านอานุ เมืองจันทะบุลี นครหลวงเวียงจันทน์ ในช่วงเวลาก่อนยุคการปลดปล่อยประเทศชาติ ในปี 1975 ครอบครัว ของอ๊อด นับเป็นผูท้ มี่ บี ทบาทและมีชอื่ เสียงพอสมควร ในด้านการเคลือ่ นไหว ของเศรษฐกิจ ในด้านการค้าขายในลักษณะธุรกิจครอบครัว โดยเฉพาะได้มี การทำธุรกิจในด้านการจัดหาน้ำมันให้กบั แขวงต่างๆ ในภาคใต้ ของประเทศ ลาว อยู่เป็นระยะเวลานานถึง 50 ปี ด้วยความรัก และสนใจในการประกอบอาชีพการค้าขาย ที่ครอบครัว ได้กอ่ ร่างสร้างขึน้ ประกอบกับทีอ่ อ๊ ด ได้มโี อกาสติดต่อด้านธุรกิจการค้าต่างๆ ให้กับครอบครัว นอกจากนั้นท่านยังได้สนทนาแลกเปลี่ยนความเห็นด้าน เศรษฐกิจ สังคม กับผู้รู้และผู้มีประสบการณ์ ในแขวงสะหวันนะเขต ซึ่ง เวลานั้น นับเป็นพื้นที่สำคัญ ที่เกิดผู้นำภาครัฐ และนักปฏิวัติของ สปป.ลาว ยิ่งทำให้คุณอ๊อดได้เพิ่มพูนความรอบรู้และความเข้าใจของคุณอ๊อดทั้งในด้าน การทำการค้า และในด้านของเศรษฐกิจ สังคม นับตั้งแต่จบการศึกษาชั้นมัธยมตอนปลาย ในอายุ 19 ปี คุณอ๊อด ได้ ประกอบธุรกิจการค้าขายกับครอบครัวเป็นต้นมา จนกระทัง่ ได้สร้างครอบครัว ของท่านเอง กับนางขวัญใจ ในปี ค.ศ. 1978 มีบตุ รด้วยกัน 4 คน เป็นหญิง 2 คน ชาย 2 คนฆ ภายหลังที่สร้างครอบครัว ท่านได้เริ่มประกอบธุรกิจของ ตนเอง ด้วยเงินทุนที่รวบรวมได้จากครอบครัว และเครือญาติจำนวน 5,000 บาท (ในเวลานัน้ ทองคำหนัก 1 บาท มีราคาเท่ากับ 700 บาท) โดยได้เริม่ ต้น การขายส่งน้ำแข็งกับแขวงต่าง ๆ ทางภาคใต้ ต่อมาได้ทำธุรกิจส่งแตงโม และมะพร้าวมาขายที่นครหลวงเวียงจันท์ ซึ่งทางครอบครัวของท่านไม่เห็น ด้วยนักในการทำธุรกิจนี้ เนื่องจากสภาพการเดินทางค่อนข้างยากลำบาก และสถานการณ์บ้านเมืองก็ไม่สู้สงบ ถือได้ว่ามีความเสี่ยงค่อนข้างมาก แต่ คุ ณ อ๊ อ ดก็ ไ ม่ ไ ด้ ล้ ม เลิ ก คาวมตั้ ง ใจด้ ว ยเห็ น ว่ า เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ไ ด้ ผ ลกำไรที่ ดี ในเวลานั้น คุณอ๊อด มีความใฝ่ฝันว่า ถ้าหากเก็บสะสมเงินทุนได้เพิ่มขึ้น ท่านอยากจะสร้างธนาคาร เพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนโอกาส ให้กับผู้คนต่างๆ ทั้งนักธุรกิจ และประชาชนทั่วไป ให้มีโอกาสได้สร้างตัว สร้างอนาคต ซึ่งยัง จะเป็นการยกระดับความเป็นอยู่ให้กับผู้คนในสังคมลาว เป็นการเพิ่มพูน พัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคมให้กับประเทศ ให้ทัดเทียมกับประเทศอื่นๆ นอกจากนั้น ท่านยังมีแนวคิด อยากจะสร้างโรงพยาบาล ด้วยเห็นว่าในเวลา นั้น โรงพยาบาลมีจำกัด และประชาชนทั้วไปประสบความยุ่งยากในการเข้า

รับการรักษา โดยเฉพาะคนยากจน ถ้ า หากจะกล่ า วถึ ง คุ ณ อ๊ อ ด โดยนิ สั ย ส่ ว นตั ว แล้ ว ท่ า นเป็ น ผู้ ที่ มี ทัศนคติในแง่บวก มองโลกในแง่ดี เป็นผู้มีจิตใจโอบอ้อมอารี มีแบบแผน ชีวิตที่เรียบง่าย ไม่ถือตัว และมีความถ่อมตัว ในภาคของนักธุรกิจ ท่านเป็น นักธุรกิจหนุ่มคนลาว ที่มีวิสัยทัศน์ด้านการประกอบธุรกิจ ที่กว้างไกล ท่าน เป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้น ทุ่มเทและมีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง ในขณะ เดียวกัน ก็เป็นผู้ที่รู้จักประเมิน และวิเคราะห์สภาพต่างๆ ตามความเป็น จริง ทำให้สามารถปรับตัวได้เร็ว คิด และใฝ่ฝัน ในทางที่สร้างสรรค์ และ ท่านยังมีแบบอย่างของการเป็นผูน้ ำทีด่ ี นัน่ คือ กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ และพร้อมที่จะยอมรับผิดชอบต่อผลจากการกระทำของตน มีหลักในการ บริหารงานในพื้นฐานรูปแบบประชาธิปไตย ถือแนวทางสากล และความ โปร่งใส นอกจากนั้นแล้ว ท่านยังเป็นผู้ที่ไม่เคยหยุดที่จะเรียนรู้ ท่านเปิดใจ กว้าง รับฟังทุกปัญหา จากประสบการณ์จริงของคนทุกชนชั้น จึงทำให้มี ความเข้าใจในสภาพการณ์ต่างๆ สามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว และมีแนว คิดใหม่ๆ ในการบริหารธุรกิจที่ประยุกต์จากการรับฟังดังกล่าว ทำให้คุณ อ๊อดสามารถฝ่าฟันจนผ่านพ้นอุปสรรคต่างๆ ในการดำเนินธุรกิจจนประสบ ผลสำเร็จมาได้จนทุกวันนี้

การเข้าสู่วงการธุรกิจ

ตลอดช่วงระยะเวลา 30 ปี ทีผ่ า่ นมา บนพืน้ ฐานตามแนวนโยบายของ พรรครัฐบาล คุณอ๊อด ได้ประกอบธุรกิจการค้าภายในประเทศ ได้แก่ กิจการ ปัม้ น้ำมัน และได้ตงั้ บริษทั นำเข้าและส่งออก เพือ่ รับซือ้ และส่งออก ของป่า และไม้แปรรูป และได้นำเข้าสินค้าอุปโภค-บริโภค จำหน่ายในแขวงสะหวัน นะเขต เป็นมูลค่า 1,000,000 บาท ต่อวัน ในปี 1980 ได้เริ่มธุรกิจค้าไม้ และได้สร้างโรงเลื่อยขึ้นหลายแห่ง โดยได้ผลิตไม้สำเร็จรูปจำนวนหลายหมื่น ลูกบาศก์เมตรต่อปี เป็นมูลค่าหลายสิบล้านดอลล่าร์สหรัฐ เพื่อส่งออกไปยัง ประเทศในเขตทวีปเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศไทย ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ เวียตนาม กัมพูชา เป็นต้น ในปี 1995 คุ ณ อ๊ อ ด เป็ น นั ก ธุ ร กิ จ เอกชนคนแรกที่ ไ ด้ ริ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง บริษัทพงสะหวันบริการโทรคมนาคม ในนครหลวงเวียงจันทน์ และได้เป็น ตัวแทนจำหน่ายวิทยุสื่อสาร Icom, Panasonic, Philips, Motorola ใน ประเทศลาว หลั ง จากนั้ น ระหว่ า งปี ค.ศ. 1997-2001 ได้ ก่ อ ตั้ ง บริ ษั ท ไพบูลย์การค้า ส่งออก-นำเข้า จำกัด, บริษัท พงสะหวัน ส่งออก-นำเข้า จำกัด, บริษัท ขวัญใจพาหนะ ส่งออก-นำเข้า จำกัด, โรงแรมพงสะหวัน และ บริษัท พงสะหวัน ก่อสร้าง ซึ่งอยู่ในกลุ่มเครือข่ายของบริษัท พงสะหวัน (Phongsavanh Group) ในการดำเนินธุรกิจที่ผ่านมา นับได้ว่า คุณอ๊อด ได้ประสบผลสำเร็จ ในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และทุกธุรกิจมีการขยายตัวอย่างกว้าง ขวาง ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกำไร และเพิ่ ม พู น ทุ น รอนมากขึ้ น ในแต่ ล ะปี ซึ่ ง ถื อ เป็นการเพิ่มพูนแรงบันดาลใจ และทุนทรัพย์ ให้คุณอ๊อดตัดสินใจเริ่มก่อตั้ง ธนาคาร พงสะหวัน จำกัด ขึ้น COMMERCIAL WORLD

51T


FTA

Plus

โดย : สมบูรณ์พงษ์ พุกกะเวส

กฎว่าด้วย

แหล่ ง กำเนิ ด สิ น ค้ า เรื่องจำเป็นในการใช้สิทธิ

FTA

(ตอนที่ 3)

ฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้กำหนด แหล่งกำเนิดสินค้าว่าแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ คือ Wholly Obtained Goods Definition หรือ WO และ Substantial Transformation Criteria หรื ST และได้พูด ถึงหลักเกณฑ์กลุม่ WO ไปแล้ว 5 แบบ ขอเชิญอ่านต่อ แบบที่ 6 ได้เลยครับ

7

6. เศษของ ของที่ ได้จากการผลิต ขบวนการ ผลิตหรือการบริโภคที่กระทำในประเทศนั้น

ข้ อ นี้ สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ แหล่งกำเนิดสินค้า ภายใต้ เกณฑ์ Wholly Obtained นี้ มีสภาพเป็นเศษขยะ โดยเศษขยะนี้ไม่ใช่ของเสีย แต่เป็นเศษของวัตถุดิบ ที่ได้จากการที่มีใครคนใดคนหนึ่ง หรือมีโรงงานนำ วัตถุดิบที่มีสภาพดีเข้ามา ต่อจากนั้นจึงนำแผ่นเหล็ก นั้นไปผลิตเป็นโครงของเครื่องซักผ้า เมื่อแผ่นเหล็ก ถูกแปรสภาพเป็นโครงของเครือ่ งซักผ้า ก็เป็นธรรมดา ที่จะต้องมีเศษเล็กเศษน้อยของแผ่นเหล็ก ที่ได้จาก ขบวนการผลิต เศษเล็กเศษน้อยดังกล่าวนี้ ผู้ผลิต เครื่องซักผ้าไม่สามารถนำไปผลิตเป็นโครงของเครื่อง ซักผ้าได้อกี แล้ว จึงอาจจะทิง้ หรือกองเอาไว้ในโรงงาน เพื่อรอกำจัดทิ้ง หรือรอขายเป็นเศษเหล็กต่อไป ซึ่ง

T52

COMMERCIAL WORLD

เราจะเห็นว่าแม้ว่าเศษเล็กเศษน้อยดังกล่าวนี้จะอยู่ในสภาพที่เป็นเศษขยะก็ตาม แต่ขยะเหล่านี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้อีก แม้ว่าขยะเหล่านี้จะไม่ สามารถใช้ผลิตโครงของเครื่องซักผ้าได้แล้วก็ตาม แต่เมื่อมีผู้มารับซื้อเศษขยะ เหล่านี้ต่อจากโรงงานผลิตโครงเครื่องซักผ้า ผู้ที่ซื้อต่อนี้ สามารถนำขยะเหล่านี้ ไปผ่านขบวนการ recycle โดยการหลอมละลายเศษขยะเหล่านี้ จนกระทั่งเศษขยะ เหล่านี้กลับกลายเป็นวัตถุดิบที่มีสภาพเหมือนกับวัตถุดิบตั้งต้นอีกครั้งหนึ่ง แบะ สามารถนำกลับมาใช้เป็นวัตถุดิบ เพื่อผลิตสินค้าชนิดต่างๆ ได้อีกครั้งหนึ่ง สินค้ามนข้อนี้นอกจากจะได้มาจากขบวนการผลิต เช่น เศษเหล็กเป็นต้นแล้ว บางกรณีเราอาจได้จากการบริโภคของคนทั่วไปได้อีก เช่น เครื่องซักผ้าที่คนซื้อ ไปใช้ตามบ้านเรือน ฯลฯ เมื่อผ่านการใช้เป็นเวลานาน เป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้อง


WTO แล้ว โดย WTO สรุปว่าใครก็ตามที่เป็นผู้เก็บ รวบรวมหรือประเทศใดก็ตาม ที่เป็นผู้เก็บรวบรวมขยะเหล่านี้ เมื่อส่งออก เศษขยะเหล่านี้ จะได้แหล่งกำเนิดสินค้า เป็นของประเทศผู้ส่งออก

มีการเสื่อม การเสียหายหรือมีสภาพที่เก่า ผุ จน ไม่เหมาะที่จะใช้ประโยชน์ได้อีกต่อไป เจ้าของก็ อาจจะทิง้ หรือขายเครือ่ งซักผ้า นี้ต่อให้ผู้มารับซื้อ เศษขยะตามบ้ า นเรื อ นที่ มี อ ยู่ โ ดยทั่ ว ไป เมื่ อ เจ้าของบ้านขายเครื่องซักผ้าไปแล้ว ผู้รับซื้อไปจะ นำเครื่องซักผ้าเก่านี้ไปทำการแยกชิ้นส่วนออก อาจแยกด้วยตัวเองหรือขายต่อให้โรงงานที่รับซื้อ ขยะเพื่อ recycle ไปดำเนินการเองก็ได้ แต่ไม่ว่า จะทำด้วยตัวเอง หรือให้โรงงาน recycle ทำก็ ตาม ชิน้ ส่วนทีไ่ ด้จากเครือ่ งซักผ้าเก่านี้ ก็คอื โครง ของเครือ่ งซักผ้าทีม่ สี ภาพเก่า ผุพงั ออกมาแล้ว เรา สามารถนำโครงเครือ่ งซักผ้าเก่านีไ้ ปผ่านขบวนการ recycle โดยการหลอม ละลายจนได้เป็นแผ่น เหล็กทีมีสภาพดีเหมือนกับแผ่นเหล็กที่นำเข้าครั้ง แรกได้ โดยแผ่นเหล็กที่ได้จากขบวนการ recycle นี้ สามารถนำกลับไปใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นเพื่อใช้ ในการผลิตสินค้าชนิดต่างๆ ได้อกี ครัง้ หนึง่ ซึง่ เรา จะเห็นได้วา่ โดยสรุปแล้วเศษขยะดังกล่าวข้างต้นนี้ อาจจะได้มาจากขบวนการผลิตตามโรงงานหรือ ได้จากการบริโภคตามบ้านเรือนก็ได้ แต่ไม่ว่าจะ ได้มาโดยทางใดก็ตาม เศษขยะเหล่านี้ก็มีที่มา จากวัตถุดิบตั้งต้นที่มีการนำเข้ามาจากประเทศ

8

ต่างๆ หลายประเทศ เช่น โรงงานที่ผลิตเครื่องซักผ้าอาจนำแผ่น เหล็ ก ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต โครงเครื่ อ งซั ก ผ้ า มาจากประเทศญี่ ปุ่ น ออสเตรเลีย หรืออินเดียก็ตาม เมื่อผลิตเครื่องซักผ้าแล้ว เศษเหล็ก ที่ได้จากขบวนการผลิต ก็จะมีสภาพเป็นเศษขยะ เมื่อนำมากอง รวมกัน เศษขยะเหล่านี้จะประกอบด้วยเศษขยะที่มีแหล่งกำเนิด ต่างกันกรณีทีมีผู้มารับซื้อไป แล้วนำเศษขยะเหล่านี้ไปรวมกันให้ เป็นจำนวนมากเพื่อส่งขายให้กับโรงงานที่รับซื้อไป Recycle แล้ว ขณะส่งออกจะระบุว่าเศษขยะนี้มีแหล่งกำเนิดเป็นประเทศใด ซึ่ง ปัญหาเรื่องการระบุแหล่งกำเนิดสินค้านี้ ได้ข้อสรุปภายใต้ WTO แล้ว โดย WTO สรุปว่าใครก็ตามที่เป็นผู้เก็บรวบรวมหรือประเทศ ใดก็ตามที่เป็นผู้เก็บรวบรวมขยะเหล่านี้ เมื่อส่งออก เศษขยะเหล่า นี้จะได้แหล่งกำเนิดสินค้าเป็นของประเทศผู้ส่งออก ภายใต้เกณฑ์ Wholly Obtained หรือ WO (ดูรูปที่ 7) 7. ของที่ ใช้แล้ว ที่รวบรวมได้ในประเทศนั้น เฉพาะที่เหมาะ สำหรับการนำกลับมาใช้เป็นวัตถุดิบ

สินค้าในข้อนี้ ได้มาจากผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มีผู้ซื้อเอาไปใช้ แล้ว ผ่านช่วงเวลาการใช้มาแล้วเป็นเวลาหนึ่ง จนกระทั่งผลิตภัณฑ์ ชนิดนัน้ ๆ มีสภาพเก่า ผุพงั ไม่สามารถใช้ตอ่ ไปได้อกี หรือไม่เหมาะ ทีจ่ ะใช้ได้อกี ต่อไปแล้ว เจ้าของก็จะทิง้ หรือขายต่อ ไม่วา่ จะเป็นการ ทิ้งหรือขายต่อก็ตามจะมีผู้มาเก็บรวบรวม หรือรับซื้อต่อไป เพื่อนำ ไปทำการแยกชิน้ ส่วนออก แล้วจึงนำชิน้ ส่วนเหล่านัน้ ไปผ่านขบวนการ COMMERCIAL WORLD

53T


FTA

Plus

9

สินค้าภายใต้ขอ้ 6 และ 7 นี้ เช่นสินค้าภาย ใต้พิกัดฯ 7204.10 (Waste and Scrap of cast iron), 8109.30 (Waste and Scrap of Zirconium), 8548.10(Waste and Scrap of Primary cells), 5505.10 (Waste of Synthetic fibre), 7404.00 (Copper Waste and Scrap) เป็นต้น 8. สินค้าที่ผลิตขึ้นในประเทศนั้น โดยเฉพาะ จากการผลิต ผลิตภัณฑ์ ตามข้อ 1-7 ข้างต้น

เรานำข้าวสาลีที่ ได้แหล่งกำเนิดสินค้า เป็นประเทศไทยแล้วไปผลิตเป็นขนมปัง ออกไปขายต่างประเทศ แป้งสาลีและขนมปัง ก็จะได้แหล่งวกำเนิดสินค้าเป็นของประเทศ ตามแหล่งกำเนิดของข้าวสาลีตามไปด้วย Recycle เพื่อให้ชิ้นส่วนเหล่านั้นกลายสภาพกลับมาเป็นวัตถุดิบ ที่ มีสภาพเหมือนกับวัตถุดิบตั้งต้น และสามารถนำวัตถุดิบที่ได้จาก Recycle นี้กลับไปใช้เพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปชนิดต่างๆ ได้อีกครั้งหนึ่ง กรณีชิ้นส่วนต่างๆ ที่ถูกแยกออกมานี้ หรือของเก่า ที่ใช้แล้วที่มีการเก็บรวบรวม หรือซื้อต่อมาดังกล่าวข้างต้นนี้ ถูกส่ง ออกไปขายให้กับอีกประเทศหนึ่ง ชิ้นส่วนหรือของเก่าเหล่านี้จะได้ แหล่งกำเนิดสินค้าเป็นประเทศที่ส่งออก ภายใต้เกณฑ์ Wholly Obtained เช่นเดียวกับเศษขยะในข้อ 6 (ดูรูปที่ 8)

T54

COMMERCIAL WORLD

สิ น ค้ า ในข้ อ นี้ เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ จ ากการนำ วัตถุดิบที่ได้แหล่งกำเนิดแล้วจากข้อ 1-7 มาผลิต เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง แล้ ว จึ ง ส่ ง ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้นั้น ออกไปขายต่างประเทศ แหล่งกำเนิดสินค้าของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวนี้ก็จะ เป็นประเทศเดียวกันกับประเทศที่เป็นเจ้าของ วั ต ถุ ดิ บ เช่ น เรานำข้ า วสาลี ที่ ไ ด้ แ หล่ ง กำเนิ ด สินค้าเป็นประเทศไทยแล้วไปผลิตเป็นขนมปัง ออกไปขายต่างประเทศ แป้งสาลีและขนมปังก็ จะได้แหล่งวกำเนิดสินค้าเป็นของประเทศตาม แหล่งกำเนิดของข้าวสาลีตามไปด้วย เป็นต้น เป็นอันว่ากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าตาม เกณฑ์ Wholly Obtained หรือ WO ทั้ง 8 ข้อ ก็ จบลงในตอนนีแ้ ล้ว ฉบับหน้าจะเริม่ กล่าวถึงเกณฑ์ Substantial Transformation Criteria หรือ ST อีก 4 แบบ อย่าลืมว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องจำเป็นต้องรู้ ถ้า จะใช้สิทธิ FTA ให้ได้ประโยชน์สูงสุด ต้องติดตาม อ่านกันยาวๆ เสียแล้วละครับ


Entrepreneur

Focus

เรื่อง : จตุรงค์ กอบแก้ว

วิวัฒน์ วิภวพาณิชย์ บนเส้นทางความสำเร็จ

“ฮาวายไทย”

เฟอร์นิเจอร์ ไทยในทำเนียบขาว ในวงการเฟอร์นิเจอร์พรีเมี่ยมที่ ได้รับความนิยม ระดับท็อปทรีของโลก หนึ่งในนั้นคือยี่ห้อ “ฮาวายไทย” เฟอร์นิเจอร์หวายรายใหญ่ของเมืองไทย ขึ้นชื่อลือชาขนาดประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ยังต้องสั่งไปประดับทำเนียบขาว ฮาวายไทยยื น หยั ด อย่ า งแข็ ง แกร่ ง ฟันฝ่าอุปสรรคขวากหนาม กระทั่งประสบ ความสำเร็จในตลาดส่งออก ในนาม ‘กลุ่ม บริษัท ฮาวายไทย เอ็กซ์ปอร์ต’ ที่ตั้งไข่เมื่อ กว่า 50 ปีกอ่ น โดย เจน วิภวพาณิชย์ ซึง่ นำ ชื่อเสื้อ ‘ฮาวาย’ มาเป็นชื่อยี่ห้อ หากอ่าน เร็วๆ ก็จะกลายเป็นคำว่า ‘หวาย’ ได้ทั้ง ‘ความหมาย’ และสร้างความ ‘จดจำ’ ตรง กับ ‘บุคลิกสินค้า’ เนื่องจากเฟอร์นิเจอร์ใช้ “หวาย” เป็นวัตถุดิบในการสาน ก่อนจะส่งไม้ตอ่ ให้กบั ลูกชาย ‘วิวฒั น์ วิภวพาณิชย์’ กรรมการผูจ้ ดั การ คนปัจจุบนั ซึง่ ให้เกียรติ “สัมภาษณ์พเิ ศษ” กับนิตยสาร โลกการค้าฉบับนี้ คุณวิวัฒน์เล่าว่าสาเหตุที่คุณพ่อก่อ ตั้งบริษัทเฟอร์นิเจอร์ก็เนื่องมาจากช่วงนั้น เกิ ด สงครามเวี ย ดนาม มี ท หารอเมริ กั น จำนวนมากเข้ามาเช่าบ้านในเมืองไทยและ นิยมซื้อเฟอร์นิเจอร์ไปตกแต่งบ้าน แต่เมื่อ

สงครามจบทหารเดินทางกลับหมด เฟอร์นิ เ จอร์ ก็ ข ายไม่ อ อก แทนที่ จ ะปิ ด กิ จ การ คุณพ่อกลับใช้วิธีเปิดบริษัททำธุรกิจส่งออก ตามไปขายถึงต่างประเทศ ในยุคนั้นการส่งออกยังเป็นเรื่องใหม่ กระทรวงพาณิชย์ของไทยยังใช้ชื่อว่า ‘กรม พาณิชย์สัมพันธ์’ อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็น เรื่องใหม่ แต่ฮาวายก็เปิดตลาดจนประสบ ความสำเร็จ คุณวิวัฒน์เคยถามคุณพ่อว่าใช้ตำรา เล่มไหนเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจ กระทั่ง ฮาวายกลายเป็นเจ้าตลาดเฟอร์นเิ จอร์สง่ ออก คำตอบคือ...เรียนรู้ด้วยตัวเอง!!! ซึ่งกว่าจะสำเร็จก็เสียเวลาไปไม่น้อย เพราะการทำเฟอร์นิเจอร์ช่วงแรกเน้นความ สวยงาม พออิ น โดนี เ ซี ย จี น เวี ย ดนาม เข้าไปเปิดตลาดแข่งขัน ยอดขายฮาวายก็ ทรุดฮวบ เพราะราคาเก้าอี้ของฮาวายตัว หนึ่งซื้อเฟอร์นิเจอร์คู่แข่งได้ทั้งชุด!!!

วิวฒ ั น์ วิภวพาณิชย์ กรรมการผูจ้ ดั การ

COMMERCIAL WORLD

55T


Entrepreneur

Focus

ซึ่งรสนิยมของฝรั่งคือซื้อเฟอร์นิเจอร์ ไปตั้งริมสระน้ำ ตามระเบียงตอนหน้าร้อน พอถูกฝนเสียหายก็เอาไปทิ้ง กระทั่งกลาย เป็นสินค้าประเภท ‘ซือ้ แล้วทิง้ ’ เพราะฉะนัน้ ‘ของถูก’ จึงขายได้ดีกว่า เมื่อรู้ต้นตอของปัญหา แทนที่ฮาวาย จะใช้สงครามราคามาต่อกร กลับยิ่งทำของ ดีมีคุณภาพ จ้างดีไซเนอร์ปรับลุคใหม่ แล้ว ขายเป็นสินค้าพรีเมี่ยม...เกรดเอ สวย หรู อลังการ และทนทาน!!! กลายเป็นแบรนด์ ระดับไฮคลาสในต่างประเทศ “ในวงการเฟอร์นิเจอร์จักรสานเรา กล้ า พู ด ว่ า ดี ที่ สุ ด ในโลก ทั้ ง ชื่ อ เสี ย งและ คุณภาพ เพราะเราเริ่มต้นจากการขายปลีก แบบผ่านองค์กร เช่นขายพวกบ้านเช่าชาว ต่างชาติ สั่งครั้งหนึ่งหลายสิบหลัง ขายให้

T56

COMMERCIAL WORLD

กลุ่มโรงแรม กลายเป็นธรรมเนียมว่าเราจะ ขายสินค้าทีเ่ ป็นคอนแทร็กแบบนัน้ ได้ ก็ตอ้ ง ทำสินค้าที่แข็งแรงคุณภาพเชื่อถือได้ มีการ รับประกันหลังการขาย” คุณวิวัฒน์ กล่าว ว่ากันว่า ตลาดในประเทศทีถ่ อื ว่าเป็น ตลาดใหญ่ของฮาวายคือภูเก็ตซึ่งถือว่ามี ชาวต่างชาติและที่พักตามอากาศเกรดเอ จำนวนมาก ในขณะทีต่ ลาดต่างประเทศนัน้ นอกจากการขายให้กับผู้บริโภคทั่วไปแล้ว ยังมีเจ้าของแบรนด์เนมเฟอร์นิเจอร์ระดับ โลกหลายรายว่าจ้างฮาวายผลิตสินค้าให้ เพื่อนำไปใส่แบรนด์เนมของตัวเอง ซึ่งถ้า เอ่ยชื่อออกมาเศรษฐีเมืองไทยต้องร้องอ๋อ และคาดไม่ ถึ ง ว่ า เก้ า อี้ ร าคาหลั ก แสนที่ ตนสั่ ง ซื้ อ จากต่ า งประเทศนั้ น ผลิ ต โดย ผู้ประกอบการไทย

สำหรับตลาดส่งออกหลักของฮาวาย คือสหรัฐอเมริกาและยุโรป แต่ปัจจุบันเริ่ม ขยายฐานมายั ง กลุ่ ม ประเทศเอเชี ย อย่ า ง ญี่ปุ่นและอินเดีย “ในตลาดญี่ ปุ่ น ผมงงมาก เพราะ องค์ ก รที่ ซื้ อ สิ น ค้ า จำนวนมากกลายเป็ น พยาบาล ไม่ใช่โรงแรม เมื่อสอบถามไปก็ ทราบว่าโรงแรมมีพื้นที่น้อย แต่โรงพยาบาล ต้ อ งมี พื้ น ที่ ก ว้ า ง ต้ อ งทำให้ ส วย ต้ อนรั บ ลูกค้าระดับมหาเศรษฐี อีกหน่วยงานหนึ่งที่ ซื้อเฟอร์นิเจอร์ของเราจำนวนมากคือสถาน ทูตญี่ปุ่น ซึ่งประจำอยู่ในต่างประเทศต่างๆ เพราะต้องการโชว์หน้าตาว่าเป็นประเทศที่ มีเศรษฐกิจมั่นคง” ในขณะที่ตลาดอินเดียนั้น คุณวิวัฒน์ มองว่าเป็นตลาดใหม่ที่น่าสนใจอย่างมาก เพราะถึงแม้ปัจจุบันจะยังมีคนยากจน แต่ หากนั บ เฉพาะเศรษฐี มี เ งิ น ระดั บ หมื่ น ล้านบาทก็ไม่ต่ำกว่า 60 ล้านคน เท่ากับว่า ประเทศอิ น เดี ย มี เ ศรษฐี ร ะดั บ หมื่ น ล้ า น เท่ากับคนไทยทั้งประเทศ แต่ปัญหาอย่าง หนึ่งในการค้าขายกับคนอินเดียก็คือถ้าไม่รู้ จักกันอย่างลึกซึ้งแล้วโอกาสที่จะโดนตุกติก ก็ มี ม าก ประกอบกั บ คนอิ น เดี ย มี ค วาม ชำนาญด้านการค้า การคำนวณต้นทุนจึง ไม่ยอมเสียเปรียบเด็ดขาด อะไรที่เอาได้ก็ เอา เพราะฉะนั้นการค้าขายกันคนอินเดีย ต้องมีความระมัดระวังในจุดนี้ด้วย แต่ถ้า มองจากเศรษฐกิจโดยทั่วไปจีนน่าบุกที่สุด เพราะประชากรมาก คนรวยมาก แต่ก็มี ปัญหาเรื่องการก็อปปี้ ในส่วนของตลาดสหรัฐฯที่มีปัญหา แฮมเบอเกอร์ไครซิสจนยอดขายทรุดลงไป กว่า 60% วิวัฒน์กล่าวว่า “ถามว่าเรากระทบไหม ก็ต้องตอบ ตามตรงว่ากระทบ แต่วันแรกที่ผมเข้ามา ดูแลธุรกิจคุณพ่อบอกเลยว่า อย่าให้ยอด


ขายลู ก ค้ า รายไหนสู ง เกิ น 20% ของยอด รวม เพราะถ้าเขามีปัญหาเรามีปัญหาด้วย ถ้าเห็นว่ายอดขายในตลาดไหนจะโตเกิน 20 % ต้องหาตลาดใหม่มาทดแทนเพื่อไม ให้โตเกิน 20% ตอนแรกก็งงว่าทำไมต้องหา ตลาดใหม่ให้เหนือ่ ย ขายตลาดเดียวได้ 100% ยิง่ ดี ไม่ตอ้ งไปหาทีอ่ นื่ แต่ในทีส่ ดุ เราก็เข้าใจ ว่ า สิ่ ง ที่ คุ ณ พ่ อ พู ด ไว้ นั้ น ถู ก ต้ อ งทั้ ง หมด เหมื อ นโรงงานที่ รั บ จ้ า งผลิ ต สิ น ค้ า ให้ กั บ สินค้าแบรนด์ระดับโลกเพียง 1-2 ราย พอ เขาย้ายฐานการผลิตเจ๊งเลย เพราะไม่มีราย ได้ทางอื่นมาทดแทน” คุณวิวฒั น์อธิบายต่อว่า โดยธรรมชาติ การค้าขาย ตลาดหนึ่งลด อีกตลาดหนึ่งจะ เพิ่ม เช่นเศรษฐกิจซบเซา ดอกเบี้ยเงินฝาก ถูก แทนที่คนจะเอาเงินไปฝากก็เอามาซื้อ เฟอร์นิเจอร์แต่งบ้านดีกว่า ดูอย่างรถราคา หลักแสนขายไม่ได้ แต่รถเปิดประทุนราคา หลายล้านกลับขายได้ “ตลาดในต่างประเทศปัจจุบันยังไม่ ถื อ ว่ า เลวร้ า ย ถั ว เฉลี่ ย กั น ไป สหรั ฐ ฯตก ยุโรปตก แต่ญี่ปุ่นกับอินเดียขึ้น สรุปว่ายังมี โบนัสให้ลูกน้อง ตั้งแต่เปิดบริษัทมาไม่เคย ไม่ จ่ า ยโบนั ส คุ ณ พ่ อ บอกเลยว่ า บางปี เศรษฐกิจมีปัญหาเงินเดือนอาจไม่ขึ้น แต่ ถ้ า ไม่ มี โ บนั ส ให้ ลู ก น้ อ งเขาจะหาคนใหม่

มาบริหารแทนผม” คุณวิวัฒน์กล่าวเสียง กลั้วหัวเราะ ปัจจุบันนอกจากเฟอร์นิเจอร์สานจาก หวายที่ถือว่าเป็นจุดเด่นของฮาวายไทยแล้ว ยังมีนวัตกรรมล่าสุดที่เพิ่งออกมาไม่นานคือ เฟอร์นิเจอร์ผลิตจากเส้นใยผักตบชวา หรือ เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า DURAWERA โดยบริษทั พยายามคิดค้นพัฒนาเส้นใยสังเคราะห์ขึ้น มาใหม่ลักษณะเป็นเส้นใยผักตบชวาเหมือน จริงมากที่สุด ซึ่งนับว่าเป็นความสำเร็จอีก ขั้นหนึ่งของฮาวายไทยที่ พ ยายามสรรหา สิ่งใหม่ๆ มาผลิตเป็นวัสดุให้แก่วงการนัก ออกแบบเป็นทางเลือกหนึง่ ในการสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ต่อไป ฮาวายไทยพัฒนาเส้นใย ผั ก ตบชวามาตั้ ง แต่ ปี 2005 จนปี 2007 ก็ ไ ด้ เ ส้ น ใยที่ เ หมื อ นธรรมชาติ ม ากที่ สุ ด สาเหตุที่ต้องพัฒนาเส้นใยใหม่ๆ อย่างต่อ เนื่อง เพราะต้องการสร้างนวัตกรรมใหม่ให้ กับวัสดุเพื่อใช้ในวงการอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ของไทย เพราะที่ผ่านมา ผู้ประกอบ การใช้วัสดุในการผลิตแบบเดิมๆ ทำให้ไม่ ค่อยมีสินค้าใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ด้วยเหตุนี้ เองบริษัทฯ จึงวางเป้าหมายไม่ใช่แค่การ ผลิตเฟอร์นเิ จอร์เท่านัน้ แต่ยงั คิดค้นหาวัสดุ ใหม่ๆ ที่จะนำมาสร้างสรรค์งานแปลกใหม่ ให้ กั บ ผู้ ที่ ชื่ น ชอบเฟอร์ นิ เ จอร์ ใ นรู ป แบบ

ศิลปหัตถกรรม โดยเฉพาะคุณสมบัติของ เส้ น ใยผั ก ตบชวาดู ร าวี ร่ า นอกจากจะมี ความเหมือนธรรมชาติแล้ว ยังทนต่อทุก สภาวะอากาศทั้งร้อนจัด หนาวจัด ทนต่อ ลมฝน สีไม่ซดี มีความยืดหยุน่ ได้ดี ทำความ สะอาดง่าย ฝุ่นไม่เกาะ และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ทั้งนี้บริษัทฯ ได้นำไปทดสอบ กับสถาบัน ATLAS WEATHERING SERVICES GROUP ที่สหรัฐอเมริกา สามารถทนความ ร้อนได้ถึง 50 องศาเซลเซียส ทนต่อรังสียูวี

COMMERCIAL WORLD

57T


Entrepreneur

Focus

และสภาวะอากาศที่หนาวจัดได้ไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือเท่ากับ 43,800 ชั่วโมง (โดยเครื่อง เร่งเวลา) “วิ ธี ท ดสอบของเราคื อ นำสิ น ค้ า ไป เข้าห้องจำลองฉีดน้ำ ตากแดด ตากหิมะ และอี ก วิ ธี คื อ นำไปตั้ ง ในสถานที่ จ ริ ง คื อ กลางทะเลทรายเอากระจกส่องให้ร้อนกว่า ปกติ ฉีดน้ำว่าจะกรอบไหม ตัง้ ในบรรยากาศ ที่หนาวเย็นเป็นเวลา 4-5 ปี ปรากฏว่าทน ใช้ได้” วิ วั ฒ น์ ก ล่ า วถึ ง เหตุ ผ ลในการผลิ ต เฟอร์นเิ จอร์ดรู าวีวา่ อีกว่า ก่อนหน้านีเ้ มือ่ ทำ สินค้าจากหวาย ไม้ อลูมิเนียม พลาสติก ปอ ไผ่ ทำไปสั ก พั ก ก็ มี ค นก็ อ ปปี้ แ บบ ก็ ต้องเปลี่ยนไปหาแบบใหม่ๆ โดยร่วมกับ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยทำวิจัยกระทั่งพบ คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษของผั ก ตบชวา ซึ่ ง เป็ น สินค้าไฮเอ็นมากๆ คนจะมองเป็นภาพสวยๆ ถ้าเป็นรถยนต์ก็จัดอยู่ในกลุ่มเฟอรร์รารี่ และที่น่าภูมิใจอย่างมากก็คือ สินค้า ชิ้นนี้ได้รับคัดเลือกจากศูนย์สร้างสรรค์งาน

T58

COMMERCIAL WORLD

ออกแบบ หรือ TCDC กรุงเทพฯ นำไปบรรจุ ไว้ในศูนย์ฯเพื่ออวดดีไซเนอร์ทั่วโลก ได้รู้จัก เส้นใยผักตบชวาดูราวีร่า นับเป็นโอกาสอัน ดีที่เฟอร์นิเจอร์เส้นใยผักตบชวาจะได้ขยาย ตลาดไปสู่ต่างประเทศมากยิ่งขึ้น ซึ่งสินค้าที่จะได้รับการคัดเลือกนำไป จัดแสดงใน TCDC นอกจากมีไอเดียและ ดี ไ ซน์ ที่ แ ตกต่ า งจากสิ น ค้ า ทั่ ว ไปแล้ ว จะ ต้องมีความทนทาน มี่ความสมบูรณ์ด้าน ประโยชน์ใช้สอย “ผมเป็ น คนทำเฟอร์ นิ เ จอร์ ไม่ ใ ช่ อาร์ตติส เพราะฉะนั้นจึงไม่เน้นแค่ดีไซน์ แต่ต้องใช้สบาย ทนทาน ไม่ใช่ใช้ 3 ปี 5 ปี มีปัญหา” ในด้านความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม คุณวิวัฒน์กล่าวว่าความสำเร็จต้องตั้งอยู่บน หลักการ..ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมเป็น Clean Industry “สีบางอย่างเมื่อนำมาทาเฟอร์นิเจอร์ แล้วมีความทนทาน แต่เมื่อทดสอบแล้วพบ ว่าทำลายสิ่งแวดล้อมเราก็ไม่ทำ หันไปใช้

สีนค้าประเภทอื่นที่อาจจะสิ้นเปลืองมาก กว่าแต่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือวัสดุที่ นำมาใช้ต้องสามารถนำไปรีไซเคิลได้ เพื่อ ไม่ให้กลายเป็นขยะมีพิษในภายหลัง ที่ผม พูดไม่ได้พูดเพื่อสร้างภาพ เพราะเราไม่ได้ ใหญ่โตขนาดที่ต้องออกมาสร้างภาพ แต่ เป็นเรื่องของจิตสำนึก ซึ่งผมคิดว่านักธุรกิจ ควรมีความรับผิดชอบและให้ความร่วมมือ ในเรื่องเหล่านี้” คุ ณ วิ วั ฒ น์ ยั ง กล่ า วอี ก ว่ า นอกจาก ธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ เขายังเปิดโรงเรียนสอน ภาษาจีนในชือ่ “โรงเรียนสอนภาษาจีนฮาวา อีกด้วย “เนือ่ งจากคุณพ่อของผมเคยเป็นนายก สมาพันธ์โรงเรียนจีน เลยอยากทำโรงเรียน สอนภาษาจีน ประกอบกับแถวที่ตั้งออฟฟิศ นี้ไม่มีใครสอนภาษาจีน เอาอาจารย์มาจาก เอแบก จากเมื อ งจี น ภรรยานั ก ธุ ร กิ จ จี น ที่มาทำธุรกิจอยู่ว่างๆ ไม่มีอะไรทำก็มารับ สอน คุณพ่อบอกว่าไม่ได้เปิดเพื่อทำกำไร แต่ต้องการให้เป็นวิทยาทาน” คุณวิวัฒน์ กล่าวทิ้งท้าย เมื่อธุรกิจกับสังคมเดินไปด้วยอย่าง ลงตัวเช่นนี้ จึงไม่แปลกทีว่ นั นี้ “ฮาวายไทย” จะยืนหยัดอยู่ได้อย่างแข็งแกร่งท่ามกลาง มรสุมแห่งเศรษฐกิจที่โหมกระหน่ำซ้ำแล้ว ซ้ำเล่า นับเป็นอีกหนึ่งผู้บริหารที่เก่งทั้งฝีมือ และมีวิสัยทัศน์ยาวไกล!!!


Product

Launch

เชพโรเล็ต อาวิโอ

ซัมซุง ‘ออมเนีย ทู ไวท์’

ซัมซุงตอกย้ำกระแสความแรง ของ “ออมเนีย ทู” เขย่าวงการโทรศัพท์ มื อ ถื อ ครั้ ง ล่ า สุ ด ด้ ว ยสมาร์ททัชโฟน แห่งปี “ซัมซุง ออมเนีย ทู ไวท์” สุดยอด สมาร์ททัชโฟนอัจฉริยะแห่งยุคที่ครบ ด้วยฟังก์ชันอันชาญฉลาดในสีขาวสุด ชิคเพื่อคนรุ่นใหม่ที่มีไลฟ์สไตล์ก้าวล้ำ ไร้ขีดจำกัด มั่นใจ “ออมเนีย ทู ไวท์” ส่ ง ซั ม ซุ ง รั ก ษาตำแหน่ ง เบอร์ ห นึ่ ง ตลาดสมาร์ ท โฟนด้ ว ยส่ ว นแบ่ ง กว่ า 25% ภายในสิ้นปี

บริษัท เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษทั เชฟโรเลต เซลส์ (ประเทศไทย) จำกัด เตรียมส่ง เชฟโรเลต อาวีโอ รถยนต์ซับคอมแพกต์ซีดาน ที่มาพร้อมกับหัวใจแห่งการ ขับเคลื่อนใหม่ แรงเหนือชั้นกว่าด้วยเครื่องยนต์ขนาด 1.6 ลิตร ให้แรงบิดสูงสุดถึง 145 นิวตันเมตร ที่ 3,600 รอบ/นาที พละ กำลังสูงสุด 102 แรงม้าที่ 5,800 รอบ/นาที ส่งกำลังผ่านระบบ เกียร์อตั โนมัติ 4 สปีด และยังคงอุปกรณ์เพือ่ ความปลอดภัย และ อุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายต่างๆ ไว้อย่างครบครันเช่น เดิมโดยเชฟโรเลต จะเปิดตัวอาวีโอ ขุมพลังใหม่นี้ อย่างเป็น ทางการในงานมอเตอร์ เอ็กซ์โป ครั้งที่ 26 นี้

ไทยพาณิชย์ปรับโฉม “ยูนิฟอร์ม” ใหม่

ธนาคารไทยพาณิชย์ เตรียมปรับโฉมชุดเครื่องแบบ พนักงานใหม่ พร้อมก้าวสู่ปีที่ 103 ของการเป็นธนาคารไทย แห่งแรกของประเทศ เพิม่ เสน่หใ์ ห้ “สีมว่ ง” ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ ของธนาคาร ด้วยโทนสีม่วงเข้ม โดดเด่นสดใสและทันสมัย สะท้อนภาพลักษณ์ความเป็นผู้เชี่ยวชาญในการให้บริการ ทางการเงินอย่างมืออาชีพ ร่วมออกแบบโดย 2 ดีไซเนอร์ ชื่ อ ดั ง ธี ร ะพั น ธ์ วรรณรั ต น์ และ พิ จิ ต รา บุ ณ ยรั ต พั น ธุ์ เริ่มใส่พร้อมกันทั่วประเทศต้นปี 2553

อัสซุส ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ รุ่น ESC1000

อัสซุส ขอเสนอซูเปอร์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ESC1000 Series ที่มีความเร็วในการประมวลผล ระดับเทราฟล็อป มัน่ ใจได้วา่ มีประสิทธิภาพเหนือกว่าเวิรค์ สเตชัน่ รุน่ เดิมๆ ถึง 32 เท่า อีกทัง้ ใช้พลังงาน น้อยกว่าถึง 14 เท่า ด้วยความร่วมมือในการพัฒนาระหว่างอัสซุส กับ NVIDIA® และการสนับสนุนจาก National Chiao Tung University หรือ NCTU มหาวิทยาลัยแห่งชาติที่มีชื่อเสียงของประเทศไต้หวัน COMMERCIAL WORLD

59T


Business

Pulse

จับมือ : บุญสันต์ ประสิทธิสมั ฤทธิ์ ผู้ อ ำนวยการฝ่ า ยอาวุ โ ส ผู้ บ ริ ห ารกลุ่ ม บริหารการขาย สายงานบริหารผลิตภัณฑ์ และการตลาด อมรา กลับประทุม ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารกลุ่มพัฒนา ผลิตภัณฑ์ สายงานบริหารผลิตภัณฑ์และ การตลาด บมจ. ธนาคารกรุงไทย ร่วมกับ มร.ทาเคฮารุ อุเอมัทซึ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท อีซี่ บาย (จำกัด) มหาชน และบุษบา พิบลู ชล Managing Director บริษทั ศูนย์ประมวลผล จำกัด ร่วมลงนาม ข้อตกลงการเปิดให้บริการกดเงินสดจาก บั ต รเงิ น สดยู เ มะ พลั ส ผ่ า นตู้ เ อที เ อ็ ม ธนาคารกรุงไทยทั่วประเทศ ร่ ว มส่ ง เสริ ม การค้ า : ดร.อภิ ชั ย บุ ญ ธี ร วร (ขวา) กรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศ ไทย (EXIM BANK) และนายหลี่ จุน (ซ้าย) รองกรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศจีน (China Exim bank) ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงความร่วมมือเพื่อขยายความ ร่วมมือในการสนับสนุนทางการค้า การลงทุน และความร่วมมือ ด้านอื่นๆ อาทิ การให้สินเชื่อสำหรับธุรกิจต่างๆ และโครงการ ลงทุนในต่างประเทศ เมื่อเร็วๆ นี้

T60

COMMERCIAL WORLD

ร่วมมือ : ธวัชชัย ธิติศักดิ์สกุล รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส สายงาน ธุ ร กิ จ บั ต รเครดิ ต “เคที ซี ” หรื อ บริ ษั ท บั ต รกรุ ง ไทย จำกั ด (มหาชน) ร่ ว มกั บ สมชัย บุญนำศิริ บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน กรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ KTAM เปิดช่องทางใหม่รับชำระค่าหน่วย ลงทุน กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) ของ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จำกัด (มหาชน) ผ่านบัตรเครดิตเคทีซีทุก ประเภท


ฉลากเขี ย ว : รั ต นาภรณ์ จึ งสงวนสิทธิ์ เลขาธิการสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สรยุทธ เพ็ชรตระกูล ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ กระทรวงอุตสาหกรรม ครรชิต ไชยสุโพธิ์ ผูอ้ ำนวย การฝ่ายรัฐกิจอาเซียน บริษทั เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท เชฟโรเลต เซลส์ (ประเทศไทย) จำกั ด ถ่ า ยภาพร่ ว มกั บ ศุ ภ รั ต น์ ศิริสุวรร ณางกูร นายกสมาคมอุตสาหกรรมยาน ยนต์ไทย ในงานสัมมนา “เจาะลึกมาตรฐาน ISO / TISI เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน การใช้พลังงานอย่าง มี ป ระสิ ท ธิ - ภาพ และความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ” ในโอกาสเข้าเยี่ยมชมยานยนต์เชฟโรเลตมาตรฐาน ฉลากเขียว ที่บูธนิทรรศการของเชฟโรเลต ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

ดึงทุนโสม : อรรชกา สี บุ ญ เรื อ ง เลขาธิ ก ารคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอ ไอ) มอบของที่ระลึก แก่ผู้บริหาร ของบริษัท GS Home Shopping หลั ง หารื อ เรื่ อ งการชั ก จู ง การ ลงทุ น มายั ง ไทย ระหว่ า งการ เยือนกรุงโซล สาธารณ-รัฐเกาหลี

เปิดตัว : มร.ชูมิท คาพูร์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท โนเกีย (ประเทศไทย) จำกัด นำทีมผู้บริหารเปิดตัว Nokia N97 mini เพื่อนร่วมทางที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ผับสุดฮิ บอย่าง DEMO ทองหล่อ ซอย 10 ในงานมีผู้มาร่วมงานมากมาย ทั้งเหล่าดารา และเซเลบบริต ี้ รับชำระเงิน : วรภัค ธันยาวงษ์ รองผูจ้ ดั การใหญ่ และพรรณแข นันทวิสัย ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทย พาณิชย์ ร่วมกับ สุวรรณา ก้อนแก้ว ผู้ช่วยผู้ว่าการ และ อุบลศรี สุนทรนัย ผู้อำนวยการฝ่ายการบัญชี การเคหะ แห่งชาติ ลงนามสัญญาสนับสนุนระบบการดำเนินงาน บริหารจัดการทางการเงิน พัฒนาระบบในการรับชำระเงิน (SCB Bill Payment) เพิ่มช่องทางและรองรับการรับชำระ เงิ น ค่าเช่า ค่างวด เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ลู ก ค้ า ใน โครงการการเคหะทั่วประเทศ

รั บ 2 รางวั ล : พเยาว์ มริ ต -ตนะพร กรรมการผู้จัดการ บมจ.ทางด่วน กรุงเทพ หรือ บีอีซีแอล รับรางวัลบริษัทจดทะเบียน ขวัญใจนักวิเคราะห์ และรางวัลผู้ บริหารฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ ขวัญใจนักวิเคราะห์ จากสมบัติ นราวุฒิชัย สมาคมนัก วิเคราะห์หลักทรัพย์ ซึ่งจัดโดยสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ผ่านการโหวตจากนัก วิเคราะห์ในบริษัทหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน และการโหวตอิสระ COMMERCIAL WORLD

61T


The

Book

โดย : ปัญญ์ชน

ความรูท้ วั่ ไปว่าด้วย

กฎหมายและพิ ธกี ารศุลกากรระบบ e-Custom ผูเ้ ขียน : วิชยั มากวัฒนสุข จัดพิมพ์ : สำนักพิมพ์ อินฟอร์มเี ดีย บุค๊ ส์ หนา 456 หน้า ราคา 550 บาท

ในยุคโลกการค้าเสรี ไม่มีพรมแดน ใครที่มัวแต่ค้าขายอยู่ในวงแคบๆ อยู่แค่ หน้าร้าน ในท้องถิ่น หรือในประเทศของ ตนเอง ย่อมไม่เพียงพอเสียแล้ว คิดดูซิว่า โลกทั้งโลกมีประชากรมาก เพียงใด ถ้าเพียงเราจะขายได้แค่เศษเสีย้ วธุลี เดียว ปริมาณการขายของเราจะมากเพียงไหน นีเ่ อง ทีใ่ ครๆ พอไปได้ทำธุรกิจค้าขาย ระหว่างประเทศเสียแล้ว ก็ยากทีจ่ ะหวนกลับ มามองตลาดในประเทศเป็นหลักแต่เพียง อย่างเดียวอีกต่อไป แต่แม้การค้าระหว่างประเทศ จะน่า ดึงดูดใจสักเท่าไร แต่คนก็ยังกลัวๆ กล้าๆ จะลงไปเล่นอย่างเต็มที่

T62

COMMERCIAL WORLD

เหตุที่เป็นเช่นนี้ ก็เนื่องจากการค้า ระหว่างประเทศ ไม่วา่ จะเป็นด้านการนำเข้า หรือด้านการส่งออก มีขนั้ ตอน มีกฎระเบียบ ที่ผู้ประกอบการจะต้องรู้ และปฏิบัติตาม อย่างเคร่งครัด ไม่เช่นนั้นอาจจะสูญเสียเงิน หรือไม่ก็มีความผิดตามกฎหมายที่ว่ากันว่า รุนแรงไม่น้อยเหมือนกัน ก็เพราะอย่างนี้ ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ที่วันหนึ่งๆ ต้องเผชิญกับ คำถามเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออกสารพัด สารพัน ต้องลงไปช่วยผู้ประกอบการในการ แก้ ปั ญ หา และบ่ อ ยครั้ ง ต้ อ งทำหน้ า ที่ จั บ ปรับผู้ประกอบการที่ทำผิดเสียเอง ทั้งที่รู้ว่า บางคนไม่ได้มีเจตนาที่จะทำผิดนั้นเลย

เป็ น เพราะความไม่ มี ค วามรู้ ค วาม เข้าใจในขั้นตอนปฏิบัตินั่นเอง ดังนั้น ผู้เขียนจึงได้เรียบเรียงหนังสือ ”ความรู้ทั่วไปว่าด้วยกฎหมายและพิธีการ ศุลกากรระบบ e-Custom” เล่มนี้ขึ้นมา เพื่อให้เป็นคู่มือสำหรับการปฏิบัติงานของ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศ เสน่ห์ของหนังสือเล่มนี้ อยู่ที่การนำ ข้ อ กฎหมายอั น ยุ่ ง ยาก และซั บ ซ้ อ นมาตี ความให้เข้าใจง่ายๆ พร้อมตัวอย่างเอกสาร ให้เห็นกันจะๆ จะได้เห็นภาพ และเข้าใจได้ ง่ายขึ้น สำหรั บ เนื้ อ หาของหนั ง สื อ เล่ ม นี้ ไ ด้ ครอบคลุมข้อกฎหมายและแนวทางการทำ ธุรกิจส่งออก-นำเข้าอย่างสมบูรณ์ ไม่ว่าจะ เป็ น ความเป็ น มาของกฎหมายศุ ล กากร การเสียภาษี การคืนเงินอากร พิกัดอัตรา ศุลกากร คำอธิบายหลักเกณฑ์การตีความ พิกัดศุลกากร ราคาศุลกากร การนำของ เข้า การตรวจปล่อย การวางประกันใบขน สินค้า การอุทธรณ์การประเมินอากรเงินเพิม่ ดอกเบี้ย การส่งของออกต่างประเทศ การคืน อากรสำหรั บ ของที่ น ำเข้ า มาแล้ ว ส่ ง กลั บ ออกไป การคื น อากรตามมาตรา 19 ทวิ คลังสินค้าทัณฑ์บน เขตปลอดอากร และ อีกมากมาย รวมทั้งการตรวจสอบหลังการ ตรวจปล่อย ขอแนะนำให้ซื้อหนังสือเล่มนี้ไว้เป็น คู่มือในการทำงาน


นิตยสารรายเดือน 2 ภาษา เพื่อนักธุรกิจ การค้า และการลงทุน ในประเทศไทย-จีน-อาเซียน

สมัครสมาชิกวันนี้ ชื่อ นามสกุล (ตัวบรรจง) วัน/เดือน/ปีเกิด อาชีพ การศึกษา มัธยมศึกษา

1 ปี (12 ฉบับ) เหลือเพียง 800 บาท ประหยัด 160 บาท 2 ปี (24 ฉบับ) เหลือเพียง 1,500 บาท ประหยัด 450 บาท อายุ

ปี เพศ รายได้โดยประมาณ ปวส. ปริญญาตรี

ชาย

หญิง

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

สถานที่ทำงาน ที่อยู่ (ที่ทำงาน) โทร. ที่อยู่ (ที่บ้าน)

โทรสาร

โทร.

Mobile

ต้องการให้จัดส่งไปที่

รหัสไปรษณีย์ E-mail รหัสไปรษณีย์ ที่ทำงาน ที่บ้าน

ต้องการสมัครสมาชิก สมาชิกใหม่ ต่ออายุ รหัสสมาชิก 1 ปี (12 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 800 บาท เริ่มฉบับเดือน ถึง 2 ปี (24 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 1,500 บาท เริ่มฉบับเดือน ถึง ชำระค่าสมาชิกโดย เงินสด ธนาณัติ โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ “คุณปองขวัญ สวัสดิภักดิ์” ธนาคารกรุงไทย สาขาย่อยอาคารเสริมมิตร เลขที่บัญชี 085-0-00856-5 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาย่อยใต้ดินสุขุมวิท เลขที่บัญชี 196-2-01471-9 ธนาคารทหารไทย สาขามาบุญครองเซ็นเตอร์ เลขที่บัญชี 043-2-79860-1 ออกใบเสร็จในนาม

บุคคล

บริษัท/ห้าง/ร้าน

กรุณาแฟกซ์ หลักฐานการชำระเงินมายัง ฝ่ายสมาชิก นิตยสารโลกการค้า แฟกซ์ 02-938-3546


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.