ANNUAL REPORT 2015

Page 1


CONTENTS สารจากคณบดี วิสัยทัศน์ ปรัชญา ปณิธาน ผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน แผนภูมิโครงสร้างคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ผังยุทธศาสตร์คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - สรุปวงเงินงบประมาณ - ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการแก่สังคม - ผลผลิต : ผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ผลผลิต : ผลงานท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม - ผลผลิต : ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี - กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - ผลงานความภาคภูมิใจ - การประกันคุณภาพการศึกษา - รายงานภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิตประจ�ำปีการศึกษา 2557

2 3 4 5 7 9 10 11 12 17 20 24 27 32 42 51 56


ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก คณบดีคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

คณะก่อตั้งขึ้นมาจากโรงเรียนวิชาชีพช่างตัดเสื้อซึ่งอยู่บริเวณวัดสุทัศน์ ใช้ชื่อว่า “โรงเรียนช่างตัดเสื้อวัดสุทัศน์” เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2476 ต่อมาได้ย้ายมาตั้งอยู่เลขที่ 517 ถนนนครสวรรค์ แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียน ช่างตัดเสื้อพระนคร สังกัดกรมอาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2520 เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีและ อาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2532 เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ สังกัด “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” ปี พ.ศ. 2548 มีพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จัดแบ่งสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลออกเป็น 9 มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัตฯิ วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จึงเปลีย่ นสถานะเป็น คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและ ออกแบบแฟชั่น ตามประกาศกฎกระทรวงศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต มี 4 สาขาวิชา สาขาวิชาเทคโนโลยีเสือ้ ผ้า สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสงิ่ ทอ สาขาวิชาออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ โดย มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติด้านสิ่งทอและแฟชั่นที่มีศักยภาพความสามารถในการแข่งขัน มีคุณธรรมและจริยธรรม คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มีพันธกิจที่ส�ำคัญในด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการ ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพทางด้านสิ่งทอและแฟชั่น ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “ผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอ และแฟชัน่ สูม่ าตรฐานสากล” มีการจัดการศึกษาบนพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ่ การผลิตบัณฑิตและผลิตผลงานวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ที่สามารถบูรณาการกับงานบริการวิชาการแก่สังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และสนับสนุนงานท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ปีงบประมาณ 2558 คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้ดำ� เนินงานกิจการในด้านต่างๆ เพือ่ พัฒนาการจัดการศึกษาให้สอดคล้อง ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่งผลให้มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.66 รายงานฉบับนี้ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2558 เพื่อให้หน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบและ ผู้สนใจทั่วไป ได้รับทราบผลการด�ำเนินงานตามภารกิจด้านต่างๆ ของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ซึ่งผลการด�ำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2558 นั้น เป็นผลงานที่เกิดจากความร่วมมือของผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาของคณะอุตสาหกรรมสิ่ง ทอและออกแบบแฟชั่น จึงขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นคู่มือที่ส�ำคัญของคณะ ในการ พัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ เพื่อการผลักดันให้คณะเดินไปสู่วิสัยทัศน์ที่วางไว้ 2


วิสัยทัศน์

“ผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่มาตรฐานสากล”

ปรัชญา

“สร้างคนสู้งานเชี่ยวชาญเทคโนโลยีสร้างคนดีสู่โลกอาชีพ”

ค่านิยมองค์กร

“เชื่อมั่นในทีมงาน บริหารด้วยความโปร่งใส ร่วมใจพัฒนาเห็นคุณค่าของคน”

ปณิธาน

“มุ่งมั่นเป็นผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านวิชาชีพด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการ พัฒนาก�ำลังคนให้มีคุณภาพคู่คุณธรรมสู่มาตรฐานสากล”

เอกลักษณ์

“สถาบันผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งทอและแฟชั่น”

อัตลักษณ์

“ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่โลกอาชีพ” 3


คณะผู้บริหาร

6

4

4

2

1

3

5

1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก คณบดีคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 2 นางพจนา นูมหันต์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร 3 นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น รองคณบดีฝ่ายวางแผน 4 ดร.ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย 5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมล พรหมหล้าวรรณ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 6 นางเพชราภรณ์ สิงห์ทองชัย หัวหน้าส�ำนักงานคณบดี


บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า 1 นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ หัวหน้าสาขาวิชา 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิราพร จิตต์ภู่ภักดี 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก 4 นางพจนา นูมหันต์ 5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุษา ตั้งธรรม 6 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ช้างม่วง 7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมล พรหมหล้าวรรณ 8 นางสุจิตรา ชนันทวารี 9 นางสาวเสาวนีย์ เถากิตติกุล 10 นางสาวไอรดา สุดสังข์ 8

6

4

2

1

3

5

7

9

10

บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ 1 2 4 7

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวณีย์ อารีจงเจริญ หัวหน้าสาขาวิชา นายพิชิตพล เจริญทรัพยานันท์ 3 นายจ�ำลอง สาริกานนท์ ดร.ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ 5 ดร.กาญจนา ลือพงษ์ 6 นางสาวนงนุช ศศิธร ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์ 8 นางสาวจิตราวรรณ ไวสาหลง

5

8

6

4

2

1

3

5

7


บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ 1 2 5 8

นางสาวนิตยา วันโสภา หัวหน้าสาขาวิชา นายก้องเกียรติ มหาอินทร์ 3 นายธวัชชัย แสงน�้ำเพชร 4 นายสัมภาษณ์ สุวรรณคีรี นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น 6 นางมธุรส เวียงสีมา 7 นางสาวฐิติมา พุทธบูชา นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์ 9 นางสาวกรชนก บุญทร 8

6

4

2

1

3

5

7

9

บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 1 2 4 6

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ หัวหน้าสาขาวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรูญ คล้ายจ้อย 3 นายทวีศักดิ์ สาสงเคราะห์ นายเกษม มานะรุ่งวิทย์ 5 นายศรันย์ จันทร์แก้ว นางชลธิชา สาริกานนท์ 7 นางสาวสุดากาญจน์ แยบดี 6

6

4

2

1

3

5

7


บุคลากรสายสนับสนุน ข้าราชการ

4

1 นางสาวขวัญฤดี แซ่ลิ้ม 2 นางเพชราภรณ์ สิงห์ทองชัย 3 นางอมร ร่มซ้าย 4 นางสาววรนุช หลุบเลา 5 นางยุพิน ใจตระหนัก

บุคลากรสายสนับสนุน พนักงานมหาวิทยาลัย 1 นางสาวสมใจ แซ่ภู่ 2 นางสาวปิยวรรณ สีเชียง 3 4 นางสาวอภิษา กล่อมแสง 5 นายคณาวุฒิ มีศิริภัทร 7 นางสาวนันทิยา พริกคง 8 นางสาวสาวิตรี ค�ำยอด 10 นางสาวนุชดาว เตะสมุทร 11 นางสาวชุติมา นุ้ยสุข 12

10

8

6

4

2

1

3

5

7

9

นายสันติ ธรรมสุริเชษฐ์ 6 นายวิโรจน์ ยิ้มขลิบ 9 นางสาวฉันทนา ธนาพิธานนท์ 12 นางสาวสุภากาญจน์ คนงานดี 11

7

2

1

3

5


บุคลากรสายสนับสนุน ลูกจ้างประจ�ำ นายสมพงค์ อมรประสิทธิ์

บุคลากรสายสนับสนุน ลูกจ้างชั่วคราว 1 นางสาวชนิษฎา เพิ่มการเจริญ 2 นายพุฒิพล มงคลบูรณะศิริ 3 นางสาววิภาวดี ชัยสุรสีห์ 4 นางสาวอมราลักษณ์ แสงสุวรรณ์ 5 นางประเสริฐศรี จุลรัตน์ 6 นางสาวนฤมล แสงถนอม 7 นายนพดล พุ่มไสว 8 นายการุณย์ ถนอมพิชัย 9 ว่าที่ ร.ต. ธีรพงษ์ ฐานะ

6

8

4

2

1

3

5

7

8

9


9

งานกิจการนักศึกษา – วิชาทหาร – พัฒนาวินัย คุณธรรม และจริยธรรม – ศิลปวัฒนธรรม – กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา – แนะแนว – สวัสดิการและสุขภาพพลานามัย – กิจกรรมสโมสรและชมรมนักศึกษา – กีฬา

งานบริการวิชาการและวิจัย – วิจัยและพัฒนา – บริการวิชาการแก่สังคม – หลักสูตร – ทะเบียน – วิเทศสัมพันธ์ – เทคโนโลยีทางการศึกษา – สหกิจศึกษา – สารสนเทศ *โครงการฯ EdPEx ** คลินิกเทคโนโลยี

– เทคโนโลยีเสื้อผ้า – เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ – ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ – ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

สาขาวิชา

รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย

หมายเหตุ * เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งเป็นการภายใน ** ศูนย์คลินิกเทคโนโลยี วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ (คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เครือข่ายกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อสวท.)

– แผนยุทธศาสตร์ – แผนงานและงบประมาณ – ติดตามประเมินผล – บริหารความเสี่ยง – บริหารโครงการ – ประกันคุณภาพการศึกษา

งานวางแผนและพัฒนา

งานบริหารทั่วไป

– สารบรรณ – บุคลากร – อาคารสถานที่และยานพาหนะ – ประชาสัมพันธ์ – เอกสารการพิมพ์ – การเงิน – การบัญชี – พัสดุ

รองคณบดีฝ่ายวางแผน

รองคณบดีฝ่ายบริหาร

ส�ำนักงานคณบดี

คณบดี

แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงาน


10

กลวิธี / มาตรการ

ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์หลัก)

1.1.1 พัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองความ ต้องการของสังคมและชุมชน (ยกตัวอย่าง - หลักสูตรส�ำหรับผู้สูงอายุ - หลักสูตรอาหารเพื่อสุขภาพ - หลักสูตรการนวดเพื่อผ่อนคลาย) 1.1.2 พัฒนาหลักสูตรต่อยอดให้กับผู้มี งานท�ำและบัณฑิตที่จบการศึกษา 1.1.3 พัฒนาหลักสูตรรองรับบริบทของ สังคม (ตรี+โท,ตรี+ประกาศนียบัตร) 1.1.4 สร้างหลักสูตรนานาชาติเพื่อก้าวไป สากล (ยกตัวอย่าง : อาหาร การ ท่องเที่ยว และการโรงแรม) 1.1.5 พัฒนาหลักสูตรร่วมกับ มหาวิทยาลัยในประเทศ และต่างประเทศ 1.1.6 พัฒนาหลักสูตรร่วมกับองค์กร ภาครัฐและเอกชน (ยกตัวอย่าง : พัฒนาหลักสูตรร่วมกับโรงเรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาและสถาน ประกอบการ 1.1.7 จัดการเรียนการสอน E- Learning 1.1.8 จัดระบบเทียบโอนประสบการณ์ 1.1.9 ประเมินผลหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง

1.1 พัฒนาหลักสูตรให้ สอดคล้องกับความ ต้องการของสังคมชุมชน

เป้าประสงค์

ประเด็นยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ชาติ

พันธกิจ

วิสัยทัศน์

2.2 พัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรทางการ ศึกษาทุกระดับ

2.12.1.1 เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ โลกอาชีพ 2.12.1.2 พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาชีพ 2.12.1.3 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อสร้างบัณฑิตให้เป็นคนอย่าง สมบูรณ์ 2.12.1.4 สร้างเสริมสุขภาวะที่ดี ให้แก่นักศึกษา 2. 2.1.5 แลกเปลี่ยนนักศึกษา ระดับนานาชาติ 2. 2.1.6 ท�ำความร่วมมือกับสถาน ศึกษา/สถานประกอบการทั้งใน และต่างประเทศ 2.1.7 จัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง และซ่อมเสริมฐานความรู้ ให้แก่นักศึกษา (ยกตัวอย่าง - พัฒนา e - Learning เพื่อการสอนซ่อมเสริม - ค่ายปรับพื้นฐาน) 2.1.8 พัฒนาองค์กรนักศึกษา ให้เข้มแข็ง 2 2.1.9 จัดตั้งสมาคมศิษย์เก่าและชุมชน สัมพันธ์ระดับคณะและระดับ มหาวิทยาลัย

2.1 พัฒนานักศึกษาและบัณฑิต ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์

2.2.1 ปลูกจิตส�ำนึกการมีส่วนร่วมและ ความรับผิดชอบต่อสังคม 2.2.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือการ จัดการความรู้ เพิ่อพัฒนา ศักยภาพของบุคลากร 2.2.3 สร้างเสริมสุขภาวะที่ดีให้กับ บุคลากร 2.2.4 จัดท�ำ Training Roadmap ส�ำหรับสายวิชาการ (ยกตัวอย่าง : - พัฒนาความรู้ด้านวิชาชีพ - ให้อาจารย์ฝึกอบรมในสถาน ประกอบการหริอท�ำงานร่วมกับ ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ - ฝึกอบรมสู่การเป็นอาจารย์แห่ง อนาคต) 2.2.5 จัดท�ำ Training Roadmap ส�ำหรับสายสนับสนุน (ยกตัวอย่าง : - พัฒนาความรู้ - พัฒนาประสิทธิภาพในการท�ำงาน) 2.2.6 พัฒนาความก้าวหน้าของบุคลากร

5.1.1 ท�ำวิจัยร่วมกับภาครัฐและเอกชน 5.1.2 สร้างเครือข่ายการวิจัย แบบบูรณาการ 5.1.3 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย 5.1.4 พัฒนานักวิจัยมืออาชีพ 5.1.5 จัดตั้งศูนย์แก้ปัญหาและ พัฒนางานวิจัย 5.1.6 พัฒนาหน่วยบ่มเพาะธุรกิจ 5.1.7 จัดตั้งศูนย์วิจัยสถาบันเพื่อ พัฒนา ระบบงาน 5.1.8 จัดตั้งหน่วยจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญา

5.1 พัฒนางานวิจัย/นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ เชิงบูรณาการ เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ที่ได้ มาตรฐานเพือ่ การแข่งขันในระดับชาติและระดับนานาชาติ

5. สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ เชิงบูรณาการ เพื่อการแข่งขันใน ระดับชาติและนานาชาติ

4.1.1 บูรณาการการจัดกิจกรรมด้าน อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยและสิ่ง แวดล้อมให้หลากหลายร่วมกับชุมชน อย่างต่อเนื่อง 4.1.2 สร้างระบบส่งเสริมการศึกษาการน�ำ เทคโนโลยีกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมา สร้างอาชีพกับชุมชน 4.1.3 บูรณาการการอนุรักษ์ ส่งเสริม และ ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมในการจัดการศึกษา และ การให้บริการวิชาการ 4.1.4 เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม สู่สากล

4.1 สนับสนุนและสืบสานงาน ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม

4. เป็นแหล่งท�ำนุบ�ำรุงศิลป วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

3.1.1 พัฒนาหลักสูตรระยะสั้น ที่ได้รับ การพัฒนาเพื่อส่งเสริมอาชีพเดิม และสร้างอาชีพใหม่ให้แก่ชุมชนบน พื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง 3.1.2 จัดตั้งหน่วยวิชาการและวิชาชีพ ในต่างประเทศ 3.1.3 ผลิตสื่อเพื่อสร้างและพัฒนา วิชาชีพทั้งภาษาไทยและภาษา ต่างประเทศ 3.1.4 พัฒนาศูนย์สารนิเทศและการ บริการวิชาการ (e – Resource) 3.1.5 พัฒนาศูนย์ภาษาเพื่อ ให้บริการวิชาการ 3.1.6 พัฒนาหน่วย/ศูนย์ซ่อมบ�ำรุง เครื่องจักร 3.1.7 สร้างเครือข่ายความร่วมมือการ บริการวิชาการร่วมกับหน่วยงาน ภายนอก ภาครัฐและเอกชน ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ

3.1 ให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อสร้าง และพัฒนาอาชีพโดยยึดหลักของเศรษฐกิจ พอเพียง

3. ให้บริการวิชาการแก่สังคมโดย ยึดหลักของเศรษฐกิจ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง

3. สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการที่ได้มาตรฐาน

5.2.1 จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ ในด้านต่าง ๆ - จัดตั้งศูนย์วิจัยสิ่งทอ - จัดตั้งศูนย์วิจัยออกแบบ แฟชั่น 5.2.2 จัดตั้งศูนย์ประสานงานเพื่อการเผย แพร่ประชาสัมพันธ์และสร้าง เครือข่ายด้านงานวิจัย/สิ่ง ประดิษฐ์/นวัตกรรม ระดับชาติและ ระดับนานาชาติ

5.2 เผยแพร่และถ่าย ทอดองค์ความรู้ สู่ความเป็นเลิศ

ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

ยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างเสริมโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม

2. พัฒนาสังคมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

2. สร้างคนคุณภาพสู่โลกอาชีพ (สร้างคนเก่งและคนดีที่มีทักษะวิชาชีพ)

1.3.1 สร้างเครือข่ายฐานข้อมูล และระบบ สารสนเทศ เพื่อการบริหาร 1.3.2 พัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ ที่พึงประสงค์ 1.3.3 ปรับปรุงพัฒนาระบบงาน สู่การเปลี่ยนแปลง 1.3.4 ประชาสัมพันธ์เชิงรุก (ยกตัวอย่าง - จัดตาม Event - จัดนิทรรศการ - จัด Road Show ต่างๆ) 1.3.5 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT เพื่อการบริหารจัดการและการให้ บริการทางการศึกษา 1.3.6 แนะแนวการศึกษาเชิงรุก (ยกตัวอย่าง - นัดพบสถานประกอบการ - นัดพบโรงเรียนในเขต พื้นที่และ สัญจรไปยัง โรงเรียนนอก เขตพื้นที่) 1.3.7 หารายได้จากสินทรัพย์และองค์ ความรู้ที่บุคลากรมีอยู่ 1.3.8 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร ด้วยหลักธรรมภิบาล

1.3 บริหารจัดการ เชิงรุก

1.2.1 พัฒนาห้องปฏิบัติการ 1.2.2 พัฒนาระบบห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) 1.2.3 พัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ ICT เป็นฐาน (ICT – Based Learning) 1.2.4 จัดท�ำหลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพและ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ การศึกษา (TQF) 1.2.5 พัฒนาการจัดการความรู้โดยใช้ ICT เป็นฐาน (ICT – Based Knowledge) 1.2.6 จัดตั้งศูนย์นวัตกรรมเพื่อการ เรียนรู้ (ศูนย์โสตทัศนศึกษาที่เน้น นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้) 1.2.7 เร่งส่งเสริมสหกิจศึกษาเต็มรูปแบบ 1.2.8 พัฒนาระบบคุณภาพที่เน้น มาตรฐานสากล

1.2 สร้างความ เข้มแข็งทางวิชาชีพ เฉพาะทาง

1. เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพ และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการที่เข้มแข็ง และได้มาตรฐานสากล

1. จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ

ยุทธศาสตร์การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต และความเท่าเทียมกันในสังคม

1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สามารถสร้างบัณฑิตพร้อมเข้าสู่อาชีพ 2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อถ่ายทอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ภาคการผลิต ภาคบริการ และชุมชน 3. ให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อการสร้างอาชีพอิสระและการพัฒนาอาชีพโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรด้วยหลักธรรมาภิบาล

เป็นผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น มุ่งสู่มาตรฐานสากลบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผังยุทธศาสตร์คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น


ผลการด�ำเนินงาน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558


ผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. 2558 รวมทั้งสิ้น 42,003,200.- บาท โดยแยกเป็นงบประมาณเงินรายจ่าย จ�ำนวนเงิน 31,845,100.- บาท คิดเป็น ร้อยละ 76 และงบประมาณเงินรายได้ จ�ำนวนเงิน 10,158,100.- บาท คิดเป็นร้อยละ 24

งบประมาณเงินรายได้ 24 %

งบประมาณเงินรายจ่าย 76 %

12


งบประมาณเงินรายได้ ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 งบประมาณเงินรายได้ที่ได้รับอนุมัติ งบบุคลากร 21.65 %

งบบริหารจัดการ 51.88 %

งบด�ำเนินงาน 9.90 %

งบลงทุน 1.58 %

งบกลาง 4.37 %

งบรายจ่ายอื่น 9.16 %

งบเงินอุดหนุน 1.48 %

งบประมาณเงินรายได้ งบประมาณรายได้ 1 2 3 4 5 6 7

งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น งบกลาง งบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยฯ รวมเงินที่ได้รับจัดสรร

รับอนุมัติ 2,198,880 1,005,160 160,000 150,000 930,000 444,410 5,269,650 10,158,100

% 21.65 9.90 1.58 1.48 9.16 4.37 51.88 100.00

หมายเหตุ : งบบุคลากร ได้แก่ ค่าจ้างชั่วคราวรายเดือน งบด�ำเนินงาน ได้แก่ ค่าตอบแทน + ค่าใช้สอย + ค่าวัสดุ + ค่าสาธารณูปโภค งบลงทุน ได้แก่ ค่าครุภัณฑ์ + ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

13

ใช้จ่ายจริง 1,436,524.00 761,164.48 146,400.41 150,000.00 679,291.20 มหาวิทยาลัยฯ ด�ำเนินการ

% 14.14 7.49 1.44 1.48 6.69


งบประมาณเงินรายได้ ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 ใช้จ่ายจริง งบประมาณเงินรายได้ใช้จ่ายจริง งบรายจ่ายอื่น 6.69 % งบเงินอุดหนุน 1.48 %

งบลงทุน 1.44 %

งบด�ำเนินงาน 7.49 %

14

งบบุคลากร 14.14 %


งบประมาณรายจ่าย ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 งบประมาณเงินรายจ่ายที่ได้รับอนุมัติ งบบุคลากร 36.43 %

งบรายจ่ายอื่น 24.41 %

งบเงินอุดหนุน 26.60 %

งบด�ำเนินงาน 12.56 %

งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี พ.ศ. 2558 งบรายจ่าย 1 2 3 4

งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวมเงินที่ได้รับจัดสรร

ได้รับอนุมัติ 11,601,700 4,000,000 8,470,200 7,773,200 31,845,100

งบประมาณรายจ่าย % ใช้จ่ายจริง 36.43 11,903,985.17 12.56 3,588,103.02 26.60 10,508,334.50 24.41 6,786,793 100.00 32,787,215.69

หมายเหตุ : งบบุคลากร ได้แก่ เงินเดือน + ค่าจ้างประจ�ำ + ค่าจ้างพนักงานราชการ งบด�ำเนินงาน ได้แก่ ค่าตอบแทน + ค่าใช้สอย + ค่าวัสดุ งบลงทุนได้แก่ ค่าครุภัณฑ์ + ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง **งบบุคลากร เพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการปรับฐานเงินเดือน 4% และเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ **งบเงินอุดหนุน เพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการปรับฐานเงินเดือน 4% และค่าตอบแทนของพนักงาน มหาวิทยาลัย

15

% 37.38** 11.27 33.00** 21.31 102.96


งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี พ.ศ. 2558

งบประมาณเงินรายจ่ายที่ใช้จ่ายจริง งบรายจ่ายอื่น 21.31 %

งบเงินอุดหนุน 33.00 %

16

งบบุคลากร 37.38 %

งบด�ำเนินงาน 11.27 %


ผลผลิต ผลงานการให้บริการ วิชาการแก่สังคม คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบ แฟชั่น มุ่งการพัฒนางานด้านการบริการวิชาการ ควบคู ่ กั บ การจั ด การเรี ย นการสอนและ การวิจัย โดยการน�ำความรู้ที่ได้รับจากการเรียน การสอนและงานวิจัยมา บูรณาการร่วมกับการ บริการวิชาการแก่สงั คม เพือ่ การพัฒนาอาชีพเดิม และการสร้างอาชีพใหม่ให้กับกลุ่มชุมชนที่เข้ารับ การบริการ ดังนัน้ การด�ำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 จึงมุง่ เน้นการน�ำองค์ความรูใ้ น 4 สาขา วิชา ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า สาขาวิชา เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่น และสิง่ ทอ และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สง่ิ ทอ ทีเ่ ป็นผลจากการเรียนรูแ้ ละการศึกษาวิจยั เพือ่ การ ต่อยอดองค์ความรู้ของทั้ง 4 สาขาวิชา เน้นการ บริการที่มีมาตรฐานโดยการก�ำหนดรูปแบบของ การบริการวิชาการที่อยู่ภายใต้ความต้องการของ ชุมชนและท้องถิ่น และการส่งเสริมความร่วมมือ จากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อให้การ บริหารงานโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ บริหารงาน

ปี ง บประมาณ พ.ศ. 2558 คณะ อุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้รบั การ สนับสนุนงบประมาณจ�ำนวน 5 โครงการ โดย แบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 5 โครงการ วงเงินงบประมาณ 600,000 บาท และ นอกจาก นี้ยังได้รับงบประมาณจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โครงการของคลินิกเทคโนโลยี 3 โครงการ วงเงินงบประมาณ 789,200 บาท งานบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม คณะ อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มุ่งมั่น พัฒนางานบริการวิชาการแก่สงั คมให้ดยี งิ่ ขึน้ เน้น การบริการที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ในการถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ เฉพาะทางให้กับชุมชน และขยายขอบเขตการให้ บริการไปสูภ่ าครัฐและเอกชนทัง้ แบบให้เปล่าและ การจัดหารายได้ เพือ่ การถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ น สิ่งทอและแฟชั่น และที่ส�ำคัญคือเป็นที่พึ่งทาง วิชาการและวิชาชีพด้านสิ่งทอและแฟชั่นให้กับ ชุมชนต่อไป


โครงการพัฒนาอาชีพเพื่อคืนคนดีสู่สังคม

งานบริการวิชาการแก่สังคม จัดโครงการพัฒนาอาชีพเพื่อคืนคนดีสู่สังคม ระหว่าง วันที่ 26 - 29 พฤษภาคม 2558 ณ ทัณฑสถานหญิงกลาง กรุงเทพมหานคร โดยมีการอบรมจ�ำนวน 5 วิชา ได้แก่ การพิมพ์ ซิลสกรีน โดยอาจารย์พิชิตพล เจริญทรัพยานันท์, การประดิษฐ์ดอกไม้จากผ้า โดยอาจารย์นฤพน ไพศาลตันติวงศ์, การประดิษฐ์หมอนโดนัท โดยอาจารย์กฤษดา รัตนางกูร, การท�ำกระเป๋าผ้า โดยอาจารย์สดุ ากาญจน์ แยบดี และการซ่อมจักรอุตสาหกรรม โดยอาจารย์ไชยชาญ อารี เพือ่ เป็นความรู้ ในการประกอบอาชีพ ให้กบั กลุ่มผูก้ ระท�ำความผิดและส่งเสริมให้มที กั ษะในการน�ำไปประกอบอาชีพขณะต้องโทษอีกทัง้ ยังเป็นการ น�ำความรูท้ ไี่ ด้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหลังพ้นโทษเพือ่ เป็นการส่งเสริมโอกาสในการด�ำเนินชีวติ ในสังคมต่อไป

โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

งานบริการวิชาการแก่สงั คม จัดโครงการฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาสินค้าหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ ระหว่างวันที่ 22-27 ธันวาคม 2558 ณ ที่ท�ำการชุมชนกลุ่มแม่บ้านวัดนาก่วมใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง โดยมีการอบรมจ�ำนวน 3 วิชาได้แก่ การออกแบบของ ที่ระลึกประเภทตุ๊กตาจากผ้าพื้นเมือง โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ และอาจารย์สุดากาญจน์ แยบดี, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าจากผ้าพื้นเมือง โดยอาจารย์นฤพน ไพศาลตันติวงศ์ และอาจารย์เกษม มานะรุ่งวิทย์, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยเทคนิคการพิมพ์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรูญ คล้ายจ้อย และผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาสนา ช้างม่วง เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มชุมชนท�ำให้เกิดความเข้มแข็ง และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ของกลุ่มชุมชนเพื่อยก ระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้าชุมชน

งานบริการวิชาการแก่สังคม จัดโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้าชุมชน ระหว่างวันที่ 16-19 มิถุนายน 2558 ณ กลุ่มชุมชนเทศบาลต�ำบลศิลาลอย อ�ำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีการอบรมจ�ำนวน 2 วิชา ได้แก่ กระเป๋าถักหลายสี โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์อุษา ตั้งธรรม และการอบรมวิชาการตกแต่งเสื้อผ้าแฟชั่น โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาสนา ช้างม่วง เพือ่ เป็นการพัฒนารูปแบบและคุณภาพของผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้ได้มาตรฐานและส่งเสริมทางด้านการตลาดเพือ่ ให้เป็น ที่ยอมรับแพร่หลาย

18


โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์

งานบริการวิชาการแก่สงั คม จัดโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์สเู่ ชิงพาณิชย์ ระหว่างวันที่ 4 – 5 และ 11 - 12 กรกฎาคม 2558 ณ ชุมชนป้อมมหากาฬ กรุงเทพมหานคร โดยมีการอบรมจ�ำนวน 2 วิชาได้แก่ การพิมพ์ซลิ สกรีน และเทคนิคการท�ำเดคูพาจ โดยอาจารย์กอ้ งเกียรติ มหาอินทร์ และอาจารย์เกษม มานะรุ่งวิทย์ เพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพในกระบวนการการ ผลิตที่สามารถเพิ่มมูลค่าของสินค้าและเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าทอกะเหรี่ยง

งานบริการ จัดโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าทอกะเหรี่ยง ระหว่างวันที่ 7-8, 14-15 และ21-22 มีนาคม 2558 ณ โรงเรียนบ้านยางน�้ำกลัดใต้ ต�ำบลยางน�้ำกลัดใต้ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี โดยมีการอบรม จ�ำนวน 3 วิชา ได้แก่ การผลิตทีใ่ ส่อปุ กรณ์เอนกประสงค์ การผลิตกระเป๋าพกพาขนาดย่อม โดยอาจารย์กญ ั ญุมา ญาณวิโรจน์ และดร.กาญจนา ลือพงษ์ การท�ำบรรจุภัณฑ์ตามมาตรฐานสินค้า OTOP โดยอาจารย์ทวีศักดิ์ สาสงเคราะห์ และนายวิโรจน์ ยิ้มขลิบ เพื่อเป็นการถ่ายทอด องค์ความรู้ทางด้านสิ่งทอและส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์ของชุมชนให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์สินค้า OTOP

19


ผลผลิต : ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ มุง่ เน้นการพัฒนาด้านการจัดการเรียนการสอนภายใต้วสิ ยั ทัศน์ “ผูน้ ำ� การ จัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่นสู่มาตรฐานสากล” โดยจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทีม่ คี ณ ุ ภาพเน้นการจัดการศึกษาทีส่ ง่ ผลไปสูก่ ารพัฒนาบัณฑิตให้มคี ณ ุ ภาพตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ และมีความเชี่ยวชาญทางด้านสิ่งทอและแฟชั่น ควบคู่กับการจัดการศึกษาตามกรอบแผนอุดมศึกษา การด�ำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้ด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนาด้านการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการพัฒนานักศึกษา การพัฒนาอาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้และความสามารถตรงตามศักยภาพ อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาตนเองและการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อน�ำไปปรับใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 นั้น ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจ�ำนวน 8 โครงการ โดยแบ่งเป็น งบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 3 โครงการ วงเงินงบประมาณ 680,000 บาท งบประมาณรายได้จ�ำนวน โครงการ 4 วงเงินงบประมาณ 760,000 บาท จากผลการด�ำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 การพัฒนาด้านการเรียนการสอนภายในคณะ นั้น มุ่งเน้นการพัฒนา แบบองค์รวมเพือ่ ให้นกั ศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รบั ประโยชน์สงู สุดทัง้ ด้านวิชาการ วิชาชีพ ทีส่ ำ� คัญคือการ จัดให้มกี ารน�ำเสนอผลงานของนักศึกษาและคณาจารย์ เผยแพร่สสู่ าธารณชนในรูปแบบงานวิจยั และการจัดแสดงผลงาน อันเป็นการ แสดงถึงศักยภาพที่เกิดจากการศึกษา การค้นคว้า และการวิจัย ที่เกิดขึ้นจากการผลักดันของคณะ ที่มุ่งพัฒนาและสร้างโอกาสให้ นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม

20


โครงการกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

งานกีฬา เข้าร่วมโครงการกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ณ สนามกีฬา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งนักศึกษาได้ร่วม การแข่งขันกีฬาและการแข่งขันเชียร์ลีดเดอร์และกองเชียร์ เพื่อการส่งเสริมความสามัคคี ความสัมพันธ์ของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย และการส่งเสริมสุขภาพให้กับนักศึกษา

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสิ่งทอและแฟชั่น

งานบุคลากร จัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสิ่งทอและแฟชั่น ประจ�ำปี 2558 ซึ่งแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น วันที่ 6 มกราคม 2558 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น โดยคณบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก บรรยายพิเศษ และ นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น รองคณบดีฝา่ ยวางแผน เป็นวิทยากร เพือ่ น�ำเสนอแนวทางการพัฒนาคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่

ระยะที่ 2 การศึกษาดูงานภายใต้ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสิ่งทอและแฟชั่น วันที่ 7 – 10 มกราคม 2558 ณ จังหวัดเลย และจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมุง่ เน้นศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรม ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม เพือ่ น�ำแนวความคิดทีไ่ ด้รบั มาประยุกต์ ใช้ในการจัดท�ำโครงการและกิจกรรมตามรายผลผลิต มุง่ หวังให้บคุ ลากรของคณะมีความเข้าใจเกีย่ วกับการจัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาและ จัดท�ำงบประมาณ เพือ่ ก่อให้เกิดการพัฒนาการจัดการศึกษาให้เกิดประโยชน์สงู สุด เพือ่ ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของคณะ และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนครต่อไป

21 21


โครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานในสถานประกอบการด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ

สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ จัดโครงการฝึกอบรมและศึกษาดูงานในสถานประกอบการด้านการออกแบบ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ วันที่ 31 มกราคม 2558 และวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 ณ กลุ่มทอผ้าบ้านหมี่และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อ�ำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี โดยผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศกั ดิ์ อริยะเครือ เป็นผูค้ วบคุมและน�ำนักศึกษาดูงาน เพือ่ พัฒนาองค์ความรู้ และพัฒนาทักษะทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอให้กับนักศึกษา

โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพทางสิ่งทอและแฟชั่น

ฝ่ายวิชาการและวิจัย จัดโครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพทางสิ่งทอและแฟชั่น ครั้งที่ 2 “กล้าเปลี่ยน (ผ้า) ไหม?” โดยมี มหาวิทยาลัยต่างๆ เข้าร่วมโครงการ ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น วัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิต นักศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาได้ฝึกทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถทั้งด้านวิชาชีพด้านวิชาการ และเทคโนโลยีทางสิ่งทอและแฟชั่น กระตุ้นแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานด้านสิ่งทอและแฟชั่น ซึ่งมีการแข่งขันรอบตัดสินในวันที่ 4 มิถุนายน 2558 ซึ่งได้รับเกียรติ จากคณะกรรมการตัดสิน ได้แก่ คุณรักเล่ห์ ไต้ส�ำโรง คุณนิพนธ์ มนูทัศน์ และคุณกัญญุมา ญาณวิโรจน์

22


โครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษาด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

ฝ่ายวิชาการและวิจัย จัดโครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษาด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น วันที่ 9 มิถุนายน 2558 ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์เฟื่องฟ้า เมฆเกรียงไกร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เป็นประธานในพิธีเปิด ร่วมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากร ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ร่วมเป็นเกียรติและร่วมชมผลงานนิทรรศการของนักศึกษาและการแสดงแฟชั่นโชว์ของนักศึกษาสาขาวิชา ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

โครงการฝึกอบรมงานประกันคุณภาพการศึกษา

งานประกันคุณภาพการศึกษา ได้จัดโครงการฝึกอบรมงานประกันคุณภาพการศึกษา วันที่ 2-3 มิถุนายน 2558 ณ คณะ อุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ โดยมีวทิ ยากรผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านได้แก่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์แก้วตา ขาวเหลือง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสนีย์ พวงยาณี และนายด�ำเนิน ไชยแสน ให้ความรู้ในการจัดท�ำรายงานการประเมินตนเองให้กับบุคลากร โดยเน้นการฝึกปฏิบัติการ เขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในระดับหลักสูตร เพือ่ ให้อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรได้เรียนรูเ้ กณฑ์ในการประเมินและมีความเข้าใจในเกณฑ์ การประเมินประจ�ำปีการศึกษา 2557

23


ผลผลิต : ผลงานท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ให้ความส�ำคัญกับงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมโดยมุ่งเน้นการปลูกฝัง ส่งเสริมและพัฒนาสิง่ ทีด่ งี าม ความมีสนุ ทรี และวัฒนธรรมทีพ่ งึ ประสงค์ โดยมีเป้าหมายของการเสริมคุณค่าให้บณ ั ฑิต เป็นทรัพยากร บุคคลทีม่ คี ณ ุ ภาพของชาติ อยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีส่ วยงามอย่างมีรสนิยมให้เกิดในจิตส�ำนึกและในวิถชี วี ติ มีความเชือ่ มัน่ ในการด�ำรง ชีวิตอย่างมีคุณค่า สามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทั้งในเรื่องความเชื่อ ค่านิยม และวัฒนธรรม การท�ำนุบ�ำรุงศิลป วัฒนธรรมจึงเป็นภารกิจที่ส�ำคัญที่คณะมุ่งส่งเสริม และสนับสนุนการจัดโครงการเพื่อการให้ความรู้ ความเข้าใจ ทางด้านศิลป วัฒนธรรมที่สามารถน�ำองค์ความรู้ที่ได้รับบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัย การด�ำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 คณะได้มีการด�ำเนินงานด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยเน้นการ บูรณาองค์ความรู้จากการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น มาร่วมในการจัดโครงการและกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของ ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 นั้น ได้รับการสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 2 โครงการ วงเงินงบประมาณ 270,000 บาท และงบประมาณเงินรายได้จ�ำนวน 2 โครงการ วงเงินงบประมาณ 170,000 บาท

24


โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมสร้างจิตสาธารณะ

งานศิ ล ปวั ฒ นธรรม จั ด โครงการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมสร้ า งจิ ต สาธารณะ วั น ที่ 21 - 22 กุ ม ภาพั น ธ์ 2558 ณ สถานสังคมสงเคราะห์ (บ้านพักคนชรา) จังหวัดลพบุรี และจังหวัดชลบุรี เพื่อปลูกจิตส�ำนึกให้มีความรัก กตัญญู เห็นความส�ำคัญ ของผู้สูงอายุ รวมทั้งบุคคลในครอบครัว และร่วมท�ำกิจกรรมกับผู้สูงอายุ การซ่อมเสื้อผ้าที่ช�ำรุด ตกแต่งให้เป็นรูปแบบใหม่ ซึ่งมีอาจารย์ และนักศึกษาให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 40 คน

โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสิ่งทอ

งานศิลปวัฒนธรรม จัดโครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสิ่งทอ วันที่ 6 – 8 มีนาคม 2558 ศึกษาดูงาน ณ สาธรพิพิธภัณฑ์ผ้าทองค�ำ จังหวัดสุโขทัย มีนักศึกษาและเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมโครงการจ�ำนวน 40 คน เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ถึงวิถีการ ด�ำเนินชีวิต พร้อมทั้งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสิ่งทอ และส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมสืบสานและตระหนักถึงคุณค่า แก่นสาระและความส�ำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาร่วมอนุรักษ์ เผยแพร่ และพัฒนาสิ่งทอพื้นถิ่น

25 25


โครงการปลูกจิตส�ำนึกคุณธรรมจริยธรรม

งานศิลปวัฒนธรรม จัดโครงการปลูกจิตส�ำนึกคุณธรรมจริยธรรม วันที่ 21-22 พฤษภาคม 2558 ณ อ�ำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เพือ่ ให้นกั ศึกษาเห็นถึงความส�ำคัญในเรือ่ งคุณธรรมจริยธรรมทีใ่ ช้ในชีวติ ประจ�ำวันปรากฏเป็นความดีงาม ทัง้ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ มีความกตัญญู ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ สามัคคี มีวินัย มีน�้ำใจ และเป็นสุภาพชน เข้าใจแก่นสารหลักการของ คุณธรรมและจริยธรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถด�ำรงชีวิตให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพของสังคมในอนาคต โดยมีนักศึกษา ชั้นปีที่ 4 เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 120 คน

โครงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย

งานศิลปวัฒนธรรม จัดโครงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย วันที่ 18 – 19 มิถุนายน 2558 ณ จังหวัดนครราชสีมา เพือ่ ให้นกั ศึกษาเกิดการเรียนรู้ และตระหนักถึงความส�ำคัญของวัฒนธรรม ถือเป็นรากฐานของการด�ำเนินชีวติ ท�ำให้เกิดการยอมรับ และน�ำไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ในฐานะที่เป็นมรดกของไทยอย่างถ่องแท้เพื่อปลูกจิตส�ำนึก การอนุรักษ์ และมีส่วนร่วมใน การสืบสาน เผยแพร่ศลิ ปวัฒนธรรมไทยส่งเสริมให้นกั ศึกษาทุกคนเห็นคุณค่า ร่วมกันสนับสนุนงานด้านวัฒนธรรม รักษาเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้าใจและสร้างความมั่นใจแก่นักศึกษาในการปรับเปลี่ยนและตอบสนอง กระแสวัฒนธรรมอื่นๆ อย่างเหมาะสม

26


ผลผลิต : ผลงานวิจัย เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี ภาระกิจด้านการวิจยั เป็นพันธกิจทีส่ ำ� คัญของคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ซึง่ มีการด�ำเนินพันธกิจ ด้านการวิจัยอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย แผนงาน งบประมาณ ของมหาวิทยาลัย มุ่งส่งเสริมและ สนับสนุนคณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา และนักศึกษา ให้มีการสร้างสรรค์งานวิจัย ส่งเสริมและสร้างเครือข่ายกับ หน่วยงานภายในและภายนอกสถาบัน เพื่อการสร้างสรรค์งานวิจัยทางด้านสิ่งทอและแฟชั่นที่สามารถตอบสนองความ ต้องการของสังคมได้ในวงกว้างและก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณชน ปีงบประมาณ 2558 คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้รับเงินสนับสนุนด้านผลงานวิจัยเพื่อการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีจ�ำนวน 3 โครงการ โดยแบ่งเป็นงบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 1 โครงการชุด ประกอบด้วยโครงการย่อย 6 โครงการ วงเงินงบประมาณ 822,700 บาท งบประมาณรายได้ จ�ำนวน 2 โครงการวงเงินงบประมาณ 150,000 บาท


การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบเคหะสิ่งทอจากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ ผูว้ จิ ยั : ผศ.ดร. กิตติศกั ดิ์ อริยะเครือ ผศ.จรูญ คล้ายจ้อย ผศ.กมล พรหมหล้าวรรณ นางสุจติ รา ชนันทวารี ผลการศึกษาพบว่า การประเมินผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอจากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ จ�ำนวน 5 รูปแบบ กลุ่มที่สนใจมากเป็นอันดับที่ 1 เป็น เพศหญิง ทีม่ อี ายุเฉลีย่ 31-40 ปี อาชีพ รับราชการ การศึกษาระดับปริญญาตรี และมีรายได้ 15,001 – 25,000 บาท มีความคิดเห็น เกีย่ วกับผลิตภัณฑ์เคหะสิง่ ทอ พบว่า ผลิตภัณฑ์เคหะสิง่ ทอประเภทหมอน มีความเหมาะสมมากทีส่ ดุ ทัง้ ด้านรูปแบบ ลวดลาย และ มีการถ่ายทอดอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและสะท้อนเอกลักษณ์ความเป็นวัฒนธรรมไทย การประเมินกระบวนการฝึกอบรม กลุ่มผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 30-40 ปี อาชีพ ทอผ้า และเกษตร การศึกษา ประถมศึกษา รายได้ 5,00010,000 บาท ก่อนการฝึกอบรม มีความรู้พื้นฐานและความสามารถเกี่ยวกับการตัดเย็บและการออกแบบผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอ อยู่ในระดับพอใช้ และหลังการฝึกอบรม มีความรู้ความสามารถปฏิบัติได้ทั้ง 3 ด้าน ในระดับ ดีมาก และมีความต้องการฝึกอบรม ในครั้งต่อไป

การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับผลิตภัณฑ์จากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ ผู้วิจัย : นายก้องเกียรติ มหาอินทร์ นายเกษม มานะรุ่งวิทย์ ผศ. ดร. กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนกลุม่ ผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอในอ�ำเภอนาโพธิ์ ซึง่ มีศนู ย์รวมอยูท่ ศี่ นู ย์หตั ถกรรมพืน้ บ้านอ�ำเภอนาโพธิน์ นั้ มีขอ้ จ�ำกัด ในเรื่องของเงินทุนการผลิตบรรจุภัณฑ์ ดังนั้นจึงต้องผลิตบรรจุภัณฑ์ขึ้นด้วยตนเอง รวมทั้งต้องการบรรจุภัณฑ์ที่เป็นลักษณะเป็น ของขวัญ เพื่อใช้ในโอกาสพิเศษหรือเป็นของขวัญในเทศกาลต่างๆ ดังนั้นรูปแบบของบรรจุภัณฑ์นาโพธิ์สามารถสรุปผลการวิจัยได้ ว่า เป็นกล่องกระดาษขึ้นรูปมีโครงสร้างที่สามารถขึ้นรูปเองได้ ติดกาวน้อยที่สุด ในส่วนของตราสัญญาลักษณ์ของกลุ่มใช้สติ๊กเกอร์ ชนิดใส มีรายละเอียดของกราฟฟิกเป็นสีทอง เพื่อแสดงถึงลักษณะรูปแบบที่เป็นทางการของบรรจุภัณฑ์ รายละเอียดและข้อบ่งชี้ ของบรรจุภัณฑ์พิมพ์แผ่นรายละเอียดภายในตัวบรรจุภัณฑ์

28


การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบกระเป๋าแฟชั่นจากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ ผู้วิจัย : ผศ.วาสนา ช้างม่วง นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ นางสาวนิตยา วันโสภา นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์ ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ มีการผลิตผ้าไหมที่มีลวดลายการทอ สีสันสวยงาม และจัดได้ว่าเป็นภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ซึ่งควรค่าต่อการอนุรักษ์และพัฒนาเป็นอย่างยิ่ง ทางกลุ่มบ้านนาโพธิ์ได้ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์สิ่งทอ จากผ้าไหม เช่น ผ้าส�ำหรับตัดเสื้อ เสื้อผ้า กระเป๋า ผ้าพันคอ และอื่น ๆ แต่ยังคงต้องการรูปแบบที่ทันสมัยเพิ่มมากขึ้น จากงานวิจัยเรื่อง การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบกระเป๋าแฟชัน่ จากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรรี มั ย์ ได้ออกแบบกระเป๋าแฟชัน่ โดยประเมินความพึงพอใจจากกลุม่ ผูส้ นใจ จ�ำนวน 100 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี อาชีพส่วนใหญ่ รับจ้าง มีรายได้ 5,001-10,000 บาท การศึกษาระดับต�่ำ กว่าปริญญาตรี มีความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์กระเป๋าแฟชั่น พบว่า กระเป๋าแฟชั่นแบบที่ 5 มีความเหมาะสมมากที่สุด ทั้งด้านการ ออกแบบ ความเหมาะสมในการใช้งานและความเหมาะสมโดยภาพรวมเฉลี่ยร้อยละ 84 85 และ 86 ตามล�ำดับ การประเมินการถ่ายทอดเทคโนโลยีสรุป แบบที่ 5 มีความเหมาะสมระดับมากทั้งด้านโดยภาพรวม การออกแบบตกแต่ง มีค่า ร้อยละ 86 แบบที่ 6 มีความเหมาะสมรองลงมาโดยภาพรวม การออกแบบตกแต่งมีค่าร้อยละ 82 ผู้ท�ำวิจัยได้สรุปคะแนนจากแบบร่าง กระเป๋าแฟชั่น เพื่อจัดท�ำต้นแบบ จ�ำนวน 5 แบบ (เลือกแบบไม่เรียงคะแนน) มีแบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 5 แบบที่ 6 และแบบที่ 9 ผู้ท�ำ วิจัยจึงเลือกรูปแบบกระเป๋าจ�ำนวน 5 รูปแบบมาท�ำต้นแบบและถ่ายทอดสู่ชุมชน

การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบเสื้อแฟชั่นจากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ ผู้วิจัย : นางพจนา นูมหันต์ ผศ.อุษา ตั้งธรรม ผศ.วาสนา ช้างม่วง ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ผลการศึกษาพบว่า การประเมินผลิตภัณฑ์เสื้อแฟชั่นจากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ 5 รูปแบบ กลุ่มผู้สนใจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-40 ปี รับราชการ การศึกษาระดับปริญญาตรี และรายได้ 15,001 – 25,000 บาท มีความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า พบว่า เสื้อแฟชั่นรูป แบบ A มีความเหมาะสมมากที่สุด ทั้งด้านรูปแบบ ลวดลาย สี และโดยภาพรวมการประเมินกระบวนการฝึกอบรม กลุ่มผู้เข้ารับการอบรม ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุ 31 - 40 ปี อาชีพ ทอผ้า การศึกษาประถมศึกษา รายได้เฉลี่ย 5,001 - 10,000 บาท ก่อนการฝึกอบรม มีความรู้ และความสามารถเกี่ยวกับการออกแบบ ตัดเย็บ และตกแต่งเสื้อผ้าจากผ้าไหม หลังการฝึกอบรม มีความรู้และสามารถปฏิบัติได้ ทั้ง 3 ด้าน ในระดับ มาก และมีความต้องการอบรมในครั้งต่อไป

29


การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบลวดลายทอและสีผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ ผู้วิจัย : ผศ.จรูญ ตั้งธรรม ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ผลการศึกษาพบว่า การทอผ้าไหมและผ้าไหมมัดหมี่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมทีส่ บื ทอดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ จากบรรพบุรษุ มายาวนาน ลวดลาย และสี ยังคงใช้ลวดลายแบบดั้งเดิมและประยุกต์ลวดลายขึ้นมาใหม่บ้างแต่ไม่มากนัก จากการทดสอบความคงทนของสีต่อการซัก ล้าง ความคงทนของสีตอ่ แสงความคงทนของสีตอ่ การขัดถู ความคงทนของสีตอ่ น�ำ้ และความคงทนของสีตอ่ การซักล้าง อยูใ่ นระดับ ดีถึงดีที่สุด (ระดับ 4-5) ค่าความคงทนของสีต่อแสงอยู่ในระดับดี (ระดับมากกว่า 5) ค่าความคงทนของสีต่อเหงื่อในสภาวะกรดและ ด่าง อยู่ในระดับดีถึงดีที่สุด (ระดับ 4-5) และค่าความคงทนของสีต่อน�้ำอยู่ในระดับ (ระดับ 4) การวางลวดลายผ้าไหมและผ้ามัดหมี่ ยังคงความเป็นลวดลายผ้านาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ ลวดลายไม่ยากและไม่ง่ายจนเกินไปแต่เหมาะสมกับการน�ำมาทอผืนผ้า การจัด วางช่องไฟจังหวะของลวดลายมีความสมดุลและไม่แน่นจนเกินไป การวางลวดลายที่มีแนวตั้ง แนวนอน แนวเฉียงและสลับลายเพื่อ ให้เหมาะสมกับการน�ำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ การวางแถบสีบนผ้าไหมมีความกลมกลืนและเหมาะสมกับการน�ำไปผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ การใช้สโี ทนเข้มเมือ่ น�ำมาใช้กบั ผ้าไหมและผ้ามัดหมีท่ ำ� ให้ลวดลายมีความเด่นชัดขึน้ การใช้สๆี เดียวและสีใกล้เคียง เพือ่ ให้เหมาะสมกับแฟชัน่ และผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอในปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์จากผ้าไหมและผ้าไหมมัดหมีท่ ปี่ ระยุกต์ลวดลายใหม่ เครือ่ งแต่ง กายมีความร่วมสมัยและเป็นสากลมากขึ้น กระเป๋ามีความเหมาะสมกับการน�ำผ้าไหมและผ้าไหมมัดหมี่มาใช้โดยยังคงลักษณะเดิม ไว้ และเคหะสิ่งทอมีความร่วมสมัยและยังคงคุณค่าของผ้าไหมมัดหมี่นาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ มากที่สุด

ผลิตสื่อวีดีทัศน์การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากผ้าไหมนาโพธิ์ บุรีรัมย์ ผู้วิจัย : ดร.รัตนพล มงคลรัตนสิทธิ์ นางชลธิชา สาริกานนท์ นายสันติ ธรรมสุริเชษฐ์ ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ผลการศึกษาพบว่า กลุม่ ชาวบ้านมีความพึงพอใจต่อสือ่ สามมิตทิ ไี่ ด้ทำ� ออกมามากทีส่ ดุ ทัง้ นีเ้ ป็นเพราะว่ากลุม่ ชาวบ้านได้เห็นภาพขณะปฏิบตั ิ งานทีอ่ ยูใ่ นรูปของวีดโี อ ในขณะทีแ่ ผ่นพับและโปสเตอร์ กลุม่ นักศึกษา นักเรียนและกลุม่ ลูกค้าทีเ่ ข้ามาซือ้ ของในศูนย์ ให้ความสนใจ มากทีส่ ดุ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากแผ่นพับ โปสเตอร์ จะบอกรายละเอียดเกีย่ วกับขัน้ ตอนการผลิต ผ้าไหม และผลิตภัณฑ์ผา้ ไหมนาโพธิ์ ได้คอ่ น ข้างละเอียดและกลุ่มนักศึกษาสามารถที่จะถ่ายรูปเก็บไว้ใช้ต่อไปในอนาคตได้ กรณีของโรลอัพ กลุ่มชาวบ้าน ตลอดจนนักศึกษาให้ ความสนใจในระดับปานกลางทั้งนี้ เนื่องจากจะต้องใช้เวลาในการติดตั้งและใช้พื้นที่ในระบบการติดตั้งค่อนข้างมาก อย่างไรก็ตาม กลุ่มชาวบ้านมีความเห็นว่าโรลอัพมีประโยชน์ในกรณีที่ต้องน�ำสินค้าและผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากศูนย์นาโพธิ์ไปจัดแสดง จากงานวิจัยที่ได้จัดท�ำขึ้นมานี้จะเห็นได้ว่าสื่อสองมิติและสามมิติ มีประโยชน์ต่อกลุ่มของชาวบ้าน ลูกค้า นักศึกษา โดย จะเป็นตัวบ่งบอกเรื่องความเป็นมา ตลอดจนกระบวนการผลิต และแปรรูปผ้าไหมนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์

30


การย้อมสีสมุนไพรไทยเพื่อป้องกันรังสียูวีส�ำหรับประยุกต์ใช้งานด้าน ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ผู้วิจัย : ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ นายธวัชชัย แสงน�้ำเพชร ผลการศึกษาพบว่า การย้อมสีบนผืนผ้าจากวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติใบรางจืด ใบตะไคร้ ผลหมาก มาสกัดท�ำการย้อมสีบนผืนผ้าไหมและน�ำไป ทดสอบ การป้องกันรังสียูวี (สารมอร์แดนท์) และน�ำไปออกแบบชุดเสื้อผ้าท�ำเป็น ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเสื้อผ้าชุดมุสลิม จ�ำนวน 5 ชุด ซึ่งคณะวิจัยได้ท�ำการ เลือกชิ้นผ้าที่มีผลการทดสอบคุณสมบัติการป้องกันรังสีอัลตร้าไวโอเลต UPF Rating 25 ระดับ การป้องกันดีมากคือ 1.การย้อมผ้าไหมด้วยวิธีการสกัดสีย้อมผ้าจากวัสดุธรรมชาติ จากตะไคร้ เลือกผ้าย้อมวิธีที่ 1 ใช้สารช่วยน�้ำดินโคลนใส 1% และวิธีที่ 4 น�ำผ้าไปหมักในดินโคลนก่อนย้อม 30 นาที 2.การย้อมผ้าไหมด้วยวิธีการสกัดสีย้อมจากวัสดุธรรมชาติจากหมาก เลือกผ้าย้อมวิธีที่ 1 ใช้สารช่วยน�้ำมะขาม 3% และวิธีที่ 4 ใช้วิธีการน�ำผ้าไปหมักในดินโคลนก่อนย้อม 30 นาที 3.การย้อมผ้าไหมด้วยวิธีการสกัดสีย้อมจากวัสดุธรรมชาติจากรางจืด เลือกผ้าย้อมที่ 1 ใช้สารช่วยน�้ำมะขาม 1% การศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการออกระหว่างศึกษา : กรณีศกึ ษาคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ผู้วิจัย : ดร.ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ ดร.กาญจนา ลือพงษ์ นายทวีศักดิ์ สาสงเคราะห์ นายวิโรจน์ ยิ้มขลิบ ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาที่ออกระหว่างศึกษาพบว่าปัญหาการถูกถอนชื่อเป็นปัญหาส�ำคัญที่สุด โดยเฉพาะในนักศึกษาระดับชั้นปีที่ 1 และ 2 โดยสาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้ามีอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาสูงที่สุด รองลงมาเป็นสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ สาขาวิชา เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอและสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอตามล�ำดับ เมื่อส�ำรวจความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนในระหว่างศึกษาของ นักศึกษากลุ่มนี้พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจต่อหลักสูตรและผู้สอนในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.57 และ 3.14 ตามล�ำดับ ส่วน ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมอยู่ ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.26 ในทางกลับกันความพึงพอใจของนักศึกษาที่อยู่ในระบบจนส�ำเร็จ การศึกษาพบว่ามีระดับความพึงพอใจในทุกๆ ด้านเพิ่มขึ้น กล่าวคือมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30 ความพึงพอใจผู้สอนในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.67 ตามล�ำดับ ส่วนความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.95 ดังนั้นทางคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่นควรปรับและให้ความใส่ใจในเรื่องของรายวิชาและผู้สอนในชั้นปีที่ 1 และ 2 การทีน่ กั ศึกษาได้เข้าใจถึงหลักและความส�ำคัญของแต่ละสาขาวิชาเป็นปัจจัยหลักทีท่ ำ� ให้นกั ศึกษามีความภาคภูมใิ จและอยากเรียน ในคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่นจนจบการศึกษา

31


กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา การจัดกิจกรรมให้นักศึกษา เป็นสิ่งส�ำคัญในการกระตุ้นและส่งเสริมให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและบุคลิกภาพได้เต็มตามศักยภาพในการท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการเรียนรู้ที่นักศึกษาได้ปฏิบัติ จริงนอกหลักสูตร วัตถุประสงค์ของกิจกรรมนักศึกษาต่อนักศึกษาเป็นสิ่งส�ำคัญที่ผู้ปฏิบัติ เพื่อให้สามารถที่จะด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้มีกิจกรรมที่ส่งเสริม ศักยภาพของนักศึกษา ดังนี้

32


พิธีสักการะศาลพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์

คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้จดั พิธสี กั การะศาลพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ วันที่ 19 ธันวาคม 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น โดยมีบุคลากรและนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านทรงมีพระปรีชาสามารถของพระองค์

วันคล้ายวันสถาปนาคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จัดงานวันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 82 ปี (วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์) วันที่ 11 กันยายน 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น โดยมีพิธีบวงสรวงพระรูปกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และพิธที ำ� บุญเลีย้ งพระเพลพระสงฆ์จำ� นวน 9 รูป จากวัดสุทศั น์เทพวรารามราชวรมหาวิหารเพือ่ เป็นสิรมิ งคล ภายในงานมีผบู้ ริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ อาจารย์ที่เกษียณอายุราชการ ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน ร่วมงาน

33 33


พิธีไหว้ครู ประจ�ำปีการศึกษา 2558

คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ จัดพิธไี หว้ครูประจ�ำปีการศึกษา 2558 โดย ผศ.อาภาพรรณ ยุเหล็ก คณบดี คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เป็นประธานในพิธี เพื่อให้นักศึกษาได้น้อมแสดงความเคารพและระลึกถึงพระคุณครู ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชา และได้รับเกียรติจากท่านอาจารย์ชัยธวัช ตุ่มมะ ประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญ เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2558 ณ ลานอเนกประสงค์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

งานคืนสู่เหย้า 81 ปี ชาวชุมพรเขตร

ชมรมครูผู้ปกครองและศิษย์เก่าชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จัดงานคืนสู่เหย้า 81 ปี ชาวชุมพรเขตร วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น โดยมีคณบดีกล่าวเปิดงาน มีการแสดงของนักศึกษาปัจจุบันและการมอบรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นประเภทต่างๆ เป็นการพบปะสังสรรค์ การจัดหารายได้เพื่อ สนับสนุนการศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอน

34


การจัดแฟชั่นโชว์ “STORY KIDS”

สาขาวิชาออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ จัดแสดงแฟชัน่ โชว์ “STORY KIDS” วันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 เพือ่ แสดงผลงานนักศึกษา สาขาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ชั้นปีที่ 3 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอนรายวิชาออกแบบแฟชั่น 4 รายวิชาการท�ำแบบตัดและ การตัดเย็บเพื่องานแฟชั่น 3 และรายวิชาสัมมนาทางออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ เป็นการบูรณาการของทั้ง 3 วิชา ซึ่งก่อให้เกิดการออกแบบ ของกลุ่มนักศึกษาที่หลากหลายไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ ผ่านในรูปแบบของเสื้อผ้าแฟชั่นเด็ก

การจัดแฟชั่นโชว์ “BRANDING PROJECT”

สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ จัดแฟชั่นโชว์ “BRANDING PROJECT” วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 เพื่อเป็นการแสดงผล งานนักศึกษาสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ชั้นปีที่ 4 ซึ่งเป็นกิจกรรมประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา ออกแบบแฟชั่น 4 การสร้างแบรนด์ของกลุม่ นักศึกษาทีม่ กี ารน�ำเสนอแนวคิดทีม่ คี วามหลากหลายผ่านการน�ำเสนอในรูปแบบของเสือ้ ผ้าแฟชัน่ ภายใต้แบรนด์ ที่นักศึกษาได้จัดตั้งขึ้น

35


การฝึกซ้อมย่อยพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจ�ำปีการศึกษา 2556

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จัดฝึกซ้อมย่อยพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจ�ำปีการศึกษา 2556 วันที่ 9 ธันวาคม 2557 ณ ห้องปรินซ์บอลรูม 1 โรงแรมปรินซ์พาเลซ โดยคณบดีคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เป็นประธานในพิธเี ปิดพร้อมทัง้ ให้โอวาทบัณฑิตผูส้ ำ� เร็จการศึกษา ในปีการศึกษานีม้ บี ณ ั ฑิตผูส้ ำ� เร็จการศึกษา ทัง้ สิน้ จ�ำนวน 107 คน

การเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษา และคณะกรรมการบริหารสโมสรนักศึกษา

ฝ่ายกิจการนักศึกษา จัดการเลือกตัง้ นายกสโมสรนักศึกษา และคณะกรรมการบริหารสโมสรนักศึกษา วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ชั้น 1 อาคาร 4 เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของประชาธิปไตย และความซื่อสัตย์สุจริต

โครงการกีฬา ดนตรี รณรงค์ป้องกันโรคเอดส์และสารเสพติด

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ยทุ ธภูมิ สุวรรณเวช รองอธิการบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร เป็นประธานเปิดงานกิจกรรม “กีฬา ดนตรี รณรงค์ป้องกันโรคเอดส์และสารเสพติด” วันที่ 27 มีนาคม 2558 ณ คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ โดยมีวตั ถุประสงค์สำ� คัญในการพัฒนานักศึกษาเพือ่ เป็นบัณฑิตนักปฏิบตั ทิ มี่ คี ณ ุ ภาพ และส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ให้กบั นักศึกษาของคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ซึง่ ได้รบั ความร่วมมือ จากหน่วยงานและชุมชนในพื้นที่ใกล้เคียง ได้แก่ รองผู้ก�ำกับฝ่ายปราบปราม สน.นางเลิ้ง ผู้จัดการธนาคาร ธกส. สาขานางเลิ้ง ผู้น�ำชุมชนนางเลิ้ง และได้รับเกียรติจากคณบดีคณะศิลปศาสตร์ ร่วมในพิธีเปิดโครงการ

36


การจัดนิทรรศการ “บูรณาการการออกแบบผลิตภัณฑ์”

สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ร่วมกับ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ จัดนิทรรศการ “บูรณาการการออกแบบ ผลิตภัณฑ์” วันที่ 29 เมษายน 2558 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ซึ่งเป็นการน�ำผลงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขา วิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาออกแบบแฟชั่น และสิ่งทอ ในรายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอพื้นถิ่น รายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 2 รายวิชาการถ่ายภาพ รายวิชาการ วาดและการเขียนภาพ 2 และรายวิชาการท�ำแบบตัดและการตัดเย็บเพื่องานแฟชั่น 2 มาจัดแสดงในรูปแบบของนิทรรศการผสมผสาน ร่วมกับการจัดแสดงแฟชั่นโชว์

จัดแฟชั่นโชว์ “BRANDING PROJECT”

สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ จัดแฟชั่นโชว์ “BRANDING PROJECT 2” วันที่ 1 พฤษภาคม 2558 ณ คณะอุตสาหกรรม สิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เพื่อเป็นการแสดงผลงานนักศึกษาสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ชั้นปีที่ 4 ประกอบการเรียนการสอน รายวิชาออกแบบแฟชั่น 4 การสร้างแบรนด์ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการน�ำเสนอแนวคิดด้านการออกแบบเสื้อผ้าแฟชั่นภายใต้แบรนด์สินค้า ที่นักศึกษาได้จัดตั้งขึ้น

การจัดแสดงผลงานศิลปะสิ่งทอ

ศูนย์การเรียนรู้สิ่งทอและแฟชั่น ร่วมกับสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จัดแสดงผลงานศิลปะสิ่งทอ “FREEDOM OF MY LIFE” วันที่ 1 – 12 พฤษภาคม 2558 ณ ศูนย์การเรียนรู้สิ่งทอและแฟชั่น ซึ่งเป็นการ จัดแสดงผลงานของนักศึกษาสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ชั้นปีที่ 2 ในรายวิชาศิลปะสิ่งทอ และการจัดแสดงผ้าทอกลุ่มชาติพันธ์ ในการประยุกต์ผืนผ้าให้เกิดความร่วมสมัยในการสวมใส่เป็นชุดท�ำงาน

37


โครงการอบรมสัมมนาพัฒนาความเป็นผู้น�ำในการด�ำเนินกิจกรรมนักศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2557

งานกิจกรรมสโมสรนักศึกษา ฝ่ายกิจการนักศึกษา จัดโครงการอบรมสัมมนาพัฒนาความเป็นผูน้ ำ� ในการด�ำเนินกิจกรรม นักศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2557 วันที่ 16 – 17 กรกฎาคม 2558 ณ อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อนักศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจหลักการเขียนโครงการเบือ้ งต้นและระเบียบต่างๆ ว่าด้วยการจัดกิจกรรมนักศึกษา เพือ่ น�ำเอาไปเป็นแนวทางในการเป็น ผูน้ ำ� จัดกิจกรรมนักศึกษาต่อไป

กิจกรรม ADDA Design Contest ครัง้ ที่ 7

สาขาวิ ช าออกแบบแฟชั่ น และสิ่ ง ทอ และสาขาวิ ช า ออกแบบผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ เข้าร่วมกิจกรรม ADDA Design Contest ครั้งที่ 7 ของบริษัท แอ๊ดด้า ฟุตแวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด วันที่ 4 กันยายน 2558 ณ อาคารเรือนปัญญา ชั้น 4 คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้นกั ศึกษามีพนื้ ทีใ่ นการน�ำ เสนอผลงาน ได้เรียนรู้การผลิตรองเท้าล�ำลอง จากผู้ผลิตรองเท้า มืออาชีพ โดยมีอาจารย์เกษม มานะรุ่งวิทย์ และอาจารย์กรชนก บุญทร เป็นผู้ควบคุม

โครงการเคมีฯ ร่วมใจแบ่งปันรอยยิ้ม

สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอร่วมกับศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน จัดโครงการเคมีฯ ร่วมใจแบ่งปันรอยยิ้ม วันที่ 20 กันยายน 2558 ณ สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและสติปัญหา จังหวัดราชบุรี เพื่อปลูกจิตส�ำนึกให้นักศึกษาและศิษย์เก่าได้ รู้จักการแบ่งปัน เอื้ออาทร เสียสละ ต่อสังคม และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างรุ่นพี่- รุ่นน้อง ศิษย์เก่า-ศิษย์ปัจจุบัน ซึ่งในปีการ ศึกษา 2558 ได้ร่วมกันจัดกิจกรรม ที่สถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและสติปัญญา จังหวัดราชบุรี โดยการจัดกิจกรรมเพ้นท์ กระเป๋าผ้ากับน้อง ๆ ที่สถานสงเคราะห์ การเลี้ยงอาหารและไอศกรีม รวมถึงการน�ำสิ่งของเครื่องอุปโภค บริโภค และมอบเงินไป บริจาคให้กับสถานสงเคราะห์ เพื่อการน�ำไปใช้ประโยชน์ในสถานสงเคราะห์ต่อไป

38


การศึกษาดูงานสถานประกอบการด้าน เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ

สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ น�ำนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จ�ำนวน 25 คน ศึกษาดูงานในสถานประกอบการทางด้านเคมี สิ่งทอ ณ บริษัทโรงงานพิมพ์ย้อมผ้าไทยจ�ำกัด (มหาชน) ในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 โดยมีอาจารย์ผู้ควบคุมการศึกษาดูงาน คือ อาจารย์พชิ ติ พล เจริญทรัพยานันท์ อาจารย์จ�ำลอง สาริกานนท์ และอาจารย์ชลธิชา สาริกานนท์ ซึ่งนักศึกษาได้ มี โ อกาสในการ เข้ า เยี่ ย มชมการปฏิ บั ติ ง านของบริ ษั ท ทั้ ง ส่ ว นห้องปฏิบัติการ ย้อมสี ห้องปฏิบัติการทดสอบ และฝ่ายผลิต ได้รับการต้อนรับเป็น อย่างดีจาก คุณชัยณรงค์ โชควงศ์วรัณ ผู้จัดการโรงงาน

การสัมมนาเรื่อง “แนวทางการสร้างแบรนด์สินค้าแฟชั่น”

สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ จัดสัมมนาเรื่อง “แนวทางการสร้างแบรนด์สินค้าแฟชั่น” วันที่ 15 ตุลาคม 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เพื่อประกอบการเรียนการสอนรายวิชา สัมมนาทางออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอได้เชิญ คุณอรรถพนธ์ พงษ์เลาหพันธุ์ มาบรรยายให้กบั นักศึกษา เพือ่ ให้เกิดแนวความคิดในการสร้างสรรค์ สร้างแบรนด์สนิ ค้าของตนเอง และพัฒนา ต่อยอดสืบต่อไป

การสัมมนาเรื่อง “การแต่งหน้าเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ”

สาขาวิ ช าออกแบบแฟชั่นและสิ่ง ทอ จัดสัมมนาเรื่อง “การแต่งหน้าเพื่อพัฒนาบุค ลิกภาพ” วันที่ 21 ตุล าคม 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ เพือ่ ประกอบการเรียนการสอน รายวิชาสัมมนาทางออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ ได้รบั เกียรติ จากคุณอัครพล ปิ่นละออ บรรยายความรู้เรื่องการแต่งหน้าให้กับนักศึกษา เพื่อให้เกิดการปฏิบัติในสถานการณ์จริง และน�ำความรู้ที่ได้จาก การสัมมนาน�ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาบุคลิกภาพในการท�ำงานต่อไป

39


การสัมมนาเรื่อง “ก้าวแรกสู่การเป็นสไตล์ลิส”

สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ จัดสัมมนาเรื่อง “ก้าวแรกสู่การเป็นสไตล์ลิส” วันที่ 28 ตุลาคม 2557 ณ คณะ อุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ เพือ่ ประกอบการเรียนการสอนรายวิชา สัมมนาทางออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ ได้รบั เกียรติ จากคุณอารยา อินทรา ร่วมบรรยายให้กับนักศึกษา เพื่อทราบเทคนิคการเป็นสไตล์ลิส และการก้าวสู่การเป็นสไตล์ลิสแถวหน้าของ เมืองไทย

การสัมมนา “แนวความคิดสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์”

สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ จัดสัมมนา “แนวความคิดสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์” วันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เป็นการบรรยายให้ความรู้ทางด้านแนวความคิดสู่การออกแบบ ผลิตภัณฑ์บรรยายโดย คุณกวินพัฒน์ อมรบุลเศรษฐ์ บริษัทแอ๊ดด้า (ไทยแลนด์) จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อเป็นการพัฒนาด้าน แนวความคิดการออกแบบและกระบวนการผลิตตลอดจนการพัฒนาในด้านเทคโนโลยี เพือ่ มาประยุกต์ใช้ในการท�ำงานต่อไป

การสัมมนาเรื่องเครื่องหนังก้าวไกล ใส่ใจสิ่งทอ

สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า จัดอบรมสัมมนาเรื่อง เครื่องหนังก้าวไกล ใส่ใจสิ่งทอ ในวันที่ 18 มีนาคม 2558 ณ ห้อง 423 คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ โดยได้รบั เกียรติจากคุณธ�ำรงค์ หาญวนิชสกุล เป็นวิทยากร เพือ่ ให้นกั ศึกษา ได้ทราบถึงมุมมองในการท�ำงานภายในสถานประกอบการก่อนการออกไปท�ำงานจริงในสถานประการ

40


การสัมมนา “CREATIVE ถีบความคิดสะกิดปัญญา”

สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ จัดสัมมนา “CREATIVE ถีบความคิดสะกิดปัญญา” วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 ซึ่งเป็นการ บรรยายให้ความรู้เรื่อง “What is design?” ต้องมีอะไรถึงออกแบบได้ โดยได้รับเกียรติจาก คุณนุกูล โณรี ผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ ทางด้านการออกแบบ ในการให้ความรู้และมุมมองแก่นักศึกษาเพื่อการมองเห็นหลักในการออกแบบ และน�ำไปใช้ในการท�ำงานต่อไป

การฝึกอบรมแนวความคิดในการสร้างสรรค์สิ่งทอ การใช้แนวคิด (TREND2015-2017)

สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ได้จัดให้มีการถ่ายทอดความรู้ เรื่องแนวความคิดในการสร้างสรรค์สิ่งทอ การใช้แนวคิด (TREND2015-2017) ให้กับนักศึกษาของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ทั้ง 4 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อ สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ วันที่ 19 มีนาคม 2558 ณ ห้องประชุม 423 คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้นำ� ความรูแ้ ละแนวคิดจากแนวโน้มแฟชัน่ 2015 – 2017 ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษา

โครงการปัจฉิมนิเทศ ประจ�ำปีการศึกษา 2557

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จัดโครงการปัจฉิมนิเทศ ประจ�ำปีการศึกษา 2557 วันที่ 24 เมษายน 2558 เพื่อให้นักศึกษาที่ก�ำลังศึกษาในชั้นปีที่ 4 ที่จะส�ำเร็จการศึกษาเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่โลกของการท�ำงาน หรือศึกษาต่อในระดับที่ สูงขึน้ และเพือ่ เป็นการกระตุน้ เตรียมความพร้อมให้นกั ศึกษาพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ โดยได้รบั เกียรติจาก คุณเฟือ่ งลดา จีอ้ นุ่ เป็นวิทยากร บรรยายพิเศษ เรื่องการเตรียมตัวสูภ่ าวการณ์ทำ� งาน และคุณนวรัตน์ สรสิน ผูจ้ ดั การฝ่ายบุคคล บริษทั ศรีเมืองไทย จ�ำกัด ได้ให้เกียรติเป็น วิทยากรบรรยายพิเศษในหัวข้อ “การเตรียมความพร้อมในการสมัครงาน”

41


ผลงานความภาคภูมิใจ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญและช�ำนาญการ ด้านสิ่งทอและแฟชั่น ซึ่งมีศักยภาพและเป็นที่ยอมรับและมีความพร้อมในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ประชาชนทั่วไป จึงมีหน่วย งานทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ติดต่อและขอความช่วยเหลือในด้านต่างๆ เกีย่ วกับสิง่ ทอและแฟชัน่ ให้เป็นทีป่ ระจักษ์ตอ่ สังคม โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มีผลงานทีภ่ าคภูมใิ จ ดังนี้

42


รางวัลเกียรติยศ เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

เนือ่ งในวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยได้จดั ให้มกี จิ กรรมวันคล้ายวันสถาปนา ใน วันที่ 19 มกราคม 2558 ณ ห้องประชุมมงคลอาภา 1 ชัน้ 3 อาคารมงคลอาภา คณะบริหารธุรกิจ หน่วยงานบริหารงานวิจยั ดีเด่น มหาวิทยาลัย และเชิดชูเกียรติหน่วยงาน บุคลากรศิษย์เก่า และผู้ท�ำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัย ที่มีความสามารถและมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ซึ่ง คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น รวมทั้งบุคลากร ศิษย์เก่า และผู้ที่ท�ำคุณประโยชน์ให้กับคณะได้รับรางวัล ดังนี้

บุคลากรสายวิชาการ ระดับดีเด่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ

ลูกจ้างประจ�ำ ระดับดีมาก นายสมพงค์ อมรประสิทธิ์

ศิษย์เก่าดีเด่น ประจ�ำปี 2557 สาขาผู้บริหารด้านการศึกษา นางสาวเง็กไน้ แซ่ลี้ รองผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยการ อาชีพสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้ท�ำคุณประโยชน์ให้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ประจ�ำปี 2557 นางพิกุล สัจจามรรค ผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท ล�ำปาง เซราแมท จ�ำกัด และประธาน กลุ่มแม่บ้านชุมชนนาก่วมใต้ นางธนธัญ การสมพรต ผู้จัดการห้องเสื้อ BEWITCH กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีเอ็นวายดี จ�ำกัด และ กรรมการผู้จัดการบริษัท รู๊ทแดคโค จ�ำกัด 43 43

รางวัลเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานด้านศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมดีเด่น ผู้มีผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมดีเด่น สาขาศิลปะ ประจ�ำปี 2557 ประเภทฝ่ายชาย นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์


การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณบดี

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ต้อนรับคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณบดี วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 โดยมีคณะกรรมการตรวจเยี่ยมประเมินผลการปฏิบัติงาน ได้แก่ ศาสตราจารย์ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายโอภาส เขียววิชยั นายพีรพัทธ์ วงค์กมลพร นางสาวสมจิตต์ มหัธนันท์ ผศ.สุขมุ าล หวังวณิชพันธุ์ และ นางสาวสายพิณ ศรีครอบ ลงพื้นที่ระดับคณะตามเกณฑ์การประเมิน

โครงการฝ้ายทอใจ

สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ส่งผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือพิมพ์ลายพิเศษ ของโครงการ ฝ้ายทอใจ และได้จัดให้มีการ vote ผลงานการออกแบบ ในวันที่ 11 กรกฎาคม 2558 ขึ้นซึ่งผลงานของสาขาวิชาออกแบบแฟชั่น และสิ่งทอ ได้รับรางวัล popular vote เป็นรางวัลที่ได้จากผู้เข้าร่วมงาน ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ ผลงานจัดแสดง ระหว่าง วันที่ 9 - 12 กรกฎาคม 2558 ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีอาจารย์นฤพน ไพศาลตันติวงศ์ เป็นผู้ควบคุมการออกแบบผลิต

การน�ำเสนอผลงานวิจัยรายการผู้หญิงถึงผู้หญิง

ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ และอาจารย์ธวัชชัย แสงน�้ำเพชร คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น น�ำผลงานวิจัย เรือ่ ง “การย้อมสีดว้ ยสมุนไพรไทยเพือ่ ป้องกันรังสียวู ี ส�ำหรับประยุกต์ใช้งานด้านผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ”ออกอากาศสดรายการผูห้ ญิงถึง ผู้หญิง ทางสถานีไทยช่อง 3 Family ช่อง 13 ในวันศุกร์ที่ 2 ตุลาคม 2558

44


รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดี

ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสงิ่ ทอ คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ รับรางวัล วิทยานิพนธ์ รางวัลระดับดี ประจ�ำปี 2557 สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจยั ในวิทยานิพนธ์เรือ่ ง “การสกัดสียอ้ มจากใบยูคาลิปตัส และการประยุกต์ส�ำหรับการย้อมสีบนผ้าไหม และผ้าขนสัตว์” ในงานวันนักประดิษฐ์ 2558 ณ อิมแพคอารีนาเมืองทองธานี

การประกวดกระทง ในงานเทศกาลลอยกระทงกรุงเทพมหานคร 2557

คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ร่วมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมไทย น�ำกระทงเข้าร่วมประกวด ในงานเทศกาล ลอยกระทงกรุงเทพมหานคร 2557 วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 ณ บริเวณสะพานพระราม 8 เขตบางพลัด งานนี้จัดโดยส�ำนักงาน กรุงเทพมหานครซึ่งได้รับรางวัลรองชนะเลิศอับดับที่สอง ประเภทความคิดสร้างสรรค์ โดยมีอาจารย์ธวัชชัย แสงน�้ำเพชร เป็นผู้ควบคุม การประดิษฐ์กระทง

การประกวดกระทง งานสืบสานประเพณี ลอยกระทง เขตดุสิต

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดกระทงประเภทสร้างสรรค์ จากการส่งกระทง เข้าประกวดในงาน “สืบสานประเพณี ลอยกระทง เขตดุสิต” ระหว่างวันที่ 5 - 6 พฤศจิกายน 2557 ณ วัดราชาธิวาสวิหาร จัดโดยส�ำนักงานเขตดุสิตร่วมกับวัดราชาธิวาสวิหาร โดยมีอาจารย์ธวัชชัย แสงน�้ำเพชร เป็นผู้ควบคุมการประดิษฐ์กระทง

45


วิทยากรบรรยายเรื่องการ Styelist และ การจัดแสดง Window Display

อาจารย์กฤษดา รัตนางกูร อาจารย์สาขาวิชาออกแบบ แฟชั่นและสิ่งทอ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรในการอบรมสัมมนา เชิงปฏิบตั กิ ารในเรือ่ งการ Styelist และการจัด Window Display วันที่ 24 - 26 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ จังหวัด อุบลราชธานี เพือ่ สร้างฐานองค์ความรูพ้ ฒ ั นาสิง่ ทอทางวัฒนธรรม อีสานให้อยู่ในกระแสนิยม และเป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกัน ซึ่งจัดโดยภาควิชานฤมิต ศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศิษย์เก่าวิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์เข้าเยี่ยมชมคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ และออกแบบแฟชั่น

ชมรมครูผปู้ กครองและศิษย์เก่าชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้จดั ให้มกี ารต้อนรับ ศิษย์เก่าวิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ รุน่ ปี พ.ศ. 2520 วันที่ 10 ตุลาคม 2557 โดยได้มกี ารเข้าสักการะศาลกรมหลวงชุมพรเขตร อุดมศักดิ์ และเยี่ยมชมความก้าวหน้าของคณะพร้อมทั้งชมศูนย์การเรียนรู้สิ่งทอและแฟชั่น

วิทยากรการอบรมปฏิบัติการเชิงลึกและการสร้างตราสินค้า

อาจารย์ธวัชชัย แสงน�้ำเพชร และอาจารย์นฤพน ไพศาลตันติวงศ์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ได้รับเชิญจากศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9 เป็นที่ปรึกษา กิจกรรมปฏิบัติการเชิงลึกโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ทวารวดี วันที่ 25 - 27 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมวังส�ำราญ ต�ำบลท่าตูม อ�ำเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี โดยมีผปู้ ระกอบการ ที่เข้าร่วมจ�ำนวน 30 ราย

46


รายการ “อาชีพคนเมือง”

อาจารย์ ธวัชชัย แสงน�้ำเพชร อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ได้รับเกียรติจากรายการ “ของดีเมืองหลวง” เผยแพร่ภารกิจของกรุงเทพมหานครทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ให้สัมภาษณ์ในช่วง “อาชีพคนเมือง” ในหัวข้อ “ผลิตภัณฑ์ ประยุกต์จาก ผ้าไทย เขตดุสิต” ในวันที่ 24 เมษายน 2558 และออกอากาศในวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 ทางช่อง GMMZ

วิทยากรการอบรมปฏิบัติการเชิงลึกและการสร้างตราสินค้า

อาจารย์ธวัชชัย แสงน�้ำเพชร อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรการอบรมปฏิบัติการ เชิงลึกและการสร้างสรรค์ตราสินค้า ให้กับผู้ประกอบการในโครงการสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์จากทุนทางวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญา ภายใต้โครงการ การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาปี 2558 ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม วันที่ 4 – 5 มิถุนายน 2558 ณ โรงแรมไอโฮเทลขอนแก่น อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

บันทึกเทปรายการสถานีนวัตกรรม

อาจารย์สดุ ากาญจน์ แยบดี อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ร่วม บันทึกเทปรายการโทรทัศน์ ชุดรายการสถานีนวัตกรรม ช่วงไทยคิดไทยค้น เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอจากผ้าไหมมัดหมี่บาติก ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับขั้นตอนการผลิตผ้าบาติกมาผสมผสานกับการมัดหมี่บนเส้นไหม โดยส�ำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช เผยแพร่ความรู้ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม true visions ช่องสัญญาณดาวเทียม DLTV 8 และทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ www.stou.ac.th ออกอากาศวันไหนจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง

47


วิทยากรฝึกอบรมปฏิบัติการเชิงลึกและ การออกแบบผลิตภัณฑ์พัฒนาธุรกิจ อุตสาหกรรม

อาจารย์ธวัชชัย แสงน�ำ้ เพชร อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชา ออกแบบแฟชั่ น และสิ่ ง ทอ ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม อุตสาหกรรมภาค 8 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมเป็นทีป่ รึกษา กิจกรรมการอบรมปฏิบัติการเชิงลึก การออกแบบผลิตภัณฑ์ พัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม โดยใช้ทนุ ทางวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญา (วัฒนธรรมอยุธยา) ระหว่างวันที่ 23 – 25 กุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงแรมอยุธยาแกรนด์ อ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมชุ ม ชน จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง จังหวัดสมุทรสาคร และ จังหวัดสมุทรสงคราม จ�ำนวน 30 ราย

วิทยากรฝึกอบรมปฏิบตั กิ ารเชิงลึกการสร้างสรรค์สนิ ค้าและการพัฒนาขีดความสามารถ ผู้ประกอบการ

อาจารย์ธวัชชัย แสงน�ำ้ เพชร อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชา ออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ ได้รบั เชิญจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นวิทยากรในการอบรมปฏิบัติการเชิงลึก การสร้างสรรค์สินค้าและการพัฒนาขีดความสามารถผู้ประกอบการ วันที่ 17 - 18 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมลักซอร์ แจ้งวัฒนะ จังหวัดนนทบุรี ให้กับผู้ผลิตสินค้าชุมชน จ�ำนวน 80 ราย จากทั่วประเทศ

การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 31 (พระนครเกมส์)

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ได้รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่ผู้เชิญเหรียญรางวัล ในการแข่งขันกีฬา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31 (พระนครเกมส์) ระหว่างวันที่ 7 – 14 กุมภาพันธ์ 2558 เป็นการ แข่งขันกีฬาระหว่างนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ทั้ง 9 ราชมงคล ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เป็น เจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬา ณ สนามธรรมศาสตร์รังสิต

48


บันทึกวีดีทัศน์ SMART RMUTP

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ร่วมบันทึกวีดีทัศน์ SMART RMUTP มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พร้อมด้วยคณาจารย์และนักศึกษาเข้าร่วมการถ่ายท�ำครั้งนี้ เพื่อให้เป็นที่รู้จักแสดงความโดดเด่นด้านการเรียนการสอนเพื่อการประกอบ อาชีพอย่างแท้จริง โดยมุง่ มัน่ เป็นผูน้ ำ� การจัดการศึกษาด้านวิชาชีพด้วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการพัฒนาก�ำลังคนให้มคี ณ ุ ภาพ คู่คุณธรรมสู่มาตรฐานสากล เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

นิทรรศการ “ตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 19”

คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ร่วมงานนิทรรศการ ตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษาครัง้ ที่ 19วันที่ 10 -11 พฤศจิกายน 2557 ณ อาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน และร่วมออกบูธเพื่อเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ต่าง ๆ พร้อมให้ค�ำแนะน�ำหลักสูตรของคณะ พร้อมเปิดโอกาสให้กับนักศึกษาและนักเรียนระดับมัธยมชั้นปีที่ 5 และปีที่ 6 ได้ซักถามราย ละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรการเรียนการสอนของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าศึกษาต่อในระดับ ปริญญาตรี โดยมีงานประชาสัมพันธ์และงานแนะแนวการศึกษา เข้าร่วมกิจกรรม

49


แสดงความยินดี กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ

คณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและออกแบบแฟชั่ น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร น� ำ โดยท่ า นคณบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก ได้น�ำดอกไม้แสดงความยินดีกับท่าน ดร.ชาญชัย สิริเกษมเลิศ ในโอกาสด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วันที่ 30 กันยายน 2558

การจัดท�ำแบบบรรยายลักษณะงานสายสนับสนุน (Job Description)

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เชิญผู้อ�ำนวยการกองบริหารงานบุคคล และคุณนงลักษณ์ ทองนาค หัวหน้างานพัฒนาระบบงานและอัตราก�ำลัง เป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดท�ำแบบบรรยายลักษณะงานสายสนับสนุน (Job Description) ตลอดจนกระบวนการการประเมินบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งสูงขึ้น วันที่ 25 มีนาคม 2558 ณ ห้องประชุมมงคลอาภา อาคารมงคลอาภา คณะบริหารธุรกิจ เพื่อบุคลากรสายสนับสนุนจะได้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถที่จะท�ำผลงานเพื่อรับประเมินแต่งตั้งในต�ำแหน่งที่สูงขึ้น โดยมีบุคลากรสายสนับสนุน (ข้าราชการ/พนักงานมหาวิทยาลัย) 5 คณะ เข้าร่วมรับฟังการชี้แจ้ง

50


การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ตระหนักถึงความส�ำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยการเป็น

สถาบันอุดมศึกษาที่ท�ำหน้าที่ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ ได้ด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาประจ�ำปีการศึกษา 2557 โดยยึด กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อการวางแผนการเตรียมความพร้อม ในด้านต่าง ๆ มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพในระดับหลักสูตร และระดับคณะ ให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา การให้บริการ แก่นักศึกษา ศิษย์เก่า และประชาชนทั่วไป โดยในปีการศึกษา 2557 คณะมีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ระดับคณะ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ดังนี้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 การก�ำกับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ องค์ประกอบที่ 4 การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 5 การบริหาร


การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร

ผลการประกันคุณภาพประจ�ำปีการศึกษา 2557 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น รับการตรวจประเมิน คุณภาพระดับหลักสูตร ในวันที่ 19-20 สิงหาคม 2558 โดยมีคณะกรรมการผู้ประเมิน ดังนี้ นายพิเชฐ จิรประเสริฐวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประธาน นางสาวเกศทิพย์ กรีเ่ งิน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กรรมการ และ นายนฤศร มังกรศิลา คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กรรมการและเลขานุการ โดยมีผลการประเมิน ดังนี้ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า มีผลการด�ำเนินงาน “ได้มาตรฐาน” ตามมาตรฐานการศึกษา ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีระดับคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (2.64 คะแนน)

52


หลักสูตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเสือ้ ผ้า มีผลการด�ำเนินงาน “ได้มาตรฐาน” ตามมาตรฐานการศึกษาระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ มีระดับคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (2.64 คะแนน) ผลการประเมิน องค์ประกอบที่

I

P

1 การก�ำกับมาตรฐาน

O

0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย คะแนนเฉลี่ย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

ผ่านการประเมิน

หลักสูตรได้มาตรฐาน

2 บัณฑิต

-

-

3.92+4.75

4.34

3 นักศึกษา

2.00+2.00+2.00

-

-

2.00

4 อาจารย์

2.00+1.67+3.00

-

-

2.22

5 หลักสูตร การเรียนการ สอน การประเมินผู้เรียน

2.00

2.00+2.00+5.00

-

2.75

6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

-

2.00

-

2.00

รวม

14.67/7=2.10

11/4=2.75

8.67/2=4.34

34.34/13

ผลการประเมิน

ระดับคุณภาพ ปานกลาง

ระดับคุณภาพปาน กลาง

ระดับคุณภาพ ดีมาก

2.64

ระดับคุณภาพปานกลาง

จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ (13 ตัวบ่งชี้) พบว่า องค์ประกอบที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.1) “ผ่าน”ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสงิ่ ทอ มีผลการด�ำเนินงาน “ได้มาตรฐาน”ตามมาตรฐานการศึกษา ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีระดับคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (2.85 คะแนน) ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ ผลการประเมิน องค์ประกอบที่

I

P

1 การก�ำกับมาตรฐาน

O

0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย คะแนนเฉลี่ย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

ผ่านการประเมิน

หลักสูตรได้มาตรฐาน

2 บัณฑิต

-

-

3.78+5.00

4.39

3 นักศึกษา

2.00+2.00+3.00

-

-

2.33

4 อาจารย์

2.00+3.22+3.00

-

-

2.74

5 หลักสูตร การเรียนการ สอน การประเมินผู้เรียน

2.00

2.00+2.00+5.00

-

2.54

6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

-

2.00

-

2.00

รวม

17.22/7=2.46

11/4=2.75

8.67/2=4.34

37.00/13

ผลการประเมิน

ระดับคุณภาพ ปานกลาง

ระดับคุณภาพปาน กลาง

ระดับคุณภาพ ดีมาก

2.85 53

ระดับคุณภาพปานกลาง


จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ (13 ตัวบ่งชี้) พบว่า องค์ประกอบที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.1) “ผ่าน”ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ มีผลการด�ำเนินงาน “ได้มาตรฐาน” ตามมาตรฐาน การศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งชาติมีระดับคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (2.53 คะแนน) ผลการประเมิน องค์ประกอบที่

I

P

1 การก�ำกับมาตรฐาน

O

0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย คะแนนเฉลี่ย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

ผ่านการประเมิน

หลักสูตรได้มาตรฐาน

2 บัณฑิต

-

-

4.92+5.00

4.96

3 นักศึกษา

2.00+2.00+2.00

-

-

2.00

4 อาจารย์

2.00+0.00+3.00

-

-

1.67

2.00

2.00+2.00+4.00

-

2.50

-

2.00

-

2.00

รวม

13/7=1.86

10/4=2.50

9.92/2=4.96

32.92/13

ผลการประเมิน

ระดับคุณภาพ ปานกลาง

ระดับคุณภาพปาน กลาง

ระดับคุณภาพ ดีมาก

2.53

5 หลักสูตร การเรียนการสอน การ ประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ระดับคุณภาพปานกลาง

จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ (13 ตัวบ่งชี้) พบว่า องค์ประกอบที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.1) “ผ่าน” ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ มีผลการด�ำเนินงาน “ได้มาตรฐาน” ตามมาตรฐานการ ศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีระดับคุณภาพอยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (2.82 คะแนน) ผลการประเมิน องค์ประกอบที่

I

P

1 การก�ำกับมาตรฐาน

O

0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย คะแนนเฉลี่ย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

ผ่านการประเมิน

หลักสูตรได้มาตรฐาน

2 บัณฑิต

-

-

5.00+4.17

4.59

3 นักศึกษา

2.00+2.00+2.00

-

-

2.00

4 อาจารย์

2.00+4.44+3.00

-

-

3.15

2.00

2.00+2.00+4.00

-

2.50

-

2.00

-

2.00

รวม

17.44/7=2.49

10/4=2.50

9.17/2=4.59

36.61/13

ผลการประเมิน

ระดับคุณภาพ ปานกลาง

ระดับคุณภาพปาน กลาง

ระดับคุณภาพ ดีมาก

2.82

5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ระดับคุณภาพปานกลาง

จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ (13 ตัวบ่งชี้) พบว่า องค์ประกอบที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.1) “ผ่าน” ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 54


การประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ

คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้ปฏิบตั ภิ ารกิจหลักทีส่ ถาบันอุดมศึกษาจะได้ปฏิบตั คิ อื การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริการวิชาการแก่สงั คม และการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม ตามแบบแผนทีก่ ำ� หนด P D C A การวางแผน การด�ำเนินงานและเก็บข้อมูล การประเมินคุณภาพ จนท�ำให้เกิดความมัน่ ใจในคุณภาพและมาตรฐานของดัชนีตวั ชีว้ ดั ระบบและกระบวนการการผลิต ผลผลิตและผลลัพธ์ ของการจัดการศึกษา โดยระหว่าง วันที่ 16-17 กันยายน 2558 คณะได้รับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการผู้ประเมินได้แก่ นายด�ำเนิน ไชยแสน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประธาน ผศ.กรรณิการ์ ม่วงชู คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กรรมการ และนายทินวงษ์ รักอิสสระกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กรรมการและเลขานุการ โดยคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ได้ด�ำเนินการตาม การประกันคุณภาพการศึกษา ของ สกอ. ตาม 5 องค์ประกอบ จ�ำนวน 13 ตัวบ่งชี้ ซึ่งผลการประเมินตนเอง ภาพรวมอยู่ในระดับดี ที่ 3.66 คะแนน หากพิจารณาตามรายองค์ประกอบ สามารถสรุปได้ดังนี้ องค์ประกอบที่มีผลระดับดีมาก องค์ประกอบที่มีผลอยู่ในระดับดี องค์ประกอบที่มีผลอยู่ในระดับพอใช้ องค์ประกอบที่มีผลอยู่ในระดับต้องปรับปรุง

3 1 1

องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ

คือ องค์ประกอบที่ 3,4,5 คือ องค์ประกอบที่ 2 คือ องค์ประกอบที่ คือ องค์ประกอบที่ 1

ผลการประเมิน องค์ประกอบที่

1 การผลิตบัณฑิต 2 การวิจัย 3 การบริการวิชาการ 4 การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปะ และวัฒนธรรม 5 การบริหารจัดการ

รวม

I

P

O

คะแนนเฉลี่ย

1.52+2.02+0 (1.18)

4.00+4.00 (4.00)

(2.71)

14.25/6 =2.38

(4.29)

(4.00)

(5.00)

13.29/3 =4.43

-

(5.00)

-

5.00

ระดับดีมาก

(5.00)

-

5.00

ระดับดีมาก

-

5.00+5.00 (5.00)

-

10.00/2 =5.00

ระดับดีมาก

7.83/4=1.96

32/7=4.57

7.71/2=3.86

47.54/13 =3.66

ระดับดี

ผลการประเมิน * หมายเหตุ

0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

3.66 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 เป็นค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินระดับหลักสูตรของทุกหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 เป็นค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินระดับคณะ 55

ระดับต้องปรับปรุง ระดับดี

ระดับดี


ภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิต ประจ�ำปีการศึกษา 2557 การผลิตบัณฑิต ถือเป็นภารกิจหลักที่ส�ำคัญยิ่งของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งการผลิตบัณฑิตของทุกๆ สถาบันที่จะนับได้ว่า ประสบความส�ำเร็จ คือ การผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน นั่นคือ ผู้ส�ำเร็จการศึกษาสามารถออกไป ประกอบอาชีพการงานตามสาขาที่ส�ำเร็จการศึกษา เพื่อประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมและคุณภาพชีวิตของตนเองได้ โดยผลการ ประเมินดังตาราง สาขาวิชา เทคโนโลยีเสื้อผ้า เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ รวมทั้งสิ้น

จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา 27 9 41 9 86

จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จที่ตอบ แบบสอบถาม 27 9 39 7 82

ร้อยละของการมีงานท�ำของ บัณฑิต 96.30 88.89 100 100 97.59

ข้อมูล ณ วันที่ 16 มี.ค. 59

จากการตอบแบบประเมินภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิตแสดงให้เห็นว่า บัณฑิตทีส่ ำ� เร็จการศึกษาจากคณะอุตสาหกรรม สิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มีงานท�ำคิดเป็นร้อยละ 97.59 จากจ�ำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม แสดงให้เห็นว่า บัณฑิตที่ศึกษาใน 4 สาขาวิชาเป็นที่ต้องการของตลาดและมีความส�ำคัญในอุตสาหกรรมด้านสิ่งทอและแฟชั่น ซึ่งเป็นแรงขับเคลื่อนที่ส�ำคัญใน อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 56



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.