program : The Debut Project 7th < IS-SA-RA>

Page 1


สารบัญ สารจากนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สารจากคณบดีคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น โครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษาด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

3 4 5 6 8 17 22 40

1


2


สารจากนายกสภา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การศึ ก ษาทางด้ า นอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและออกแบบ แฟชั่ น เป็ น การศึ ก ษาที่ มี ป ระโยชน์ ต ่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนครมุ ่ ง พั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษาเน้ น การผลิ ต บัณฑิตที่มีความพร้อมและสามารถปฏิบัติงานได้จริงเพื่อเป็น ตัวป้อนให้กับภาคอุตสาหกรรม คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่ น จึ ง เป็ น คณะที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ในการส่ ง เสริ ม การพัฒนาการจัดการศึกษาทีม่ งุ่ สูก่ ารสร้างความพร้อมในโลกของ การแข่งขัน ที่มีรากฐานความเชื่อมั่นในศักยภาพของเยาวชน รุ่นใหม่ของประเทศ จากการศึกษา การพัฒนา และการปฏิบัติ เพื่อสนับสนุนประเทศไทยในสังคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างมี ศักยภาพ กระผมมีความยินดีและขอชืน่ ชมคณาจารย์และนักศึกษา ของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ที่จัดโครงการ แสดงผลงานนักศึกษาด้านอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ อย่างต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 7 แสดงให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ ในการ เผยแพร่องค์ความรูด้ า้ นสิง่ ทอและแฟชัน่ ทีเ่ กิดจาก การศึกษาวิจยั เพื่ อ น� ำ เสนอศั ก ยภาพและความพร้ อ มของนั ก ศึ ก ษาในการ ประกอบอาชีพหลังจบการศึกษา พร้อมกับการน�ำเสนอองค์ความรู้ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม สุดท้ายนี้ ขออวยพรให้การจัดแสดงผลงานของนักศึกษา ด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ประสบผลส�ำเร็จ ลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ศาสตราจารย์ไชยยศ เหมะรัชตะ นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

3


4

สารจากอธิการบดี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้ ว ยความมุ ่ ง มั่ น ในการพั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ให้เจริญก้าวหน้าสู่ ความเป็นเลิศทางวิชาการและวิชาชีพ ด้วยการผลิตบัณฑิตที่มี ศักยภาพและการสร้างสรรค์ผลงานอันทรงคุณค่าที่สะท้อนถึง วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่ว่า “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีชั้นน�ำ ด้านการผลิตบัณฑิตมืออาชีพ” คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่ น เป็ น คณะหนึ่ ง ใน 9 คณะ ที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการจัดการศึกษาด้านเทคโนโลยี มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความพร้อม สูก่ ารปฏิบตั งิ านด้วยความเชีย่ วชาญสูภ่ าคอุตสาหกรรม ซึง่ ถือเป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการผลักดันให้มหาวิทยาลัยสามารถด�ำเนินงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ในนามของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ขอแสดงความยินดีและชื่นชมกับคณาจารย์และนักศึกษาที่มุ่งมั่น ในการด�ำเนินโครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษาด้านอุตสาหกรรม สิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ซึ่งนับเป็นปีที่ 7 ที่มีความส�ำคัญใน การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้น�ำเสนอผลงานที่ผ่านกระบวนการ ศึ ก ษา ค้ น คว้ า และวิ จั ย อั น เป็ น การสร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจ ในงานด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและแฟชั่น และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจั ด แสดงผลงานครั้ ง นี้ จะเป็ น สื่ อ กลางในการน� ำ เสนอ ศักยภาพของนักศึกษาสูก่ ารพัฒนาองค์ความรูใ้ นการพัฒนาความ เข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพเพื่อประโยชน์แก่สังคม ขออ�ำนวยพรให้การจัดงานด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย และสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกประการ

รองศาสตราจารย์สุภัทรา โกไศยกานนท์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


สารจากคณบดี

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มุ่งมั่นผลิต บัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพทางด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ ทีส่ อดคล้องกับวิสยั ทัศน์ ที่ว่า “ผู้นำ�การจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่นสู่มาตรฐาน สากล” ด้ ว ยการจั ด การศึ ก ษาบนพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีที่บูรณาการองค์ความรู้ใน 4 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชา เทคโนโลยี เ สื้ อ ผ้ า สาขาวิ ช าเทคโนโลยี เ คมี สิ่ ง ทอ สาขาวิ ช า ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ โครงการจั ด แสดงผลงานนั ก ศึ ก ษาด้ า นอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ ออกแบบแฟชั่ น จึ ง เป็ น โครงการที่ สำ�คั ญ ในการเปิ ด โอกาสให้ นักศึกษาได้แสดงออกถึงศักยภาพที่เป็นผลผลิตจากการจัดการ ศึกษาตามหลักสูตร ด้วยกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ สร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงศักยภาพของตน ในการนำ�องค์ความรู้ จากการศึ ก ษามาพั ฒ นาให้ เ กิ ด เป็ น ผลงานที่ แ สดงถึ ง การเป็ น บัณฑิตนักปฏิบัติด้านสิ่งทอและแฟชั่นอย่างแท้จริง ในนามของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ขอแสดงความยิ น ดี แ ละชื ่ น ชมคณาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาของ คณะอุ ตสาหกรรมสิ ่ ง ทอและออกแบบแฟชั่น ที่ร ่ว มแรงร่ว มใจ ในการจัดโครงการแสดงผลงานนักศึกษาด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอ และออกแบบแฟชั่น ปีที่ 7 ซึ่งถือเป็นโครงการสำ�คัญในการกระตุ้น ให้นักศึกษามีการพัฒนาผลงานด้านสิ่งทอและแฟชั่นที่สร้างให้เกิด นวัตกรรมที่สามารถต่อยอดสู่ชุมชนและภาคอุตสาหกรรมต่อไป สุ ด ท้ า ยนี ้ ขอขอบคุ ณ ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ แ ละ ผู้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ทุ ก ท่ า น และขอให้ โ ครงการจั ด แสดงผลงาน นักศึกษาด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ประสบผล สำ�เร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก คณบดีคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

5


6

โครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษา

ด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น หลักการและเหตุผล จากหลักการสำ�คัญที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนทุกคนที่มีความสามารถในการเรียนรู้ศึกษาและสามารถพัฒนาตนเองได้ โดยเน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีความสำ�คัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาดังกล่าว ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แรงกระตุ้น สำ�หรับการเรียนการสอนจึงเป็นปัจจัยสำ�คัญประการหนึ่งในด้านการจัดการศึกษาทางวิชาชีพของ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น คือ การจัดหรือส่งเสริม กระตุ้นบรรยากาศให้เกิดการ ศึกษาเรียนรู้ การแข่งขันทางด้านวิชาการ วิชาชีพของนักศึกษา โดยกิจกรรมดังกล่าว คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร จึงมีแนวคิดในการนำ�เอารูปแบบของชุดความรู้ต่าง ๆ และผลงานการออกแบบ แฟชั่น ของนักศึกษาภายในคณะฯ ที่เกิดขึ้นขณะทำ�การศึกษามาจัดแสดงผลงานของนักศึกษาที่ มีความเกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ทำ�การศึกษา เพื่อแสดงและเผยแพร่ให้สาธารณชน บุคคลทั่วไป ได้รับทราบถึงกิจกรรมการดำ�เนินการเรียนการสอนและศักยภาพของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่ น เพื่ อ เป็ น แนวทางในการต่ อ ยอดความคิ ด สู่ ชุ ม ชน สั ง คม ที่ จ ะนำ�ไปสร้ า ง ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ และเพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศในการจัดการ ศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีสู่สากล เน้นบัณฑิตนักปฏิบัติที่สำ�คัญคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่นได้จัดให้มีการประมวลความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาในรูปแบบของการจัดทำ� โครงงานสารนิพนธ์ โดยมุ่งให้นักศึกษาเกิดกระบวนการคิดในการสร้างนวัตกรรมเพื่อแสดงถึง ศักยภาพของคนรุ่นใหม่ที่กล้าในการแสวงหาความรู้ จากการตั้งคำ�ถามโดยค้นหาคำ�ตอบที่เกิดผ่าน กระบวนการความคิดและการสร้างสรรค์ภายใต้แนวคิด ก้าวแรกสู่การเริ่มต้น The Debut Project ซึง่ เป็นการนำ�เสนอแนวคิดและทักษะทางวิชาชีพของนักศึกษาคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบ แฟชั่น อันเป็นการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานและแนวคิดเพื่อก้าวสู่โลกของการ แข่งขัน ที่บูรณาการความรู้ที่ได้จากการศึกษา การค้นคว้าและบริบททางสังคม สร้างสรรค์ผลงาน ภายใต้กรอบแนวคิดของการวิจัยเพื่อนำ�เสนอผลงานแก่บุคคลภายนอกอันเป็นการเผยแพร่แนว ความคิดและเทคนิคในการสร้างสรรค์ อันเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบการและผู้ที่สนใจ


วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ เป็นเวทีในการแสดงผลงานของนักศึกษาคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ 2. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และแนวทางด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่นให้กับ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตลอดจนบุคคลทั่วไป 3. เพื่อเน้นการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมสำ�หรับนักศึกษาให้แสดงออกถึงความรู้ความ สามารถในเชิงวิชาการ วิชาชีพ และความคิดสร้างสรรค์ต่อชุมชนและสังคม กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้าร่วมโครงการ นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจ จำ�นวน 200 คน สถานที่ดำ�เนินการ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร ระยะเวลาดำ�เนินการ วันที่ 20 – 23 มิถุนายน 2559 ระบุตัวชี้วัดผลสำ�เร็จของโครงการ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ - ผู้รับบริการนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 88 - ความพึงพอใจของผู้รับบริการวิชาการและวิชาชีพ ต่อประโยชน์จากการให้บริการ ร้อยละ 88 ตัวชี้วัดระดับผลผลิต - จำ�นวนผู้รับบริการ จำ�นวน 200 คน - ความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ ร้อยละ 91 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบองค์ความรู้จากการจัดการเรียนการสอนด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอ และออกแบบแฟชั่นของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น

7


8


สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า Garment Technology

9


10

การพัฒนารูปแบบชุดท�ำงานสตรีจากผ้าไหมพุมเรียง บ้านหัวเลน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

• นางสาววาธิณี จันทอน • นางสาววรรธิรา จันทอน • นายธณัฐชกรณ์ สิริบริบูรณ์รัตน์ แต่ เ ดิ ม การทอผ้ า ไหมพุ ม เรี ย ง เป็ น ศิ ล ปหั ต ถกรรม พืน้ บ้านภาคใต้ของกลุม่ คนไทยมุสลิม ทีต่ งั้ บ้านเรือนอยูท่ บี่ า้ น หัวเลน หมูท่ ี่ 2 บริเวณคลองพุมเรียง ต�ำบลพุมเรียง อ�ำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งได้สืบทอดกันหลายชั่วอายุคนจนเป็น ที่ยอมรับกันทั่วไปว่า ผ้าพุมเรียงเป็นผ้าที่มีลวดลายสวยงาม และมีลกั ษณะเด่นทีต่ า่ งไปจากผ้าอืน่ ๆ คือ การทอยกดอกด้วย ไหมและดิ้น ผ้ายกดอกที่มีชื่อเสียงได้แก่ ผ้ายกชุดหน้านาง ผ้ายกดอกถมเกสร และผ้ายกดอกลายเชิง เป็นต้นชาวไทย มุสลิมต�ำบลพุมเรียงในปัจจุบนั ส่วนหนึง่ สืบเชือ้ สายมาจากแขก เมืองสงขลาเขาแดงซึ่งนับถือศาสนาอิสลามเป็นพวกมลายู ทีอ่ พยพมาจากหมูเ่ กาะอินโดนีเซีย บางส่วนอาจมีเชือ้ สายแขก ปั ต ตานี แ ละไทรบุ รี ที่ อ พยพเข้ า มาที่ ต� ำ บลพุ ม เรี ย งในช่ ว ง รั ต นโกสิ น ทร์ ซึ่ ง จากการเข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานของพวกแขก เมืองสงขลาหัวเขาแดง เมืองปัตตานีและไทรบุรีท�ำให้เกิดการ ผสมผสาน ทางเชือ้ ชาติและวัฒนธรรมกับชาวไทย แต่สว่ นใหญ่ พวกแขกเหล่านั้นยังคงรักษาเอกลักษณ์ดั้งเดิมไว้ โดยเฉพาะ การทอผ้าไหมยกดิ้นเงินดิ้นทองหรือยกไหม ซึ่งต่างไปจาก การทอผ้าที่ทอโดยคนไทยสมัยนั้น และสิ่งเหล่านั้นได้สืบทอด มาสู่ทายาทที่เป็นชาวไทยมุสลิม ดั ง นั้ น ผู ้ จั ด ท� ำ มี แ นวคิ ด ที่ จ ะน� ำ ผ้ า ไหมพุ ม เรี ย ง บ้านหัวเลน จังหวัดสุราษฎร์ธานีมาพัฒนารูปแบบชุดท�ำงาน สตรีให้มรี ปู แบบทีแ่ ปลกใหม่ทนั สมัยและมีความสร้างสรรค์ และ ใช้เทคนิคการตัดเย็บในรูปแบบต่างๆ เพือ่ ให้เกิดรูปแบบแปลก ใหม่ แ ก่ ผู ้ บ ริ โ ภคเพิ่ ม ความสนใจทางด้ า นผ้ า ไหมพุ ม เรี ย ง บ้ า นหั ว เลน จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี เ พื่ อ เป็ น แนวทางในการ สร้างสรรค์ผลงานให้แก่ผู้ที่สนใจและกลุ่มคนที่มีอายุในช่วง 20-35 ปี


การพัฒนารูปแบบเสื้อผ้าจากลวดลายของผ้าจกคูบัว จังหวัดราชบุรี • นายกิตติ แตงเที่ยง • นายโชคฐิกร รุณนก • นางสาวสุภาภรณ์ มั่นคง

ผ้าจกเป็นมรดกทางภูมปิ ญ ั ญาของไท-ยวน ทีส่ บื ต่อกัน มาอย่างยาวนาน เป็นผ้าที่ใช้แปรรูปเป็นเครื่องแต่งกายของ ชาวไท-ยวน เช่น ผ้าซิ่นตีนจก ผ้าขาวม้า ย่ามจก กระเป๋าคาด เอวจก ฯลฯ ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ท างวั ฒ นธรรมของไท-ยวน ต่อมาชาวไท-ยวน ได้เคลื่อนย้ายถิ่นฐานจากเมือง เชียงแสน ในปี พ.ศ.2347 มาตั้งหลักแหล่งที่ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เมื่อได้ปลูกบ้านเรือนอาศัยสมบูรณ์แล้วก็ได้ ทอผ้าด้วยวิธีจก เพื่อน�ำไปแปรรูปเป็นเครื่องแต่งกายดังกล่าว แสดงถึงเอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรม ชาวไท-ยวน จะปลูก ฝ้ายเพือ่ ปัน่ เป็นเส้นด้ายใช้ทอผ้าจกและใช้หกู ทอผ้าแบบโบราณ ทีพ่ งุ่ กระสวยด้วยมือ การย้อมสีเส้นด้ายก็จะใช้วธิ กี ารย้อมด้วย สีธรรมชาติ จากนั้นสีที่ชาวไท-ยวนน�ำมาย้อมผ้าในการทอนั้น นิยมน�ำมาจากส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น เปลือกไม้ ผล หรือใบ และ ทีส่ ำ� คัญได้แก่ ไม้มะเกลือ ครัง่ รากยอ ดอกค�ำเงาะ คราม เปลือกประดู่ แก่นขนุน ขมิน้ ลูกแสด ใบถัว่ ใบสับปะรด กรรมวิธี การทอผ้ า แบบโบราณและการย้ อ มสี ธ รรมชาติ จ ะมี ค วาม สวยงามและความสดสวย ส�ำหรับสีที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ ของผ้าจกที่ต�ำบลคูบัว คือสีแดง ด�ำ และเหลือง พื้นส่วนใหญ่ จะเป็นสีด�ำ ส่วนจกที่ใช้สีแดงหรือเหลืองแซมบ้าง นาน ๆ ครั้ง จะพบสีเขียวแซมอยู่บ้าง ส�ำหรับตีนซิ่นซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ ของผ้าจกคูบัว คือ นิยมผ้าฝ้ายสีด�ำแดงโดยจะทอจกลวดลาย ลงเฉพาะบนพื้นสีด�ำ และมีการน�ำผ้าจกคุบัวจังหวัดราชบุรีมา แปรรูปเป็นเครือ่ งแต่งกายให้กบั คนในชุมชนดังนัน้ การทอผ้าจก จั ง หวั ด ราชบุ รี เ ป็ น สิ่ ง ที่ มี ม านานแต่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ที่ แ พร่ ห ลาย ในสังคมท�ำให้มีการทอผ้าน้อยลง จากเหตุผลดังกล่าวคณะผูจ้ ดั ท�ำจึงมีแนวความคิดทีจ่ ะ ท�ำโครงงานนี้เ พื่อ ให้เ กิดความแปลกใหม่ที่แสดงให้เห็นถึง ความต่ า งกั น บนผื น ผ้ า กั บ ลวดลายและยั ง เป็ น การส่ ง เสริ ม ภูมิปัญญาไทยให้เป็นที่นิยมในสังคมปัจจุบัน

11


12

การพัฒนาเสื้อผ้าล�ำลองชาวเขาเผ่าอาข่า

• นางสาวชุติมา โอเปีย • นางสาวภาวสุทธิ์ จันทร์ประเสริฐ การแต่ ง กายของชาวเขาเผ่ า อาข่ า มี เ อกลั ก ษณ์ เฉพาะกลุ่ ม ซึ่ ง ยั ง คงอนุ รั ก ษ์ รู ป แบบดั้ ง เดิ ม ไว้ ใ ห้ มี รู ป แบบ ที่หลากหลาย ซึ่งปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างทั้ง สภาพแวดล้อม การแต่งกายและอื่นๆ จึงทำ�ให้คนยุคใหม่ ไม่นิยมสวมใส่เครื่องแต่งกายประจำ�เผ่า เพราะยากต่อการ สวมใส่ และยั ง มากชิ้ น เป็ น เหตุ ใ ห้ มี แ นวคิ ด ในการนำ� เครื่องแต่งกายประจำ�เผ่ามาออกแบบกับเสื้อผ้าให้มีความ ทั น สมั ย และหั น มาสวมใส่ เ สื้ อ ผ้ า ทั่ ว ไป ซึ่ ง สวมใส่ ง่ า ยและ ตามสมัยนิยม ถ้าการเปลี่ยนแปลงนี้มีการสืบเนื่องจะทำ�ให้ การอนุรกั ษ์การตกแต่งเสือ้ ผ้าบ้านยังคงอยูก่ บั ชาวเขาเผ่าอาข่า สืบต่อไป จากเหตุผลดังกล่าว จึงมีแนวคิดในการทำ�โครงงาน การพั ฒ นาเสื้ อ ผ้ า ลำ�ลองสำ�หรั บ ชาวเขาเผ่ า อาข่ า ตำ�บล แม่สลองนอก อำ�เภอแม่ฟา้ หลวง จังหวัดเชียงราย โดยการนำ� เอกลั ก ษณ์ ผ้ า ปั ก ผ้ า ทาบและเครื่ อ งตกแต่ ง ต่ า งๆเช่ น เครื่ อ งเงิ น ภู่ ลู ก ปั ด มาตกแต่ ง และพั ฒ นารู ป แบบเสื้ อ ผ้ า โดยยั ง คงเอกลั ก ษณ์ ข องชาวเขาเผ่ า อาข่ า ไว้ และยั ง มี ก าร ผสมผสาน โดยการใช้เทคนิคการปัก และการตัดต่อผ้า ให้มี รูปแบบเสือ้ ผ้าทีส่ ามารถเลือกสวมใส่ได้มากขึน้ อีกทัง้ ยังสะดวก ในการสวมใส่ เพือ่ ให้ตรงตามความต้องการของคนยุคใหม่โดย เฉพาะกลุ่มชาวเขาเผ่าอาข่า และยังเป็นการอนุรักษ์ผ้าปัก ชาวเขาเผ่าอาข่าให้เป็นที่ยอมรับและเป็นที่นิยมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการพั ฒ นานี้ ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ ช าวเขามี ค วามคิ ด สร้างสรรค์ผลิตเสือ้ ผ้าสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน ซึง่ มีกระบวนการ นำ�ไปสู่ ก ารผลิ ต เป็ น จำ�นวนมากและเป็ น เป้ า หมายให้ กั บ นักท่องเทีย่ วและบุคคลทัว่ ไป โดยผ่านกระบวนการผลิตตัดเย็บ ที่ได้มาตรฐาน


การพัฒนาเสื้อผ้าสตรีจากผ้าฝ้ายยกดอกย้อมสีด้วยดินแดง

• นายนรเทพ โปธิเป็ง • นางสาวธารารัตน์ แก้วรัตน์ • นางสาวอรัญกานต์ อินต๊ะปัน การพัฒนารูปแบบเสื้อผ้าสตรีจากผ้ายกดอกย้อมด้วย ดิ น แดง โดยผ่ า นกรรมวิ ธี เริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารนำ�เส้ น ฝ้ า ยผ่ า น กระบวนการย้อมสีดว้ ยดินแดงสีทไี่ ด้จากวัสดุธรรมชาติทมี่ าจาก สองแหล่ง ได้แก่ ดินที่มาจากจังหวัดเชียงใหม่และดินที่มาจาก จังหวัดลำ�พูนโดยใช้สารช่วยย้อมสีของดินให้ติดกับผ้าฝ้ายและ สารช่วยยึดสีของดินให้ตดิ กับผ้าฝ้าย เช่น เกลือ สารส้ม โซดาแอช เป็นต้น เพื่อให้ได้สีที่หลากหลายแตกต่างกันออกไป ให้สีสวย ไม่ฉดู ฉาด ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั องค์ประกอบและปัจจัยทีแ่ ตกต่างกัน แล้วนำ�เส้นใยที่ผ่านกระบวนการย้อมสีต่างๆแล้วนำ�สีที่ได้จาก ดินแดงเหล่านัน้ มาใช้แทนเส้นด้ายทีย่ อ้ มขึน้ ด้วยสีเคมีในผ้าฝ้าย ยกดอกจั ง หวั ด ลำ�พู น โดยยั ง คงทอเป็ น ผื น ผ้ า ที่ มี ล วดลาย ลวดลายแบบดั้งเดิมของลำ�พูนแล้วนำ�มาออกแบบเป็นเสื้อผ้า สตรีต้นแบบมีการตัดเย็บอย่างมีมาตราฐานเพื่อให้สามารถใส่ ได้ทุกโอกาส ตรงต่อความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันที่มี แนวคิดอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมแต่ไม่ชอบรูปแบบซ้ำ�ซากจำ�เจ อีกทัง้ ยังเป็นการต่อยอดพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้เข้ากับ ยุคสมัย เป็นการเสริมสร้างรายได้ให้กับชุมชนที่มีการทอผ้าย กดอกลำ�พูน เปรียบเสมือนเป็นการต่อลมหายใจให้กับผ้าทอ ยกดอกลำ�พูนกลับมามีลมหายใจอีกครั้ง คณะผู้ จั ด ทำ�จึ ง คิ ด ว่ า โครงงานนี้ ส ามารถทำ�ให้ ไ ด้ สี ที่ได้จากธรรมชาติที่หลากหลายทดแทนการใช้สีที่ได้จากการ ย้อมด้วยสีเคมีและนำ�มาออกแบบตัดเย็บเป็นเสื้อผ้าสตรีเพื่อ ให้สามารถสวมใส่ได้ทุกโอกาส จำ�หน่ายออกสู่ตลาดได้และ เป็นการอนุรักษ์ลวดลายดั้งเดิมของผลิตภัณฑ์ผ้าทอยกดอก จังหวัดลำ�พูนอีกทั้งยังเป็นการต่อยอดผลิตภัณฑ์ให้กับชุมชน ให้คงอยู่และสืบทอดต่อไป

13


14

การศึกษากระบวนการเย็บเสื้อแจ็คเก็ตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • นายเสรี เซี่ยงจง • นางสาวอาริยา ดีสัน • นายธานินทร์ หัดถา จากวิ ก ฤตการณ์ เ ศรษฐกิ จ ในปั จ จุ บั น ธุ ร กิ จ หรื อ อุตสาหกรรมต่างๆมากมายทีป่ ระสบปัญหาเรือ่ งต่างๆ จนกระทัง่ ปิดตัวลง มีเพียงบางธุรกิจอุตสาหกรรมเท่านั้นที่อยู่รอดได้ ในขณะนี้ ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจทีม่ กี ารส่งออก แต่ในปัจจุบนั นีธ้ รุ กิจ การส่งออกต้องเผชิญกับภาวะการแข่งขันทีร่ นุ แรง เนือ่ งจากกฎ ระเบี ย บและข้ อ ตกลงทางการค้ า ต่ า ง ๆ ระหว่ า งประเทศ อุตสาหกรรมเสือ้ ผ้าสำ�เร็จรูปบางส่วนเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และขนาดกลาง ผูป้ ระกอบการจำ�นวนมากมิได้เล็งเห็นถึงปัญหา ด้านกระบวนการเย็บเท่าใดนัก ยังใช้วิธีการเพิ่มผลผลิตหรือ กระบวนการเย็บแบบง่าย ๆ ใช้แรงงานจำ�นวนมากทีม่ คี วามรูต้ ำ� ่ เพิม่ เวลาการทำ�งานของคนและเครือ่ งจักร พยายามผลิตสินค้า ตามความแปรผันของตลาด โดยมิได้มกี ารวางแผนในแต่ละด้าน ให้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ ละมิ ไ ด้ เ กิ ด ความสมดุ ล กั น สำ�หรั บ ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มงุ่ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า มุง่ เน้นแต่กำ�ไรทีม่ องเห็นเท่านัน้ โดยมิได้เฉลียวใจต่อความสูญเสีย ทีเ่ กิดขึน้ ทางด้านกระบวนการเย็บ ฉะนัน้ แนวทางในการแก้ปญ ั หา กระบวนการเย็ บ นั้ น ควรจะตระหนั ก ถึ ง การแก้ ปั ญ หาเชิ ง คุณภาพมากกว่าการแก้ปญ ั หาเชิงปริมาณ ตัวอย่างเช่น การปรับปรุง ประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มผลผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ทรัพยากร การลดของเสีย การลดเวลาทีส่ ญ ู เสียในกระบวนการ เย็บเป็นต้น แนวทางเหล่านีจ้ ะส่งผลให้เกิดการพัฒนาปรับปรุง ประสิทธิภาพกระบวนการเย็บอย่างต่อเนื่องในระยะยาว จากเหตุผลดังกล่าวจึงมีแนวคิดทีจ่ ะทำ�โครงงานการศึกษา กระบวนการเย็บเสื้อแจ็คเก็ตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพือ่ ลดเวลาการทำ�งานและเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการ เย็บเสื้อแจ็คเก็ต โดยใช้หลักการ การกำ�จัด – การรวมกัน –การ จัดใหม่ – การทำ�ให้งา่ ย มาพัฒนาประสิทธิภาพของโรงงาน อันจะนำ�ไปสู่ การปรับปรุงและพัฒนาเพือ่ เกิดการใช้งานได้จริง จึงคิดว่าโครงงาน การศึกษากระบวนการเย็บเสื้อแจ็คเก็ตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตนีส้ ามารถนำ�ไปพัฒนาในระบบอุตสาหกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล


การสร้างเว็บไซต์เพื่อการสืบค้นข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร • นางสาวจินตนา ภิรมย์ • นางสาวจุฑามาศ สุขแยง

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีบทบาทความสำ�คัญต่อการค้าระหว่างประเทศในตลาด โลก โดยเป็นสินค้าส่งออกที่สำ�คัญของประเทศกำ�ลังพัฒนา เนื่องจากปัจจัยต้นทุนการผลิต ส่งผลให้ ประเทศไทยมีแรงงานที่มีทักษะฝีมือเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ และมีที่ตั้งเหมาะสมในด้าน การเป็นศูนย์กลางภูมภิ าค ทำ�ให้มขี อ้ ได้เปรียบหลายด้าน โดยเฉพาะการขนส่งและการคมนาคมขนส่ง ทั้งทางบก ทางน้ำ� ทางอากาศที่ ส ามารถครอบคลุ ม และรองรั บ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดั ง นั้ น ประเทศไทยจึงเป็นหนึ่งในตัวเลือกที่ผู้ประกอบการด้านธุรกิจอุตสาหกรรมเสื้อผ้าให้ความสนใจ ในการเลือกลงทุน ด้านอินเทอร์เน็ตก็เป็นโครงสร้างพืน้ ฐานของเครือข่ายขนาดใหญ่ ทีร่ วมและเชือ่ มต่อ เครือข่ายทั่วโลกจำ�นวนมากมายมหาศาลเข้าด้วยกัน สามารถติดต่อกันได้สะดวกในการทำ�งานเร็ว และการสืบค้นข้อมูล จากเหตุผลดังกล่าวจึงมีแนวคิดที่จะทำ�โครงงาน การสร้างเว็บไซต์เพื่อการสืบค้นข้อมูล โรงงานอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำ�เร็จรูป ในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ที่ ต้ อ งการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล โดยเริ ่ ม จากการเก็ บ ข้ อ มู ล ของโรงงานอุ ต สาหกรรมเสื ้ อ ผ้ า สำ�เร็ จ รู ป ซึ่งรายละเอียดในการสืบค้น จะมีข้อมูล อาทิเช่น ชื่อโรงงาน ประเภทของโรงงาน ตำ�แหน่งและที่ตั้ง ของโรงงาน ลักษณะของสินค้าที่โรงงานนั้นผลิตได้อย่างมีคุณภาพเมื่อทำ�การศึกษาข้อมูลโรงงาน ในพื้นที่กรุงเทพมหานครครบแล้ว จึงจะนำ�ข้อมูลส่วนนี้ไปดำ�เนินการเพื่อสร้างเว็บไซต์ สำ�หรับ การสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ซึ่ ง การจั ด ทำ�เว็ บ ไซต์ ส ามารถให้ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการนำ�ไปใช้ แ ละ ประกอบธุรกิจได้อย่างสะดวก ลดความเสีย่ งและสร้างโอกาสเพือ่ ให้ความช่วยเหลือกับผูป้ ระกอบการธุรกิจ ได้มีแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจต่อไป

15


16

ชุดผ้าไหมไร้ตะเข็บด้วยฟิล์มลามิเนต

• นางสาวจริยา ปุดแอ • นายณรงค์สิทธิ์ บุตรพรม ผ้าไหมเป็นผ้าที่หรูหราราคาแพงดูแลยากแต่มีความ สง่าสวยงาม จึงทำ�ให้คนนิยมตัดผ้าไหมเป็นชุดออกงานต่าง ๆ เพราะผ้าไหมเป็นผ้าที่สามารถส่งเสริมให้ผู้สวมใส่มีบุคลิกที่ดี มีสง่า การตัดเย็บที่ดีก็มีส่วนช่วยให้รูปทรงของเสื้อผ้าที่สวมใส่ ดูดีมีสง่า และดูสวยงามมากยิ่งขึ้น แต่ส่วนใหญ่จะมองข้าม ปัญหาที่เกิดในงาน ผ้าไหม การใช้ตะเข็บในงานผ้าไหมต้องใช้ ความละเอียดและฝีมือ แต่ถึงอย่างไรก็เกิดปัญหาเกี่ยวกับ ตะเข็บเย็บในตัวเสื้อผ้าไหมไม่เรียบ ตะเข็บฉีกขาด มีรอยย่น บนผ้าในการเย็บเข้ามุม ผ้ารั้งอันเนื่องมาจากตะเข็บเย็บไม่มี ความยืดหยุ่น ตะเข็บหนา รีดขึ้นเงาบริเวณตะเข็บ เกิดการ เสียดสีระหว่างตะเข็บกับผิวหนังซึ่งทำ�ให้เกิดการระคายเคือง ผ้าไหมเป็นผ้าที่มีราคาแพง การตัดเย็บจึงเป็นเรื่องที่สำ�คัญ การมี ค วามประณี ต และใช้ เ ทคนิ ค ในการประสานตะเข็ บ เผื่อถนอมผ้าให้คงทนจากวิธีการเย็บโดยปกติ และอายุการ ใช้งานของผ้าให้นานขึ้น จากปัญหาดังกล่าวทำ�ให้ผศู้ กึ ษาโครงงานได้สนใจจัดทำ� โครงงานเรื่ อ ง ชุ ด ผ้ า ไหมไร้ ต ะเข็ บ ด้ ว ยฟิ ล์ ม ลามิ เ นต ( Thermoplastic Adhesive Films ) เพื่อแก้ปัญหาของตะเข็บ ฉี ก ขาด เพื่ อ ลดปั ญ หาการเกิ ด รอยย่ น บนบริ เ วณตะเข็ บ ลดความหนาของตะเข็บ เพิ่มความยืดหยุ่นในตะเข็บ เพื่อลด การเสียดสีของตะเข็บและการเกิดเงาจากการรีด หวังว่าโครงงานนี้ จะสามารถเป็ น แนวทางในการพั ฒ นางานด้ า นสิ่ ง ทอ และเป็นแนวทางในการพัฒนาการผลิตเสือ้ ผ้าสำ�เร็จรูปเกีย่ วกับ ผ้าไหมได้ต่อไป


สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ

Textile Chemistry Technology

17


18

การศึกษาเส้นใยว่านงาช้างเพื่อใช้ในงานสิ่งทอ

• นางสาววริศรา กล้าหาญ เบอร์โทรศัพท์ 08 4124 1978 E-mail : miw_warit@hotmail.com • นางสาวมณีวรรณ บุตรจันทร์ เบอร์โทรศัพท์ 08 7758 2224 E-mail : manee_but@hotmail.com โครงการนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาสมบัตทิ างกายภาพ ของเส้ น ใยว่ า นงาช้ า งและแปรรู ป เส้ น ใยว่ า นงาช้ า งเป็ น ผลิตภัณฑ์โคมไฟ ซึ่งปัจจุบันเส้นใยธรรมชาติเข้ามามีบทบาท ในงานด้านสิง่ ทอเพิม่ มากขึน้ เริม่ มีการพัฒนานำ�เอาเส้นใยจาก ธรรมชาติเข้ามาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จึงมีการนำ�เอาเส้นใยจาก ธรรมชาติไปผ่านกระบวนการต่างๆไม่วา่ จะเป็นการถัก ทอ สาน หรือผ่านขัน้ ตอนการผลิตในรูปแบบอืน่ ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ทาง ด้านสิ่งทอที่มีวัตถุดิบจากธรรมชาติได้ความความนิยมสูงขึ้น ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ กระแสโลกในปั จ จุ บั น ที่ ห ลายๆประเทศ ให้ความสนใจผลิตภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติมากขึ้น เนื่องจากมี การดูแลสิ่งแวดล้อมในการลดใช้สารเคมีเพื่อเป็นการรักษา สิ่งแวดล้อม โดยนำ�ว่านงาช้างมาผ่านกระบวนการแยกเส้นใย ว่านงาช้างด้วยวิธีการแช่ด้วยน้ำ�สะอาดที่อุณหภูมิห้องใช้เวลา 15 วัน โดยขูดแยกเส้นใยให้เหลือส่วนที่เป็นเส้นใยยาวแล้ว ตากให้แห้ง นำ�เส้นใยว่านงาช้างมาผ่านกระบวนการทดสอบ ทางกายภาพ ในส่วนของการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โคมไฟ จะนำ�เส้ น ใยว่ า นงาช้ า งไปย้ อ มด้ ว ยสี รี แ อคที ฟ และทำ�การ ถักเส้นใย เพื่อให้งานทางด้านสิ่งทอมีเส้นใยจากธรรมชาติ ชนิดใหม่ในการนำ�มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ผลวิเคราะห์จากการศึกษาสมบัตขิ องเส้นใยว่านงาช้าง และการนำ�ไปแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นงานสิ่ ง ทอ พบว่ า จากผลการทดสอบสมบั ติ ท างกายภาพ เส้ น ใยว่ า นงาช้ า ง มีคุณสมบัติที่ดีมากเพียงพอในการนำ�มาใช้งานหรือแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆด้านสิ่งทอ ในส่วนของการพัฒนาแปรรูป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ คมไฟสามารถทำ�ได้ และได้ ผ ลดี เส้ น ใยมี ความแข็งแรงและทนทานต่อการนำ�มาใช้งาน วัสดุมีความ เหมาะสมในการนำ�มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โคมไฟ


การศึกษาสมบัติการย้อมใบโพธิ์ด้วยสีรีแอคทีฟและสีย้อมจากหมาก เพื่อใช้ประยุกต์ในงานหัตถกรรม • นางสาววนิดา ทองใบใหญ่ เบอร์โทรศัพท์ 09 9586 5420 E-mail : swuy2536@hotmail.com

ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการย้อมสีจากหมาก บนเส้ น ใยใบโพธิ์ 2) เพื่ อ ศึ ก ษาสภาวะที่ เ หมาะสมในการย้ อ มสี Reactive บนเส้ น ใยใบโพธิ์ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้จากใบโพธิ์ โดยขั้นตอนแรกเป็นการนำ�ใบโพธิ์สดมาผ่าน กระบวนการลอกเส้นใยด้วยน้ำ�สบู่กรดให้ได้เป็นใบโพธิ์ที่มีลักษณะเป็นใบบาง จากนั้นจึงนำ�มาผ่าน กระบวนการย้อมเพือ่ ศึกษาหาปริมาณความเข้มข้นของสารช่วยย้อมทางธรรมชาติทเ่ี หมาะสม มาทำ�การ ย้ อ มสี ด้ ว ยสี ท างธรรมชาติ คื อ สี จ ากหมากสง และย้ อ มด้ ว ยสี สั ง เคราะห์ ป ระเภทสี รี แ อคที ฟ เพือ่ ให้นำ�ผลทีไ่ ด้มาทำ�การประยุกต์ทำ�เป็นผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมสมัยใหม่ ทีม่ คี วามโดดเด่น สวยงาม เป็นทำ�ธรรมชาติ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพราะสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ผลการวิเคราะห์พบว่า ขั้นตอนแรก เป็นการทดลองนำ�ใยใบโพธิ์มาย้อมด้วยสีธรรมชาติ โดยทำ�การลอกเส้นใยแล้วนำ�มาผ่านกระบวนการย้อมด้วยสีของผลหมาก ทำ�การศึกษาสภาวะการ ติดสีของใบโพธิ์ด้วยน้ำ�ปูนแดง น้ำ�โคลน น้ำ�ส้มสายชู และน้ำ�มะขามเปียก โดยใช้ความเข้มข้นที่ 5%, 10%,15%และ20% และใช้อุณหภูมิที่ 40 ํC,60 ํC,80 ํC จากผลการทดลองพบว่า การย้อมใบโพธิ์ ด้วยสีหมากโดยใช้สารช่วยย้อมประเภทน้ำ�ส้มสายชูที่ความเข้มข้นที่ 10% อุณหภูมิที่ 60 ํC ได้ผลดี และการวัดค่า L*=51.44, a*=6.19,b*=18.52 และ K/s= 4.952 มีลักษณะการติดสีที่ดี ขั้นตอนสอง เป็นการทดลองนำ�ใบโพธิ์มาย้อมด้วยสีสังเคราะห์โดยทำ�การลอกเส้นใยแล้วนำ�มาผ่านกระบวนการ ย้อมด้วยสีสังเคราะห์ประเภทสีรีแอคทีฟ สีแดง สีเขียวและสีน้ำ�เงิน ที่ความเข้มข้น 3%,5%และ10% ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 40 ํC,60 ํC,80 ํC จากผลการทดลองพบว่า การย้อมด้วยสีสงั เคราะห์ทง้ั สามสี โดยใช้ความ เข้มข้นที่ 10% ทีอ่ ณ ุ หภูมทิ ่ี 60 ํC ได้ผลดีทส่ี ดุ มีลกั ษณะการติดสีทด่ี แี ละการวัดค่า สีแดง L*=49.16 ,a*=15.96, b*=10.00, K/s= 3.962 ,สีเขียว L*=51.14, a*=-1.08, b*=17.74, K/s=4.688 และมี น้ำ�เงิน L*=48.04 ในส่วนของการนำ�มาประยุกต์ใช้ในงานหัตถกรรม ด้วยลักษณะของใบโพธิ์ที่โดดเด่นเมื่อ นำ�มาผ่านกระบวนการย้อมสีที่เหมาะสมแล้ว ได้สีที่หลากหลาย ช่วยเพิ่มความสวยงามให้กับงาน หัตถกรรมต่างๆอีกด้วย เช่น โคมไฟจากใบโพธิ์ เป็นต้น

19


20

การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ผงเซลลูโลสจากกระดาษใช้แล้ว เป็นสารเติมแต่งในการพิมพ์พิกเมนท์ • นายศุภฤกษ์ กุลพงศธร • นายจิรพันธ์ การบุญ

ในปัจจุบนั นีอ้ ตุ สาหกรรมของการพิมพ์สงิ่ ทอได้มกี ารใช้สพี มิ พ์ทหี่ ลากหลาย ทัง้ ทีเ่ ป็นสียอ้ ม และพิกเมนท์ ซึง่ พิกเมนท์เป็นตัวทีไ่ ด้รบั ความนิยมเนือ่ งจากสามารถพิมพ์ลงบนวัสดุสงิ่ ทอได้ทกุ ชนิด และมีขั้นตอนการพิมพ์ที่ไม่ยุ่งยาก โดยพิกเมนท์ที่ใช้มีทั้งลักษณะที่เป็น สีจม สีลอย สีนูน สียาง โดยเฉพาะงานพิ มพ์ที่เ ป็นสีลอย สามารถใช้พิมพ์สีอ่อนลงบนวัส ดุที่มีสีเข้มโดยเนื้อสี จะลอยปกคลุ ม อยู ่ บ นผิ ว หน้ า ของวั ส ดุ สารเติ ม แต่ ง ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมั ก จะเป็ น พอลิเมอร์สังเคราะห์ หรือไทเทเนียมไดร์ออกไซด์ ดังนั้นกลุ่มผู้ท�ำการศึกษาจึงมีแนวคิดที่จะน�ำ วัสดุจากธรรมชาติหรือวัสดุทใี่ ช้แล้วมาทดแทนสารดังกล่าว จึงได้ทำ� การทดลองย่อยกระดาษทีใ่ ช้แล้ว ด้วยกรดไฮโดรคลอริกจนได้เป็นผงเซลลูโลสทีม่ ขี นาดเหมาะส�ำหรับใช้ในงานพิมพ์สกรีนมาเป็นส่วนผสม ในแป้งพิมพ์พิกเมนท์ชนิดสีจม โดยอัตราส่วนของผงซลลูโลส ร้อยละ 20 ของแป้งพิมพ์ จากนั้น น�ำไปพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์สกรีน อบผนึก และซักล้าง จากผลการศึกษาพบว่า ผงเซลลูโลสที่ได้ ผสมกับแป้งพิมพ์สามารถใช้ผลิตเป็นสีลอยได้ เมื่อพิมพ์บนผ้าฝ้ายจะเห็นว่าลวดลายที่พิมพ์ดูมีมิติ ให้สีที่เข้มและมีความสดใส มีความคงทนต่อการขัดถูและการซักล้างอยู่ในระดับที่ดี และผ้าที่ได้ ให้ผิวสัมผัสนุ่มไม่หยาบกระด้างเหมือนผิวสัมผัสของสีลอยทั่วไป สามารถน�ำมาใช้พิมพ์ในการพิมพ์ บนผ้าหรือผลิตภัณฑ์สิ่งทอได้ดี


การพิมพ์สีครั่งบนผ้าฝ้าย

• นางสาวธนิตยา นนทองศรี • นางสาวนัท เมืองมั่น • นางสาวฑิฆัมพร สุภี ครั่ง คือแมลงจำ�พวกเพลี้ย อยู่ในวงศ์ Kerridae จะขับสารชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นเหมือน ยางสีแดงม่วง นิยมนำ�ไปใช้ในงานศิลปกรรม และงานฝีมือ โดยเฉพาะบนผ้าไหม แต่พบว่าสาร ชนิดนี้ ไม่สามารถติดได้ดีบนผ้าฝ้าย ในการศึกษานี้จึงมีแนวคิดในการปรับปรุงคุณลักษณะของสาร ที่ได้จากครั่ง ให้สามารถติดได้ดีบนผ้าฝ้าย โดยการชั่งผงครั่งที่ทำ�การบดละเอียดปริมาณ 50 กรัม ใส่น้ำ�ร้อน 100 มิลลิลิตร ต้มนาน 15 นาที ครบเวลา เติมสารละลายโซเดียมไฮเปอร์คลอไรท์ ที่ความเข้มข้น 10 กรัมต่อลิตร ทำ�การต้มแช่ทิ้งไว้อีก 15 นาที เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นนำ�มา กรองกากกับน้ำ�สีออกจากกัน ใส่กรดอะซิติก 5 กรัมต่อลิตร ในน้ำ�สีที่ผ่านการกรอง ปล่อยให้สี ตกตะกอนเป็นเวลา 30 นาที จากนั้นทำ�การกรองตะกอนออกจากน้ำ�สีและนำ�ไปผสมกับสารข้น (CMC) และนำ�ไปพิมพ์ตามกระบวนการ กระบวนการพิมพ์ พิมพ์ (Print) เป่าแห้ง (Pre-Dry) ผนึกสี (Fixation) ซักล้าง (Wash-off) 100 ํC x 1 min ไอร้อน 150 ํC x 1 min น้ำ�สบู่ 80 ํC 1 min จากผลการศึกษาพบว่า ครัง่ ทีเ่ ตรียมได้สามารถติดได้ดบี นผ้าฝ้าย ให้สที เี่ ข้มและมีความสดใส มีความคงทนของสีต่อแสง การขัดถูและการซักล้าง อยู่ในระดับปานกลางถึงดี ผ้าที่ได้ให้ผิวสัมผัส อ่อนนุ่ม เหมาะกับการนำ�ไปใช้งาน เช่น การพิมพ์ลวดลายบนเสื้อผ้าฝ้าย งานตกแต่งที่ใช้ผ้าฝ้าย เป็นวัตถุดิบหลัก เป็นการเพิ่มทางเลือกในการใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น ไม่เฉพาะการใช้งานกับ ผ้าไหมที่มีราคาสูง อีกทั้งผ้าฝ้ายยังเหมาะกับสภาพอากาศและการใช้งานในประเทศไทย และมีการ ใช้งานกันอย่างกว้างขวาง ผ้าที่ได้ยังมีสีสันที่สดใส มีความคงทนต่อการใช้งาน และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม

21


22


สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ Fashion and Textile Design

23


24

การออกแบบเครื่องแต่งกายส�ำหรับสุภาพสตรีในรูปแบบบิสิเนสแคชชวล โดยใช้เทคนิคการย้อมห้อม • นางสาววรกัญญา จารุสิงห์ เบอร์โทรศัพท์ 08 6727 1909 E-mail : chubbjune@gmail.com

หม้อห้อม เป็นการรวมค�ำระหว่าง “หม้อ” หมายถึง ภาชนะส�ำหรับใช้ในการหมักห้อม กับ “ห้อม” หมายถึง ต้นห้อมที่น�ำไปหมักแล้วท�ำให้ผ้า ที่น�ำมาย้อมมีสีคราม สี น�้ ำ เงิ น หรื อ สี ก รมท่ า อั น เป็ น ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ทีส่ บื ทอดกันมาของชาวไทพวน ต�ำบลทุง่ โฮ้ง จังหวัดแพร่ ซึง่ เป็นกรรมวิธที เี่ ป็นธรรมชาติ และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม อี ก ทั้ ง สี น�้ ำ เงิ น เป็ น สี ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความสุ ขุ ม เยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ จึงเป็นสีที่ สามารถส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี เมื่อน�ำมาผสมผสาน กับการสร้างลวดลายบนผืนผ้าและเส้นด้ายด้วยเทคนิค การมัดย้อม การเพ้นท์ลาย ก็จะท�ำให้เกิดลวดลาย ที่มีความสวยงามโดดเด่นและมีเอกลักษณ์ อีกทัง้ ยัง เป็นกรรมวิธีธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผู ้ ศึ ก ษาจึ ง มี แ นวความคิ ด ในการน� ำ เทคนิ ค การ ย้อมห้อมมาประยุกต์ใช้รว่ มกับการสร้างสรรค์ลวดลาย ให้กับผืนผ้าและเส้นใยธรรมชาติด้วยการใช้เทคนิค การย้อมห้อม เพือ่ น�ำมาออกแบบเครือ่ งแต่งกาย ส�ำหรับ สุภาพสตรีในรูปแบบบิสิเนสแคชชวล ให้มีภาพลักษณ์ ที่ทันสมัยตามกระแสความนิยมของปัจจุบันที่สามารถ สวมใส่ได้จริง เพื่อเป็นทางเลือกส�ำหรับผู้บริโภคที่ให้ ความส�ำคัญ กับ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการใช้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากธรรมชาติ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การกระตุ ้ น ให้ ค นในสั ง คมหั น มาให้ ค วามสนใจในการอนุ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อม


การออกแบบชุดสปอร์ตกูตูร์ส�ำหรับสุภาพบุรุษ โดยได้รับแรงบันดาลใจจากลวดลายผ้ามัดหมี่ลาวครั่งบ้านทุ่งก้านเหลือง อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี • นายอนุพงษ์ ปาสะกะ เบอร์โทรศัพท์ 09 6162 5704 E-mail : Pasaka2558@Outlook.com ลาวครั่ง คือ กลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได อพยพมาจากอาณาจักรเวียงจันทร์ และหลวงพระบางพร้อมกับ ลาวกลุ่มอื่นๆ อาศัยอยู่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย คนไทย เชื้อสายลาวครั่งมีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของตนเองได้แก่ ภาษา ประเพณี พิธีกรรมความเชื่อ และการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ ที่โดดเด่นของชาวลาวครั่ง ได้แก่ ผ้ามัดหมี่ ซึ่งเป็นวิธีการทอ ที่ต้องน�ำเส้นด้ายหรือไหมที่เป็นเส้นพุ่งไปมัดให้เป็นลวดลาย ด้วยเชือกฟางหรือเชือกกล้วยก่อนน�ำไปย้อมสี แล้วกรอหลอดเส้น พุ่งให้เรียงตามลวดลาย ใส่กระสวยน�ำไปทอจะได้ลวดลายมัดหมี่ ทางด้านกว้าง เรียกว่า มัดหมี่เส้นพุ่ง ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้า ได้แก่ ลายนาค ซึ่งมีความเชื่อว่าบรรพบุรุษของลาวครั่ง คือ พญานาค และยังเชื่อที่ว่าในแม่น�้ำทุกสายจะมีพญานาคประจ�ำอยู่ อันเป็นสัญลักษณ์ของการสืบสกุลสาย “แม่” และยังเป็นสัญลักษณ์ ของน�้ำและฝนแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงมีแนวความคิดในการน�ำรูปแบบลวดลาย พญานาคซึ่งเป็นลวดลายดั้งเดิมของผ้าไหมมัดหมี่ กลุ่มชาติพันธุ์ ลาวครั่ง บ้านทุ่งก้านเหลือง อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี มาพัฒนาลวดลายใหม่เพื่อใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกาย สปอร์ตกูตูร์ส�ำหรับสุภาพบุรุษ โดยมุ่งสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายที่มี ความประณีตผสมผสานกับการพัฒนารูปแบบลวดลายผ้าไหม มัดหมี่ที่มีการออกแบบอ้างอิงกระแสแนวโน้มแฟชั่น เพื่อสร้าง รูปแบบเครื่องแต่งกายสุภาพบุรุษที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ อันเป็นแนวทางในการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของกลุ่ม ชาติพันธุ์ และเป็นแนวทางการประยุกต์ใช้ในงานด้านแฟชั่นต่อไป

25


26

การออกแบบเครื่องแต่งกายรูปแบบโบฮีเมี่ยน ส�ำหรับสุภาพสตรี กรณีศึกษา : ผ้าหมักโคลนในชุมชนบ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย • นางสาวชุตินันต์ เอี่ยมวิจารณ์ เบอร์โทรศัพท์ 06 1714 8223 E-mail : chutinun_geen@hotmail.com

ผ้าหมักโคลน ชุมชนบ้านนาต้นจัน่ ต�ำบลบ้านตึก อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย มีชื่อเสียงด้าน การท�ำผ้าหมักโคลนโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติที่ อยู่ในท้องถิ่น ซึ่งการย้อมสีผ้าฝ้ายมีกระบวนการ น�ำผ้าฝ้ายที่ทอแล้วไปหมักโคลนส่งผลให้ผ้าที่ หมักโคลนมีความนุ่มขึ้นกระบวนการนี้ไม่มีสารเคมี เจือปนแม้ว่าสีที่ได้อาจเปลี่ยนแปลงไปจากผ้าทอ ผืนเดิมที่เคยมีสีสันฉูดฉาดจาการย้อมสีธรรมชาติ จะกลายเป็นผ้าที่มีสีนุ่มนวลแร่ธาตุส�ำคัญที่มี อยู่ในตัวโคลน ได้แก่ ธาตุเหล็กและโพแทสเซียม แต่ทมี่ าของความนุม่ บนเนือ้ ผ้ามาจากธาตุเหล็ก ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของธาตุเหล็ก จะเข้าไป แทรกซึมเป็นตัวขยายให้เส้นใยของผ้าขยายตัว จึงเกิดเป็นความนุม่ อีกทัง้ ยังช่วยให้สยี อ้ มติดทนนาน ไม่เกิดการตกของสี ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่เกิดจากการ ใช้ธรรมชาติในการแก้ไขปัญหาในการด�ำรงชีวิต ที่น่าสนใจ ผู้ศึกษาจึงมีแนวความคิดในการออกแบบ เครื่องแต่งกายสุภาพสตรี รูปแบบโบฮีเมี่ยน โดยใช้ผ้าหมักโคลน ชุมชนบ้านนาต้นจั่น ต�ำบลบ้านตึก อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ด้วยการน�ำผ้าหมักโคลนมาใช้ในการออกแบบ เครื่องแต่งกายที่มุ่งเน้นการศึกษาโครงสร้างรูปแบบ เครื่องแต่งกายโบฮีเมี่ยน เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ใน การออกแบบที่มาสมารถตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภค อีกทั้งเป็นแนวทางการส่งเสริมและ การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ของกลุ่มชุมชน บ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย อันเป็นการต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่แนวคิดการพัฒนารูปแบบ สินค้าแฟชั่น


การศึกษาไม้เลื้อยองุ่นเพื่อการออกแบบเครื่องแต่งกายสุภาพสตรีปาร์ตี้แวร์ ด้วยเทคนิคสร้างสรรค์ • นางสาวละอองดาว เร่บ้านเกาะ เบอร์โทรศัพท์ 08 4022 3668 E-mail : raymook@hotmail.com

ไม้เลื้อยองุ่น เป็นพืชที่ไม่สามารถทรงตัว ได้โดยล�ำพัง จึงมักเลื้อยพันต้นไม้ใหญ่หรือสิ่งพยุง เป็นที่ยึดเกาะเพื่อให้ล�ำต้นเจริญอยู่ได้ ธรรมชาติ ให้คุณสมบัติพิเศษช่วยในการเลื้อยเกาะ ดอกและ ใบที่สวยงามสร้างความลงในพืชพันธุ์เช่นกัน เถาหรือล�ำต้นของไม้เลื้อยที่ทอดตัวอย่าง อ่อนช้อย ยังช่วยลดความแข็งกระด้าง เมื่อตกแต่งให้เลื้อยห้อยหรือย้อยเป็นพวง อีกทั้งความอ่อนช้อยของไม้เลื้อยสร้าง ลวดลายในโลกของงานศิลปะได้แบบ สวยงาม จากแนวความคิดที่ได้น�ำมาออกแบบ เครื่องแต่งกายสุภาพสตรี โดยการศึกษา ไม้เลื้อยองุ่น การเลื้อยของกิ่งเป็นที่น่าสนใจ มีลักษณะปรากฏให้ความรู้สึกอิสระ การพลิ้วไหว ไปตามธรรมชาติของพืช จึงเกิดเป็นแนวคิด สร้างสรรค์บนเครื่องแต่งกายสุภาพสตรีปาตี้แวร์ ส�ำหรับการตกแต่งเพื่อสร้างจุดเด่นให้เสื้อผ้า ด้วยการใช้เทคนิคศิลปะการมัดเชือกผสมผสาน กับการถักแบบมาคร่าเม่ เพื่อการสร้างสรรค์ เครื่องแต่งกายส�ำหรับสุภาพสตรีเน้นความ สวยงามและแปลกใหม่ของแฟชั่นเสื้อสตรี

27


28

แนวคิดกรีนดีไซน์ : กรณีศึกษาการเลียนแบบลวดลายยีราฟ • นายปิยะพล วงศ์เสงี่ยม เบอร์โทรศัพท์ : 08 4004 0357 E-mail : mmmingminggg@gmail.com

กรีนดีไซน์ คือ การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม ที่ท�ำลายธรรมชาติให้น้อยที่สุดโดยทีนักออกแบบ สามารถเลือกใช้วัสดุที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อทดแทน วัสดุที่ท�ำลายธรรมชาติ จากแนวคิดดังกล่าวจึงเป็น แนวคิดในการลดการใช้วัสดุธรรมชาติให้น้อยที่สุด โดยการหาสิ่งใหม่มาทดแทน อาทิเช่น การที่มนุษย์ ล่าสัตว์เพื่อน�ำเอาหนังสัตว์มาท�ำเป็นเครื่องแต่งกาย และเครื่องประดับ เป็นการท�ำให้เกิดการสูญเสีย ของระบบนิเวศตามธรรมชาติได้ ถ้ามนุษย์สามารถ สร้างวัสดุเลียนแบบธรรมชาติก็จะท�ำให้เกิดการ ท�ำลายธรรมชาติได้น้อยลง ผูศ้ กึ ษาจึงมีแนวคิดในการออกแบบเครือ่ งแต่งกาย ที่มีการเลียนแบบลวดลายสัตว์ โดยน�ำลวดลาย ของยีราฟมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ ซึ่งยีราฟเป็นสัตว์ที่มีลักษณะลวดลายที่มี ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยน�ำ เทคนิคการปักลงบนผ้าและการปะติผ้า มาใช้ในการสร้างสรรค์ โดยน�ำโครงสร้าง เครื่องแต่ง กายของสุภาพสตรีในยุค วิกเตอเรียและเครื่องแต่งกายรูปแบบ พั้งร็อกมาใช้เป็นโครงสร้างหลักในการ ออกแบบ เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภค ที่ต้องการรูปแบบเครื่องแต่งกายที่มี ความแปลกใหม่ โดยการเลียนแบบ ลวดลายยีราฟที่สะท้อนแนวคิดกรีนดีไซน์


การออกแบบเสื้อผ้าสตรีรูปแบบสตรีทแวร์ โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากหน้ากากของวงดนตรีเมทัล SLIPKNOT • นางสาววลิสษา โสวรรณา เบอร์โทรศัพท์ 09 5930 8920 E-mail : varissa2536@gmail.com รูปแบบเพลงเมทัล เป็นรูปแบบเพลงร็อก ที่มีความหนักหน่วงของท่วงท�ำนอง และเนื้อร้อง ซึ่งรูปแบบและเนื้อหาจะแตกต่างจากรูปแบบเพลง ประเภทอื่น ๆ โดยเนื้อหาของเพลงมักจะบอกเล่า เรื่องราวเกี่ยวกับโลกหลังความตายศิลปินวง Slipknot เป็นวงดนตรีรูปแบบเพลงเมทัลที่ได้รับความนิยม และเป็นที่รู้จักของกลุ่มวัยรุ่นซึ่งมีเอกลักษณ์ คือ หน้ากากและการแต่งกาย ที่สะท้อนให้เห็นถึง ภาพรวมของรูปแบบเพลงเมทัลได้อย่างชัดเจน จึงได้รับความนิยมจากแฟนเพลงทั่วโลก เพราะด้วยความแปลกของหน้ากาก และ การแต่งกายที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวที่สามารถ ท�ำให้เป็นที่จดจ�ำ ผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดในการน�ำรูปแบบ ของหน้ากากและการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ ของศิลปินวง Slipknot มาเป็นแรงบันดาลใจ ในการออกแบบ เน้นการพัฒนาและ สร้างสรรค์รูปแบบของเสื้อผ้าให้มีความ แตกต่าง โดยการน�ำเทคนิคการตอกและ การสานมาใช้ในการออกแบบเครือ่ งแต่งกาย สร้างสรรค์รูปแบบเครื่องแต่งกายสตรีทแวร์ ส�ำหรับสุภาพสตรีที่มีแนวคิดจากรูปแบบ เพลงร็อค เพื่อเป็นทางเลือกส�ำหรับผู้ที่มี ความสนใจและต้องการรูปแบบเครื่องแต่งกาย ที่มีความแตกต่างจากท้องตลาด

29


30

การออกแบบเครื่องแต่งกายสุภาพสตรีรูปแบบปาร์ตี้แวร์ โดยได้รับแรงบันดาลใจจากศิลปะปูนปั้นสมัยทวารวดี • นางสาวศาตนาถ พริกงาม เบอร์โทรศัพท์ 09 8997 5428 E-mail : dodown@outlook.co.th

ศิลปะปูนปั้นสมัยทวารวดี เป็นศิลปะที่เกิดจาก การปั้นปูนด้วยวิธีการต�ำเปลือกหอยให้ละเอียดผสมกับปูน น�ำมาปั้นประดับอยู่รอบโบราณสถาน ลวดลายและ รูปทรงต่างๆนั้นน�ำมาเป็นส่วนประกอบทาง สถาปัตยกรรม ซึ่งถือเป็นงานประติมากรรม ของช่างไทย ปัจจุบันเราสามารถพบศิลปะปูนปั้น ได้จากการประดับตกแต่งศาสนสถานต่างๆ รูปแบบ งานประติมากรรมปูนปั้นที่พบมักมีลักษณะ ของความเชื่อทางศาสนา เนื่องจากงาน ประติมากรรมสมัยทวารวดีได้รับอิทธิพลจาก อินเดียสมัยคุปตะ ซึ่งเจริญแพร่หลายทาง ภาคกลางและตะวันตกของอินเดียระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 10-11 จนถึงระหว่างพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 ได้แก่ รูปพระพุทธรูป เทวดา และบุคคล ซึ่งพบได้ในบริเวณเมืองโบราณส�ำคัญ ๆ ของภาคกลาง เช่น เมืองนครปฐม เมืองลพบุรี เมืองคูบัว ที่ต�ำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี เมืองอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และเมืองศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรีดังนั้น ผู้ศึกษาจึงมีแนวความคิดที่จะออกแบบ ชุดสุภาพสตรีในรูปแบบปาร์ตี้แวร์ โดยน�ำ รูปแบบลวดลายของศิลปะปูนปั้นสมัยทวารวดี มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบลวดลาย โดยใช้การ ตัดทอนโครงสร้าง เส้นกรอบนอกของลวดลายศิลปะ ปูนปั้น ประยุกต์กับการออกแบบสร้างสรรค์ให้เกิด ลวดลายใหม่ที่ยังคงสื่อถึงความงดงามของศิลปะปูนปั้น สมัยทวารวดี ผลงานการออกแบบในครั้งนี้เพื่อแสดงถึง ความเป็นไทยในรูปแบบเครื่องแต่งกายแบบร่วมสมัย ที่แสดงถึงการผสมผสานลวดลายของศิลปะปูนปั้นกับ รูปแบบของชุดปาร์ตี้แวร์เพื่อตอบสนองให้เกิดความ โดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ที่เฉพาะตัวอันเป็นการ สร้างสรรค์ผลงานการออกแบบที่ลงตัวในอีกรูปแบบหนึ่ง


การออกแบบชุดเรดี้ทูแวร์ส�ำหรับสุภาพสตรีโดยได้รับแรงบันดาลใจ จากลวดลายชิโบริ • นางสาวกันปมน ผิวผ่อง เบอร์โทรศัพท์ 08 2797 4601 E-mail : Kanphamol@gmail.com เทคนิคการมัดย้อมชิโบริ คือ การ รัด เย็บ พับ บิดม้วน และการบีบอัด ก่อนน�ำไปย้อมสี เพื่อให้เกิดลวดลาย เสน่ห์ของเทคนิคชิโบริ คือ กระบวนการมัดย้อมที่มีความประณีต ตามแบบวัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่น ลวดลายได้จาก การมัดย้อมจะให้ความรู้สึกถึงความเป็น ธรรมชาติที่ออกมาในรูปแบบศิลปะ บนผืนผ้า ซึ่งแตกต่างจากการมัดย้อม แบบปกติ ผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดในการ ออกแบบชุดเรดี้ทูแวร์ส�ำหรับสุภาพสตรี โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากลวดลาย ชิโบริ เน้นการสร้างสรรค์ลวดลายโดย ใช้เทคนิคชิโบริบนผืนผ้า ผสมผสานกับ การย้อมห้อม ซึ่งเป็นสีย้อมที่ได้จาก ธรรมชาติ ผสมผสานกับการสร้างสรรค์ ลวดลายด้วยเทคนิคการสานเพื่อสร้าง มิติของลวดลายที่เกิดจากการย้อม และการสานที่มีความแปลกใหม่ ด้วยเทคนิคและการพัฒนารูปแบบ ของเครื่องแต่งกายจะส่งผลท�ำให้สินค้า ประเภทผ้ามัดย้อมสามารถเข้าถึงตลาด ผู้บริโภคได้หลากหลายกลุ่ม มากยิ่งขึ้นอีกด้วย

31


32

การออกแบบเครื่องแต่งกายสุภาพสตรีรูปแบบฮิปปี้ โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากผ้าพื้นเมืองชนเผ่าลีซอ อ�ำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน • นางสาวณิชนันทน์ ฐิตญาณพงศ์ เบอร์โทรศัพท์ 06 2814 2810 E-mail : arale_wan@msn.com

ผ้าพื้นเมืองชนเผ่าลีซอมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวในการน�ำผ้าหลากหลายสีมาพับเป็น ผ้าเฉลียงทีละเส้น โดยต้องพับผ้าทีละชิ้นเป็น รูปสี่เหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม จากนั้นน�ำมา ประกอบกันด้วยการพับทั้งสองด้านแล้วสอย ด้วยมือทีละชิ้น ซึ่งเรียกว่าเทคนิคการตัดต่อผ้า และน�ำมาประกอบกันจนเป็นผืนผ้าโดยใช้สีสัน ที่สดใส ท�ำเกิดเป็นลวดลายที่มีลักษณะโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ ผู้ศึกษาจึงมีแนวความคิดในการน�ำเสนอ รูปแบบเครื่องแต่งกายที่มีการผสมผสาน วัฒนธรรมพื้นเมืองร่วมกับแนวคิด การออกแบบตามสมัยนิยม มุ่งเน้นการ ผสมผสานเทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลาย ของชนเผ่าลีซอพื้นเมืองร่วมกับการใช้วัสดุ สมัยใหม่ โดยน�ำรูปแบบเครื่องแต่งกายฮิปปี้ มาเป็นแนวคิดหลักในการพัฒนารูปแบบ เครื่องแต่งกาย ที่เป็นการพัฒนารูปแบบ เครื่องแต่งกายที่เป็นอีกทางเลือกหนึ่งให้กับ กลุ่มคนรุ่นใหม่ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม ให้กลุ่มคนรุ่นใหม่หันมาให้ความส�ำคัญ ในศิลปวัฒนธรรมของไทยมากขึ้น


การออกแบบเครื่องแต่งกายสุภาพสตรีในรูปแบบปาร์ตี้แวร์ โดยได้รับแรงบันดาลใจจากศิลปะลายรดน�้ำสมัยอยุธยา • นายณัฐพล พ่วงศิริ เบอร์โทรศัพท์ 09 1707 0958 E-mail : universonutzz@gmail.com ศิลปะลายรดน�้ำ เป็นงานจิตรกรรมไทย แขนงหนึ่งที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้มาตั้งแต่สมัยโบราณ ด้วยวิธีการเขียนลวดลายด้วยน�้ำยาหรดาลลงบนพื้น ที่ทาด้วยรักสีด�ำแล้วจึงเช็ดรักปิดทอง ให้เกิดเป็นลวดลาย ทั้งนี้ศิลปะลายรดน�้ำส่วนใหญ่ที่พบมักเป็นงานที่ถูกสร้างสรรค์ ขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ที่มีรูปแบบลวดลายที่ได้รับ การยกย่องว่าเป็นผลงานชั้นครู ได้แก่ ตู้พระไตรปิฎก ลายรดน�้ำ ที่น�ำลวดลายกระหนกเปลวที่มีความพริ้วไหว ผสมผสานลวดลายสรรพสัตว์มาประดับท�ำให้เกิดความงาม ทางสุนทรียะที่เป็นศิลปวัฒนธรรมของไทยที่มีรูปแบบ ที่สวยงาม ผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดในการน�ำศิลปะ ลายรดน�้ำมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ โดยใช้แฟชั่นเป็นสื่อในการแสดงอัตลักษณ์ ความเป็นไทย ผ่านการออกแบบเครื่องแต่งกาย ส�ำหรับสุภาพสตรีในรูปแบบปาร์ตี้แวร์ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจในการอนุรักษ์และ สืบสานเพื่อพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญา โดยใช้ลวดลายจากศิลปะลายรดน�้ำ ที่ปรากฏบนตู้พระไตรปิฎกในสมัยอยุธยา ตอนปลายมาใช้ในการออกแบบลวดลาย พิมพ์ลงบนผืนผ้าผสมผสานกับเทคนิค งานปัก ที่มุ่งเน้นการออกแบบ และพัฒนารูปแบบตามกระแสแฟชั่น ให้มีความทันสมัยและคงไว้ถึงเอกลักษณ์ ของงานศิลปะไทย

33


34

การออกแบบเครื่องแต่งกายสุภาพสตรีรูปแบบปาร์ตี้แวร์ โดยรับแรงบันดาลใจจากผ้ามัดหมี่ย้อมคราม ชุมชนบ้านเชียงจังหวัดอุดรธานี

• นางสาวสาหร่าย ปฏิสตั ย์ เบอร์โทรศัพท์ 09 3594 0641 E-mail : sarai1992nam@gmail.com

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันกลุ่มชนชาวไทย แต่ละกลุ่มต่างมีสิ่งทอที่งดงามมีเอกลักษณ์ ในด้านการคิดค้นรูปแบบและลวดลายที่ แตกต่างกันไป ซึ่งเกิดจากพื้นฐานทางความคิด ความเชื่อดั้งเดิม และสภาแวดล้อมของแต่ละ กลุ่มชนที่สืบต่อกันมา งานหัตถกรรมสิ่งทอ ของไทยจึงนับว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่า เป็นตังบ่งชี้ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชนในชาติ และยังแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางสติปัญญา การค้น การคิด การประดิษฐ์ การแก้ไข ปรับปรุงให้มีความงาม อันเป็นส่วนส�ำคัญ ของค�ำว่า “วัฒนธรรม” งานสิ่งทอในด้าน ผ้าฝ้ายย้อมครามจังหวัดอุดรธานีนับได้ว่า มีเสน่ห์ควรค่าแก่การสนใจยิ่ง ผ้าทอแต่ละผืน นับได้ว่าเป็นงานศิลปะที่มีความประณีต ละเอียดอ่อน เป็นความรู้ความสามารถ อันเปี่ยมไปด้วยวิญญาณช่างแห่งบรรพชน จากข้อมูลเบื้องต้นผู้ศึกษาจึงมีแนวคิด ทีจ่ ะศึกษาเกีย่ วกับผ้าย้อมคราม ชุมชนบ้านเชียง จั ง หวั ด อุ ด รธานี เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาให้ ผ้าย้อมคราม ชุมชนบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี มี ค วามทั น สมั ย และมี ค วามเป็ น สากล มากยิ่งขึ้น ด้วยการสร้างสรรค์ผ่านรูปแบบ เครื่องแต่งกายสุภาพสตรีรูปแบบปาร์ตี้แวร์ โดยการประยุกต์ลวดลายที่ปรากฏบน เครือ่ งปัน่ ดินเผาบ้านเชียงมาใช้ในการออกแบบ เพื่อให้รูปแบบเครื่องแต่งกายมีความเป็นสากล และเหมาะสมกับยุคสมัย สามารถสวมใส่ได้ หลากหลายโอกาส พร้อมทั้งเป็นการอนุรักษ์ และพัฒนารูปแบบลวดลายผ้าทอเพื่อแสดงถึง เอกลักษณ์ ความเป็นไทยให้คนรุ่นต่อไปได้ศึกษา


การออกแบบเครื่องแต่งกายรูปแบบชุดครีเอทีฟแวร์ โดยได้แรงบันบาลใจจากเครื่องอัฐบริขารในงานบวช

• นายชิติพล นิธิโชติ เบอร์โทรศัพท์ 08 7015 1976 E-mail : chitiponnitichod@gotmail.com ประเพณีการบวชพระ เป็นการปฏิบัติทสี่ บื เนือ่ ง มาจากความเลือ่ มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาของ พุทธศาสนิกชน ตามประเพณีปฏิบัติในการบวชนั้น ชายที่มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จะต้องเข้าพิธีอุปสมบท การอุปสมบทเป็นประเพณีที่มีความส�ำคัญมากอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะชายที่มีอายุครบ 20 ปี เป็นวัยที่เข้าสู่วัย ผู้ใหญ่ ซึ่งจะต้องมีความรับผิดชอบในชีวิตของตน มากยิ่งขึ้นจึงจ�ำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ความจริงของชีวิต เพราะพระพุทธศาสนา เป็นหลักค�ำสอนแห่งความจริงในโลก ที่สอน ให้มนุษย์รสู้ าเหตุของการเกิด แก่ เจ็บ และตาย ช่วยให้มนุษย์มีสติสัมปชัญญะที่จะน�ำไปสู่ ในทางที่ดีที่ชอบ การอุปสมบทจึงมีความส�ำคัญ โดยเฉพาะต่อผู้ที่จะเป็นหลักของครอบครัว ซึ่งในการบวชจ�ำเป็นต้องมีเครื่องอัฐบริขาร คือ เครื่องใช้สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับพระภิกษุ หรือเป็น เครื่องอาศัยในการด�ำรงเพศบรรพชิต มีทั้งหมด 8 อย่าง ได้แก่ บาตร จีวร สบง สังฆาฏิ ผ้าประคดเอว เครื่องกรองน�้ำกล่องเข็ม พร้อมด้าย มีดโกน และหินลับมีด ซึ่งจ�ำเป็น ในการเตรียมการบวช ผู้ศึกษาจึงมีแนวความคิดในการออกแบบ ชุดครีเอทีฟแวร์ โดยน�ำรูปทรงและโครงสร้าง ของเครื่องอัฐบริขารกับโครงสร้างของชุดนาค มาสร้างสรรค์และออกแบบผลงานผ่านเครื่องแต่งกาย ของสุภาพสตรี โดยใช้เทคนิคการพับซ้อน การจับจีบ และการปัก เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้บริโภค ที่มีความสนใจรูปแบบเครื่องแต่งกายที่มีความ แปลกใหม่ สะท้อนให้เห็นถึงประเพณีที่ส�ำคัญ ของคนไทย และอีกทั้งประโยชน์ทางด้านการ ศึกษาเพื่อให้เกิดการพัฒนารวมถึงการประยุกต์ ใช้ในวงการแฟชั่นต่อไป

35


36

การศึกษาโครงร่างสถาปัตยกรรมทัชมาฮาล เพื่อใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกายสุภาพสตรี รูปแบบบิสิเนส ปาร์ตี้ • นายพัชรพันธ์ สุขสุคนธ์ เบอร์โทรศัพท์ 08 2023 9098 E-mail : mos-1112@hotmail.com

ทัชมาฮาล คือ สถาปัตยกรรมสุสานหินอ่อน ที่งดงามที่สุดในโลก จนถูกจัดเป็นหนึ่งในเจ็ด สิ่งมหัศจรรย์ ของโลกยุคใหม่ ตั้งอยู่ที่ริมฝั่งแม่น�้ำ ยมุนา เมืองอัคระ รัฐอุตตรประเทศ ประเทศ อินเดีย ด้วยโครงสร้างของสถาปัตยกรรมที่ สร้างขึ้นจากหินอ่อนสีขาวและการตกแต่ง ที่ผสมผสานศิลปะแห่งโลกอาหรับมุสลิม ร่วมกับ ศิลปะอินเดีย จนเกิดเป็นศิลปะ รูปแบบใหม่ที่เรียกว่า ศิลปะโมกุล ที่มี ความงดงามเกิดจากลักษณะโครงสร้าง ทีส่ มดุลได้สดั ส่วน และการแกะสลักหินอ่อน เพื่อฝังหินล�้ำค่าท�ำให้เกิดเป็นลวดลาย อันประณีตบรรจง ซึ่งถือเป็นรูปแบบศิลปะ ที่เป็นลักษณะเฉพาะของทัชมาฮาล ผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดในการออกแบบเครื่องแต่งกาย สุภาพสตรีประเภทบิสิเนสปาร์ตี้ เพื่อที่จะพัฒนา รูปแบบของเครื่องแต่งกาย โดยน�ำลักษณะ สถาปัตยกรรมและการตกแต่งอันเป็น ลักษณะเฉพาะของทัชมาฮาล มาถ่ายทอด ผ่านเทคนิคการถักนิตติ้งที่น�ำลักษณะ โครงสร้างและลวดลายการตกแต่ง ของทัชมาฮาลมาใช้เป็นแรงบันดาลใจ ในการออกแบบลวดลาย โดยถ่ายทอด ผลงานผ่านเครื่องแต่งกายรูปแบบ บิสิเนส ปาร์ตี้ ที่ตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มผู้บริโภค


การศึกษาโครงสร้างสถาปัตยกรรมพีระมิดลูฟ เพื่อการออกแบบเครื่องแต่งกายบิสเนสปาร์ตี้ด้วยเทคนิคพิเศษเชิงสร้างสรรค์ • นางสาวจิรวรรณ นูมหันต์ เบอร์โทรศัพท์ 08 6393 6595 E-mail : ax_nue@hotmail.com

พิพิธภัณฑ์ลูฟ เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ ที่ใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า Musée du Louvre พิพิธภัณฑ์ลูฟ มีจุดเด่น ที่เป็นเอกลักษณ์ในรูปแบบของสถาปัตยกรรมรูปทรง เป็นพีระมิดแก้วที่สร้างอยู่กลางลานกว้างเพื่อน�ำทาง เข้าไปยังด้านในของตัวพิพิธภัณฑ์ พีระมิดแก้ว มีโครงสร้างของพีระมิดแก้วที่มีฐานเป็นสี่เหลี่ยม ขนาด 35 เมตร สูง 22 เมตร พีระมิดมีความโปร่งแสง เพราะพี ร ะมิ ด ประกอบขึ้ น จากแผ่ น กระจก โดยประมาณ 673-675 แผ่น กระจกทัง้ หมด จะมีอยู่ 2 แบบคือ สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน และสามเหลี่ยมที่มาจากทรงเรขาคณิต ที่มีความสวยงามและสะท้อนถึงความเจริญ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ผู้ศึกษาจึงมีแนวความคิดในการ สร้างสรรค์ผลงานการออกแบบเครื่องแต่งกาย สุภาพสตรีรูปแบบ ครีเอทีฟแวร์ (creative wear) โดยได้แรงบันดาลใจมาจากโครงสร้างสถาปัตยกรรม ของพีระมิดลูฟ โดยการถ่ายทอดผลงานและ แนวความคิดโดยใช้แฟชั่นเป็นสื่อในการแสดงออก ผ่านรูปแบบเครื่องแต่งกายด้วยการน�ำอะคริลิค ที่มีรูปทรงเรขาคณิตมาประกอบเป็นรูปแบบ เครื่องแต่งกายเพื่อสร้างให้เกิดมิติของรูปทรงบน เครื่องแต่งกาย และเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภค ที่มีความสนใจในรูปแบบเครื่องแต่งกายครีเอทีฟแวร์

37


38

การออกแบบเครื่องแต่งกายสุภาพสตรีรูปแบบปาร์ตี้แวร์ โดยได้รับแรงบันดาลใจจากพระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากองในประเทศพม่า • นายพิพัฒน์ โพธิ์ทอง เบอร์โทรศัพท์ 09 1552 8547 E-mail : Jamemiyake@hotmail.com

พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากองในประเทศพม่านั้น ถือว่าเป็นสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจอีกทั้งยังจัดได้ว่าเป็นสถานที่ ที่มีความสวยงาม ซึ่งในประวัติศาสตร์พม่าได้จับเชลย ของประเทศไทยไปท�ำการก่อร่างสร้างเจดีย์ และยังน�ำ ทองของอยุธยาไปเป็นส่วนหนึ่งของเจดีย์อีกด้วย แต่อย่างไรนั้นยุคสมัยได้เปลี่ยนไปไทยกับพม่า เป็นมิตรต่อกันมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม อาหารการกิน ความเชื่อทางศาสนา เราจึงมอง ด้วยความศรัทธาและความสวยงามของพระมหาธาตุ เจดีย์ชเวดากองในประเทศพม่า ซึง่ มีความสวยงาม และเป็นทีเ่ คารพรักของชาวพม่า ภายในส่วนของ พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากองนั้นมีลักษณะที่ใหญ่ และสูงมาก ตัวเจดีย์นั้นเป็นสีทองอร่ามตา และลายล้อม ไปด้วยเจดียส์ ขี าวปะบน และมีลวดลายประดับทีส่ วยงาม ผู้ศึกษามีแนวความคิดในการ สร้างสรรค์ผลงานการออกแบบเครื่องแต่งกาย สุภาพสตรีรูปแบบปาร์ตี้แวร์ที่ได้รับแรงบันดาลใจ จากพระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากองในประเทศพม่า โดยการสร้างสรรค์เทคนิคการตกแต่งเสื้อผ้าโดย ดัดแปลงลวดลายของพระมหาธาตุเจดียช์ เวดากอง ในประเทศพม่า เพือ่ เป็นทางเลือกใหม่ให้กบั ผูบ้ ริโภค ทีต่ อ้ งการเครือ่ งแต่งกายทีแ่ ปลกใหม่ มีเอกลักษณ์ ทีช่ ดั เจน และทันสมัย อีกทัง้ ยังเป็นประโยชน์ ในด้านการศึกษาและเพื่อให้เกิดการพัฒนา ด้านการออกแบบเพื่อค้นพบสิ่งใหม่ๆ และการออกแบบที่ทันสมัยต่อยุคสังคม


สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

Textile Product Design

39


40

การศึกษาเทคนิคการทอด้วยเส้นด้ายต่างขนาดเพือ่ งานออกแบบผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ • นางสาวกนกพร ส่องพราย เบอร์โทรศัพท์ 08 3089 1912 E-mail : oonamwhanoo@gmail.com การศึกษาครัง้ นีม้ จี ดุ มุง่ หมาย 1) เพือ่ ศึกษาลายทอและ เทคนิคการทอด้วยเส้นด้ายต่างขนาด 2) เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ สิ่งทอจากผ้าทอด้วยเส้นด้ายต่างขนาด ผู้วิจัยได้ศึกษาลายทอ และเทคนิคการทอผ้า โดยใช้เส้นด้ายต่างขนาด ได้แก่ เส้นด้าย เบอร์ 0.75 เส้นด้ายเบอร์ 3.5 และเส้นด้ายเบอร์ 20 ทอโดย ใช้เทคนิคการทอลายขัดทอร่วมกับลายที่ได้แนวคิดมาจาก ลายตาข่าย ท�ำให้ผา้ ทีไ่ ด้ออกมามีลกั ษณะต่างระดับกันของพืน้ ผิว ลวดลายโดดเด่ น ชั ด เจน โดยผ้า ทอมีสมบัติที่ห นานุ่มของ ผิวสัมผัส โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ กลุ่มผู้สนใจผลิตภัณฑ์ สิ่งทอในศูนย์การค้า JJ Mall จ�ำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิ จั ย คื อ แบบสอบถาม เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล โดยการ สัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ จากแบบประเมิ น ความคิ ด เห็ น ต่ อ ความต้ อ งการ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากผ้าทอด้วยเส้นด้ายต่างขนาด จากกลุ่ม ตัวอย่าง ด้านวัสดุผลิตภัณฑ์มคี วามคิดสร้างสรรค์ในการน�ำเส้น ด้ายต่างขนาดมาทอเป็นผืนผ้าได้อย่างเหมาะสม มากที่สุด (ร้อยละ 58) เส้นด้ายและผืนผ้าเมื่อน�ำมาใช้ร่วมกับหนัง PU ในการท�ำผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสม มากที่สุด (ร้อยละ 66) ด้านรูปทรงของผลิตภัณฑ์มีความสอดคล้องกับแนวความคิดที่ ได้มาจากรูปทรงเรขาคณิต รูปทรงสามเหลีย่ ม มากทีส่ ดุ (ร้อยละ 76) รูปทรงสี่เหลี่ยม มากที่สุด (ร้อยละ 58) รูปทรงของผลิตภัณฑ์ มีความทันสมัย มากที่สุด (ร้อยละ 40) ด้านการใช้สีของผ้าทอ เหมาะสมกับการน�ำมาท�ำผลิตภัณฑ์ มากที่สุด (ร้อยละ 12) สีของหนังเทียม PU ที่น�ำมาใช้เหมาะสมกับผ้าทอ มากที่สุด (ร้อยละ 42) ด้านพื้นผิวของผลิตภัณฑ์ ลวดลายมีผิวสัมผัส ให้ความรู้สึกกับผู้พบเห็น มากที่สุด (ร้อยละ 82) ผิวสัมผัสของ ผลิตภัณฑ์เป็นผลท�ำให้บริเวณว่างของรูปร่างขนาดของเส้นด้าย ทีแ่ ตกต่างกัน มากทีส่ ดุ (ร้อยละ 65) ด้านการใช้สอย ผลิตภัณฑ์ มีความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน มากที่สุด (ร้อยละ 51) สามารถเก็บของใช้อย่างเป็นระบบ มากที่สุด (ร้อยละ 58)


การศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากสายทอเทป • นายจิรวัฒน์ หนูชัยแก้ว เบอร์โทรศัพท์ 09 6225 3857

การศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากสายทอเทป ได้ศึกษาประเภทและรูปแบบของสายทอเทปชนิด ไนลอน พอลิเอสเตอร์ และพอลิโพรพีลีน มาใช้ร่วมกันในการสานลาย พื้นฐานเป็นลายขัดซึ่งมีความแข็งแรงและรับแรงยืดหยุ่นได้ดี ที่ สุ ด เหมาะส� ำ หรั บ ที่ จะน� ำ มาท� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งเรื อ น โดยการใช้ สี ต ามแบบอย่ า ง ศิ ล ปะป๊ อ ปอาร์ ต ที่ มี สี สั น หลากหลาย สดใส ฉูดฉาด ตัดกัน ส่วนโครงสร้างของเครือ่ งเรือน ได้รบั แรงบันดาลใจมาจากโครงสร้างของนก โดยมีวสั ดุประกอบ เครื่ อ งเรื อ นเป็ น สแตนเลสและไม้ เป็ น วั ส ดุ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ที่เหมาะสมกับการน�ำมาใช้ประกอบเครือ่ งเรือน เครือ่ งเรือนจาก สายทอเทปสามารถปรับระดับได้ 2 ระดับ ระดับแรกพนักพิง ท� ำ มุ ม ที่ 110 องศาและระดั บ ที่ ส องท� ำ มุ ม ที่ 125 องศา เพือ่ ให้นงั่ สบายตามหลักการยศาสตร์ สามารถเคลือ่ นย้ายและ น�ำพาได้สะดวก จากแบบประเมิ น ความคิ ด เห็ น ต่ อ การศึ ก ษาและ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ่ ง ทอจากสายทอเทป จากกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ผลิตภัณฑ์มขี นาดสัดส่วนทีเ่ หมาะสมกับสรีระร่างกาย มากทีส่ ดุ (ร้อยละ 56) ผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสมส�ำหรับห้องอาคาร พักอาศัย มากที่สุด (ร้อยละ 44) สีสันของผลิตภัณฑ์มีความ เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบัน มากที่สุด (ร้อยละ 40) ผลิตภัณฑ์มีความสะดวกสบายเหมาะส�ำหรับใช้ นั่งเล่นและพักผ่อน มากที่สุด (ร้อยละ 52) ผลิตภัณฑ์สามารถ เคลื่อนย้ายได้สะดวก มากที่สุด (ร้อยละ 32) สามารถจัดเก็บ และสะดวกต่ อ การน� ำ พา มากที่ สุ ด (ร้ อ ยละ 44) ผลิ ต มี ความปลอดภัยในการใช้งาน มากทีส่ ดุ (ร้อยละ 48) วัสดุสายทอเทป มีความเหมาะสมกับรูปแบบผลิตภัณฑ์ มากที่สุด (ร้อยละ 52) วั ส ดุ ส ายทอเทปสามารถใช้ ร ่ ว มกั บ สแตนเลสได้ มากที่ สุ ด (ร้อยละ 36) วัสดุสายทอเทปมีรูปแบบการสานที่เหมาะสมกับ รูปแบบผลิตภัณฑ์ มากที่สุด (ร้อยละ 48)

41


42

การออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้านจากวัสดุสิ่งทอและวัสดุร่วม • นางสาวพัชรีพร บ�ำรุงเอื้อ เบอร์โทรศัพท์ 09 6631 8867 E-mail : classiz.life@gmail.com การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาวัสดุที่ใช้ ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้าน 2) เพือ่ ศึกษาเทคนิค การใช้ วั ส ดุ ใ นการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องตกแต่ ง บ้ า น 3) เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้าน ผู้วิจัยได้ศึกษา เศษวัสดุที่เหลือทิ้งทางด้านการเกษตร ซึ่งเป็นเส้นใยจากพืช ชนิดต่างๆ เส้นใยเหล่านีม้ คี ณ ุ สมบัตทิ สี่ ามารถน�ำมาทอ ถักและ สร้างลวดลายได้เพราะเส้นใยมีความนุม่ ทนต่อแรงเสียดสีและ ราคาประหยั ด ได้ แ นวคิ ด ที่ จ ะออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ตกแต่งบ้านเป็นงานศิลปะสิง่ ทอประเภทภาพแขวนผนัง จากวัสดุ สิ่งทอและวัสดุร่วมได้แรงบันดาลใจมาจากช้างไทย สีสันของ ผลงานได้ ม าจากสี ข องวั ส ดุ แ ละโทนสี ไ ด้ จ ากสี ธ รรมชาติ โดยกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใช้ ได้ แ ก่ กลุ ่ ม ผู ้ ส นใจผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ตกแต่งบ้านบริเวณตลาดนัดสวนจตุจักร จ�ำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ จากการประเมิ น การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ตกแต่งบ้านจากวัสดุสิ่งทอและวัสดุร่วม พบว่า การน�ำเส้นใย ทีเ่ หลือทิง้ ทางการเกษตรน�ำมาใช้เพือ่ ให้เกิดประโยชน์มคี วามคิดเห็น ในระดับมาก (ร้อยละ 66) การน�ำเส้นใยต่างชนิดมาใช้ร่วมกัน ได้อย่างเหมาะสม มีความคิดเห็นในระดับมาก (ร้อยละ 72) วัสดุหลักกับวัสดุรว่ มมีความสัมพันธ์กนั มีความคิดเห็นในระดับมาก (ร้อยละ 46) การวางลวดลายมีความสัมพันธ์และต่อเนื่องกัน มีความคิดเห็ นในระดับมาก (ร้อยละ 48) ลวดลายมีค วาม เหมาะสมและเชื่ อ มโยงกั น มี ค วามคิ ด เห็ น ในระดั บ มาก (ร้อยละ 46) การน�ำเทคนิคการสร้างลวดลายมาใช้รว่ มกับศิลปะ สิ่ ง ทอได้ อ ย่ า งเหมาะสม มี ค วามคิ ด เห็ น ในระดั บ มาก (ร้อยละ 46) การใช้สีในน�้ำหนักอ่อน-แก่ ท�ำให้ภาพดูมีมิติ มีความคิดเห็นในระดับมาก (ร้อยละ 52) การใช้สีให้มีการ ประสานและส่ ง เสริ ม กั น มี ค วามคิ ด เห็ น ในระดั บ มาก (ร้อยละ 54) ภาพรวมของการใช้สมี คี วามกลมกลืนกันดี มีความ คิดเห็นในระดับมากที่สุด (ร้อยละ 50) ภาพรวมสามารถแยก ส่ ว นได้ อ ย่ า งเหมาะสม มี ค วามคิ ด เห็ น ในระดั บ มากที่ สุ ด (ร้ อ ยละ 44) ภาพสื่ อ ถึ ง เอกลั ก ษณ์ ข องช้ า งไทยได้ อ ย่ า ง เหมาะสม มีความคิดเห็นในระดับมากที่สุด (ร้อยละ 48)


การออกแบบลวดลายเพื่อการตกแต่งผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากผ้าลูกไม้ • นางสาวศิริทิพย์ บุญเลิศลพ เบอร์โทรศัพท์ 08 8856 2702 E-mail : tipfycup555@gmail.com

การศึกษาครัง้ นีม้ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ การตกแต่งผลิตภัณฑ์ สิ่งทอจากผ้าลูกไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของผ้าลูกไม้ และเพื่อออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์สิ่งทอ โดยใช้ผ้าลูกไม้ ชนิดต่างๆ มาแยกส่วนการปักด้วยจักรอุตสาหกรรมเพื่อน�ำไป สร้างลวดลายบนผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ ซึง่ ผ้าลูกไม้ทมี่ คี วามเหมาะสม มากที่สุด คือ ผ้าลูกไม้ดอก Medallions Lace และผ้าลูกไม้ ทั้งผืนแบบหนา All Over Lace โดยผ้าพื้นที่น�ำมาปักลวดลาย จากผ้าลูกไม้เป็นผ้าลินิน แนวคิดในการออกแบบลวดลาย และการใช้สีได้มาจากศิลปะอาร์ตนูโวที่มีความโค้งงอและ อ่อนช้อยเป็นธรรมชาติ ร่วมกับแรงบันดาลใจจากนกยูง การใช้สี เป็นสีวรรณะร้อน 70 เปอร์เซ็นต์ และสีวรรณะเย็น 30 เปอร์เซ็นต์ จากแบบสอบถามประชากรและกลุ่มตัวอย่างมีความต้องการ ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ น� ำ มาตกแต่ ง ด้ ว ยลวดลายจากผ้ า ลู ก ไม้ มากที่สุด คือ ผลิตภัณฑ์เสื้อคลุมประเภทเสื้อโค้ทที่สามารถ สวมใส่ได้ทุกโอกาส จากการประเมินการออกแบบลวดลายเพือ่ การตกแต่ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ่ ง ทอจากผ้ า ลู ก ไม้ พบว่ า ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ที่น�ำวัสดุมาใช้ในการตกแต่งเสื้อผ้าได้เป็นอย่างดีมีความคิด เห็นในระดับมาก (ร้อยละ 70) การน�ำชิ้นส่วนวัสดุมาจัดวาง ให้ เ ป็ น ไปตามศิ ล ปะอาร์ ต นู โวมี ค วามคิ ด เห็ น ในระดั บ มาก (ร้อยละ 81) ความเหมาะสมในการวางลวดลายบนผลิตภัณฑ์ มีนำ�้ หนักในการวางลายได้อย่างลงตัวมีความคิดเห็นในระดับมาก (ร้อยละ 65) แนวความคิดและแรงบันดาลใจมาใช้ร่วมกันได้ ลงตัว มีความคิดเห็นมาก (ร้อยละ 58) การใช้คู่สีตรงกันข้าม เพื่อให้งานดูโดดเด่นมีความคิดเห็นมาก (ร้อยละ 47) การใช้น�้ำหนักสีท�ำให้ลวดลายดูเป็นมิติ มี ค วามคิ ด เห็ น มาก (ร้ อ ยละ 37) การน�ำสีข องศิลปะอาร์ตนูโวมาใช้ไ ด้อย่างกลมกลืนมีความ คิดเห็นมาก (ร้อยละ 61) ภาพรวมผลิตภัณฑ์ใช้ได้ในชีวิตประจ�ำวันและในโอกาสพิเศษมีความ คิดเห็นมาก (ร้อยละ 71) ภาพรวมผลิตภัณฑ์มีทิศทางในแนวเดียวกันมีความคิดเห็นมาก (ร้อยละ 79)

43


44

การออกแบบลายพิมพ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากผ้าแพรวา ด้วยเทคนิคการพิมพ์ซิลค์สกรีน • นายชาญวุฒิ ประสพรัตนสุข เบอร์โทรศัพท์ 08 5058 6747 E-mail : dookstyle.p@gmail.com การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลวดลาย ผ้ า แพรวาของชาวภู ไ ท จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ 2) เพื่ อ ออกแบบ ลายพิมพ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากผ้าแพรวา ด้วยเทคนิคการ พิมพ์ซิลค์สกรีน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ผู้สนใจเลือกซื้อ เสื้อผ้า ในดิ โอลด์ สยาม พลาซ่า จ�ำนวน 100 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า การออกแบบลายพิมพ์ที่ได้รับ แรงบันดาลใจจากผ้าแพรวา ด้วยเทคนิคการพิมพ์ซิลค์สกรีน ทางด้านความต้องการด้านรูปแบบการน�ำมาท�ำผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับดีมาก ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบประเมินความคิดเห็นที่มี ต่อการออกแบบลายพิมพ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากผ้าแพรวา ของชาวภูไท จังหวัดกาฬสินธุ์ ด้วยเทคนิคการพิมพ์ซิลค์สกรีน ได้ดังนี้ การน�ำเสื้อยืด (T-Shirt) ที่ผลิตด้วยฝ้าย 100 เปอร์เซ็นต์ ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันมีความเหมาะสมมากที่สุด (ร้อยละ 52) การสวมใส่เสื้อยืด (T-Shirt) ที่ผลิตด้วยฝ้าย 100 เปอร์เซ็นต์ ให้ความรู้สึกสบาย ดูดซับเหงื่อและระบายอากาศดีมากที่สุด (ร้ อ ยละ 83) การน� ำ ลายนาคและลายเรขาคณิ ต มาจั ด องค์ประกอบลายร่วมกัน มีความแปลกใหม่และยังคงเอกลักษณ์ เดิ ม มากที่ สุ ด (ร้ อ ยละ 40) การจั ด องค์ ป ระกอบลวดลาย ในลักษณะแนวนอนมีความเหมาะสมมากที่สุด (ร้อยละ 36) ลวดลายมี ค วามทั น สมั ย และเหมาะสมกั บ ทุ ก เพศทุ ก วั ย มากทีส่ ดุ (ร้อยละ 41) การน�ำเอาสีหลักของผ้าแพรวามาใช้เป็น สีของลวดลายเพื่อให้คงความเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรม ดั้งเดิมของผ้าแพรวามากที่สุด (ร้อยละ 78) การน�ำเอาสีหลัก ของผ้ า แพรวามาจั ด วางใหม่ มี ค วามเหมาะสมมากที่ สุ ด (ร้อยละ 39) ต�ำแหน่งการวางลวดลายบนเสื้อยืด (T-Shirt) มีความเหมาะสมมากทีส่ ดุ (ร้อยละ 56) ผลิตภัณฑ์และลวดลาย สามารถน�ำไปสวมใส่ได้ทุกโอกาสมากที่สุด (ร้อยละ 69)


การออกแบบลายพิมพ์ที่ได้แรงบันดาลใจผ้าลายน�้ำไหลด้วยเทคนิคพิมพ์ดิจิตอล • นายณัฐพงศ์ พงศ์วัชร์ เบอร์โทรศัพท์ 09 4483 4987 E-mail : domemyt_t@hotmail.com

โครงการออกแบบลวดลายโดยได้รบั แรงบันดาลใจจากผ้าลายน�ำ้ ไหล ด้วยเทคนิคพิมพ์ดจิ ติ อล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลวดลายผ้าลายน�้ำไหล และเพื่อออกแบบลายพิมพ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจ จากผ้าลายน�ำ้ ไหลในการออกแบบ โดยน�ำเอาเส้นกรอบนอกของลวดลายผ้าน�ำ้ ไหลซึง่ เป็นลายซิกแซ็ก มาออกแบบเป็นลวดลายใหม่ โดยจะใช้สแี ดงเลือดหมู สีแดงชาติ สีชมพู สีมว่ ง และสีสม้ ซึง่ เป็นสีดงั้ เดิม ของผ้าน�้ำไหลมาใช้อย่างเหมาะสม จัดวางลวดลายในรูปแบบแนวตั้ง และผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้คัดสรร กลั่นกรอง จากนั้นน�ำลวดลายที่ผ่านการคัดเลือกไปท�ำการพิมพ์ดิจิตอลเพื่อให้ได้ผ้าที่จะน�ำไปท�ำ ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าต่อไป ผลวิเคราะห์ของผู้ตอบแบบประเมินได้ดังนี้ การน�ำเสื้อเชิ้ตที่ผลิตด้วยผ้า TC ไปใช้ในชีวิต ประจ�ำวันมีความเหมาะสมมากทีส่ ดุ (ร้อยละ 76) การสวมใส่เชิต้ ทีผ่ ลิตด้วยผ้า TC ให้ความรูส้ กึ สบาย ดูดซับเหงือ่ และระบายอากาศดีมากทีส่ ดุ (ร้อยละ 76) การออกแบบ ลวดลายโดยมีแรงบันดาลใจจากผ้าลายน�ำ้ ไหล มีความแปลกใหม่ และยังคงเอกลักษณ์เดิมมากที่สุด (ร้อยละ 70) ลวดลายมีความ ทันสมัย และเหมาะสมกับทุกเพศทุกวัยมากที่สุด (ร้อยละ 56) การน�ำเอาสีเดิมของผ้าลายน�้ำไหลที่เป็นต้นแบบมาใช้เป็นสี ของลวดลายเพื่อให้คงความเป็นเอกลักษณ์ของผ้าลายน�้ำไหล มากที่สุด (ร้อยละ 54) ต้าแหน่งการวางลวดลายบนเสื้อเชิ้ต มีความเหมาะสม มากทีส่ ดุ (ร้อยละ 70) ผลิตภัณฑ์และลวดลาย สามารถน�ำไปสวมใส่ได้ทุกโอกาส มากที่สุด (ร้อยละ 70)

45


46

เทคนิคการใช้สีบนเส้นด้ายพุ่งส�ำหรับการทอผ้ายกมุก • นางสาวเนตรนภา เอี่ยมทา เบอร์โทรศัพท์ 092-2484938 E-mail : Nate.xz@msn.com

ผ้ายกมุกจังหวัดสระบุรเี ป็นผ้าทอดัง้ เดิมของชาวไทยวน ซึ่งเมื่อก่อนหญิงสาวชาวไทยวนจะต้องสามารถทอผ้าใช้เองได้ แต่ เ นื่ อ งจากปั จ จุ บั น ได้ มี โรงงานทอผ้ า ส� ำ เร็ จ รู ป มากมาย ท�ำให้ผู้ทอผ้ายกมุกลดน้อยลงผู้ทอและกลุ่มผู้บริโภคจะเป็น กลุ่มผู้สูงอายุเท่านั้นโดยลวดลายที่ใช้เส้นด้ายพุ่งในการทอนั้น จะเป็นเส้นด้ายที่ใช้ทอผ้าปกติทั่วไปและน�ำมาทอสลับสีกันบน ลวดลายที่ต้องการจะเปลี่ยนสี จึงได้มีแนวความคิดที่จะน�ำ เส้นด้ายพุ่งที่ใช้เพียงสีเดียวมาท�ำให้เกิดเทคนิคการใช้ ที่ท�ำให้ เกิ ด สี บนเส้ น ด้ า ยมากกว่า 1 สีโดยได้มีก ารทดลองเทคนิค การใช้สบี นเส้นด้ายทัง้ หมด 4 เทคนิคดังนี้ 1) เทคนิคการระบาย แบบไม่ กั้ น สี 2) เทคนิ ค ระบายสีแ บบบิด เกลีย ว 3) เทคนิค การกั้นสีด้วยพาราฟินและระบายสี 4) เทคนิคการมัดและ ระบายสี ผลการทดลองเทคนิคการใช้สบี นเส้นด้ายพบว่าเทคนิค ที่ ใช้ สี ไ ด้ ชั ด เจนที่ สุ ด คื อ เทคนิ ค การระบายแบบไม่ กั้ น สี โดยเส้นด้ายมีสีต่อเนื่องชัดเจน เมื่อน�ำมาทอท�ำให้ลวดลาย ชัดเจนขึ้น จากนั้นได้น�ำผ้ายกมุกที่ทอเสร็จมาออกแบบเป็น ชุดท�ำงานสตรีที่สามารถใส่ได้หลากหลายโอกาสโดยได้แรง บั น ดาลใจมาจากค้ า งคาว เพื่ อ ให้ ผ ้ า ยกมุ ก สามารถเข้ า ถึ ง กลุ่มผู้บริโภควัยท�ำงานมากขึ้น จากผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์ สิ่งทอ จากเทคนิคการใช้สีบนเส้นด้ายพุ่งส�ำหรับผ้าทอยกมุก ด้านลวดลาย การจัดวางลวดลายมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 49) ขนาดของลวดลายมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 61) การเลือกใช้สใี นเทคนิคการใช้สบี นเส้นด้ายมีความ เหมาะสมมาก (ร้อยละ 57) สีของลวดลายเส้นด้ายพุ่งและสี ของผ้ า พื้ น ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ค วามเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 44) รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสมในการ สวมใส่ในชีวิตประจ�ำวันปานกลาง (ร้อยละ 69) รูปแบบของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ค วามเหมาะสมกั บ สุ ภ าพสตรี วั ย ท� ำ งานมาก (ร้อยละ 54)ความสัมพันธ์ระหว่างลวดลายและรูปทรงที่ใช้ มีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 60) ผลิตภัณฑ์ ลวดลายของ ผ้าทอยกมุกและผ้าพื้นสีด�ำมีความเหมาะสมกับรูปแบบของ ชุดมาก (ร้อยละ 58)


การศึกษาและพัฒนาเก้าอี้ส�ำหรับอุทยานการเรียนรู้: กรณีศึกษา อุทยานการเรียนรู้ต้นแบบ และบริการ อาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์โซนห้องเด็ก

• นายจักรณรงค์ ศูนย์กลาง เบอร์โทรศัพท์ 09 6132 1716 E-mail : jaknarong@gmail.com โครงการนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาเก้ า อี้ ส� ำ หรั บ อุ ท ยานการเรี ย นรู ้ โซนห้ อ งเด็ ก โดยน�ำข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษามาออกแบบและพัฒนาเก้าอีส้ ำ� หรับศูนย์การเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับเด็ก ช่ วงอายุ 3-5 ปี ผู ้ วิ จั ย ได้ท�ำการศึก ษาจากการลงพื้น ณ อุทยานการเรียนรู้ เกี่ยวกับกิจกรรม ของเด็กช่วงอายุ 3-5 ปี พฤติกรรมการนั่งในการวาดภาพ ระบายสี กิจกรรมตัดปะ อ่านหนังสือ และผลิตภัณฑ์เดิมที่ใช้ในโซนห้องเด็ก ท�ำการศึกษาวัสดุในการท�ำผลิตภัณฑ์ได้โครงสร้างของเก้าอี้ ท�ำจากไม้ยาง มีน�้ำหนักเบาง่ายต่อการเคลื่อนย้าย สีของไม้ยางเป็นสีขาวแกมน�้ำตาลสอดคล้องกับ บรรยากาศของโซนห้องเด็ก ผ้าบุผลิตภัณฑ์ คือ ผ้าเส้นใยผสม ประกอบไปด้วย พอลิเอสเทอร์ 45 เปอร์เซ็นต์ อะคริลิก 35 เปอร์เซ็นต์ และฝ้าย 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมีผิวสัมผัสที่ไม่ระคายเคือง ต่อผิวหนัง มีความแข็งแรงทนทาน มีความสามารถในการคืนตัวสูง มีความสวยงาม การออกแบบ รูปทรงเก้าอี้ได้แรงบันดาลใจจากรูปทรงการบิดโค้งของหนังสือ การประเมินความเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีผลประเมินดังนี้ ด้านรูปแบบและผลิตภัณฑ์ มีความ เหมาะสมกับอุทยานการเรียนรู้ (ร้อยละ 60) สีสันของผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ 60) ขนาดของผลิตภัณฑ์ (ร้ อ ยละ 80) ด้ า นประโยชน์ใช้สอย สามารถเคลื่อ นย้า ยได้ อย่างสะดวก (ร้อยละ 80) รองรับ การท�ำกิจกรรมอ่านหนังสือ (ร้อยละ 80) รองรับกิจกรรมวาดภาพระบายสี (ร้อยละ 60) พื้นผิว เหมาะสมต่ อ การใช้ ง าน (ร้อ ยละ 80) มีค วามปลอดภัย (ร้อยละ 60) มีความแข็งแรงทนทาน (ร้อยละ 60) การเก็บรักษาและท�ำความสะอาด (ร้อยละ 60) ด้านวัสดุที่ใช้ในการผลิต วัสดุมีความ เหมาะสมต่อรูปแบบผลิตภัณฑ์และการใช้งาน (ร้อยละ 80)วัสดุที่ท�ำเบาะเหมาะสมต่อผิวสัมผัส ของเด็ก (ร้อยละ 80)

47


48

การออกแบบผลิตภัณฑจากวัสดุสิ่งทอดวยเทคนิคการยิงพรมดวยหัว Tufted • นายภาณุมาศ หวานคง เบอร์โทรศัพท์ 09 5913 3401 E-mail : Nbikk_78@hotmail.com การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ  ง หมาย 1) เพื่ อ ศึ ก ษาวั ส ดุ สิ่งทอดวยเทคนิคการยิงพรม 2) เพื่อออกแบบ ผลิตภัณฑพรม แขวนผนัง ผูวิจัยไดศึกษาวัสดุเชือกกลมและเสนเทปทั้งจาก ธรรมชาติ และสังเคราะห ไดทดลองทอพรมดวยเครื่องยิงพรม พบวา เสน เทปฝา ย มีการเรียงตัวที่ สม�ำ่ เสมอ อยูต วั ไมล ยุ งา ย เหมาะทีจ่ ะนาํ มาทอเปน ผลิตภัณฑ จากแบบสอบถามความตอ ง การของกลุ  ม ตั ว อย  า งด  า น วั ส ดุ สี และ ลวดลายของพรม แขวนผนัง ตามแนวความคิดจากศิลปะ Art Deco ทีห่ า ง เจ เจ มอลล จํ า นวน 100 คน และได  ป รึ ก ษาผู  เชี่ ย วชาญเรื่ อ งรู ป แบบ ลวดลาย และสี เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใชไดแก คารอยละ ผลการศึกษาพบวา จากแบบประเมินความคิดเห็น ดานการออกแบบผลิตภัณฑจากวัสดุสิ่งทอดวยเทคนิคยิงพรม จาก กลุมตัวอยางดานวัสดุของผลิตภัณฑ การนําวัสดุสิ่งทอ มาใช ใ นการทํ า พรมแขวนผนั ง มากที่ สุ ด (ร  อ ยละ 51) ความเหมาะสมในการนํ า เชื อ กและเส  น เทปมาใช  ร  ว มกั น มากทีส่ ดุ (รอยละ 96) ดาน ลวดลายของผลิตภัณฑ การวางลาย มีความสัมพันธ และตอเนือ่ งกัน มากทีส่ ดุ (รอยละ 55) ลวดลาย มีความเหมาะสม และเชื่อมโยงกัน มากที่สุด (รอยละ 48) การนํ า เทคนิ ค การสร  า งลวดลายมาใช ร  ว มกั บ ศิ ล ปะสิ่ ง ทอ ไดอยางเหมาะสม มากที่สุด (รอยละ 52) มีการนําลายเสน เรขาคณิตมาใชอยาง เหมาะสม มากที่สุด (รอยละ 50) การใชสี ของผลิตภัณฑ การนําสีของศิลปะ Art Deco มาใชมากที่สุด (รอยละ 57) การวางโครงสีมคี วามสมดุล มากที่สุด (รอยละ 48) ประโยชนใชสอย สามารถแยกสวนได มากที่สุด (รอยละ 52) สามารถนําไปใชไดทุกสถานที่ มากที่สุด (รอยละ56)



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.