แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

Page 1

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

แผนยุทธศาสตรการพั ฒนา ์

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช ประจาปี การศึกษา 2557-2561 มงคลพระนคร ประจาปี การศึ กษา 2557-2561

ฝ่ายวางแผน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

คำนำ แผนยุ ทธศาสตร์ การพั ฒนาคณะอุ ตสาหกรรมสิ่ งทอและออกแบบแฟชั่ น มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561 จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ในการ บริ ห ารจั ดการและพัฒ นาคณะอุตสาหกรรมสิ่ งทอและออกแบบแฟชั่น ซึ่ งแผนยุ ทธศาสตร์ได้ ผ่ า น กระบวนการวิเคราะห์ความสอดคล้อง และเชื่อมโยงกับบริบทต่างๆ อาทิ การวิเคราะห์สถานการณ์ ปัจจุบันของคณะ แนวโน้มการเปลี่ยนของทางเศรษฐกิจและสังคมโลก นโยบายแห่งรัฐ นโยบายสภา มหาวิทยาลัย และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปี การศึกษา 2557 – 2561 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2557 – 2561 ฉบั บ นี้ จั ด ท าขึ้ น โดยผ่ า น กระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการจัดทาแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนา ฯ โดยประกอบด้ว ยสาระส าคัญ คือ ส่ วนที่ 1 สภาพปัจจุบันและการจัด การศึกษาของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ส่วนที่ 2 บริบทที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น และการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ส่วนที่ 3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและค่าเป้ าหมายของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ และออกแบบแฟชั่น ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561 และส่วนที่ 4 การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น หวังเป็นอย่างยิ่งแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา คณะอุตสาหกรรมสิ่ งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปี การศึกษา 2557 – 2561 ฉบับนี้ จะเป็นแนวทางในการดาเนินงานให้ทุกส่วนงานร่วมกันขับเคลื่อนให้ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ให้บรรลุผลสาเร็จตามที่ได้กาหนดเป้าหมายร่วมกัน

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

-ก-


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

สำรบัญ คำนำ สำรบัญ บทสรุปผู้บริหำร ส่วนที่ 1 สภำพปัจจุบันและกำรจัดกำรศึกษำ ของคณะอุตสำหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น  ประวัติความเป็นมาและสภาพปัจจุบัน  แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงาน  หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน  คณาจารย์/บุคลากร  นักศึกษา

หน้ำ ก ข ค 1 2 3 4 5 7

ส่วนที่ 2 บริบทที่ส่งผลกระทบต่อกำรพัฒนำคณะอุตสำหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่น และกำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์ปัจจุบัน  บริบทที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

8

ส่วนที่ 3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศำสตร์ ตัวชี้วัดและค่ำเป้ำหมำยของ แผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำคณะอุตสำหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ประจำปีกำรศึกษำ 2557 – 2561  วิสัยทัศน์ ปรัชญา ปณิธาน ค่านิยมองค์กร พันธกิจ  ผังยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561  การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น  ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย

17

18 22

ส่วนที่ 4 กำรขับเคลื่อนแผนยุทธศำสตร์ไปสู่กำรปฏิบัติ และกำรติดตำมประเมินผล

33

 การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

34

ภำคผนวก  งบประมาณที่ใช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

35 36

9

23 24

-ข-


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

บทสรุปผู้บริหาร แผนยุ ทธศาสตร์ การพั ฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่ น มหาวิทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561 จั ดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ในการ บริ ห ารจั ดการและพัฒ นาคณะอุตสาหกรรมสิ่ งทอและออกแบบแฟชั่น ซึ่ งแผนยุ ทธศาสตร์ได้ ผ่ า น กระบวนการวิเคราะห์ความสอดคล้อง และเชื่อมโยงกับบริบทต่างๆ อาทิ การวิเคราะห์สถานการณ์ ปั จจุ บั นของคณะ แนวโน้ มการเปลี่ ยนทางเศรษฐกิจและสั งคมโลก นโยบายแห่ งรัฐ นโยบายสภา มหาวิทยาลัย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561 แผนยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561 ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ “ผู้นาการจัด การศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่มาตรฐานสากล” 5 พันธกิจ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ 7 เป้าประสงค์ 9 กลยุทธ์ 34 มาตรการ พร้อมทั้งกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมายจานวน 50 ตัวชี้วัด และ ได้กาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จของการบรรลุผลการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา คณะอุตสาหกรรมสิ่ งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปี การศึกษา 2557 – 2561 ที่ร้อยละ 70 75 80 85 และ 85 ในแต่ละปี ตามลาดับ โดยคณะคณะ อุตสาหกรรมสิ่ งทอและออกแบบแฟชั่นได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อนาไปสู่เป้าหมายตามแผน ยุทธศาสตร์ที่ได้นาเสนอประกอบด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาให้บัณฑิตมี คุณภาพตามมาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 2 เป้าประสงค์ 3 กลยุทธ์ 8 มาตรการ และตัวชี้วัดความสาเร็จ 16 ตัวชี้วัด  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาความเข้มแข็งงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มี คุณภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ประกอบด้วย 1 เป้าประสงค์ 1 กลยุทธ์ 3 มาตรการ และตัวชี้วัดความสาเร็จ 8 ตัวชี้วัด  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งของการบริหารจัดการและพัฒนา คุณภาพการศึกษา สู่ความเป็นเลิศ ประกอบด้วย 2 เป้าประสงค์ 3 กลยุทธ์ 17 มาตรการ และ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 16 ตัวชี้วัด  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมการให้บริการวิชาการและการพัฒนาอาชีพ ประกอบด้วย 1 เป้าประสงค์ 1 กลยุทธ์ 4 มาตรการ และตัวชี้วัดความสาเร็จ 5 ตัวชี้วัด

-ค-


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

 ประเด็ นยุ ทธศาสตร์ ที่ 5 การส่ งเสริ มการทานุบ ารุ งศิ ลปวั ฒนธรรม และรักษา สิ่งแวดล้อมให้คงอยู่อย่างมั่นคงเพื่อสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย 1 เป้าประสงค์ 1 กลยุทธ์ 2 มาตรการ และตัวชี้วัดความสาเร็จ 5 ตัวชี้วัด

-ง-


ส่วนที่ 1 สภาพปัจจุบันและการจัดการศึกษาของ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ส่วนที่ 1 สภาพปัจจุบันและการจัดการศึกษา ของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ประวัติความเป็นมาและสภาพปัจจุบัน คณะก่อตั้งขึ้นมาจากโรงเรียนวิชาชีพช่างตัดเสื้อซึ่ งอยู่บริเวณวัดสุทัศน์ ใช้ชื่อว่า “โรงเรียน ช่างตัดเสื้อวัดสุทัศน์” เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2476 ต่อมาได้ย้ายมาตั้งอยู่เลขที่ 517 ถนนนครสวรรค์ แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนช่างตัดเสื้อพระนคร สังกัดกรม อาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2520 เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา ปี พ.ศ.2532 เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ สังกัด “สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล” ปี พ.ศ. 2548 มีพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จัดแบ่งสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคลออกเป็น 9 มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลั ย ตามพระราชบั ญญัติฯ มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครแบ่งส่ ว นราชการ ออกเป็น 8 คณะ 5 สานัก และ 1 สถาบัน วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์จึงเปลี่ยนสถานะเป็น คณะ อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ตามประกาศกฎกระทรวงศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต มี 4 สาขาวิชา สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า สาขาวิชา เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ โดยมุ่งเน้ นผลิ ตบัณฑิตนั กปฏิบัติด้านสิ่ งทอและแฟชั่นที่มีศักยภาพความสามารถในการแข่งขัน มี คุณธรรมและจริยธรรม

2



แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงาน คณบดี สานักงานคณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหาร

รองคณบดีฝ่ายวางแผน

งานบริหารทั่วไป

งานวางแผนและพัฒนา

- สารบรรณ - บุคลากร - อาคารสถานที่และ ยานพาหนะ - ประชาสัมพันธ์ - เอกสารการพิมพ์ - การเงิน - การบัญชี - พัสดุ

- แผนยุทธศาสตร์ - แผนและงบประมาณ - ติดตามประเมินผล - บริหารความเสี่ยง - บริหารโครงการ - ประกันคุณภาพการศึกษา

รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย สาขาวิชา - เทคโนโลยีเสื้อผ้า - เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ - ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ - ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

3

หมายเหตุ * เป็นหน่วยงานทีจ่ ัดตั้งเป็นการภายใน ** ศูนย์คลินิกเทคโนโลยี วิทยาเขตรชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ (คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชัน่ ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร เครือข่ายกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อสวท.)

งานบริการวิชาการและวิจัย - วิจัยและพัฒนา - บริการวิชาการแก่สังคม - หลักสูตร - ทะเบียน - วิเทศสัมพันธ์ - เทคโนโลยีทางการศึกษา - สหกิจศึกษา - สารสนเทศ * โครงการฯ EdPEx ** คลีนิกเทคโนโลยี

รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา งานกิจการนักศึกษา - วิชาทหาร - พัฒนาวินัย คุณธรรมและ จริยธรรม - ศิลปวัฒนธรรม - กองทุนกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา - แนะแนว - สวัสดิการและสุขภาพ พลานามัย - กิจกรรมสโมสรนักศึกษา - กีฬา



แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จัดการศึกษาโดยมุ่งพัฒนาบุคคล ให้มีความ เชี่ยวชาญ เชิงปฏิบัติการ มีความเชี่ยวชาญทางวิชาการ และคุณสมบัติที่จาเป็นตามลักษณะอาชีพ พร้อมที่จะทางาน และสามารถปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าทันต่อวิ วัฒนาการทางเทคโนโลยี รวมทั้ง ปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ความประณีต ความสานึกในจรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรม หน้าที่ความ รับผิดชอบทางสังคม บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในปีการศึกษา 2557 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จัดการศึกษาระดับ ปริญญาตรี มีรายละเอียดหลักสูตร/คณะ/สาขาวิชา ที่เปิดสอน ดังตารางที่ 1-1 ตารางที่ 1-1 แสดงการจัดการศึกษาของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จาแนกตามระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2557 คณะ/ ระดับ การศึกษา

หลักสูตร/ปริญญา

วิชาเอก/สาขางานเฉพาะ

จานวนปีของ หลักสูตร

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

อ้างอิง : งานหลักสูตร

สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

4 ปี 4 ปี 4 ปี 4 ปี

ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557

4


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

คณาจารย์/บุคลากร อาจารย์ผู้สอน จานวนทั้งสิ้น 34 คน 1. ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตาแหน่งวิชาการ 18 คน 2. พนักงานมหาวิทยาลัย 16 คน 3. พนักงานราชการ - คน 4. ลูกจ้างชั่วคราว - คน อัตราส่วนวุฒิ ปริญญาเอก:ปริญญาโท:ปริญญาตรี:ต่ากว่าปริญญาตรี (ข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา ตาแหน่งวิชาการ) เป็น 11.76 : 79.41 : 8.82 อัตราส่วน ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์:รองศาสตราจารย์ เป็น 76.47.00 : 23.53 : 0.00 : 0.00 ตารางที่ 1 – 2 แสดงข้อมูลอาจารย์จาแนกตามวุฒิการศึกษา : ตาแหน่งทางวิชาการและคณะ ลา ศึกษา สัดส่วนวุฒิ (คน) สัดส่วนตาแหน่ง ต่อ การศึกษาปริญญา วิชาการ เอก:ปริ ญ ญาโท: รวม ปริญญา ปริญญา ปริญญา ต่ากว่า รวม อ. ผศ. รศ. อาจารย์:ผศ:รศ ใน นอก ปริญญาตรี โท ตรี ปริ ญ ญา เอก ตรี ตาแหน่ง ทางวิชาการ

วุฒิการศึกษา

คณะ

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ และออกแบบแฟชัน่ ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว รวมทั้งสิ้น

18

3

12

3

-

16.67:66.67:16.67

18

10

8

- 55.56:44.44:0.00::0.00

-

-

16

1

15

-

-

6.25 : 93.75 : 0.00

16

16

-

-

100 : 0 : 0

3

1

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2

2

-

-

-

-

-

34

4

27

3

-

11.76:79.41:8.82

34

26

8

- 76.47.00:23.53:0.00: 3

1

อ้างอิง : กองบริหารงานบุคคล

0.00

ข้อมูล ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2557-31 กรกฎาคม 2558

5


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

บุคลากรสนับสนุน 1. ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตาแหน่งสนับสนุน 5 คน 2. พนักงานมหาวิทยาลัย 12 คน 3. ลูกจ้างประจา 1 คน 4. ลูกจ้างชั่วคราว 9 คน รวมทั้งสิ้น 27 คน ตาราง 1 – 3 ข้อมูลบุคลากรด้านสนับสนุน จาแนกตามวุฒิการศึกษา ตาแหน่ง อายุเฉลี่ย และ ประสบการณ์ในการทางานเฉลี่ย ประเภท บุคลากร ข้าราชการพลเรือน ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้างชั่วคราว รวม

วุฒิการศึกษา (คน) ต่ากว่า ป. ป.ตรี ป.ตรี โท 1 2 2 1 8 4 3 6 5 16 6

ป. เอก -

อ้างอิง : กองบริหารงานบุคคล

ตาแหน่ง ประสบ อายุ เจ้าหน้าที่ธุรการ การณ์ใน ช่าง เฉลี่ย พนักงาน นักการ การ ยาม ระดับ ระดับ ระดับ เทค (ปี) ขับรถ ภารโรง ทางาน(ปี) 1 – 3 4 – 5 6 – 8 นิค 1 1 25-50

ข้อมูล ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2557- 31 กรกฎาคม 2558

6


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

นักศึกษา นักศึกษา จานวนนักศึกษาทั้งหมด 505 คน (ภาคปกติ + ภาคสมทบ) อาจารย์ อาจารย์ จานวนอาจารย์ ทั้งสิ้น 34 คน ลาศึกษาต่อ 4 คน คงเหลืออาจารย์ปฏิบัติราชการจริง 30 คน จานวนนักศึกษาเต็มเวลา(FTES) 375.25 คน อัตราส่วน อาจารย์ : นักศึกษาโดยรวม = 1 : 14 : 85 อัตราส่วน อาจารย์ : FTES = 1 : 11.04 อ้างอิง : งานทะเบียน

ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557

7


ส่วนที่ 2 บริบทที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น และการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ส่วนที่ 2 บริบทที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น และการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน บริบทที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น รั ฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจั กรไทยพุ ทธศั กราช 2550 มาตรา 80 โดยในส่ ว นที่ เกี่ยวข้องกับบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม แผนการศึ กษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนา การศึกษาของชาติ การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ก้าวหน้าทันการเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลก รวมทั้งปลูกฝังให้ผู้ เรียนมีจิตส านึกของความเป็นไทย มีระเบียบวินัย คานึงถึงประโยชน์ ส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษาให้เท่าเทียมและสอดคล้องกับแนวนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆ และเผยแพร่ข้อมูล การศึกษาวิจัยที่ได้รั บทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยจากรัฐ ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้รักสามั คคีและ การเรียนรู้ ปลูกจิตสานึก และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจน ค่านิยมอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มีเจตนารมณ์ให้การจัดการศึกษาเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่ วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยหลักในการจัดการศึกษาคือ เป็นการศึกษาตลอดชีวิต สาหรับประชาชน สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้ เป็นไป อย่างต่อเนื่อง แนวทางการจัดการศึกษาของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติฯ ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร นามาพิจารณาจัดทายุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ได้แก่ - การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาอาจารย์และบุคลากร

9


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

- การจัดหาทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน - การมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถานประกอบการ ฯลฯ - รูปแบบการจัดการศึกษาใน 3 ระบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสามารถสะสมได้ - เน้นการให้ความรู้ การเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน และการสร้างคุณธรรม - จัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ - ฝึกทักษะ ฝึกปฏิบัติจริง - ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ - มีการประเมินผลผู้เรียน - มีการพัฒนาทางวิชาการ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) มีกรอบ การพัฒนาประเทศที่มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสถาบันอุดมศึกษา 4 ประเด็นคือ 1. สังคมโดยบริบทที่ส่งผลกระทบต่อเรื่องความเข้มแข็งของรากฐานสังคมไทย ได้แก่ โลกาภิวัตน์ การพัฒนาที่ผ่านมา และการไหลของคน ความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ส่งผลให้ คนไทยมีการศึกษาสูงขึ้น อายุยืน แต่คุณธรรมและจริยธรรมลดลง 2. เศรษฐกิจทุนนิยมและเมืองขยายตัว รายได้สูงขึ้น แต่การกระจายไม่เป็นธรรม เกิด ความเหลื่อมล้าระหว่างเมือง-ชนบท เกิดช่องว่างทางความรู้ ความเอื้ออาทรเกื้อกูลกันมีน้อยลง 3. โครงสร้างประชากร มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม สังคมไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เด็ก และวัยแรงงานลดลง ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น 4. การสร้างคน คุณลักษณะของคนที่มีคุณภาพในศตวรรษที่ 21 ควรมีหรือเป็นคือ ใฝ่รู้ สั งเคราะห์ เป็ น สร้ า งสรรค์ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ อื่ น และมี คุ ณ ธรรม หรื อ กล่ า วโดยสรุ ป ว่ า สร้างคนให้มีความรู้ มีทักษะ และมีเหตุผล โดยสรุป มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาต้องให้ความสาคัญกับการสร้างคนหรือพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ มีทักษะ และมีเหตุผล เพื่อสร้างความคุ้มกันให้เข้มแข็งสาหรับรองรับวิกฤติ ต่างๆ ของสังคมไทยในอนาคต รวมถึงต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยต่อยอดไปสู่ การใช้ประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์ เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งที่จะเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศได้

10


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

แผนพัฒนาด้านศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม (พ.ศ. 2545 -2559) มุ่งในการพัฒนาชีวิต ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจสติปัญญาความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมใน การดารงชีวิตสามารถอยู่ร่ว มกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมที่มีความ เข้มแข็ง และมีดุลยภาพใน3 ด้าน คือ สังคมคุณภาพสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้และสังคม สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน มหาวิ ท ยาลั ย มี บ ทบาทที่ เ กี่ ย วข้ องในการท านุ บ ารุ ง อนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม และ ภูมิปัญญาไทย พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาศาสนาศิลปะให้ทุกคนสามารถแสวงหาและใช้ความรู้ ข่าวสารข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและเป็นไปได้โดยง่าย ช่วยให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ใหม่และสร้างแหล่ง เรียนรู้และคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับสังคม กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 - 2565) เป้าหมายของ กรอบแผนอุดมศึกษาฯ คือ ยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาเพื่อผลิ ตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ ตลาดแรงงาน และพัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์ สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่นไทย โดยใช้กลไก ธรรมาภิบาล การเงิน การกากับมาตรฐาน และเครือข่ายอุดมศึกษาบนพื้นฐานของเสรีภาพทางวิชาการ ความหลากหลายและเอกภาพเชิ ง ระบบโดยมี ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การจั ด การศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้แก่ - ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร : จานวนเด็กและเยาวชนลดลง และมีผู้สูงอายุ ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงควรให้ความสาคัญกับคุณภาพการศึกษา การสร้างความรู้ และการสร้าง มู ล ค่ าเพิ่ ม ต้ องเป็ น แหล่ งเรี ย นรู้ ตลอดชี วิ ตเพื่ อ การท างานหลั งวั ยเกษี ยณ การเปลี่ ยนงาน และ การประกอบการใหม่ๆ - พลังงานและสิ่งแวดล้อม : จะต้องสร้างบุคลากรและความรู้เพื่อให้ประเทศสามารถ พึ่งตนเองได้เพิ่มขึ้น สนับสนุนการวิจัยทางด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้ง ดิน น้า ป่าไม้ และระบบนิเวศ พัฒนาแรงงานในตลาดแรงงานและผลิตกาลังคนทางด้านพลังงาน และ สิ่งแวดล้อม ต้องทางานร่วมกับภาคการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและการอนุรักษ์และ การจัดการพลังงาน - การมีงานทาและตลาดแรงงานในอนาคต : ต้องเพิ่มพูนความรู้ให้ประชาชน ช่วย สร้างคนและสร้างความรู้เพื่อเน้นการเพิ่มผลผลิตและการสร้างมูลค่าเพิ่ม

11


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

- เยาวชน นักศึกษา และบัณฑิตในอนาคต : จัดกิจกรรมนอกหลักสูตรในรูปแบบของ ทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม จัดให้มีระบบวัดผลงาน (KPI) ของอาจารย์ด้านการดูแลนักศึกษาทั้งทางด้าน วิชาการ กิจกรรมนอกหลักสูตรและจริยธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาทางด้านภาษา และวัฒนธรรมของต่างประเทศ ต้องจัดให้มีการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อให้มีการพัฒนาทางด้าน การสื่ อความ การตั ดสิ นใจ การน าการแก้ ปัญหา การทางานเป็ นที ม ความอดทน คุ ณธรรม ฯลฯ ให้บริการแนะแนวอาชีพและการมีงานทาแก่นักศึกษาและบัณฑิต จัดการเรียนรู้บนฐานการทางานใน ภาคการผลิตและภาคสังคม และติดตามผล การประกอบอาชีพของบัณฑิตอย่างเป็นระบบ รวมทั้ง ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตและตัวบัณฑิตเอง - เศรษฐกิจพอเพียง : ควรจัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรกปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในเนื้อหาวิชา หรือเปิดสอนเป็นรายวิชาหรือเปิดสอนในลักษณะเป็นสาขาวิชา สร้างความรู้ใหม่ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ในส่วนของทิศทางนโยบายของกรอบแผนอุดมศึกษาฯ ที่มหาวิทยาลัยต้องคานึงถึงนั้น ได้แก่ - รอยต่อกับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอาชีวศึกษา : นักเรียนมัธยมศึกษาที่เป็น ตัวป้อนอุดมศึกษามีคุณภาพต่าลง ค่านิยมในเรื่องปริญญาโททาให้ผู้เรียนอาชีวศึกษาน้อยลงเป็นลาดับ อุดมศึกษาต้องทางานกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเชิงการปรับเปลี่ ยนหลั กสู ตรและการพัฒนาครู รวมทั้งสื่อการเรี ยนรู้เพื่อให้ การศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษา มี ความเข้ มข้ น และสั ม ฤทธิ ผ ล และจั ด หลั กสู ตรเฉพาะส าหรั บนั กศึ กษาที่ มี ความสามารถทางด้ าน วิทยาศาสตร์รวมทั้งคณิตศาสตร์ ในสถาบันอุดมศึกษา ควรมีนโยบายเปิดให้ผู้จบอาชีวศึกษาสามารถ เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ด้วยความยืดหยุ่นทั้งในเรื่องเงื่อนไขเวลาที่ไม่บีบรัด และการสะสม หน่วยกิต รวมทั้งร่วมกับอาชีวศึกษาและภาคการผลิตจริงยกระดับความรู้ สมรรถนะ ทักษะเพื่อเพิ่มผลิต ภาพรองรับการเปลี่ยนงานและเปลี่ยนอาชีพผู้ทางานในภาคการผลิตจริง - การแก้ ปั ญหาอุ ดมศึ กษา : ปั ญหาหลั กของอุ ดมศึ กษาคื อ การไร้ ทิ ศทาง ความ ซ้าซ้อน การขาดคุณภาพ การขาดประสิทธิภาพ อุดมศึกษาควรลดเลิกหลักสูตรที่ไม่เป็นที่ต้องการของ สังคม และตลาดแรงงาน - ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการอุดมศึกษา : อุดมศึกษาต้องให้ความสาคัญในเรื่อง ธรรมาภิบาลตั้งแต่ระดับสภามหาวิทยาลัยจนถึงผู้บริหารมหาวิทยาลัยทุกระดับ ควรจัดการฝึกอบรม ให้ความรู้ จัดเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน สร้างเครือข่าย เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสนับสนุน

12


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

การวิจัยองค์กรและนวัตกรรม การบริหารนโยบายและการจัดการ ควรผลิตหลักสูตรการบริหารจัดการ สถาบันอุดมศึกษาให้แก่ผู้บริหารทุกระดับ ตั้งแต่ การบริหารระดับสูง คือ มหาวิทยาลัยลงไปถึงคณะ ภาควิชา/สาขา รวมทั้ง การฝึกอบรมผู้พัฒนาหลักสูตรและผู้สอนอย่างต่อเนื่อง - การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ : อุ ดมศึกษาต้องตั้งเป้า ที่จะพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่ความเป็นสากล/นานาชาติ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับระบบการประเมิน ผลงานวิจัย การจัดสรรทรัพยากรวิจัย จัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศให้ความสาคัญกับการสร้างและ พัฒนานั กวิจัยรุ่ นเยาว์ นั กวิจั ยรุ่ นใหม่ ควรทางานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลั ย กลุ่ มมหาวิทยาลั ย ศูนย์ความเป็นเลิศ ภาคชุมชนและต่างประเทศ - การเงินอุดมศึกษา : การลงทุนผ่านระบบงบประมาณยังไม่สะท้อนคุณภาพ การศึกษาควรมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการจัดสรรงบประมาณประจาปีในรูปแบบใหม่คือ Supply-side financing ที่ให้ความสาคัญกับความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาประเทศและ Performance-based ต้องเตรียมความพร้อมสาหรับนโยบาย Financial Autonomy ในการบริหาร เงินอุดมศึกษา - การพัฒนาบุคลากร : ควรพัฒนาอาจารย์และบุคลากรอุดมศึกษา โดยคานึงถึงด้าน วิชาการ ความเป็นครู ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ความสามารถในการวิจัย สมรรถนะ ทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง มิติด้านช่วงวัยต่างๆ ของการพัฒนาและการศึกษา ตั้งแต่การบ่มเพาะในช่วงต้น การทางาน ช่วงการทางานจริ งและช่ วงเป็นผู้ สู งความรู้และประสบการณ์ควรเน้นการพัฒ นาจา ก การทางานจริงกับภาคการผลิตจริง ภาคสังคม - เครือข่ายอุดมศึกษา : อุดมศึกษาควรเข้าร่วมเป็นเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนา ชุมชน สร้างความเข้มแข็งและความพร้อมในการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสังคม จรรโลงเสรีภาพและประชาธิปไตย ตลอดจนการสร้างแบบอย่างที่ดีและแรงบันดาลใจ ในความรับผิดชอบต่อสังคมให้แก่เยาวชน - โครงสร้างพื้นฐานการเรียนรู้ : อุดมศึกษาควรพัฒนาและใช้ศักยภาพทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรองรับนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของชาติ พัฒนาโครงสร้ างทางกายภาพเพื่อพัฒนาสภาพแวดล้ อมของมหาวิทยาลัยให้ เอื้อต่อการเรียนรู้และ พัฒนาการทางปัญญาของผู้เรียน โดยเน้นความร่มรื่นของภูมิทัศน์ แหล่งเรียนรู้ แหล่งปฏิสัมพันธ์ของ นักศึกษาและอาจารย์/เจ้าหน้าที่ แหล่งสันทนาการต่างๆ ที่ครอบคลุมกีฬา ดนตรี ศิลปะ นอกจาก โครงสร้างพื้นฐานการเรียนรู้ในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการมาตรฐาน รวมทั้งสิ่ งอานวยความสะดวก สาหรับผู้พิการ 13


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) ได้กาหนด วิสัยทัศน์ในปี 2559 ให้อุดมศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนากาลังคนระดับสูงที่มีคุณภาพเพื่อการ พัฒนาชาติอย่างยั่งยืน สร้างสังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีบทบาทสูงในประชาคม อาเซียนและมุ่งสู่คุณภาพอุดมศึกษาระดับนานาชาติ โดยแผนฯ นี้จะมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ มีศักยภาพตรงตามความต้องการของสังคม รวมไปถึงการพัฒนาอาจารย์ ให้มีความเชี่ยวชาญด้านการ สอนและการวิจัย การบริหารจัดการเชิงรุกเพื่อมุ่งสู่ การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาสังคมที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยฯ จะต้องใช้แผนฯ นี้เป็นแผนแม่บทในการวางแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ซึ่งมีผลลัพธ์ที่ต้องคานึงถึง อาทิ การจัดลาดับสถาบันอุดมศึกษา การพัฒนาอาจารย์ให้มีศักยภาพใน การเป็นอาจารย์มืออาชีพในหลักเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด มีผลงานวิจัย/ งานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ให้มากขึ้น ผู้สาเร็จการศึกษาจะต้องผ่านการสอบใบประกอบวิชาชีพหรือ ใบรับรองคุณวุฒิเฉพาะสาขา และเพิ่มการผลิตบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555 – 2564) ให้ ความส าคัญกับการพัฒนาและสร้างฐานเศรษฐกิจของประเทศให้มีเสถียรภาพ พร้อมทั้ง การพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์สังคมชุมชน ท้องถิ่น ความมั่นคงทางพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อมเพื่อน าไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยื นและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน โดยเป็นการมุ่งเน้นให้ เตรียมความพร้อมรองรั บการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ และการสนับสนุนเศรษฐกิ จและ สังคมไทยให้มีความเข้มแข็ง โดยการใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม มีเป้าหมายของนโยบายฯ คือ เพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์ให้รองรับตลาดแรงงานเพิ่มขึ้น ผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้น และประเทศมีนักวิจัยเพิ่มขึ้น การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ถือเป็นหัวใจสาคัญของนโยบายรัฐบาล โดยสร้างความพร้อมและความเข้มแข็งในด้านการเมือง ความมั่งคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และ ในภาคการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ดังนี้ - รณรงค์ให้ประชากรทุกคนอ่านออกเขียนได้ ลดอัตราการไม่รู้หนังสือ เปิดโอกาส อย่างเท่าเทียม ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนทางไกลการศึกษานอกระบบ การเรียนจากศูนย์การเรียน ชุมชน (Community Learning Centres - CLCs) ให้ความสาคัญกับการจัดทาหลักสูตรมาตรฐาน อาเซียน (ASEAN Curriculum) สาหรับช่วงชั้นที่ 1 (ป.1-ป.6) ช่วงชั้นที่ 2 (ม.1-ม.3) และช่วงชั้นที่ 3 14


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

(ม.4-ม.6) โดยกาหนดใน 7 สาขาวิชาได้แก่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ พลศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ จริยศึกษา ศิล ปะ และอัตลักษณ์ของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซียน - การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยส่งเสริมการสอนภาษาอังกฤษซึ่ง เป็นภาษาราชการของอาเซียน การพัฒนาครูซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา - การส่ ง เสริ มการจ้ า งงานที่ เ หมาะสม โดยเร่ง พั ฒ นาคุณ ภาพการศึ กษาระดั บ อาชีวศึกษา เพื่อรองรับ การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมภายในประเทศ พัฒนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อเป็นกลไกและเครื่องมือในการพัฒนากาลั งคนที่ตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงาน และสร้างความเป็นหุ้นส่วนในการจัดการศึกษาระหว่างสถาบันการศึกษา ภาคเอกชน และสถาบันเฉพาะทาง - การส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยส่งเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน อิเล็กทรอนิกส์ ที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในสาระวิชาและระดับชั้นต่างๆ ทั้งในรูปแบบ on-line และ/ หรื อ off-line กาหนดสมรรถนะผู้ เรียนในด้าน ICT ในแต่ล ะระดับการศึกษา พัฒ นายกระดั บ สถาบันการศึกษาให้มีความสามารถเฉพาะทางด้าน ICT เพื่อผลิตบุคลากรด้าน ICT ให้มีทักษะความ เชี่ยวชาญสูง สร้างแรงจูงใจเพื่อเพิ่มศักยภาพแรงงานในการเข้าฝึกอบรม และสอบมาตรฐานวิชาชีพ ด้าน ICT ที่มีการกาหนดไว้ในระดับสากล พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง - การอานวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์ โดยส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ นักวิทยาศาสตร์และบุคลากรทางด้าน วิชาชีพทางด้านการวิจัยที่มีคุณภาพส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งสร้างเครือข่ายการวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายสภามหาวิทยาลัย ที่กาหนดแนวทางตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย ดังนี้ ด้านการเรียนการสอน - มหาวิทยาลัยต้องผลิตผู้สาเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ผู้สาเร็จการศึกษาด้านสังคมศาสตร์ให้ได้สัดส่วนตามแผน คือ 70 : 30 โดยค่อยๆ ลดการผลิตบัณฑิต ด้านสังคมศาสตร์ลงและผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้มากขึ้นในแต่ละปี - พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน

15


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

- พัฒนานักศึกษา และบัณฑิตให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ - สร้างความเข้มแข็งทางด้านวิชาชีพเฉพาะทาง - พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับทั้งในด้านคุณวุฒิ และตาแหน่ง ทางวิชาการ - พัฒนาการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเชิงรุก - เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม - เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และ ประเทศอาเซียน + 6 (CEPEA) ด้านวิจัยสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม - มหาวิทยาลัยต้องพัฒนางานวิจัย / นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์เชิงบูรณาการ เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ที่ได้มาตรฐาน เพื่อการแข่งขันระดับชาติและระดับนานาชาติ และให้เป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา และถือเป็นภารกิจที่ต้องให้ความสาคัญ - มหาวิ ทยาลั ยต้ องจั ดให้ มี การเผยแพร่ และถ่ ายทอดองค์ ความรู้ จากการวิ จั ยสู่ ความเป็นเลิศ ด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคม - ต้องให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและพัฒนาอาชีพ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม - มหาวิทยาลัยต้องสนับสนุนและสืบสานงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และรักษา สิ่งแวดล้อม

16



ส่วนที่ 3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ส่วนที่ 3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ประจาปีการศึกษา 2557 – 2561 วิสัยทัศน์ “เป็นผู้นาการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่มาตรฐานสากล” ปรัชญา “สร้างคนสู้งาน เชี่ยวชาญเทคโนโลยี สร้างคนดีสู่โลกอาชีพ ” ปณิธาน “มุ่งมั่น เป็นผู้นาการจัดการศึกษาด้านวิชาชีพ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิงบูรณาการ พัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพ คู่คุณธรรม สู่มาตรฐานสากล” ค่านิยมองค์กร “เชื่อมั่นในทีมงาน บริหารด้วยความโปร่งใส ร่วมใจพัฒนา เน้นคุณค่าของคน” พันธกิจ 1. จัดการศึกษาที่มุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพ ตาม มาตรฐานสากล 2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อถ่ายทอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ภาคการผลิต และภาคบริการ 3. บริหารจัดการองค์กรด้วยหลักธรรมาภิบาล 4. ให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อสร้างและพัฒนาอาชีพโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาให้บัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

18


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

2. การพัฒนาความเข้มแข็งงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ 3. การสร้างความเข้มแข็งของการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สู่ความเป็นเลิศ 4. การส่งเสริมการให้บริการวิชาการและการพัฒนาอาชีพ 5. การส่งเสริมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่อย่างมั่นคงเพื่อสร้าง คุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ เป้าประสงค์ 1. จัดการศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีที่สามารถแข่งขันได้ในระดับอาเซียน/นานาชาติ 2. ผลิตบัณฑิตให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีทักษะ ในการดารงชีวิตที่ดี 3. จานวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับมาตรฐาน มีคุณภาพและนาไปต่อยอดได้ 4. มีระบบบริหารจัดการที่คล่องตัว ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ 5. มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ 6. เป็นแหล่งให้บริการวิชาการวิชาชีพที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของสังคม 7. สร้างจิตสานึกและสร้างค่านิยมให้เกิดความรักในศิลปวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นและ รักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ 1. การพัฒนาการจัดการศึกษาที่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ มาตรการ 1. ยกระดับคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนของบัณฑิตมืออาชีพให้มีสมรรถนะ วิชาชีพตามมาตรฐานอาเซียน/สากล 2. พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการกับสมาคมวิชาชีพ/สถานประกอบการ 3. สร้างอัตลักษณ์ของบัณฑิตให้มีความชัดเจนและวัดสัมฤทธิผลได้ กลยุทธ์ 2. การนามหาวิทยาลัยสู่ประชาคมอาเซียนและการเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มาตรการ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงานในระดับนานาชาติ 2. เตรียมความพร้อมเพื่อการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาระดับนานาชาติ กลยุทธ์ 3. การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาที่สะท้อนอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

19


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

มาตรการ 1. พัฒนาคุณภาพพื้นฐานของผู้เรียน 2. พัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะ Soft Skill ตรงตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย 3. สร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยและศิษย์เก่า กลยุทธ์ 4. การพัฒนางานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ มาตรการ 1. พัฒนานักวิจัย/บุคลากรวิจัยที่มีศักยภาพเพื่อการแข่งขันในเวทีโลก 2. พัฒนางานวิจัยที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของสังคม 3. พัฒนาเครือข่ายวิจัยระดับชาติและนานาชาติ กลยุทธ์ 5. การพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพและมีคุณค่าของมหาวิทยาลัย มาตรการ 1. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคล 2. พัฒนาอาจารย์ทางด้านวิชาการ/วิชาชีพ 3. พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 4. นาการจัดการความรู้มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากร 5. พัฒนารูปแบบการทางานที่มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี 6. สร้างหลักประกันความมั่นคงในการทางาน กลยุทธ์ 6. การเตรียมความพร้อมในการเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มาตรการ 1. สร้างความพร้อมของบุคลากร 2. เตรียมความพร้อมด้านกฎหมาย/ระเบียบ 3. เพิ่มรายได้ของมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับการพึ่งพาตนเอง กลยุทธ์ 7. การบริหารจัดการสู่องค์กรคุณภาพและมีธรรมาภิบาล มาตรการ 1. บริหารจัดการ มทร.พระนคร เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่มีคุณภาพและธรรมาภิบาล 2. ยกระดับชื่อเสียงของ มทร.พระนคร 20


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

3. สร้างรายได้ด้วยการบริหารทรัพย์สินทางกายภาพและทรัพย์สินทางปัญญา 4. การเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม 5. สร้างความเป็นสากลทางด้านกายภาพที่มีความเหมาะสมทางด้านภาพลักษณ์และ ความงาม 6. ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้เกณฑ์การประเมินพื้นฐานของ สกอ. สมศ และ กพร. 7. บริหารการเงินของ มทร.พระนคร ให้เกิดความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 8. การบริการวิชาการที่มีศักยภาพในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน มาตรการ 1. พัฒนางานบริการวิชาการที่สร้างมูลค่าเพิ่มและพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน 2. สร้างชุมชน/หมู่บ้านต้นแบบ มทร.พระนคร 3. พัฒนาระบบบริหารงานบริการวิชาการที่มีประสิทธิภาพ 4. สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการวิชาการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ 9. การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมที่เป็นภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาของโลก มาตรการ 1. อนุรักษ์สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมไทย 2. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืนตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ

21



ผังยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชั่น

ผู้นาการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่มาตรฐานสากล

วิสัยทัศน์ นโยบายสภามหาวิทยาลัย

นโยบายรัฐบาล

ด้านการเรียนการสอน

นโยบายที่ 7 การส่งเสริ ม บทบาท และการใช้ โ อกาสใน ประชาคมอาเซี ยน

- มหาวิทยาลัยต้องผลิตผู้สาเร็จการศึกษาด้าน

-

นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรี ยนรู้ การทะนุ บารุ งศาสนา ศิล ปะและวัฒนธรรม

-

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และผู้สาเร็จการ ศึกษาด้านสังคมศาสตร์ให้ได้สัดส่วนตามแผน คือ 70:30 โดยค่อยๆ ลดการผลิตบัณฑิตด้าน สังคมศาสตร์ลงและผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีให้มากขึ้นในแต่ละปี พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการ ของสังคมและชุมชน พัฒนานักศึกษา และบัณฑิตให้เป็นทรัพยากร มนุษย์ที่มีคุณค่า และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สร้างความเข้มแข็งทางด้านวิชาชีพเฉพาะทาง พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ทั้งในด้านคุณวุฒิ และตาแหน่งทางวิชาการ พัฒนาการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเชิงรุก เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน และ ประเทศอาเซียน + 6 (CEPEA)

ด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคม - ต้องให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและพัฒนาอาชีพ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

พั น ธกิ จ (5 พั น ธกิ จ )

1. จัดการศึกษาที่ มุ่งเน้นวิชาชีพบน พื้นฐาน วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ที่มี คุณภาพ ตาม มาตรฐานสากล

3. บริหารจัดการ องค์กรด้วยหลัก ธรรมาภิบาล 4. ให้บริการวิชาการ แก่สังคม เพื่อสร้าง และพัฒนาอาชีพ โดยยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

ด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม - มหาวิทยาลัยต้องสนับสนุนและสืบสานงานทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม

นโยบายที่ 8 การพัฒนาและส่ งเสริ ม การใช้ประโยชน์ จากวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจั ยและพั ฒนา และนวัต กรรม

5. ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมและ รักษาสิ่งแวดล้อม

ด้านวิจัยสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม - มหาวิทยาลัยต้องพัฒนางานวิจัย / นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์เชิงบูรณาการ เพื่อประโยชน์ เชิงพาณิชย์ที่ได้มาตรฐาน เพื่อการแข่งขัน ระดับชาติและระดับนานาชาติ และให้เป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา และถือเป็นภารกิจที่ต้องให้ความสาคัญ - มหาวิทยาลัยต้องจัดให้มีการเผยแพร่ และถ่าย ทอดองค์ความรู้จากการวิจยั สู่ความเป็นเลิศ

2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อ ถ่ายทอดและสร้าง มูลค่าเพิม่ ให้แก่ ภาคการผลิตและ ภาคบริการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ (5 ประเด็ น ฯ)

1. การพัฒนา ความเข้มแข็งใน การจัดการศึกษา ให้บัณฑิตมี คุณภาพตาม มาตรฐาน พร้อม เข้าสู่ประชาคม อาเซียน 3. การสร้างความ เข้มแข็งของการ บริหารจัดการและ พัฒนาคุณภาพ การศึกษา สู่ความ เป็นเลิศ 4. การส่งเสริม การให้บริการ วิชาการและ การพัฒนาอาชีพ 5. การส่งเสริมการ ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม และ รักษาสิ่งแวดล้อมให้ คงอยู่อย่างมั่นคงเพื่อ สร้างคุณค่าทางสังคม และเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจ

2. การพัฒนาความ เข้มแข็งงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ มีคุณภาพเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถใน การแข่งขันของ ประเทศ

เป้ า ประสงค์ (7 เป้าประสงค์)

1.1 จัดการศึกษาด้าน วิชาชีพและเทคโนโลยีที่ สามารถแข่งขันได้ใน ระดับอาเซียน/นานาชาติ 1.2 ผลิตบัณฑิตให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีทักษะ ในการดารงชีวิตที่ดี 3.1 มีระบบบริหาร จัดการที่คล่องตัว ยืดหยุ่น และมีประสิทธิภาพ 3.2 มีระบบประกัน คุณภาพสู่ความเป็นเลิศ ทางการศึกษา 4.1 เป็นแหล่งให้บริการ วิชาการวิชาชีพที่ได้ มาตรฐานเป็น ที่ยอมรับของสังคม 5.1 สร้างจิตสานึกและ สร้างค่านิยมให้เกิดความรัก ในศิลปวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น และรักษาสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน 2.1 จานวนผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ได้ มาตรฐาน มีคุณภาพ และนาไปต่อยอดได้

กลยุ ท ธ์ (9 กลยุ ท ธ์ ) 65 1. การพัฒนาการจัดการศึกษาทีเ่ น้น ความเป็นเลิศทางวิชาการและความ เชี่ยวชาญในวิชาชีพ 2. การนามหาวิทยาลัยสู่ประชาคม อาเซียนและการเป็นที่ยอมรับใน ระดับนานาชาติ 3. การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาที่ สะท้อนอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

5. การพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เป็น ทรัพยากรบุคคลที่มีคณ ุ ภาพและ มีคุณค่าของมหาวิทยาลัย 6. การเตรียมความพร้อมในการเป็น มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ

7. การบริหารจัดการสู่องค์กรคุณภาพ และมีธรรมาภิบาล

8. การบริการวิชาการที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

มาตรการ (43 มาตรการ) 1. ยกระดับคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนของบัณฑิตมืออาชีพให้มีสมรรถนะวิชาชีพ ตามมาตรฐานอาเซียน/สากล 2. พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการกับสมาคมวิชาชีพ/สถานประกอบการ 3. สร้างอัตลักษณ์ของบัณฑิตให้มีความชัดเจนและวัดสัมฤทธิผลได้ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงานในระดับนานาชาติ 2. เตรียมความพร้อมเพื่อการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาระดับนานาชาติ 1. พัฒนาคุณภาพพื้นฐานของผู้เรียน 2. พัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะ Soft Skill ตรงตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย 3. สร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยและศิษย์เก่า 1. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคล 2. พัฒนาอาจารย์ทางด้านวิชาการ/วิชาชีพ 3. พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 4. นาการจัดการความรู้มาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากร 5. พัฒนารูปแบบการทางานที่มวี ัฒนธรรมองค์กรที่ดี 6. สร้างหลักประกันความมั่นคงในการทางาน 7. พัฒนาระบบสวัสดิการ และสร้างความสุขในการทางาน 1. สร้างความพร้อมของบุคลากร 2. เตรียมความพร้อมด้านกฎหมาย/ระเบียบ 3. เพิ่มรายได้ของมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับการพึ่งพาตนเอง 1. บริหารจัดการ มทร.พระนคร เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่มีคุณภาพและธรรมาภิบาล 2. ยกระดับชื่อเสียงของ มทร.พระนคร 3. สร้างรายได้ด้วยการบริหารทรัพย์สินทางกายภาพและทรัพย์สินทางปัญญา 4. การเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม 5. สร้างความเป็นสากลทางด้านกายภาพที่มีความเหมาะสมทางด้านภาพลักษณ์และความงาม 6. ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้เกณฑ์การประเมินพื้นฐานของสกอ. สมศ และ กพร. 7. บริหารการเงินของ มทร.พระนคร ให้เกิดความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ

1. พัฒนางานบริการวิชาการที่สร้างมูลค่าเพิ่มและพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน 2. สร้างชุมชน/หมู่บ้านต้นแบบ มทร.พระนคร 3. พัฒนาระบบบริหารงานบริการวิชาการที่มีประสิทธิภาพ 4. สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการวิชาการแบบบูรณาการ

9. การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อมที่เป็นภูมิปัญญาไทย และภูมิปญ ั ญาของโลก

1. อนุรักษ์สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมไทย 2. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืนตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ

4. การพัฒนางานวิจัยเชิงสร้างสรรค์

1. พัฒนานักวิจัย/บุคลากรวิจยั ที่มีศักยภาพเพื่อการแข่งขันในเวทีโลก 2. พัฒนางานวิจยั ที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของสังคม 3. พัฒนาเครือข่ายวิจัยระดับชาติและนานาชาติ



การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) โอกาส (Opportunities)

จุดแข็ง (Strengths)

1. การขยายตัวทางเศรษฐกิจทาให้เกิดความต้องการบุคลากร ที่มีความรู้และทักษะในวิชาชีพและบัณฑิตนักปฏิบัติ 2. นโยบายภาครัฐสนับสนุนด้านการบริหารจัดการอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทาให้การทางานคล่องตัว 3. รัฐมีนโยบายสนับสนุนระบบให้ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา เป็นการสร้างโอกาสทางการศึกษาที่มากขึ้น 4. เป็นมหาวิทยาลัยทางเลือกสาหรับนักศึกษาเพื่อมุง่ สู่วิชาชีพ 5. โครงสร้างประชากร เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยสามารถ จัดการศึกษาได้หลากหลาย

1. มุ่งเน้นการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 2. จัดการศึกษาด้านวิชาชีพเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ 3. บุคลากรมีสมรรถนะตรงตามสาขาวิชาชีพ เป็นที่ยอมรับของสังคม 4. ได้รับการรับรองการประเมินมาตรฐานในระดับสูงของสถานศึกษา 5. มีวัฒนธรรมองค์กรที่เข็มแข็ง 6. บัณฑิตมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน 7. มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นด้านวิชาชีพทีส่ ามารถให้บริการวิชาการแก่ สังคม

ปณิธาน

ยุทธศาสตร์การพัฒนา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น วิสัยทัศน์ (VISION) “เป็ น ผู้ นาการจั ด การศึ ก ษาด้ า นสิ่ ง ทอและแฟชั่ น สู่ ม าตรฐานสากล”

ปรัชญา

มุ่งมั่น เป็นผู้นาการจัดการศึกษาด้านวิชาชีพ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการ พัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพ คู่คุณธรรม สู่มาตรฐานสากล ค่านิยมหลัก “เชื่อมั่นในทีมงาน บริหารด้วยความโปร่งใส ร่วมใจพัฒนา เน้นคุณค่าของคน”

สร้ า งคนสู้ ง าน เชี่ ย วชาญเทคโนโลยี สร้ างคนดี สู่ โ ลกอาชี พ

เป้าหมายสูงสุด

อุปสรรค (Threats)

จุดอ่อน (Weaknesses)

เป้ า หมายการดาเนิ น งาน (Target)

1. ต้นทุนการจัดการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูง 2. นโยบายการปรับลดงบประมาณและอัตรากาลัง ทาให้ การดาเนินงานของคณะฯ เป็นไปได้ช้า 3. การเปิดการศึกษาเสรี ทาให้คณะ มีคู่แข่งมากขึ้น 4. โครงสร้างประชากรส่งผลให้ประชากรวัยเรียนลดลง 5. ค่านิยมในการศึกษาต่อของประชากรวัยเรียนและผู้ปกครอง เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสังคม

1. สัดส่วนคุณวุฒิและตาแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. อาจารย์ผู้สอนต้องปฏิบัติหน้าที่ในงานสนับสนุน ทาให้เกิดผล กระทบต่อการทางานทางวิชาการและงานวิจัย 3. การบริหารจัดการระบบสารสนเทศยังไม่มีประสิทธิภาพ เท่าที่ควร 4. ผู้บริหารและบุคลากรบางส่วนขาดแนวคิดเชิงรุก และ กระบวนทัศน์ใหม่ในการแก้ปัญหา 5. สถานที่จากัด ทาให้การขยายตัวเป็นไปได้ยาก 6. ความร่วมมืองานวิจัยกับหน่วยงานภายนอกมีปริมาณน้อย 7. งานบริการวิชาการแก่สังคมขาดแหล่งเงินทุนสนับสนุนจาก หน่วยงานภายนอก 8. ระบบการบริหารจัดการด้านจัดหารายได้ที่ไม่ชัดเจน

ภารกิจที่ต้องดาเนินการ (Mission)

เป้าประสงค์ (Goal)

1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานสากล สามารถสร้างบัณฑิตพร้อมเข้าสู่โลกอาชีพ 2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อถ่ายทอดและ สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ภาคการผลิต ภาคบริการ และชุมชน 3. ให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อการสร้างอาชีพอิสระและ การพัฒนาอาชีพโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรด้วยหลักธรรมาภิบาล

1. เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี เชิงบูรณาการที่เข้มแข็งและได้มาตรฐานสากล 2. สร้างคนคุณภาพสู่โลกอาชีพ (สร้างคนเก่งและคนดีที่มีทักษะวิชาชีพ) 3. การบริหารจัดการโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 4. ให้บริการวิชาการแก่สังคมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5. เป็นแหล่งทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 6. สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงบูรณาการเพื่อการแข่งขัน ในระดับชาติและนานาชาติ

1. นั ก ศึ ก ษาด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ต่ อ ด้ า นสั ง คมศาสตร์ ใ นสั ด ส่ ว น 100:0 ในปี 2565 2. สร้ า งหลั ก สู ต รบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 15 ของหลั ก สู ต รทั้ ง หมดภายในปี 2565 มุ่งมั่นเป็นผู้นาการจัดการศึกษา 3. นา งานวิ จั ย / สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ / นวั ต กรรม และระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ ทั น สมั ย มาใช้ ใ นการจั ด การเรี ย นการสอนทุ ก หลั ก สู ต รภายในปี 2565 ด้านสิ่งทอและแฟชั่น 4. ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการทั้ ง ในและต่ า งประเทศทุ ก สาขาวิ ช าภายในปี 2565 5. มี ง านบริ ก ารวิ ช าการ/วิ ช าชี พ เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และสั ง คม รวมทั้ ง ถ่ า ยทอดความรู้ แ ละเทคโนโลยี สู่ ชุ ม ชน อย่ า งน้ อ ย 3 อาชี พ 3 ชุ ม ชน ต่ อ ปี คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ RMUTP 6. การอนุ รั ก ษ์ สื บ สาน บู ร ณาการ สร้ า งสรรค์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย และสิ่ ง แวดล้ อ มที่ โ ดดเด่ น จานวน 3 โครงการต่ อ ปี 7. พั ฒ นาคุ ณ วุ ฒิ อ าจารย์ ใ นสั ด ส่ ว นปริ ญ ญาตรี : โท:เอก เท่ า กั บ 0:85:15 ภายในปี 2565 8. ตาแหน่ ง ทางวิ ช าการสั ด ส่ ว น อ:ผศ.:รศ.:ศ เท่ า กั บ 10:85:5:0 ภายในปี 2565 9. สั ด ส่ ว นนั ก ศึ ก ษา ป.ตรี : ป.โท:ป.เอก เท่ า กั บ 90:10:0 ภายในปี 2565 10. มี ก ารแลกเปลี่ ย นอาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษากั บ สถาบั น การศึ ก ษาในต่ า งประเทศทุ ก สาขาวิ ช าภายในปี 2556 11. ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ มี คุ ณ ภาพถึ ง พร้ อ มด้ ว ยคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มี ค วามเชี่ ย วชาญในวิ ช าชี พ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการและความ พึ ง พอใจของสั ง คม บัณฑิต 12. พั ฒ นาอาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาโดยความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการและวิ ช าชี พ กั บ สถานประกอบการทั้ ง ในและ/หรื อ ต่ า งประเทศทุ ก สาขาวิ ช า “ราชมงคล 13. อาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษามี ผ ลงานที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ระดั บ ชาติ ห รื อ ระดั บ นานาชาติ อ ย่ า งน้ อ ย 1 ความคิดเชิงสร้างสรรค์ รางวั ล ต่ อ ปี ทักษะในการประกอบอาชีพ 14. สร้ า งศู น ย์ อ งค์ ค วามรู้ / นวั ต กรรมเพื่ อ พั ฒ นาวงการวิ ช าชี พ 15. สั ด ส่ ว นงานวิ จั ย ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี : สร้ า งองค์ ค วามรู้ เท่ า กั บ 70:30 ภายในปี 2565 ใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย 16. งานวิ จั ย /สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ / นวั ต กรรม ได้ รั บ การจดทะเบี ย นทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาหรื อ สิ ท ธิ บั ต ร ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 2 ทักษะในการสื่อสาร ของงานวิ จั ย ฯทั้ ง หมดภายในปี 2565 17. งานวิ จั ย /สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ / นวั ต กรรม เผยแพร่ ห รื อ ถ่ า ยทอด ในระดั บ ชาติ แ ละ/หรื อ นานาชาติ ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 50 วุฒิภาวะทางสังคม ของงานวิ จั ย ฯทั้ ง หมดภายในปี 2565 ทักษะด้านวิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี 18. นางานวิ จั ย /สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ / นวั ต กรรม ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นเชิ ง สั ง คมหรื อ ในเชิ ง พาณิ ช ย์ ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 5 ของ งานวิ จั ย ฯทั้ ง หมดภายในปี 2565

(Ultimate Goal)

สิ งหาคม 2558

23


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาให้บัณฑิตมีคุณภาพตาม มาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าประสงค์ 1.1 จัดการศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีที่สามารถแข่งขันได้ในระดับอาเซียน/นานาชาติ 1.2 ผลิตบัณฑิตให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีทักษะในการดารงชีวิต ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย 1. ด้านการจัดการเรียนการสอน (20 ตัวชี้วัด) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา) ลาดับ

ตัวชี้วัดความสาเร็จ

หน่วย นับ

2557

2558

2559 2560

2561

1

จานวนหลักสูตรใหม่/หลักสูตรนานาชาติที่ตรงกับ ความต้องการ ทันสมัยและพัฒนาร่วมกับสถาน ประกอบการ มีสมรรถนะวิชาชีพตามมาตรฐาน อาเซียน/สากล

หลักสูตร

-

-

-

-

-

2

ร้อยละของจานวนหลักสูตรที่ต้องทา Mini Project ในแต่ละปีการศึกษา

ร้อยละ

55

60

65

70

70

3

จานวนหลักสูตร/สาขาวิชาในระดับปริญญาโท/ ปริญญาเอกเพิ่มขึ้น

4

สัดส่วนนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อ สายสังคมศาสตร์

หลักสูตร 1 / สาขาวิชา คน 567:0 581:00 600:0 651:0 666:00 0:00 :00 0:00 0:00 :00

5

จานวนกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมพัฒนาเพื่อ กิจกรรม สร้างองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในด้านอัตลักษณ์ โดยเฉพาะด้านนักปฏิบัติด้านวิจัยที่เกิดจากเครือข่าย ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ วิทยาลัย จานวนวิทยาลัย/ศูนย์ส่งเสริมอัตลักษณ์บัณฑิต /ศูนย์ มหาวิทยาลัยฯ

6

1

1

1

1

1

-

-

-

-

-

24


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย (ต่อ) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา) ลาดับ 7

ตัวชี้วัดความสาเร็จ ผลการประเมินการบริหารหลักสูตรโดยรวม ของมหาวิทยาลัย

หน่วยนับ 2557 2558 2559 2560

2561

คะแนน

4.51

3.55

3.6

76

77

78

79

80

ตามแผน จานวน หลักสูตร

-

1

1

1

1

ร้อยละ

80

85

90

95

98

11 ร้อยละของนักศึกษาสอบผ่านเกณฑ์และได้รับ ใบประกอบวิชาชีพต่อจานวนนักศึกษาที่ สมัครเข้ารับการทดสอบ

ร้อยละ

-

-

-

-

-

12 บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

ร้อยละ

80

82

84

85

85

13 ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อ บัณฑิต 14 ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมผ่าน ตามเกณฑ์ระบบการวัดทรานสคริปกิจกรรม ต่อนักศึกษาทั้งหมดที่เข้าระบบทรานสคริป กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯ

ร้อยละ

83

84

85

85

85

ร้อยละ

60

70

80

90

90

15 จานวนกิจกรรมความร่วมมือ/ความสัมพันธ์ ระหว่างศิษย์เก่ากับมหาวิทยาลัยฯ

กิจกรรม

1

1

1

1

1

16 จานวนผลงานของนักศึกษาได้รับรางวัลใน ระดับชาติ/นานาชาติ

เรื่อง/ รางวัล

1

1

1

1

1

8

ร้อยละ ร้อยละความสาเร็จตามแผนพัฒนาโครงสร้าง ความสาเร็จ พื้นฐานทางการศึกษา

9

จัดทามาตรฐานสมรรถนะบัณฑิตตามอัต ลักษณ์ของมหาวิทยาลัย 10 ร้อยละนักศึกษาที่ผ่านการปฏิบัติงานใน ทักษะวิชาชีพเทียบกับสมรรถนะวิชาชีพ

4

4.3

25


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย (ต่อ) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา) ลาดับ

ตัวชี้วัดความสาเร็จ

หน่วยนับ 2557 2558 2559 2560

2561

ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการที่สอบผ่าน เกณฑ์ทดสอบภาษาอังกฤษเทียบกับผู้เข้า สอบทั้งหมด 18 ร้อยละของนักศึกษาต่างชาติเพิ่มขึ้น

ร้อยละ

70

19 การแลกเปลี่ยนอาจารย์/นักวิชาการ/ นักศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ การวิจัย 20 ร้อยละของจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน เรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานที่สอบผ่าน เกณฑ์การทดสอบความรู้ความสามารถ ทางด้านภาษาอังกฤษ

17

50

55

60

65

ร้อยละ

-

-

-

-

-

หน่วยงาน

1

1

1

1

1

ร้อยละ

50

55

60

60

60

26


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาความเข้มแข็งงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าประสงค์ 2.1 จานวนและผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพและนาไปต่อยอดได้ ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย 2. ด้านการวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม (8 ตัวชี้วัด) ลาดับ

ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา)

ตัวชี้วัดความสาเร็จ หน่วยนับ จานวนงานวิจัย

1

ผลงานวิจัยแบบมุ่งเป้า

2

จานวนเงินสนับสนุนวิจัยต่ออาจารย์และนักวิจัย ทั้งหมด ร้อยละของผลงานทางวิชาการ/ผลงานวิจัย/ สิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรม/งานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ต่อปีต่ออาจารย์ประจา ร้อยละของผลงานทางวิชาการ/ผลงานวิจัย/ สิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรม/งานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ ประโยชน์ต่ออาจารย์ประจา

บาทต่อคน

ผลงานวิจัย/นวัตกรรม/งานสร้างสรรค์ ได้รับ รางวัลระดับชาติ/นานาชาติ หรือจดทะเบียน ทรัพย์สินทางปัญญา จานวนโครงการส่งเสริมงานวิจัย/สิ่งประดิษฐ์/ นวัตกรรมของนักศึกษาที่ได้รับการสนับสนุน งบประมาณ จานวนชุมชนและ/หรือภาคอุตสาหกรรมและ/ หรือสถานประกอบการที่มีความร่วมมือด้านวิจัย

3

4

5

6

7

2557 2558 2559 2560 2561 -

1

1

1

1

12,000 36,000 42,000 48,000 60,000

ร้อยละ

10

12

15

15

20

ร้อยละ

50

50

55

60

65

ผลงาน

-

-

-

-

-

โครงการ

45

50

55

60

65

จานวนชุมชน/ ภาค อุตสาหกรรม/ สถาน ประกอบการ

-

1

1

2

2

27


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย 2. ด้านการวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม (8 ตัวชี้วัด) (ต่อ) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา) ลาดับ

ตัวชี้วัดความสาเร็จ หน่วยนับ

8

จานวนผลงานงานวิจัย/สิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ที่เกิดจากความร่วมมือของ ชุมชน และ/หรือภาคอุตสาหกรรม และ/หรือ สถานประกอบการ

ผลงาน

2557 2558 2559 2560 2561 -

-

1

1

1

28


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาความเข้มแข็งของการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เป้าประสงค์ 1.3 มีระบบบริหารจัดการที่คล่องตัว ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ 1.4 มีระบบประกันคุณภาพสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษา ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย 3. ด้านการบริหารจัดการ (16 ตัวชี้วัด) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา)

ลาดับ

ตัวชี้วัดความสาเร็จ

1

คณบดี ผู้อานวยการสถาบัน/สานัก ผ่านเกณฑ์ การประเมินร้อยละ 80ของเกณฑ์การประเมินผล การปฏิบัติงานโดยกรรมการที่สภามหาวิทยาลัย แต่งตั้ง

ร้อยละ

80

80

80

80

80

2

ร้อยละของเงินรายได้ที่เกิดจากการบริหาร ทรัพย์สินต่องบประมาณรายได้ประจาปี

ร้อยละ

0.2

0.4

0.6

0.8

1

3

ร้อยละความสาเร็จตามแผนพัฒนาและปรับปรุง สภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เป็นไปอย่าง เหมาะสมที่มีการประเมินและนามาทบทวนทุกปี ที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ ตาม กระบวนการพัฒนาแผน ร้อยละความสาเร็จตามแผนปฏิบัติการการ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการ บริการการศึกษา

ร้อยละ ความสาเร็จ ตามแผน

70

73

76

79

82

ร้อยละ ความสาเร็จ ตามแผน

76

77

78

79

80

5

ร้อยละความสาเร็จตามแผนปฏิบัติการการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไอซีที

76

77

78

79

80

6

ร้อยละความสาเร็จตามแผนปฏิบัติการการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไอซีที

ร้อยละ ความสาเร็จ ตามแผน ร้อยละ ความสาเร็จ ตามแผน

50

50

50

50

60

4

หน่วยนับ 2557 2558 2559 2560 2561

29


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย (ต่อ) 3. ด้านการบริหารจัดการ (16 ตัวชี้วัด) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา) ลาดับ

ตัวชี้วัดความสาเร็จ

หน่วยนับ 2557 2558 2559 2560 2561

70

72

74

76

78

8

ร้อยละ ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัยต่อการให้บริการของบุคลากร ร้อยละของอาจารย์ประจาคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ

20

20

25

25

25

9

ร้อยละของอาจารย์ประจาคณะที่ดารงตาแหน่งทาง วิชาการ 10 มีแผนพัฒนาการรับอาจารย์ใหม่ที่มาจากผู้มี ประสบการณ์วิชาชีพ/ผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ โดยเพิ่ม ค่าตอบแทนพิเศษ 11 ร้อยละของอาจารย์ประจาของคณะที่เข้าไปฝังตัวใน สถานประกอบการหรือหน่วยงานวิจัยภายนอก 12 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่ ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

ร้อยละ

25

30

35

40

45

คณะ

-

-

1

2

3

ร้อยละ

1

1

1

1

1

ร้อยละ

10

10

10

10

10

13 ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการสร้าง เสริมสมรรถนะด้านวิชาชีพการบริหารจัดการและ ทักษะตามสายงาน

ร้อยละ

90

90

90

90

90

14 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารของ มหาวิทยาลัยฯ

ร้อยละ

70

70

75

75

80

15 มีกิจกรรมที่ส่งเสริมการนาการจัดการความรู้/การ สร้างนวัตกรรม/การพัฒนาระบบงาน มาใช้ในการ พัฒนาบุคลากร

กิจกรรม ต่อ หน่วยงาน

2

2

3

3

4

16 ร้อยละความสาเร็จของการเตรียมความพร้อมในการ เป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ

ร้อยละ

-

-

70

75

80

7

30


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมการให้บริการวิชาการและการพัฒนาอาชีพ เป้าประสงค์ 4.1 เป็นแหล่งให้บริการวิชาการวิชาชีพที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของสังคม ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย 4. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม (5 ตัวชี้วัด) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา) ลาดับ

ตัวชี้วัดความสาเร็จ

1

จานวนการให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ ต่อสังคม

โครงการ

5

5

5

5

5

2

จานวนเงินรายได้ที่เกิดจากการให้บริการ วิชาการ

ล้านบาท

1

1

1

1

1

3

จานวนหมู่บ้าน/ชุมชนที่ได้รับการยกระดับ คุณภาพชีวิต

หมู่บ้าน/ ชุมชน

1

1

1

1

1

4

เครือข่ายการให้บริการวิชาการ

เครือข่าย

-

1

1

2

2

5

จานวนผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลาง/ขนาด จานวน ย่อมที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ

1

1

1

1

1

หน่วยนับ

2557 2558 2559 2560 2561

31


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ อย่างมั่นคงเพื่อสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ เป้าประสงค์ 1.1 สร้างจิตสานึกและสร้างค่านิยมให้เกิดความรักในศิลปวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัดความสาเร็จและค่าเป้าหมาย 5. ด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม (5 ตัวชี้วัด) ค่าเป้าหมาย (ปีการศึกษา) ลาดับ 1

ตัวชี้วัดความสาเร็จ

หน่วยนับ 2557 2558 2559 2560 2561

จานวนโครงการศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับ โครงการ ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชนใน ระดับชาติ/อาเซียน/นานาชาติ จานวนผู้สืบทอดผลงานศิลปวัฒนธรรมในคลัง จานวน ปัญญาของมหาวิทยาลัย คน

1

1

1

1

1

-

1

1

1

1

3

ผลงานการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมที่มีการ เผยแพร่ในระดับชาติ/นานาชาติ

เรื่อง

-

1

1

1

1

4

จานวนผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือ นานาชาติ

ผลงาน

-

1

1

1

1

5

จานวนโครงการสนองงานในโครงการ โครงการ/ พระราชดาริ/โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช/ กิจกรรม โครงการภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1

1

1

1

1

2

32


ส่วนที่ 4 การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ และการติดตาม ประเมินผล


แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561

ส่วนที่ 4 การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ และการติดตาม ประเมินผล คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระ นคร มุ่งเน้นการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผล เพื่อให้การ บริหารจัดการคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการพัฒนา แผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน รวมทั้งสอดคล้องกับกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ และพัฒนา ไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจาปีตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งชี้ และเป้าหมายของแผนกลยุทธ์ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จะเป็นคู่มือที่ สาคัญในการเป็นแผนงานเพื่อให้คณะดาเนินงานเป็นไปตามค่าเป้าหมายตัวชี้วัดที่ได้วางไว้ รวมถึงการ กาหนดโครงการ/กิจกรรม ที่มีความสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์จานวน 9 กลยุทธ์ ที่มีความเชื่อมโยง กับมาตรการต่าง ๆ ที่วางไว้ จานวน 34 มาตรการ อันเป็นแนวทางที่สาคัญในการจัดทาคาเสนอขอ งบประมาณประจาปี เพื่อเป็นแผนและแนวทางในการดาเนินงานในแต่ละปีงบประมาณ รวมถึงการ วางแผนการใช้เงินในแต่ละปีงบประมาณ ด้านการติดตามและประเมินผลคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จะทาการ ติ ด ตามและประเมิ น ผลทั้ ง ในด้ า นการด าเนิ น งานภายใต้ ง บประมาณที่ ไ ด้ รั บ จั ด สรร และการ ดาเนินงานภายใต้ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดที่วางไว้ ซึ่งจะควบคุมทั้งด้านการบริหารโครงการและการใช้ จ่ายเงินให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ และการกากับติดตามการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ โดยจะมีการติดตามรายไตรมาส และการติดตามประเมินผลค่าเป้าหมายตัวชี้วัดในรอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน เพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานและระดับความสาเร็จในการบริหารจัดการให้ เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

34


ภาคผนวก


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาให้บัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าประสงค์ที่ 1.1 จัดการศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีทสี่ ามารถแข่งขันได้ในระดับอาเซียน/นานาชาติ เป้าประสงค์ที่ 1.2 ผลิตบัณฑิตให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีทักษะในการดารงชีวิตทีด่ ี กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาการจัดการศึกษาทีเ่ น้นความเป็นเลิศทางวิชาการและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย

เงินรายได้ -

รายจ่าย เงินรายได้

รายจ่าย

680,000

200,000

1,020,000

เงินรายได้

รวมทัง้ สิ้น

680,000

-

1 โครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษา

500,000

-

600,000

-

600,000

-

100,000

-

-

-

100,000

-

80,000

-

80,000

-

80,000

-

รายจ่าย

เงินรายได้

920,000 600,000

-

รายจ่าย

ผู้รับผิดชอบ

เงินรายได้

1,040,000

-

-

600,000

-

สานักงานคณบดี

-

120,000

-

สานักงานคณบดี

-

80,000

-

สาขาผลิตภัณฑ์

ด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 2 โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพทางสิ่งทอและแฟชั่น 3 โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานในสถานประกอบการ

80,000

ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 4 โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานในสถานประกอบการ

สิ่งทอ

-

-

-

-

80,000

-

80,000

-

80,000

-

ด้านการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 5 โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานในสถานประกอบการ

แฟชั่นและสิ่งทอ

-

-

-

-

80,000

-

80,000

-

80,000

-

ด้านเทคโนโลยีเสื้อผ้า 6 โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานในสถานประกอบการ

และออกแบบแฟชั่น

สาขาเทคโนโลยี เสื้อผ้า

-

-

-

-

80,000

-

80,000

-

80,000

-

ด้านเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ 7 โครงการพัฒนาหลักสูตรคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ

สาขาออกแบบ

สาขาเทคโนโลยี เคมีสิ่งทอ

-

-

-

200,000 -

-

-

-

-

สานักงานคณบดี


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาให้บัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าประสงค์ที่ 1.1 จัดการศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีทสี่ ามารถแข่งขันได้ในระดับอาเซียน/นานาชาติ เป้าประสงค์ที่ 1.2 ผลิตบัณฑิตให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีทักษะในการดารงชีวิตทีด่ ี กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาการจัดการศึกษาทีเ่ น้นความเป็นเลิศทางวิชาการและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิ้น 8 โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา

เงินรายได้

-

รายจ่าย เงินรายได้

-

-

-

-

-

-

-

-

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

-

25,000

120,000

30,000

25,000

-

30,000

20,000 20,000

-

รายจ่าย 150,000 -

ผู้รับผิดชอบ

เงินรายได้ 30,000 30,000

สานักงานคณบดี

สหกิจ 9 โครงการการบูรณาการการเรียนการสอนของนักศึกษา 4 สาขาวิชา เพือ่ สร้างนวัตกรรมทางวิชาชีพ

-

-

120,000

-

150,000

-

สานักงานคณบดี


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาให้บัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าประสงค์ที่ 1.1 จัดการศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีทสี่ ามารถแข่งขันได้ในระดับอาเซียน/นานาชาติ เป้าประสงค์ที่ 1.2 ผลิตบัณฑิตให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีทักษะในการดารงชีวิตทีด่ ี กลยุทธ์ที่ 2 การนามหาวิทยาลัยสู่ประชาคมอาเซียนและการเป็นทีย่ อมรับในระดับนานาชาติ ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิ้น 1 โครงการความร่วมมือ "การจัดการศึกษา

เงินรายได้

-

-

รายจ่าย

เงินรายได้

-

-

รายจ่าย 150,000

เงินรายได้ 80,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

150,000

120,000

350,000

150,000

-

200,000

ผู้รับผิดชอบ

เงินรายได้ 130,000 -

สานักงานคณบดี

ด้านสิ่งทอและแฟชั่นเพือ่ การพัฒนาสู่ AEC" 2 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร

-

40,000

-

40,000

ด้านเทคโนโลยีเสื้อผ้า 3 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร

เสื้อผ้า

-

-

-

-

-

40,000

-

-

-

50,000

ด้านเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ 4 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร

-

-

-

-

-

40,000

40,000

-

-

ด้านออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

สาขาออกแบบ แฟชั่นและสิ่งทอ

-

-

-

-

-

-

-

40,000

-

40,000

ด้านออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 6 โครงการสัมนาเครือข่ายอาจารย์ผู้สอน

สาขาเทคโนโลยี เคมีสิ่งทอ

ด้านออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 5 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร

สาขาเทคโนโลยี

สาขาออกแบบ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

-

-

-

-

150,000

-

-

-

150,000

-

สาขาออกแบบ แฟชั่นและสิ่งทอ


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาให้บัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าประสงค์ที่ 1.1 จัดการศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีทสี่ ามารถแข่งขันได้ในระดับอาเซียน/นานาชาติ เป้าประสงค์ที่ 1.2 ผลิตบัณฑิตให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีทักษะในการดารงชีวิตทีด่ ี กลยุทธ์ที่ 2 การนามหาวิทยาลัยสู่ประชาคมอาเซียนและการเป็นทีย่ อมรับในระดับนานาชาติ ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิ้น 7 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพือ่ ความร่วมมือทางวิชาการ กับสถานประกอบการในระดับนานาชาติ

เงินรายได้

-

รายจ่าย

-

เงินรายได้

-

รายจ่าย

-

เงินรายได้

-

รายจ่าย

-

เงินรายได้

-

-

รายจ่าย

ผู้รับผิดชอบ

เงินรายได้

200,000 200,000

-

สานักงานคณบดี


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาความเข้มแข็งงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทมี่ ีคุณภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าประสงค์ที่ 2.1 จานวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ทไี่ ด้มาตรฐาน มีคุณภาพและนาไปต่อยอดได้ กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนางานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิน้ 1

โครงการวิจัยเพือ่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี

2

โครงการนาเสนอผลงานทางวิชาการ

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

ผูร้ ับผิดชอบ

เงินรายได้

822,700

250,000

632,600

210,000

1,200,000

320,000

1,700,000

380,000

1,700,000

320,000

822,700

150,000

632,600

110,000

1,200,000

200,000

1,200,000

200,000

1,200,000

200,000

สาขาวิชา

100,000

-

100,000

-

100,000

-

100,000

-

100,000

สานักงานคณบดี

-

-

20,000

สานักงานคณบดี

-

ระดับชาติและนานาชาติ 3

โครงการแลกเปลีย่ นเรียนรูส้ าหรับงานวิจัย

-

-

-

-

-

20,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

ด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ 4

โครงการจัดตัง้ ศูนย์วจิ ัยและฝึกอบรม

500,000

-

500,000

-

สานักงานคณบดี

-

สานักงานคณบดี

ด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ 5

โครงการจัดทาวารสารด้านสิง่ ทอและแฟชัน่

-

80,000

-


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งของการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สู่ความเป็นเลิศ เป้าประสงค์ที่ 3.1 มีระบบบริหารจัดการทีค่ ล่องตัว ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 3.2 มีระบบประกันคุณภาพสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ 5 การพัฒนาบุคลากรเพือ่ ให้เป็นทรัพยากรบุคคลทีม่ ีคุณภาพและมีคุณค่าของมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิ้น

เงินรายได้

-

รายจ่าย

-

เงินรายได้

-

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

-

40,000

-

20,000

-

40,000

-

1 โครงการฝึกอบรมเพือ่ การพัฒนาตาแหน่งวิชาการ

-

-

-

-

-

2 โครงการฝึกอบรมเพือ่ การพัฒนางาน

-

-

-

-

-

ด้านการบริหารการศึกษาภายในสถาบันอุดมศึกษา

ผู้รับผิดชอบ

40,000 -

-

20,000

-

40,000 สานักงานคณบดี -

สานักงานคณบดี



งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งของการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สู่ความเป็นเลิศ เป้าประสงค์ที่ 3.1 มีระบบบริหารจัดการทีค่ ล่องตัว ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 3.2 มีระบบประกันคุณภาพสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ 6 การเตรียมความพร้อมในการเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิ้น 1 โครงการพัฒนาบุคลากรด้าน

เงินรายได้

รายจ่าย

520,000

-

เงินรายได้

รายจ่าย

448,000

-

-

520,000

-

400,000

-

-

-

-

48,000

-

เงินรายได้

รายจ่าย

450,000 450,000

-

เงินรายได้

รายจ่าย

510,000

-

-

450,000

-

-

60,000

-

ผู้รับผิดชอบ

เงินรายได้ 500,000 500,000 สานักงานคณบดี

สิ่งทอและแฟชั่น 2 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทบทวน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรม สิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

-

-

สานักงานคณบดี


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งของการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สูค่ วามเป็นเลิศ เป้าประสงค์ที่ 3.1 มีระบบบริหารจัดการทีค่ ล่องตัว ยืดหยุน่ และมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 3.2 มีระบบประกันคุณภาพสูค่ วามเป็นเลิศทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ 7 การบริหารจัดการสูอ่ งค์กรคุณภาพและมีธรรมาภิบาล ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิน้ 1 โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานการประกัน

-

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

รายจ่าย

เงินรายได้

-

40,000

-

45,000

-

45,000

6,235,300 40,000

-

-

-

-

-

-

รายจ่าย -

ผูร้ ับผิดชอบ

เงินรายได้ 50,000 -

สานักงานคณบดี

คุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอ และออกแบบแฟชัน่ 2 โครงการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา

-

-

-

40,000

-

45,000

-

45,000

-

50,000

1. ห้องปฏิบัติการทาต้นแบบแฟชัน่ และผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ

-

2,625,000

-

-

-

-

-

-

-

-

สานักงานคณบดี

2. พัฒนาบุคลากร

-

3,570,300

-

-

-

-

-

-

-

-

สานักงานคณบดี

สานักงานคณบดี

คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาตามยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยทคโนโลยีราชมงคล


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งของการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สูค่ วามเป็นเลิศ เป้าประสงค์ที่ 3.1 มีระบบบริหารจัดการทีค่ ล่องตัว ยืดหยุน่ และมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 3.2 มีระบบประกันคุณภาพสูค่ วามเป็นเลิศทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ 7 การบริหารจัดการสูอ่ งค์กรคุณภาพและมีธรรมาภิบาล ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิน้

116,000

เงินรายได้ 160,000

รายจ่าย

เงินรายได้

7,300,000

-

รายจ่าย

เงินรายได้

21,000,000

-

รายจ่าย

เงินรายได้

1,700,000

รายจ่าย

-

ผูร้ ับผิดชอบ

เงินรายได้

-

-

1 ปรับปรุงอาคารเรียน 2

-

-

-

-

10,000,000

-

-

-

-

-

สานักงานคณบดี

2 ปรับปรุงระบบไฟฟ้า คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอ

-

-

-

-

11,000,000

-

-

-

-

-

สานักงานคณบดี

116,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

สานักงานคณบดี

-

-

4,300,000

-

-

-

-

-

-

-

สานักงานคณบดี

-

-

3,000,000

-

-

-

-

-

-

-

และออกแบบแฟชัน่ 3 ปรับปรุงพืน้ ทีส่ าหรับติดตัง้ ตูไ้ ฟฟ้าแรงสูง 4 ปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคประจาอาคารเรียน 3 พร้อมภูมิทัศน์ 5 โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาสาขาเทคโนโลยี การออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ ปรับปรุงห้องปฏิบัติการพิมพ์ - ย้อม อาคารเรียน 1 6 ปรับปรุงสนามกีฬากลางแจ้ง

สานักงานคณบดี

-

-

-

-

-

1,700,000

-

-

-

สานักงานคณบดี

คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ครุภัณฑ์ 1 เครือ่ งอบผ้า

-

30,000

-

-

-

-

-

-

-

-

สาชาออกแบบผลิตภัณฑ์

2 เครือ่ งซักผ้า

-

30,000

-

-

-

-

-

-

-

-

สาชาออกแบบผลิตภัณฑ์

3 เครือ่ งถ่ายเอกสาร

-

100,000

-

-

-

-

-

-

-

-

สานักงานคณบดี


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมการให้บริการวิชาการและการพัฒนาอาชีพ เป้าประสงค์ที่ 4.1 เป็นแหล่งให้บริการวิชาการวิชาชีพทีไ่ ด้มาตรฐานเป็นทีย่ อมรับของสังคม กลยุทธ์ที่ 8 การบริการวิชาการทีม่ ีศักยภาพในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิ้น 1 โครงการฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาสินค้าหนึ่งตาบล

เงินรายได้

600,000 200,000

-

รายจ่าย

เงินรายได้

550,000 200,000

-

รายจ่าย

เงินรายได้

850,000 200,000

-

รายจ่าย

เงินรายได้

700,000 200,000

-

รายจ่าย

ผู้รับผิดชอบ

เงินรายได้

700,000 200,000

-

หนึ่งผลิตภัณฑ์

สาขาออกแบบ ผลิตภัณฑ์

2 โครงการพัฒนาอาชีพเพือ่ คืนคนดีสู่สังคม

130,000

-

3 โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนา

90,000

-

60,000

-

200,000 -

-

200,000

-

200,000

-

200,000

-

สาขาออกแบบ

-

150,000

-

150,000

-

150,000

-

แผชั่นและสิ่งทอ

-

150,000

-

150,000

-

150,000

-

สาขาเทคโนโลยี

มาตรฐานสินค้าชุมชน 4 โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนา

150,000

ผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์ 5 โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนา

เคมีสิ่งทอ

120,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

และแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าทอกะเหรี่ยง 6 โครงการบูรณาการการมีส่วนร่วมเพือ่ พัฒนา คุณภาพชีวติ ของชุมชน ตามแนวปรัญชา เศรษฐกิจพอเพียง

สาขาเทคโนโลยี เสื้อผ้า

-

-

-

-

150,000

-

-

-

-

-

สาขาเทคโนโลยี เคมีสิ่งทอ


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมการให้บริการวิชาการและการพัฒนาอาชีพ เป้าประสงค์ที่ 4.1 เป็นแหล่งให้บริการวิชาการวิชาชีพทีไ่ ด้มาตรฐานเป็นทีย่ อมรับของสังคม กลยุทธ์ที่ 8 การบริการวิชาการทีม่ ีศักยภาพในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิ้น 7 โครงการบูรณาการการมีส่วนร่วมเพือ่ พัฒนา

เงินรายได้

-

รายจ่าย

-

เงินรายได้

-

รายจ่าย

-

เงินรายได้

-

-

รายจ่าย

เงินรายได้

150,000 150,000

-

รายจ่าย

ผู้รับผิดชอบ

เงินรายได้

150,000 -

-

คุณภาพชีวติ ของชุมชน ตามแนวปรัญชา

สาขาเทคโนโลยี เสื้อผ้า

เศรษฐกิจพอเพียง 8 โครงการบูรณาการการมีส่วนร่วมเพือ่ พัฒนา

-

-

-

-

-

-

-

-

75,000

-

คุณภาพชีวติ ของชุมชน ตามแนวปรัญชา

สาขาออกแบบแฟชั่น และสิ่งทอ

เศรษฐกิจพอเพียง 9 โครงการบูรณาการการมีส่วนร่วมเพือ่ พัฒนา คุณภาพชีวติ ของชุมชน ตามแนวปรัญชา เศรษฐกิจพอเพียง

-

-

-

-

-

-

-

-

75,000

-

สาขาออกแบบ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ


งบประมาณทีใ่ ช้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจาปีการศึกษา 2557 - 2561 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิง่ แวดล้อมให้คงอยูอ่ ย่างมัน่ คงเพื่อสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ เป้าประสงค์ที่ 5.1 สร้างจิตสานึกและสร้างค่านิยมให้เกิดความรักในศิลปวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิน่ และรักษาสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน กลยุทธ์ที่ 9 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาของโลก ปีงบประมาณ ลาดับ

โครงการ/กิจกรรม

2558

2559

2560

2561

2562

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

งบประมาณ

รายจ่าย รวมทัง้ สิน้

270,000

1 โครงการปลูกจิตสานึกคุณธรรมจริยธรรม

150,000

2 โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญา

120,000

เงินรายได้ 170,000

รายจ่าย 177,000

94,000

177,000 -

ท้องถิน่ ด้านสิง่ ทอ 3 โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม

เงินรายได้

รายจ่าย 300,000

เงินรายได้ 180,000

180,000 -

รายจ่าย 185,000

เงินรายได้ 95,000

185,000

120,000

-

รายจ่าย 320,000

ผูร้ ับผิดชอบ

เงินรายได้ 180,000

190,000

-

ฝ่ายกิจการนักศึกษา

130,000

-

ฝ่ายกิจการนักศึกษา

-

85,000

-

-

-

85,000

-

-

85,000

-

94,000

-

95,000

-

-

85,000

ฝ่ายกิจการนักศึกษา

-

95,000

ฝ่ายกิจการนักศึกษา

สร้างจิตสานึก 4 โครงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย

95,000


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.